The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปี 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by intaram, 2021-02-03 10:39:56

รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปี 2562

รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปี 2562

Keywords: SAR

1

2

ส่วนที่ 1 ข้อมลู พ้ืนฐาน

1. ขอ้ มูลทวั่ ไป

1.1 ทตี่ ัง้

โรงเรียนวัดอนิ ทาราม

ที่ตง้ั 258 ถนนเทอดไท แขวงบางยเี่ รือ เขตธนบรุ ี จังหวดั กรงุ เทพมหานคร รหัสไปรษณยี ์ 10600

สงั กัด สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 1

โทรศพั ท์ 02-465-3310 โทรสาร 02-472-2771 E-mail: [email protected]

Website: http://www.ir.ac.th/

เปิดสอนระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ถึง ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6

เนือ้ ที่ 3 ไร่ 300 ตารางวา

เขตพื้นท่บี รกิ ารดงั น้ี

เขตธนบรุ ี แขวงบางยเี่ รอื แขวงบุคคโล แขวงตลาดพลู แขวงหิรญั รูจี

แขวงวดั กัลยาณ์ แขวงดาวคะนอง แขวงสำเหร่

เขตคลองสาน แขวงคลองสาน แขวงสมเด็จเจา้ พระยา แขวงบางลำพลู ่าง

แขวงคลองต้นไทร

เขตบางคอแหลม แขวงบางคอแหลม แขวงวดั พระยาไกร

แผนท่โี รงเรียน

3

1.2 ประวัติโรงเรียนโดยย่อ
ในปี พ.ศ. 2505 ท่านเจ้าคุณวิเชียรมุนี (พัน จิรวรฑฒหาเถร) เจ้าอาวาสวัดอินทารามวรวิหาร

ได้มอบท่ีดินบริเวณหน้าซ่ึงอยู่ติดถนนเทอดไท มีเนื้อที่ประมาณ 3 ไร่ 3 งาน ให้แก่กรมวิสามัญศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารดำเนนิ การกอ่ สร้างเปน็ โรงเรยี นมัธยมศึกษา

ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2506 กรมวิสามัญศึกษาได้แต่งตั้ง นายจรัล จิวาลักษณ์ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่
โรงเรยี นวดั ปทุมคงคาให้มาดำรงตำแหนง่ ครใู หญ่โรงเรยี นวดั อินทาราม ในระยะแรก โรงเรียนวดั อินทาราม เปิด
สอนนักเรียนช้ัน ม.ศ.1 จำนวน 3 ห้องมีนักเรียน 120 คนครู 8 คน โดยเปิดสอนครั้งแรก เม่ือวันที่ 17
พฤษภาคม พ.ศ. 2506 และในเดือนกรกฎาคมโรงเรียนได้รับงบประมาณจากกรมวิสามัญศึกษาให้ก่อสร้าง
อาคารเรียน 3 ชั้น (อาคาร 1) จำนวน 1 หลัง 12 หอ้ งเรียน

ในปี พ.ศ. 2508 คุณหมอก้อน ขุนทองแก้ว และภรรยาได้บริจาคเงินสร้างอาคารเรยี น 3 ช้ัน (อาคาร
2 หรอื อาคารคุณหมอก้อนขนุ ทองแก้ว) จำนวน 1 หลัง 12 หอ้ งเรียน

ในปี พ.ศ. 2512 โรงเรียนได้เปิดสอนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.ศ. 4-5 ทั้งแผนก
วทิ ยาศาสตร์และแผนกศิลป์–ภาษา

ในปี พ.ศ. 2517 โรงเรียนได้รับงบประมาณจากกรมสามัญศึกษา ให้ก่อสร้างอาคารเรียน 5 ช้ัน
(อาคาร 3) ช้ันละ 5 ห้องเรียน และในปี พ.ศ. 2520 โรงเรียนได้รับงบประมาณให้สร้างเพ่ิมเติม เป็นชั้นละ 6
หอ้ ง

ในปี พ.ศ. 2526 โรงเรียนได้จัดต้ังมูลนิธกิ ารศึกษาโรงเรียนวัดอินทารามและสมาคมผู้ปกครองและครู
โรงเรียนวดั อนิ ทารามขน้ึ

ในปี พ.ศ. 2528 โรงเรียนได้รับงบประมาณให้ก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ จำนวน 1 หลัง เป็น
อาคาร 3 ชนั้ (อาคาร 4) เปิดใชเ้ มอ่ื วันท่ี 1 กันยายน พ.ศ. 2529

ในปี พ.ศ. 2535 โรงเรียนได้รับความอนุเคราะห์จากคุณสมศักด์ิหัตถกิจจำเริญสร้างพระพุทธรัตนาภิ
บาล พระพุทธรูปประจำโรงเรยี น นอกจากนี้ โรงเรยี นยงั ได้รับการคัดเลอื กจากกรมสามญั ศึกษาให้เปน็ โรงเรียน
ที่จัดกิจกรรมจรยิ ธรรมดเี ดน่ ประจำปีการศึกษา 2534

ในปี พ.ศ. 2539 นายดำรง เดชะศิริ ผู้อำนวยการโรงเรียน ได้ปรับปรุงระบบโทรศัพท์ภายในโรงเรียน
และพัฒนาห้องเรยี น หอ้ งปฏิบตั ิการ หอ้ งสมดุ กาญจนาภเิ ษก และหอ้ งคอมพวิ เตอร์

ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ.2541 โรงเรียนได้รับคัดเลือกจากกรมสามัญศึกษาให้เป็นโรงเรียน
มธั ยมศกึ ษาดเี ดน่ ประจำปกี ารศกึ ษา 2540

ในเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2542 วัดอินทารามวรวิหารได้มอบพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช ซึ่งประดิษฐานอยู่ในบริเวณวัดอินทารามให้มาประดิษฐานอยู่บริเวณสนามของโรงเรียน โดยโรงเรียน
ได้ทำพิธปี ระดษิ ฐาน เมือ่ วันท่ี 18 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2542 นอกจากนี้ โรงเรียนยังไดจ้ ดั ต้งั กองทุนสมเดจ็ พระเจ้า
ตากสินมหาราชและได้มีการจัดสร้างห้องตากสินมหาราชานุสรณ์ แต่ไม่เสร็จ เพราะขาดงบประมาณต่อมาใน
เดือนกันยายน ปีเดียวกัน โรงเรียนได้รับคัดเลือกให้เป็นสถานศึกษาที่มีผลงานด้านจริยธรรมศึกษาดีเด่น

4

ประจำปีการศึกษา 2542 ของกระทรวงศึกษาธิการ นอกจากนี้ ยังได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการสถานศึกษา
ข้นั พน้ื ฐาน โรงเรยี นวดั อินทารามขึน้

ในปี พ.ศ. 2544 นายวรรณะ เกิดสมบัติ ผู้อำนวยการโรงเรียน ได้ดำเนินการจัดสร้างต่อ จนห้องตาก
สินมหาราชานุสรณ์เสรจ็ สมบรู ณ์ และไดท้ ำพธิ ีเปิด เมือ่ วันที่ 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2544

ในปี พ.ศ. 2546 นายธนวัฐ นาคนคร ผู้อำนวยการโรงเรียนได้ดำเนินการเทพ้ืนสนามใหม่ทาสีอาคาร
เรยี นใหม่ ทั้ง 4 หลงั สร้างเรอื นพยาบาล และปรับปรงุ หอ้ งสขุ าชาย-หญิงใหม่ท้ังหมด

ในปี พ.ศ. 2547 โรงเรียนได้สร้างห้องประชุม (ห้องตากสิน) ห้องสำนักงานฝ่ายบริหารห้องสำนักงาน
ฝ่ายกิจการนกั เรียนและปรบั ปรงุ หอ้ งเรียนคอมพวิ เตอร์ท้งั 2 หอ้ ง

ในปี พ.ศ. 2548 โรงเรียนได้สร้างห้อง E-Classroom และห้อง E-Learning เพ่ือใช้เป็นแหล่งเรียนรู้
นอกห้องเรียนและติดตั้งระบบเครือข่าย (LAN) เพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียน
การสอน

ในปี พ.ศ. 2549 ดร.สาธิต สันนะกิจ ผู้อำนวยการโรงเรียนได้ปรับปรุงห้องเรียน 333 และ 334 ให้
เปน็ หอ้ งเรียนพิเศษท่ีมีส่ือการเรียนการสอนอย่างครบวงจร ทงั้ คอมพิวเตอรผ์ ู้สอน อินเตอร์เน็ต เครอื่ งฉายวัสดุ
ทบึ แสง และเครอ่ื งโปรเจคเตอร์

ในปี พ.ศ. 2550 นายอำนวย พลชัย ผู้อำนวยการโรงเรียนได้พัฒนาห้องประชุมเล็กข้างห้องสมุดเพื่อ
ใช้เป็นห้องประชุมครูและต้ังช่ือว่า “ห้องราชาวดี” และปรับปรุงเวทีอเนกประสงค์ในโรงอาหาร เพื่อใช้เป็นที่
ประชุมนกั เรยี นและผ้ปู กครอง

ในปี พ.ศ. 2552 สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนวัดอินทาราม ได้ก่อสร้างหลังคาคลุมลาน
อเนกประสงค์และมอบให้กับโรงเรียน เพ่ือใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของ
หนว่ ยงานตา่ งๆ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียน

ในปี พ.ศ. 2553 นางอัมพร พสุธาดล ผู้อำนวยการโรงเรียนได้ปรับปรุงพื้นสนามของโรงเรียน โดย
ได้รับความอนุเคราะห์จาก ส.ส.วิลาศ จันทร์พิทักษ์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 ได้มีการพัฒนาโรงยิมให้เป็นห้อง
ประชมุ อเนกประสงค์ และต้งั ชื่อวา่ “หอ้ งประชมุ จนั ทร์พทิ กั ษ์”

วันท่ี 13 มกราคม พ.ศ. 2555 เกิดเพลิงไหม้ภายในโรงเรียน บริเวณอาคาร 1 ซ่ึงเป็นท่ีตั้งของห้อง
ผู้อำนวยการโรงเรียน สำนักงานกลุ่มบริหารงบประมาณ สำนักงานบริหารวิชาการ สำนักงานบริหารงาน
บุคคล สำนักงานบรหิ ารงานทว่ั ไป ห้องประชมุ ตากสนิ และหอ้ งเรยี น จำนวน 4 หอ้ ง ได้รบั ความเสียหาย

ในปี พ.ศ. 2555 นายธนิต ทองธัญญะ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นวดั อินทารามไดป้ รับปรุงประตูร้ัวโรงเรียน
บริเวณพ้ืนที่ว่างเปล่า ซ่ึงถูกรื้อถอนจากอาคารไฟไหม้ เพ่ือให้นักเรียนได้ใช้เล่นกีฬา และในปี พ.ศ. 2556 ได้มี
การสร้างเรือนตากสินมหาราชานุสรณ์ ซ่ึงเป็นอาคาร 2 ช้ัน โดยชั้นล่างเป็นห้องกลุ่มบริหารบุคคล (ฝ่าย
ปกครอง) และชัน้ บนเป็นห้องตากสินมหาราชานุสรณ์

ในปี พ.ศ. 2558 นายบุญชู กล้าแข็ง ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดอินทารามได้ปรับปรุงห้องสุขานักเรียน
และไดส้ ร้างอาคารเรยี น 4 ชั้น เพื่อเป็นการจดั การเรยี นการสอนนักเรียน

5

วันท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ว่าที่ร้อยตรีอานนท์ สุขภาคกิจ ผู้อำนวยการเขตพื้นท่ีการศึกษา
มธั ยมศกึ ษา เขต 1 ไดเ้ ปิดอาคาร 5 ซ่งึ เปน็ อาคาร 5 ชนั้ เพ่อื เป็นการจดั การเรยี นการสอนนักเรียน

ในปี พ.ศ. 2560 สมาคมศษิ ยเ์ ก่าโรงเรียนวัดอนิ ทาราม ได้บริจาคห้อง Sound Lab เพื่อใช้จดั กิจกรรม
การเรยี นการสอนและดำเนินกิจกรรมต่างๆ

ในปี พ.ศ. 2561 นางธัญจริ า โชติพงศก์ ุล ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดอินทาราม ได้ปรับปรุงอาคาร 5 ช้ัน
2 ให้เปน็ สำนักงาน เพ่ือความสะดวกในการตดิ ตอ่ ราชการ

ในปี พ.ศ. 2562 นางธัญจิรา โชติพงศ์กุล ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดอินทาราม ได้ปรับปรุงห้องประชุม
ราชาวดี อาคาร 5 ชนั้ 2 เพ่อื ใชจ้ ดั กจิ กรรมการประชุม และดำเนนิ กิจกรรมตา่ งๆ

ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 นางธัญจิรา โชติพงศ์กุล ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดอินทาราม ได้
ปรับปรุงห้องเรียน STEM จำนวน 3 ห้อง เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนห้องเรียนความเป็นเลิศ
ทางวชิ าการ

ปัจจุบัน โรงเรียนวัดอินทารามมีอาคารเรียน ท้ังหมด 4 หลัง มีครูและบุคลากรทางการศึกษา
จำนวน 78 คน มนี ักเรียน 1,502 คน (10 ม.ิ ย. 62)

ตราสญั ลักษณป์ ระจำโรงเรียน
เป็นพระบรมรูปสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช ทรงม้าอยู่ก่ึงกลางระหว่างช่อฟ้า

สีและธงประจำโรงเรยี น
เป็นธงสีเขียว ขาว เหลือง (เป็นแถบสีเทา่ กัน)
สเี ขียว หมายถงึ ความรน่ื รมย์ เมตตา เอ้ือเฟ้ือ เผ่ือแผ่
สขี าว หมายถึง ความบรสิ ุทธ์ิ ใจซื่อ
สเี หลอื ง หมายถงึ ความยดึ ม่นั ในหลักธรรมของพระพทุ ธองค์

ปรชั ญา
นตถฺ ิ ปญั ญาสมา อาภา
แสงสวา่ งเสมอดว้ ยปญั ญาไม่มี

อัตลกั ษณ์
สภุ าพชน คนตลาดพลู

เอกลกั ษณ์
รกั ษว์ ัฒนธรรม ก้าวล้ำส่สู ากล

6

1.3 ข้อมูลบุคลากร
1.3.1 ข้อมูลผู้บริหารสถานศึกษา

1. ผู้อำนวยการโรงเรียน
ชอ่ื -สกุล นางธญั จริ า โชติพงศก์ ลุ
วทิ ยฐานะ ชำนาญการพเิ ศษ
โทรศพั ท์ 08-1644-4626
E-mail [email protected]
วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุด ค.อ.ม สาขา เทคโนโลยีเทคนคิ ศึกษา
ดำรงตำแหนง่ ท่โี รงเรยี นนี้ ตั้งแต่ 19 ตลุ าคม พ.ศ. 2561

2. รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น

ชื่อ-สกุล นายอนนั ต์ เนตรมณี

วิทยฐานะ ชำนาญการ

โทรศพั ท์ 08-9114-9593

E-mail [email protected]

วุฒิการศกึ ษาสูงสุด ค.ม. สาขา การบรหิ ารการศกึ ษา

รบั ผิดชอบกลุ่มบรหิ ารวิชาการ และกลุ่มบริหารงบประมาณ

7

3. ครปู ฏบิ ัตหิ นา้ ที่รองผู้อำนวยการโรงเรียน
ชอ่ื -สกุล นางสุกัญญา ชาระ
วทิ ยฐานะ ชำนาญการ
โทรศัพท์ 09-2267-4397
E-mail [email protected]
วุฒิการศกึ ษาสูงสุด กศ.บ. สาขา คหกรรมศาสตร์
รับผดิ ชอบกลมุ่ บริหารทั่วไป

4. ครปู ฏบิ ัตหิ น้าท่ีรองผอู้ ำนวยการโรงเรียน
ชื่อ-สกลุ นางสาวนงนุช จันทรแ์ ฟง
วทิ ยฐานะ ชำนาญการพิเศษ
โทรศพั ท์ 08-1329-9713
E-mail [email protected]
วฒุ กิ ารศึกษาสูงสดุ ค.บ. สาขา ดนตรีไทย
รบั ผิดชอบกลุ่มบริหารงานบุคคล

8

1.3.2 ข้อมูลหัวหน้างานประกนั คุณภาพการศึกษาและหัวหนา้ งานแผนงานของสถานศึกษา

1. หัวหนา้ งานประกนั คุณภาพการศึกษา

ชื่อ – สกลุ นางสาวจงกลณี ภทั รกงั วาน

วุฒิการศกึ ษาสูงสุด ศษ.ม. สาขา การสอนสงั คมศึกษา

ครูกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

โทรศัพท์ 084-3941007 E-mail: [email protected]

2. หวั หน้างานแผนงานของสถานศกึ ษา

ชอ่ื – สกุล นางสาววาสนา เปรมชืน่

วุฒกิ ารศึกษาสูงสดุ ค.ม. สาขา บริหารการศึกษา

ครูกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

โทรศัพท์ 064-2577888

E-mail: [email protected]

1.3.3 ข้อมูลครูและบคุ ลากร

1) วิทยฐานะ

ครูและบคุ ลากร ครู ครู ครู ครู ครู ครู ครู ครู ลูกจา้ ง รวม
คศ.5 คศ.4 คศ.3 คศ.2 คศ.1 ผชู้ ว่ ย อัตราจ้าง ตา่ งชาติ ประจำ

ปีการศึกษา - - 4 20 36 18 2 2 4 86
2562

วทิ ยฐานะ

40
35
30
25
20
15
10
5
0

9

2) วุฒกิ ารศกึ ษา ปริญญาเอก ปรญิ ญาโท ปริญญาตรี รวม
ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญงิ
ที่ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ -- 11 -- 2
-- 11 25 9
1 ฝ่ายบรหิ าร -- -2 26 10
2 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย -- 33 18 15
3 กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ -- 13 73 14
4 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรฯ์ -- -1 2 10 13
5 กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษาฯ -- 13 2- 6
6 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ -- -1 -3 4
7 กล่มุ สาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา -- -- 22 4
8 กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ -- -1 -- 1
9 กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี -- 7 16 18 37 78
10 กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน (แนะแนว)

รวมทั้งสน้ิ

ขอ้ มลู ณ วันที่ 31 มนี าคม 2563

3) กล่มุ สาระการเรียนรแู้ ละภาระงานสอน

กล่มุ สาระการเรียนรู้ จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู 1 คน
ในแตล่ ะกลมุ่ สาระฯ (ชม. / สัปดาห)์
1. ภาษาไทย 9
2. คณิตศาสตร์ 10 27
3. วทิ ยาศาสตร์ 15 27
4. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 14 25
5. สุขศึกษาและพลศึกษา 6 24
6. ศิลปะ 4 27
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 25
8. ภาษาตา่ งประเทศ 13 23
9. กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน 1 27
76 30
รวม 26

1.4) ขอ้ มูลนกั เรยี น (ณ วนั ที่ 10 มถิ ุนายน ของปีการศกึ ษา 2562) 10

1) จำแนกตามระดับชัน้ ทเ่ี ปิดสอน จำนวนนกั เรียน
เฉลีย่ ตอ่ ห้อง
ระดบั ชั้น เพศ รวม จำนวน
ห้องเรียน 30
ชาย หญิง 35
9 39
ม. 1 162 109 271 9 35
9 25
ม. 2 162 153 315 27 28
8 23
ม. 3 187 170 357 7 25
7 30
รวม 511 432 943 22
49
ม. 4 78 119 197

ม. 5 104 94 198

ม. 6 63 101 164

รวม 245 314 559

รวมจำนวนนกั เรยี นทั้งหมด 756 746 1,502

1600 ชาย
1400 หญงิ
1200 รวม
1000
800
600
400
200

0
ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4 ม. 5 ม. 6 รวม

2) จำแนกตามปีการศกึ ษา 3 ปียอ้ นหลัง 11

ระดับช้นั 2560 ปีการศึกษา 2562
361 2561 271
ม.1 308 319 315
ม.2 297 359 357
ม.3 180 292 197
ม.4 210 195 198
ม.5 169 171 164
ม.6 1,525 194 1,502
รวม 1,530

1800 2560
1600 2561
1400 2562
1200
1000
800
600
400
200

0
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวม

12

1.5 ข้อมูลอาคารสถานที่

รายการ จำนวน
อาคารเรียน 4 หลัง
อาคารประกอบ 1 หลัง
สว้ ม 2 หลัง
สนามอเนกประสงค์ 1 หลัง

1.6 ข้อมูลงบประมาณ จำนวนเงิน (บาท) คิดเป็นรอ้ ยละ
ปีงบประมาณ 2563 4,226,445 60 %
2,127,615 30 %
รายการ 1,121,290
1. งบกลุ่มบริหารวชิ าการ 371,925 10 %
2. งบบริหารจดั การ 634,400 100 %
234,790
2.1 กล่มุ บริหารทวั่ ไป 6,588,850
2.2 กล่มุ บริหารงานบุคคล
2.3 กลมุ่ บริหารงบประมาณ
3. งบสำรองจ่าย

รวมท้ังสน้ิ

13

1.7 ข้อมูลสภาพชุมชน
1. สภาพชุมชนรอบบรเิ วณโรงเรยี น มลี กั ษณะชมุ ชนเมืองเขตชั้นใน มีประชากรประมาณ 32,971 คน

บริเวณใกลเ้ คยี งโดยรอบโรงเรยี นจะมชี ุมชนตั้งอยู่ 15 ชมุ ชน ดังน้ี

ท่ี แขวงบางยีเ่ รอื

1 ชมุ ชนวัดใหมย่ ายนยุ้
2 ชมุ ชนสามคั คีธรรม
3 ชุมชนวดั บางสะแกใน
4 ชุมชนปากคลองบางสะแก
5 ชุมชนวัดกนั ตทาราราม
6 ชุมชนขา้ งสถานรี ถไฟวงเวยี นใหญ่
7 ชมุ ชนโรงเจ 1
8 ชมุ ชนโรงเจ 2
9 ชุมชนตากสินสมั พันธ์
10 ชมุ ชนวัดอนิ ทาราม
11 ชมุ ชนตรอกเทวดา
12 ชมุ ชนหลงั ศูนย์จนั ทรฉ์ มิ ไพบูลย์
13 ชุมชนสวนพลู
14 ชมุ ชนพฒั นาบา้ นลา่ ง
15 ชมุ ชนปู่ศุข
หมายเหตุ ข้อมูลจากสำนกั งานเขตธนบุรี ปี พ.ศ. 2562

อาชีพหลักของชุมชน คือ อาชีพค้าขายรับจ้าง เน่ืองจากในชุมชนมีคนไทยเช้ือสายจีนอาศัยอยู่
คอ่ นข้างมาก ประชากรส่วนใหญ่นับถอื ศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินที่เป็นที่รู้จักโดยท่ัวไป คือ
อาชีพการทำขนมกุยฉา่ ยตลาดพลู หมี่กรอบสมยั ร.5 (จนี หลี) และการทำขลุย่ บา้ นลาววดั บางไสไ้ ก่

2. ผู้ปกครองสว่ นใหญจ่ บการศกึ ษาระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 อาชีพหลัก คือ รับจ้าง สว่ นใหญ่นบั ถือ
ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้ โดยเฉลี่ยต่อครอบครัวต่อปี 88,000 บาท จำนวนคนเฉล่ียต่อ
ครอบครัว 4–5 คน และแนวโน้มความต้องการของผู้ปกครอง คือ อยากให้โรงเรียนดูแลช่วยเหลือด้านการ
เรยี น ควบคู่กับการดูแลพฤติกรรม และชว่ ยเหลือดา้ นทนุ การศึกษา

3. โอกาสและข้อจำกดั ของโรงเรียน
โรงเรียนตั้งอยู่ในพ้ืนท่ีของวัดอินทารามวรวิหาร มีพื้นที่จำกัด ค่อนข้างคับแคบ คือ มีเนื้อท่ี 3 ไร่ 3 งาน
ซ่ึงขยายพื้นท่ีออกไปไม่ได้อีก ทำให้มีข้อจำกัดในการจัดชั้นเรียน แต่โรงเรียนก็ได้รับการสนับสนุนจากพระครู
สุวมิ ลธรรมโสภิต เจ้าอาวาสวัดอนิ ทารามวรวิหารเป็นอย่างดียง่ิ นอกจากนนั้ วัดอินทารามวรวิหารยังเป็นวัดท่ี

14

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงมาผนวชและจำพรรษาที่วัดแห่งน้ี จึงทำให้โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ทาง
ประวัติศาสตร์ท่ีสำคัญในสมัยกรุงธนบุรี และมีโบราณสถานที่เก่ียวกับพระองค์มากมาย ทำให้เป็นแหล่งเรียนรู้
ภายนอกที่สำคัญของนักเรียน

1.8 โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา
โรงเรียนวัดอินทาราม จัดสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ึนพื้นฐานพุทธศักราช 2551

(โรงเรียนมาตรฐานสากล) โรงเรยี นไดจ้ ดั สัดส่วนสาระการเรยี นรแู้ ละเวลาเรยี น ดงั แสดงในตารางต่อไปนี้

ช่วงช้ันที่ 3 (ม. 1 – ม. 3)

เวลาเรยี น (คดิ เปน็ รอ้ ยละตอ่ ป)ี

ระดับชน้ั ภาษาไทยคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคม สุข ศลิ ปะ การงานอาชพี ภาษา กจิ กรรม รวม

ศึกษา ศกึ ษา และ ต่างประเทศ พฒั นา 100
100
ศาสนา และ เทคโนโลยี ผู้เรียน 100

และ พลศึกษา

วัฒนธรรม

ม. 1 9.74 10.49 10.49 11.98 9.70 8.24 17.23 11.98 10.11

ม. 2 8.99 10.70 10.70 14.13 16.26 6.85 8.99 13.27 10.11

ม. 3 8.99 10.70 10.70 14.98 7.71 13.70 8.56 14.55 10.11

เฉลยี่ รวม 9.24 10.63 10.63 13.70 11.23 9.60 11.59 13.27 10.11

• จำนวนชัว่ โมงท่จี ดั ใหน้ ักเรียนเรยี นทัง้ ปี เท่ากบั 1,335 ช่ัวโมง

• แผนการเรยี นรู้/จดุ เน้นการพฒั นาผ้เู รียนที่ต้องการเน้นเปน็ พเิ ศษ คอื สังคมศกึ ษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ภาษาต่างประเทศ และการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามลำดับ
ช่วงชัน้ ที่ 4 (ม. 4 – ม. 6)

เวลาเรียน (คิดเปน็ ร้อยละต่อป)ี

ระดบั ชนั้ ภาษาไทยคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม สขุ ศิลปะการงานอาชีพ ภาษา กิจกรรม รวม

ศึกษา ศึกษา และ ต่างประเทศ พัฒนาผู้เรยี น

ศาสนา และพล เทคโนโลยี

และ ศึกษา

วฒั นธรรม

ม. 4 8.46 16.32 22.36 9.06 6.04 3.02 6.04 18.13 10.57 100

ม. 5 8.41 16.22 18.62 12.01 6.00 3.00 7.21 18.02 10.51 100

ม. 6 10.17 7.63 18.64 13.56 6.78 5.09 8.47 17.80 11.86 100
เฉล่ียรวม 9.01 13.39 19.87 11.54 6.27 3.70 7.24 17.98 10.98

• จำนวนช่ัวโมงทจี่ ดั ใหน้ กั เรยี นเรยี นทง้ั ปี เทา่ กบั 1,200 ช่ัวโมง

• แผนการเรยี นรู/้ จุดเนน้ การพฒั นาผเู้ รยี นที่ต้องการเนน้ เปน็ พเิ ศษ คอื วทิ ยาศาสตร์

ภาษาตา่ งประเทศ และคณติ ศาสตร์ ตามลำดับ

15

1.9 แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิน่

1.9.1 ห้องสมดุ มีขนาด 432 ตารางเมตร จำนวนหนังสือในหอ้ งสมุด 37,980 เลม่

การสบื คน้ หนงั สือและการยืม-คนื ใชร้ ะบบรหสั บารโ์ คด้ จำนวนนกั เรียนที่ใชห้ อ้ งสมุด ในปี

การศกึ ษาทรี่ ายงาน เฉลี่ย 865 คนต่อวัน คิดเปน็ ร้อยละ 57.59 ของนักเรียนทั้งหมด

1.9.2 ห้องปฏิบตั ิการ

1.9.2.1 หอ้ งปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร์ จำนวน 6 ห้อง

1.9.2.2 ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ จำนวน 2 หอ้ ง

1.9.2.3 ห้องปฏิบัติการทางภาษา จำนวน 1 ห้อง

1.9.2.4 หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางคณิตศาสตร์ จำนวน 2 หอ้ ง

1.9.3 คอมพิวเตอร์ จำนวน 210 เคร่ือง

1.9.3.1 ใช้เพื่อการเรียนการสอน 120 เครื่อง

1.9.3.2 ใชส้ บื คน้ ขอ้ มูลทางอินเทอร์เนต็ 10 เครอ่ื ง

จำนวนนักเรยี นทส่ี บื ค้นข้อมูลทางอินเทอรเ์ น็ต ในปกี ารศึกษา 2562 เฉลี่ย 986 คนต่อวัน

คิดเป็นร้อยละ 65.65 ของนักเรียนทงั้ หมด

1.9.3.3 ใช้เพ่อื การบรหิ ารจัดการ 80 เคร่อื ง

1.9.4 แหล่งเรยี นร้ภู ายในโรงเรียน

แหลง่ เรียนรภู้ ายใน สถิตกิ ารใช้ (ครงั้ /ปี)
ชือ่ แหล่งเรยี นรู้
30
1. ห้องตากสินมหาราชานสุ รณ์ 1,200
2. ห้องจรยิ ธรรม 2,400
3. หอ้ งศูนย์คอมพิวเตอร์ 1,200
4. ห้อง E-Classroom 1,820
5. หอ้ งแนะแนว 2,260
6. ห้องสมุด 1,200
7. ห้องอาเซยี น

1.9.5 แหลง่ เรยี นร้ภู ายนอกโรงเรียน 16
แหลง่ เรยี นรู้ภายนอก
ช่อื แหล่งเรียนรู้ สถิติการใช้ (คร้งั /ปี)

1. วัดอนิ ทาราม 113
2. วดั จนั ทาราม 5
3. วดั นางชี 1
4. วัดเวฬรุ าชิณ 2
5. วัดหนงั ราชวรวหิ าร 2
6. วัดนิมมานรดี 1
7. ชมุ ชนวดั อนิ ทาราม 10
8. ชุมชนตลาดพลู 5
9. ชมุ ชนสถานรี ถไฟวงเวียนใหญ่ 5
10. ชมุ ชนวดั กันตทาราม 5
11. ศูนย์ประชุมไบเทค บางนา 1
12. ศนู ยก์ ีฬาเวฬรุ าชณิ 1
13. อทุ ยานแห่งชาติ เขาใหญ่ จ.ปราจนี บุรี 1
14. อทุ ธยานแหง่ ชาติเขาสลกั พระ ห้วยสะด่อง จ.กาญจนบุรี 1
15. ค่ายทหารเจษฎาราชเจ้า 1
16. นิทรรศรัตนโกสิทนทร์ 1
17. พพิ ธิ ภฑั ณส์ นุ ทรภู่ วัดเทพธิดารามวรวหิ าร 1

1.9.6 ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ผ้ทู รงคณุ วุฒิทสี่ ถานศึกษาเชญิ มาให้ความรแู้ ก่ครู นกั เรยี น
ในปีการศึกษา 2562

1.9.6.1 พระครูสุกจิ วิหารการ
ใหค้ วามร้เู ร่อื ง คุณธรรม จริยธรรม ความกตัญญตู ่อผู้มีพระคณุ การแห่เทยี นพรรษา
สถิติการใหค้ วามรู้ จำนวน 12 ครั้ง/ปี

1.9.6.2 พระอโณชาสษิ ฐ์ กติ พิ โล
ให้ความรู้เรอ่ื ง พระพุทธศาสนา มารยาทของชาวพทุ ธ
สถิติการให้ความรู้ จำนวน 86 ครง้ั /ปี

1.9.6.3 กรมค้มุ ครองสิทธิและเสรภี าพ กระทรงยตุ ิธรรม
ให้ความรูเ้ รื่อง การเสริมสร้างความรู้เก่ียวกบั สิทธเิ สรีภาพ
สถติ กิ ารใหค้ วามรู้ จำนวน 1 คร้ัง/ปี

17

1.9.6.4 True ปลูกปัญญา
ใหค้ วามรเู้ รอ่ื ง ติวโอเน็ต ให้กับนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 และปีท่ี 6 และ School Tour
Up Skill O-NET
สถติ ิการใหค้ วามรู้ จำนวน 2 คร้ัง/ปี

1.9.6.5 Clean and Clear
ให้ความรู้เรอ่ื ง การเตรียมตวั เมอื่ เข้าสวู่ ัยรุ่น
สถติ ิการให้ความรู้ จำนวน 1 คร้ัง/ปี

1.9.6.6 อาจารยว์ รรณภา ศรีวิไลสกุลวงศ์
ให้ความรเู้ รอ่ื ง การจัดการเรยี นรู้ IS (Independent study) ในโครงการขับเคลื่อนโรงเรียนสู่
มาตรฐานสากล
สถติ กิ ารให้ความรู้ จำนวน 1 ครง้ั /ปี

1.9.6.7 อาจารย์จักรกฤช เลื่อนกฐนิ
ให้ความรเู้ ร่ือง อบรมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีวิทยฐานะ และเล่ือนวทิ ยฐานะ
สถิติการให้ความรู้ จำนวน 1 ครั้ง/ปี

1.9.6.8 บริษทั บีลงิ ค์มีเดยี และบรษิ ัท ยูนลิ เิ วอร์ ประเทศไทย จำกัด
ให้ความรเู้ รือ่ ง Hormone โตแลว้ 13+ รกั เลอื กได้ เรยี นเลอื กได้ เพศเลือกได้
สถติ กิ ารใหค้ วามรู้ จำนวน 1 ครั้ง/ปี

1.9.6.9 ทมี งานเวบ็ ไซต์เด็กดดี อทคอม
ให้ความรเู้ รอ่ื ง แนะแนวสูร่ ้วั มหาวิทยาลัย
สถติ ิการใหค้ วามรู้ จำนวน 1 ครั้ง/ปี

1.9.6.10 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ
ให้ความรู้เรอ่ื ง การสร้างภมู ิคุ้มกนั รเู้ ท่าทันส่ือ
สถิติการใหค้ วามรู้ จำนวน 1 ครง้ั /ปี

18

1.10 ผลการจดั การเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รสถานศกึ ษา

1.10.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของสถานศึกษา

- ระดบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้

ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ทุกระดบั ช้ัน ม.1-ม.6

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 จำนวน ร้อยละ

กล่มุ สาระการ จำนวน จำนวนนักเรยี นทมี่ ผี ลการเรยี นรู้ นกั เรียน นักเรียน

เรียนรู้ คน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ทีไ่ ด้ ทไี่ ด้

ระดับ 3 ระดบั 3

ขึ้นไป ขึ้นไป

ภาษาไทย 264 25 36 30 63 37 42 17 14 73 27.65

คณติ ศาสตร์ 264 15 26 23 31 32 41 33 63 137 51.89

วทิ ยาศาสตร์ 264 25 29 29 53 41 37 32 18 87 32.95

สังคมศกึ ษา 264 12 31 26 29 38 43 37 48 128 48.48
ศาสนา
และวฒั นธรรม 264 8 2 9 23 58 76 50 38 164 62.12
สขุ ศึกษาและ 264 10 0 2 18 33 59 65 77 201 76.14
พลศึกษา

ศิลปะ

การงานอาชพี 264 23 91 11 38 22 39 15 25 79 29.92

ภาษาตา่ งประเทศ 264 32 18 14 40 53 54 22 31 107 40.53

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 8 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ทกุ ระดบั ช้นั ม.1

100
80
60
40
20
0

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

19

ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 จำนวน รอ้ ยละ

กลุ่มสาระการ จำนวน จำนวนนักเรยี นท่ีมีผลการเรยี นรู้ นกั เรยี น นักเรียน

เรียนรู้ คน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ท่ีได้ ทีไ่ ด้

ระดบั 3 ระดบั 3

ขึน้ ไป ขน้ึ ไป

ภาษาไทย 292 37 32 33 44 30 50 25 41 116 39.73

คณติ ศาสตร์ 292 37 77 46 47 30 29 13 13 55 18.84

วิทยาศาสตร์ 292 51 37 28 36 40 41 37 22 100 34.25

สังคมศกึ ษา 292 13 11 20 25 44 44 65 70 179 61.30

ศาสนา

และวฒั นธรรม

สขุ ศกึ ษาและ 292 17 7 8 22 42 48 67 81 196 67.12
พลศกึ ษา

ศลิ ปะ 292 27 22 29 49 40 44 38 43 125 42.81

การงานอาชีพ 292 12 40 36 60 30 55 22 37 114 39.04

ภาษาต่างประเทศ 292 22 24 16 29 27 41 85 48 174 59.59

ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรทู้ ุกระดับชั้น ม.2

90
80
70
60
50
40
30
20
10
0

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

20

ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 จำนวน รอ้ ยละ

กลุ่มสาระการ จำนวน จำนวนนักเรยี นทีม่ ผี ลการเรยี นรู้ นกั เรียน นกั เรียน

เรียนรู้ คน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ที่ได้ ท่ีได้

ระดับ 3 ระดับ 3

ขนึ้ ไป ข้ึนไป

ภาษาไทย 308 15 22 11 33 31 56 64 76 196 63.64

คณิตศาสตร์ 308 28 97 37 44 35 35 10 22 67 21.75

วิทยาศาสตร์ 308 30 82 22 43 25 62 19 25 106 34.42

สงั คมศึกษา

ศาสนา 308 21 52 22 28 25 33 39 88 160 51.95

และวัฒนธรรม

สุขศึกษาและ 308 12 5 3 7 20 54 55 152 261 84.74
พลศึกษา

ศิลปะ 308 18 36 35 26 24 29 23 117 169 54.87

การงานอาชีพ 308 11 20 19 39 32 59 22 106 187 60.74

ภาษาตา่ งประเทศ 308 33 79 31 43 27 34 21 40 95 30.84

ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 8 กลุม่ สาระการเรียนรูท้ กุ ระดบั ชั้น ม.3

160
140
120
100
80
60
40
20

0

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

21

ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 จำนวน รอ้ ยละ

กลุ่มสาระการ จำนวน จำนวนนักเรยี นท่มี ผี ลการเรียนรู้ นักเรียน นักเรยี น

เรียนรู้ คน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ทไ่ี ด้ ท่ไี ด้

ระดบั 3 ระดบั 3

ขน้ึ ไป ข้นึ ไป

ภาษาไทย 191 9 1 7 18 28 57 41 28 126 65.97

คณิตศาสตร์ 191 20 27 20 27 27 26 17 25 68 35.60

วทิ ยาศาสตร์ 178 26 37 18 26 18 16 12 21 49 27.53

สงั คมศกึ ษา

ศาสนา 191 13 18 15 22 33 32 25 32 89 46.60

และวฒั นธรรม

สขุ ศกึ ษาและ 191 18 17 43 42 33 20 8 9 37 19.37
พลศกึ ษา

ศิลปะ 191 19 1 0 3 32 33 26 85 144 75.39

การงานอาชีพ 191 14 6 11 20 24 36 34 46 116 60.73

ภาษาต่างประเทศ 191 32 17 23 24 25 31 17 22 70 36.65

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ทกุ ระดบั ช้ัน ม.4

90
80
70
60
50
40
30
20
10
0

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

22

ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 5 จำนวน ร้อยละ

กล่มุ สาระการ จำนวน จำนวนนกั เรียนที่มีผลการเรียนรู้ นักเรียน นักเรยี น

เรียนรู้ คน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ทไ่ี ด้ ทีไ่ ด้

ระดบั 3 ระดบั 3

ขึ้นไป ขนึ้ ไป

ภาษาไทย 171 26 21 6 4 5 49 33 24 106 61.99

คณติ ศาสตร์ 171 28 39 24 23 12 11 11 23 45 26.32

วิทยาศาสตร์ 171 23 36 11 23 20 15 20 22 57 33.33

สงั คมศกึ ษา

ศาสนา 162 41 17 18 11 14 16 12 33 61 37.65

และวัฒนธรรม

สขุ ศึกษาและ 171 6 7 17 26 23 25 20 47 92 53.80
พลศึกษา

ศลิ ปะ 171 23 22 7 7 21 29 15 47 91 53.22

การงานอาชีพ 162 12 20 11 13 7 25 11 63 99 61.11

ภาษาต่างประเทศ 171 14 6 8 13 18 19 38 53 110 64.33

ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรยี นร้ทู ุกระดบั ชั้น ม.5

70
60
50
40
30
20
10
0

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

23

ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน รอ้ ยละ

กลุ่มสาระการ จำนวน จำนวนนกั เรยี นท่ีมผี ลการเรียนรู้ นกั เรียน นกั เรียน

เรียนรู้ คน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ทไ่ี ด้ ท่ไี ด้

ระดบั 3 ระดับ 3

ขึน้ ไป ขนึ้ ไป

ภาษาไทย 160 8 25 9 18 12 31 15 42 88 55.00

วทิ ยาศาสตร์ 160 17 19 14 17 18 30 24 31 85 52.13

สังคมศึกษา

ศาสนา 149 3 1 5 6 19 34 36 45 115 77.18

และวฒั นธรรม

สุขศึกษาและ 160 2 4 10 21 31 36 21 35 92 57.50
พลศกึ ษา

ศลิ ปะ 160 3 0 2 5 3 17 32 98 147 91.88

การงานอาชีพ 160 3 11 6 8 12 38 43 36 117 73.13

ภาษาต่างประเทศ 160 2 30 24 13 25 26 13 22 61 38.13

ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรูท้ กุ ระดับชน้ั ม.6

120

100

80

60

40

20

0 ศลิ ปะ การงานอาชีพ ภาษาตา่ งประเทศ
ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา สขุ ศึกษา

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

24

1.10.2 ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พนื้ ฐาน ( O-NET)

1) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ

ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560 - 2562

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O-NET) ระดบั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 และ 6

ระดับช้ัน ม.3 ม.6

ปกี ารศึกษา 2560 2561 2562 2560 2561 2562

ภาษาไทย 43.09 48.09 51.05 47.29 45.91 40.32

คณิตศาสตร์ 21.72 25.21 22.35 17.73 24.71 18.53

วทิ ยาศาสตร์ 28.93 31.81 28.39 25.45 27.33 25.65

สังคมศึกษาฯ - - - 31.95 33.12 32.97

ภาษาองั กฤษ 27.18 27.10 31.02 23.33 27.78 25.18

ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน 2560
ระดับมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 2561
2562
60

40

20

0
ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

ผลการทดสอบระดับชาติขัน้ พ้นื ฐาน 2560
ระดบั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 2561
2562
60

40

20

0
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาองั กฤษ

25

2) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3

ปีการศกึ ษา 2562

ระดบั / รายวิชา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

คะแนนเฉลีย่ ของโรงเรียน 51.05 22.35 28.39 31.02

คะแนนเฉลี่ย ระดับสพม.1 60.03 33.25 32.25 41.90

คะแนนเฉลย่ี ระดบั จงั หวัด 60.03 33.25 32.25 41,90

คะแนนเฉลยี่ สงั กดั สพฐ.ทงั้ หมด 55.91 26.98 30.22 32.98

คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ 55.14 26.73 30.07 33.25

70 ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์
60 วิทยาศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
50

40

30

20

10

0
คะแนนเฉล่ียของโรงเรยี น คะแนนเฉล่ยี ระดับสพม.1คะแนนเฉลี่ย ระดบั จงั หวดั คะแนนเฉล่ยี สังกดั สพฐ.
ทัง้ หมด

26

3) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปี

การศกึ ษา 2562

ระดับ / รายวิชา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา ภาษาอังกฤษ
25.18
คะแนนเฉลี่ยของโรงเรยี น 40.32 18.53 25.65 32.97 40.05
40.05
คะแนนเฉลี่ย ระดบั สพม.1 48.68 34.63 33.35 39.17 28.97
29.20
คะแนนเฉลยี่ ระดับจังหวัด 48.68 34.63 33.35 39.17

คะแนนเฉลี่ย สงั กัดสพฐ.ทั้งหมด 43.02 25.62 29.40 36.10

คะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ 42.21 25.41 29.20 35.70

60

50

40

30 ภาษาไทย
20 คณติ ศาสตร์
10 วทิ ยาศาสตร์

สังคมศึกษา
0

ภาษาอังกฤษ

27

1.10.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปีการศกึ ษา 2562

ระดับชั้น จำนวนนักเรยี น จำนวน (ร้อยละของนกั เรียนตามระดบั คุณภาพ)
ท้งั หมด
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 264 ดเี ยยี่ ม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน
มัธยมศึกษาปีที่ 2 292
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 309 97.35 - - 2.65
มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 191
มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 171 84.26 11.97 - 3.77
มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 164
1,391 71.19 23.30 2.27 3.24
รวม
เฉล่ยี ร้อยละ 94.24 - - 5.76

92.99 5.26 - 1.75

80.49 15.85 1.22 2.44

86.75 9.40 0.58 3.27

มัธยมศกึ ษาปีที่ 6

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ไมผ่ ่าน
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ผา่ น
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ดี
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ดเี ย่ยี ม

มธั ยมศึกษาปที ี่ 1
0 20 40 60 80 100 120

28

ผลการประเมินคุณลักษณะอังพึงประสงค์ จำแนกตามผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

รายการประเมนิ จำนวนนักเรียน จำนวนนักเรยี นจำแนกตามผลการประเมิน
ทง้ั หมด (คน) คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (คน)

ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 1,391 1,194 142 9 46
2. ซอื่ สัตย์สุจรติ 1,391
3. มีวนิ ยั 1,391 1,194 142 9 46
4. ใฝ่เรียนรู้ 1,391
5. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง 1,391 1,194 142 9 46
6. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน 1,391
7. รกั ความเป็นไทย 1,391 1,194 142 9 46
8. มีจิตสาธารณะ 1,391
100.00 1,194 142 9 46
รอ้ ยละ
1,194 142 9 46

1,194 142 9 46

1,194 142 9 46

85.84 10.21 0.65 3.31

8. มจี ติ สาธารณะ ไมผ่ า่ น (0)
7. รกั ความเปน็ ไทย ผ่าน (1)
6. มงุ่ มนั่ ในการทางาน ดี (2)
5. อยู่อยา่ งพอเพียง ดเี ย่ียม (3)

4. ใฝ่เรียนรู้
3. มีวินัย

2. ซอ่ื สตั ย์สุจริต
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

29

1.10.4 ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 5 ดา้ น ปีการศกึ ษา 2562

ดา้ น จำนวน ผา่ น ไม่ผ่าน
นักเรียน จำนวน จำนวน
1) ด้านความสามารถในการสื่อสาร ท้ังหมด นักเรยี น รอ้ ยละ นกั เรยี น ร้อยละ
2) ด้านความสามารถในการคิด
3) ดา้ นความสามารถในการแก้ปัญหา 1391 1345 96.69 46 3.31
4) ดา้ นความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 1391 1345 96.69 46 3.31
5) ดา้ นความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 1391
1391 1345 96.69 46 3.31
รวม 1391 1345 96.69 46 3.31
เฉลย่ี ร้อยละ 1345 96.69 46 3.31

1345 96.69 46 3.31

5) ดา้ นความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 20 40 60 80 100 120
4) ดา้ นความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ไม่ผ่าน ผ่าน

3) ด้านความสามารถในการแก้ปญั หา
2) ด้านความสามารถในการคดิ

1) ดา้ นความสามารถในการสือ่ สาร
0

30

1.10.5 ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ปกี ารศกึ ษา 2562

ระดบั ชนั้ จำนวนนกั เรียน จำนวน (ร้อยละของนกั เรยี นตามระดบั คุณภาพ)
ทั้งหมด
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 264 ดีเยี่ยม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 292
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 309 42.05 54.92 - 3.03
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 191
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 171 44.86 49.66 - 5.48
มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 164
1,391 34.95 57.61 - 7.44
รวม
เฉลย่ี รอ้ ยละ 56.02 35.60 - 8.38

62.57 26.32 - 11.11

70.73 23.17 - 6.10

51.86 41.21 - 6.92

80 ดเี ยีย่ ม
70 ดี
60 ผา่ น
50 ไมผ่ ่าน
40
30
20
10
0

มัธยมศึกษาปที ี่ 1 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 มธั ยมศึกษาปีที่ 6

31

1.10.6 ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ปีการศึกษา 2562

ระดบั ช้นั จำนวนนกั เรียน จำนวน (ร้อยละของนกั เรยี น)
ท้ังหมด ผา่ น ไม่ผา่ น
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 264 93.07 6.93
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 292 94.83 5.17
มธั ยมศึกษาปีที่ 3 308 73.92 26.08
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 191 91.36 8.64
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 171 93.86 6.14
มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 160 99.46 0.54
1,386
รวม 91.08 8.92
เฉลีย่ รอ้ ยละ

120 ผา่ น
100 ไม่ผา่ น
80
60
40
20

0
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 มัธยมศึกษาปที ี่ 4 มัธยมศึกษาปีที่ 5 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

32

1.11 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม

โรงเรียนวดั อินทาราม ไดร้ บั การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม จาก สมศ.
เม่อื วนั ที่ 20 ถงึ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2557

สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก รอบสาม ดังตารางต่อไปนี้

ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน นำ้ หนัก คะแนน ระดับ
(มัธยมศกึ ษา) (คะแนน) ท่ีได้ คณุ ภาพ

มาตรฐานท่ี 1 ผลการจดั การศึกษา 10.00 9.71 ดีมาก
กลมุ่ ตวั บง่ ชพ้ี น้ื ฐาน 10.00 9.37 ดีมาก
ตัวบง่ ชท้ี ่ี 1 ผู้เรียนมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทดี่ ี 10.00 8.93
ตัวบ่งชีท้ ่ี 2 ผ้เู รยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มที่พึงประสงค์ 10.00 8.76 ดี
ตวั บง่ ชท้ี ่ี 3 ผู้เรียนมคี วามใฝร่ ู้ และเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนื่อง 20.00 10.29 ดี
ตัวบง่ ชีท้ ี่ 4 ผเู้ รียนคิดเป็น ทำเปน็ 5.00 5.00 พอใช้
ตวั บง่ ช้ีที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผูเ้ รยี น 5.00 5.00 ดมี าก
กลุ่มตัวบง่ ช้ีอัตลกั ษณ์ ดีมาก
ตัวบง่ ชท้ี ี่ 9 ผลการพัฒนาใหบ้ รรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน / วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ และ 5.00 5.00
วตั ถุประสงคข์ องการจัดตง้ั สถานศกึ ษา ดีมาก
ตวั บ่งชี้ที่ 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เน้นและจดุ เดน่ ท่ีส่งผลสะทอ้ นเป็นเอกลักษณ์ของ 5.00 4.80
สถานศึกษา 5.00 4.00 ดมี าก
กลมุ่ ตัวบง่ ชม้ี าตรการสง่ เสรมิ ดี
ตัวบ่งช้ที ี่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพอื่ สง่ เสรมิ บทบาทของสถานศกึ ษา 10.00 8.00
มาตรฐานที่ 2 การบริหารจัดการศกึ ษา ดี
กลมุ่ ตวั บง่ ชีพ้ นื้ ฐาน 5.00 3.66
ตวั บง่ ชี้ที่ 7 ประสทิ ธภิ าพของการบริหารจดั การและการพฒั นาสถานศึกษา 100.00 82.52 พอใช้
กลมุ่ ตวั บ่งชม้ี าตรการสง่ เสรมิ ดี
ตัวบง่ ช้ที ี่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศกึ ษาเพื่อยกระดบั มาตรฐาน รกั ษามาตรฐานและ
พัฒนาสู่ความเปน็ เลิศทส่ี อดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั
กลุ่มตัวบง่ ชีพ้ น้ื ฐาน
ตัวบง่ ช้ที ี่ 6 ประสทิ ธผิ ลของการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคญั
มาตรฐานที่ 4 วา่ ดว้ ยการประกันคณุ ภาพภายใน
กลุ่มตัวบง่ ชพี้ น้ื ฐาน
ตัวบ่งชท้ี ี่ 8 พัฒนาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและต้นสงั กดั

ผลรวมคะแนนทั้งหมด

33

การรบั รองมาตรฐานสถานศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษา

ผลคะแนนรวมทุกตวั บ่งช้ี ตัง้ แต่ 80 คะแนนขึ้นไป  ใช่  ไม่ใช่

มตี ัวบง่ ช้ที ่ีได้ระดับดีข้ึนไปอย่างน้อย 10 ตวั บง่ ช้ี จาก 12 ตวั บ่งช้ี  ใช่  ไม่ใช่

ไมม่ ีตวั บง่ ช้ใี ดทีม่ ีระดบั คุณภาพต้องปรบั ปรงุ หรือต้องปรับปรุงเรง่ ด่วน  ใช่  ไมใ่ ช่

สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานของสถานศึกษาในภาพรวม

 สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา  ไม่สมคววรรับรองมาตรฐานการศึกษา

ขอ้ เสนอแนะจากผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม

1) จุดเด่น จดุ ที่ควรพฒั นา และขอ้ เสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา

โดยสถานศกึ ษาหรือหนว่ ยงานต้นสังกดั

1.1 จดุ เด่น

ดา้ นผลการจดั การศึกษา

ผู้เรยี นมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีคุณธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มีผลการพัฒนา

ผเู้ รียนใหม้ คี ุณลักษณะที่พงึ ประสงค์เกดิ เป็นอตั ลกั ษณ์ของผเู้ รียน “สภุ าพชน คนตลาดพลู” เปน็ ไปตามปรัชญา

ปณิธาน/วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ และวัตถุประสงคข์ องการจัดตัง้ สถานศึกษา และมกี ารดำเนนิ การตามจดุ เน้นจุดเด่น

ที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษาด้านรักษ์วัฒนธรรม ก้าวล้ำสู่สากล และมีการดำเนินการ

แก้ปัญหาการแกป้ ัญหาคุณภาพนำ้ เสียในคลองบางหลวง โดยมีการจัดโครงการคืนน้ำใสให้คลองบางหลวงเป็น

โครงการพิเศษส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ผลการดำเนินโครงการบรรลุเป้าหมายที่วางไว้

ดา้ นการบรหิ ารจัดการศึกษา

ผูบ้ ริหารมีความรูค้ วามเขา้ ใจและมคี วามสามารถในการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน

มีการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ มีการบริหารจัดการตามภารกิจของโรงเรียนครบถ้วน โดยมีการใช้ระบบ

วงจรคุณภาพ PDCD เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ พร้อมทั้งเน้นการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ให้

ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสถานศึกษา มีคณะกรรมการสถานศึกษาที่เข้มแข็ง

และมีการบริหารจัดการบรรยากาศและสภาพแวดล้อมให้มีความสะอาด ถูกสุขลักษณะ และสวยงามตาม

บรบิ ทของสถานศึกษา

ดา้ นการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั ไม่มี

ดา้ นการประกันคุณภาพภายใน ไม่มี

34

1.2 จุดทคี่ วรพฒั นา
ด้านผลการจดั การศกึ ษา
ผู้เรียนบางส่วนขาดนิสัยรักการอ่าน ยังบันทึกการอ่านไม่สม่ำเสมอ ยังขาดการบันทึกที่
สมบูรณ์ และบางส่วนทักษะด้านการคิดเป็น ทำเป็น ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นยังเข้าร่วมกิจกรรมการ
ทำโครงงานคอ่ นข้างนอ้ ย ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นของผเู้ รียนในภาพรวมอย่ใู นระดบั พอใช้
ด้านการบริหารจดั การศกึ ษา
สถานศึกษาขาดการศึกษาแนวทางการจัดการศึกษาตามการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่
สองเพ่ือกำหนดเป็นกรอบในการบิหารจัดการสถานศึกษา และครูบางส่วนยังขาดความสามารถในการจัดการ
เรียนรู้ท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ ซ่ึงส่งผลต่อการปฏบิ ัตติ ามแนวทางปฎริ ปู การศึกษา
ด้านการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ
สถานศึกษาขาดการนำผลการประเมินการพัฒนาอบรมครู ผลการตรวจแผนการจัดการ
เรียนรู้ การนิเทศการสอน และการประเมินแบบวัด แบบทดสอบ มาพัฒนาครูแต่ละคนอย่างเป็นระบบและ
ต่อเนื่อง ครูบางส่วนมีคุณลักษณะไม่ครบตามเกณฑ์การประเมิน 8 ข้อ และขาดความรู้ความเข้าใจในการ
ดำเนินการวิจยั ในชนั้ เรยี น
ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน
การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาบางโครงการ/กจิ กรรมยงั ขาดความตอ่ เนือ่ ง และสารสนเทศของ
สถานศกึ ษายังไมเ่ ปน็ ปจั จุบัน ครบถ้วน และทนั ตอ่ การใช้งาน
1. สถานศึกษาตงั้ อยใู่ นทำเลดีติดถนนใหญ่ อยู่ในแหลง่ ชมุ ชน การคมนาคมสะดวก
2. สถานศึกษามีคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ผู้ปกครองและ
ชุมชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน มีถ่ายทอดความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมถึงเห็นความสำคัญในการอนุรักษ์วัฒนธรรม
ประเพณไี ทย
3. สถานศึกษาและชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายส่งผลให้ผู้เรียนได้เรียนได้เรียนรู้ตาม
ความถนดั และความสนใจ
4. กฎหมายทางการศึกษาส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิรูปการศึกษา ทำให้มีนโยบาย
สนับสนุนคา่ ใช้จ่ายในการจดั การศึกษา เดก็ มีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอย่างทั่วถึง
1.3 อุปสรรค
1. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างทั่วไป
และค้าขายเล็กๆ น้อยๆ ฐานะทางเศรษฐกิจปานกลาง ผู้ปกครองบางส่วนหย่าร้าง ทำให้ผู้เรียนขาดการดูแล
เอาใจใส่เท่าท่คี วรสง่ กระทบต่อการสนบั สนุนทางการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
2. การแขง่ ขนั ทางการศกึ ษาสูงในพ้นื ท่ีการศกึ ษาเดยี วกันมีโรงเรียนระดับเดยี วกนั หลายแหง่
3. สภาวะเศรษฐกจิ ทต่ี กตำ่ ทำให้สถานศกึ ษาได้รบั การจัดสรรงบประมาณลดน้อยลง

35

4. นโยบายการปรับลดอัตรากำลังคนของภาครัฐ ส่งผลกระทบต่อการขาดแคลนครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา

1.4 ขอ้ เสนอแนะ
-

ด้านผลการจดั การศึกษา
1. ผู้เรียนควรได้รับการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านอย่างจริงจังด้วยการจัดกิจกรรมอย่าง
ต่อเนื่อง กำหนดให้มีการบันทึกหลักการอ่านในสมุดบันทึกการอ่านอย่างต้ังใจทุกครั้งท่ีอ่าน มีการประเมินการ
อ่านเป็นระยะ นำผลการปรเมินมาพฒั นาการอ่านของผเู้ รยี นอยา่ งสม่ำเสมอ
2. ผเู้ รียนควรได้รับการส่งเสริมใหค้ ิดเป็นทำเป็น โดยการส่งเสริมการทำโครงงานในทุกกลุ่ม
สาระการเรียนรู้โดยเฉพาะระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้ สง่ เสรมิ ให้ทำโครงงานตามกระบวนการจัดทำโครงงาน
ตามลำดับขน้ั ตอนที่ถกุ ต้องครบถว้ น เพอื่ พฒั นาทักษะการคิดอย่างสมบรู ณ์
3. สถานศึกษาควรจัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผ้เู รียนทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้โดยผู้บริหารและคณะครูควรศึกษาผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ O-Net และควรวิเคราะห์หาสาเหตุที่
แทจ้ ริงท่ีทำใหผ้ ลสมั ฤทธติ์ ่ำ แล้วนำผลมาวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สอนเสรมิ ใหก้ ระทำอยา่ งต่อเน่ือง
เพ่ือสง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นมีคณุ ภาพเรียนรทู้ ่สี ูงเพิ่มมากขึน้
ดา้ นการบรหิ ารจัดการศกึ ษา
1. สถานศึกษาควรพัฒนาประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จัดให้มี
การแต่งตั้งที่ปรึกษา/หรือคณะอนุกรรมการเพ่ือดำเนินงานตามระเบียบ และในการดำเนินโครงการ/กิจกรรม
ใดๆ มกี ารประเมนิ โครงการในด้านต่างๆ รวมถึงการประเมินความพึงพอใจ พร้อมท้ังรายงานผลการดำเนินการ
ต่อคณะกรรมการสถานศึกษาโดยคณะกรรมการสถานศึกษาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75 รับทราบและมีความพึงพอใจ
ตอ่ ผลการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา
2. สถานศึกษาควรศึกษาแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561)
เพื่อนำหลักการมากำหนดกรอบในการพัฒนาผู้เรียน ครู การบริหารจัดการสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ยุด
ใหม่ พัฒนาการบริหารให้สอดคล้องกับหลักการปฏิรปู การศึกษาตามบริบทของสถานศึกษา
ดา้ นการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั
1. สถานศึกษาควรมีการนำผลการประเมินการพัฒนาอบรมครู ผลการตรวจแผนการจัดการ
เรียนรู้ การนิเทศการสอนและการประเมินแบบวัด แบบทดสอบ มาพัฒนาครูแต่ละคนอย่างเป็นระบบและ
ต่อเนื่อง โดยผูบริหาร รองฝ่ายต่างๆ และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ร่วมเข้ามาช่วยกันพัฒนา กำกับ
ตดิ ตาม ดูแล พรอ้ มทงั้ ใหค้ ำปรกึ ษาและช้แี นะเพื่อการพัฒนาต่อไป
2. ครูทุกคนควรได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และให้ครูทุกคนมีการศึกษา
วิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจั ดการเรียนรู้ท่ีท้าทาย
ความสามารถของผู้เรียน การออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล

36

และพฒั นาการทางสมองเพือ่ นำผเู้ รยี นไปส่เู ปา้ หมาย การจดั บรรยากาศทเี่ อ้ือต่อการเรียนรู้ และดูแลช่วยเหลือ
ผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ การจัดเตรียมและใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรมนำภูมิปัญญาท้องถ่ิน เทคโนโลยี ที่
เหมาะสมมาประยุกต์ในการจัดการเรียนการสอน การประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่
หลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติของวิชาและระดับพัฒนาการของผู้เรียน รวมท้ังวางเง่ือนไขให้ผู้เรียน
ประเมินความก้าวหน้าของตนเองและนำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง การวิเคราะห์ผลการประเมิน
และนำมาใชใ้ นการซ่อมเสริมและพัมนาผู้เรยี นรวมท้ังปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน และการศึกษาค้นคว้า
วิจัย เพ่ือพัฒนาสื่อและกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยจัดให้มีแผนและการดำเนิน
โครงการ/กิจกรรมพัฒนาบุคลากรในด้านต่างๆ และวิชาชีพท่ีเก่ียวข้องอย่างเด่นชัด เป็นระบบ และต่อเน่ือง
นำผลดำเนนิ การพฒั นาครูสู่ภาคปฎิบตั ิเพือ่ พัฒนาผ้เู รยี นตอ่ ไป

3. ครูทุกคนควรได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้ ความสามารถในการดำเนินงานวิจัยในช้ัน
เรียน สถานศึกษาควรหาผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับการทำวิจัยในชั้นเรียนเข้ามาให้ความรู้และ
ทำการอบรมเชิงปฏิบัติการเพ่ือให้มีความสามารถในการทำบันทึกหลังสอนและค้นหาประเด็นปัญหาในการทำ
วิจัยในชั้นเรียน และสามารถดำเนินการวิจัยในชั้นเรียนเพ่ือสู้การแก้ไขปัญหาท่ีมีประสิทธิภาพอย่างเป็นระบบ
และถูกตอ้ งตามหลกั การ

ดา้ นการประกนั คุณภาพภายใน
สถานศึกษาควรพัฒนาครูและบคุ ลากรทกุ คนให้มคี วามรู้ ความเข้าใจและการปฏิบตั ิทถี่ ูกต้อง
ในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพตามระบบ
บริหารคุณภาพ (PDCA) โดยเฉพาะในเร่ืองการประเมินผลสำเร็จของโครงการต้องประเมินตามวัตถุประสงค์
ของโครงการที่ตั้งไว้และการตง้ั วตั ถุประสงค์ของโครงการกค็ วรให้สอดคล้องกับตัวบ่งช้ีของมาตรฐานท่โี ครงการ
นน้ั รองรบั การพฒั นาอยู่ จึงจะทำให้ผลสำเรจ็ ของโครงการ เป็นผลสำเรจ็ ตามตวั บง่ ช้ขี องมาตรฐานไปด้วย

1.12 ผลงานดีเด่น /รางวลั / ผลการปฏิบตั ิทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) ของสถานศกึ ษา
โรงเรียนวัดอินทารามเป็นโรงเรียนที่มีแนวคิดเพ่ือปลูกฝังให้นักเรียน เป็นผู้มีความพอเพียง กตัญญู

ซ่อื สัตย์สุจริต รับผิดชอบ และมีอุดมการณ์ทางคุณธรรม โรงเรยี นตง้ั อยใู่ นบริเวณพ้ืนท่ที ่ีมีวัดใกล้เคียง จึงทำให้
การส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมเป็นไปได้โดยง่าย นอกจากนี้โรงเรียนยังทำหน้าที่เสริมสร้างองค์ความรู้ ชี้แนะ
แนวทางการแก้ปัญหา การคิด วิเคราะห์ ค้นหาตนเอง ตลอดจนผลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะท่ี
พึงประสงค์ให้แก่ผู้เรียน โดยโรงเรียนได้ยึดหลักการจัดการคุณภาพตามกระบวนการ PDCA เป็นตัวขับเคลื่อน
ซ่งึ ได้เกิดผลงานในเชิงประจักษ์จากการสง่ นักเรียนเข้าแข่งขนั มากมาก เช่น การส่งนักเรยี นเข้าร่วมแขง่ ขันสวด
มนต์ทำนองสรภัญญะ ไดร้ ับรางวัลชนะเลิศชิงถ้วยกรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ
1 ถ้วยประทานในสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก การประกวดโอ้เอ้
วหิ ารราย การแข่งขันแต่งกลอนจากภาพ ระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 และ
การประกวดในรายการต่างๆอีกมากมาย

37

นอกจากน้ีโรงเรียนยังไดม้ ีการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อสง่ เสรมิ คุณลักษณะที่ดใี หก้ ับนักเรียน ทงั้ ทางด้าน
ความกตัญญู เช่น การจัดกิจกรรมวันแม่แห่งชาติ การจัดกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ การจัดกิจกรรมวันไหว้ครู
การจัดกิจกรรมที่เก่ียวเนื่องกับทางศาสนา เช่น การตักบาตรวิถีพุทธ การเทศน์มหาชาติ กิจกรรมวันมาฆบูชา
วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา การเวียนเทียนเนื่องในวันสำคัญทางศาสนา อีกทั้งยังมีการส่งเสริม
ประชาธิปไตยในโรงเรียนเพ่ือปลูกฝังความเป็นพลเมืองดีให้กับนักเรียน และยังมีกิจกรรมอ่ืน ๆ ท่ีส่งเสริมการ
อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ซ่ึงการจัดกิจกรรมต่างๆเหล่าน้ี ทำให้นักเรียนโรงเรียนวัดอนิ ทาราม
เกิดคณุ ลักษณะทด่ี ีทัง้ ทางด้านวชิ าการ คณุ ธรรม และจรยิ ธรรม

38

สว่ นท่ี 2 การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาตามแผนปฏบิ ัติการประจำปี

1. การบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา
โรงเรียนวัดอินทารามแบ่งโครงสร้างการบริหารงาน เป็น 4 กลุ่มบริหาร ได้แก่ กลุ่มบริหารวิชาการ

กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารงานบุคคล และกลุ่มบริหารทั่วไป ผู้บริหารยึดหลักการบริหารโดยใช้
เทคนคิ การบรหิ ารแบบการพฒั นาตามกระบวนการ PDCA

แผนภมู ิการบริหารโรงเรียนวดั อนิ ทาราม

ผ้อู ำนวยการโรงเรียนวดั อนิ ทาราม

สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรยี นวัดอนิ ทาราม คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

สมาคมศษิ ยเ์ ก่าโรงเรยี นวัดอนิ ทาราม มูลนธิ ิการศึกษาโรงเรียนวดั อนิ ทาราม

คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง

กลมุ่ บริหารวชิ าการ กลมุ่ บริหารงบประมาณ กลมุ่ บริหารงานบคุ คล กลมุ่ บริหารทว่ั ไป
(รองผ้อู ำนวยการโรงเรียน) (รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน) (รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น) (รองผู้อำนวยการโรงเรยี น)

- งานบริหารกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ - งานระดมทรัพยากรและ - งานบุคคล - งานธรุ การ
- งานพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา การลงทุนเพื่อการศกึ ษา - งานทะเบยี นประวตั แิ ละ - งานประสานงาน
- งานวดั ผล ประเมนิ ผลและ - งานบริหารการเงนิ บำเหนจ็ ความรับผิดชอบ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
เทยี บโอนผลการเรยี นรู้ - งานบริหารบญั ชี ข้นั พน้ื ฐาน
- งานวจิ ยั พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา - งานบริหารพัสดแุ ละสนิ ทรัพย์ - งานวนิ ยั และรักษาวินยั - งานประสานงานสมาคม
- งานพฒั นาสือ่ นวตั กรรมและ - การจัดทำขอ้ ตกลงการ ผู้ปกครองและครโู รงเรยี น
เทคโนโลยที างการศึกษา ปฏบิ ัติราชการ - งานพัฒนาบคุ ลากรและ วัดอนิ ทาราม
- งานพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ - งานเทคโนโลยีสารสนเทศ เสรมิ สร้างประสทิ ธภิ าพ - งานอาคารสถานท่ี
- งานนเิ ทศทางการศกึ ษา - งานตรวจสอบภายใน การปฏบิ ัติราชการ - ยานพาหนะและบริการ
- งานแนะแนวทางการศกึ ษา - งานจดั ระบบควบคุมภาย - งานส่งเสรมิ กิจการนกั เรยี น สาธารณะ
- งานประสานงาน ส่งเสริมและ ในหน่วยงาน - งานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื - งานโภชนาการ
สนับสนนุ งานวิชาการแก่ นกั เรยี นและเครอื ขา่ ย - งานอนามยั โรงเรียน
ผปู้ กครอง - งานสวัสดกิ าร
ครอบครัว - งานส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม - งานวิทยสุ ่อื สาร
ชมุ นมุ องคก์ ร หนว่ ยงานและ - งานสง่ เสริมประชาธปิ ไตย - งานโสตทัศนศกึ ษา
สถาบันอน่ื ท่ี จดั การศึกษา - งานระดบั ชนั้ และครทู ป่ี รกึ ษา - งานประชาสัมพนั ธ์
- งานการรบั นกั เรยี น - งานป้องกนั และแก้ไขปญั หา - งานสงิ่ แวดล้อม
- งานทะเบยี นนักเรยี นและ สง่ิ เสพติด เอดส์ และอบายมขุ
จดั ทำสำมะโนนักเรยี น - งานวนิ ัยและความประพฤติ
- งานพฒั นาระบบเครอื ข่าย นกั เรยี น
ข้อมลู สารสนเทศ - งานประสานและพัฒนา
- งานห้องสมุด เครอื ขา่ ยการศึกษา
- งานพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพ - งานสมั พนั ธช์ มุ ชน
- งานการศกึ ษาพเิ ศษ - งานรกั ษาความปลอดภยั
- งานสง่ เสรมิ และประสานงาน
การศึกษาในระบบ นอกระบบ
และตามอธั ยาศยั
- งานแผนงาน

39

2. วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ เปา้ หมาย และกลยทุ ธ์ของสถานศึกษา
วิสัยทศั น์

จดั การศึกษาอย่างมคี ุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษาสู่สากล บนพ้นื ฐานความเป็นไทย ตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

พันธกิจ (MISSION)
1. พัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษาสู่มาตรฐานสากล
2. สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่ดี งี าม บนพน้ื ฐานความเป็นไทย
3. สง่ เสริมให้ผเู้ รียนสบื สานศลิ ปวฒั นธรรมไทย อนรุ ักษส์ ่งิ แวดลอ้ ม และดำเนนิ ชีวิตตามหลกั ปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
4. ส่งเสริมพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้เปน็ มืออาชพี
5. สง่ เสรมิ สนับสนุนการใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรู้ และการบรหิ ารจัดการศึกษาอยา่ งเป็น

ระบบ

เป้าประสงค์ (GOAL)

ด้านผเู้ รยี น
1. ผ้เู รยี นมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสูงขน้ึ ร้อยละ 3
2. ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และคดิ แกป้ ญั หาได้อยา่ งสร้างสรรค์
3. ผู้เรียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมทดี่ งี าม บนพ้นื ฐานความเปน็ ไทย
4. ผูเ้ รยี นสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย อนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม และดำเนินชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
5. ผู้เรียนมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือพฒั นาตนเองอย่างสรา้ งสรรค์
6. ผเู้ รยี นมสี ขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คมทด่ี ี
7. ผเู้ รยี นยอมรบั ทจ่ี ะอย่รู ่วมกันบนความแตกต่างหลากหลาย และรับฟงั ความคิดเห็นของผ้อู นื่

ด้านครู
1. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาเป็นมืออาชีพในการจดั การเรียนการสอน
2. ครไู ด้รับการยกยอ่ งตามมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณครู

ด้านผูบ้ รหิ าร
1. ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนมคี วามรู้ทางด้านวชิ าการ มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์
2. สง่ เสริมสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีคุณภาพอยา่ งมืออาชพี
3. บริหารจดั การศึกษาอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพตามระบบคณุ ภาพ OBECQA
4. พัฒนาแหล่งเรียนรู้ และจดั บรรยากาศที่เอ้ือตอ่ การเรียนการสอน และการใช้เทคโนโลยอี ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

40

ด้านชมุ ชน
1. ชุมชนมสี ว่ นรว่ มในการดแู ลนกั เรียน การอนรุ ักษส์ งิ่ แวดลอ้ ม การใช้แหลง่ การเรียนรู้ สืบสานวฒั นธรรม
ประเพณีและภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น
2. โรงเรียนเป็นแหลง่ ความรแู้ ละนำความรูส้ ู่ชุมชนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

จุดเนน้
โรงเรยี นวดั อินทารามเป็นโรงเรยี นมาตรฐานสากล เน้นความเป็นเลิศทางวชิ าการและกิจกรรมเติมเต็ม

ตามศักยภาพของผู้เรียนมุ่งให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางด้านการเรียนรู้ การคิด การปฏิบัติ มีคุณธรรมและ
จริยธรรม มุ่งพัฒนาอย่างรอบด้าน เพื่อให้ดำรงชีวิตอยู่ได้ในสังคมอย่างมีความสุข และได้รับความยอมรับใน
สงั คมไทยทกุ ระดับ

คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. นักเรยี นมีวินยั เสยี สละ มีความรับผิดชอบ
2. เปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้
3. มสี มั มาคารวะ ซื่อสัตย์ ประหยัดและอดออม
4. ยดึ ม่นั และศรัทธาในศาสนา
5. ไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ส่ิงเสพตดิ และอบายมขุ

นโยบายของโรงเรียน
1. เพ่ือให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้นร้อยละ 3 มีความสามารถในการคิดอย่างมี

วิจารณญาณ และคิดแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือ
พัฒนาตนเองอย่างสร้างสรรค์

2. เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีดีงาม บนพื้นฐานความเป็นไทย สืบสาน
ศลิ ปวัฒนธรรมไทย อนุรักษ์สง่ิ แวดล้อม และดำเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีสขุ ภาวะทาง
รา่ งกาย และจติ สงั คมที่ดี อย่รู ่วมกนั บนความแตกตา่ งหลากหลาย และรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผูอ้ น่ื

3. เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ และจัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนการสอน ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล
นักเรียน การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม การใช้แหล่งการเรียนรู้ สืบสานวัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
และโรงเรยี นเปน็ แหล่งความรู้และนำความรสู้ ชู่ มุ ชนอย่างมีประสทิ ธิภาพ

4. เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นมืออาชีพในการจัดการเรียนการสอน ได้รับการยกย่อง
ตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณครู

5. มีการใช้เทคโนโลยีอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
6. มีการสง่ เสริมให้ผ้เู รยี นมคี วามรู้ทางดา้ นวชิ าการ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทพ่ี งึ ประสงค์
7. มรี ะบบบรหิ ารจัดการศึกษาอยา่ งมีประสทิ ธิภาพตามระบบคุณภาพ OBECQA

41

อัตลักษณ์
สภุ าพชน คนตลาดพลู

เอกลกั ษณ์
รักษว์ ฒั นธรรม กา้ วลำ้ สู่สากล

กลยทุ ธ์โรงเรยี นวดั อนิ ทารามระยะ 3 ปี (2563 – 2565)
กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวัดและการประเมินผล และกระบวนการจัดการเรียนรู้

ตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานส่มู าตรฐานสากล
กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมหลัก 12

ประการ บนพ้ืนฐานความเปน็ ไทย
กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาแหลง่ เรยี นรภู้ ายในสถานศกึ ษา จัดบรรยากาศสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ที่เป็นมิตรกับ

ส่งิ แวดลอ้ ม และดำเนินชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสรมิ พัฒนาสมรรถนะของครูในการจดั การศึกษาใหม้ คี ุณภาพ สู่ความเป็นครูมืออาชพี
กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาสื่อ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางการศึกษา และระบบบริหารการจดั การศึกษาอย่างมี

ประสิทธิภาพโดยใช้หลกั การมสี ว่ นรว่ ม

3. แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
โรงเรียนวดั อินทาราม เป็นสถานศึกษาท่ีให้ความสำคญั กบั ผู้เรยี นเป็นหลักโดยได้กำหนดนโยบายต่างๆ

เพื่อพัฒนาผู้เรียนและโรงเรียนให้มีคุณภาพมาตรฐาน บริหารจัดการตามยุทธศาสตรข์ องกระทรวงศึกษาธิการ
ได้แก่ การพัฒนาบคุ ลากรให้มีความพร้อมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การปรบั สภาพแวดล้อมและทรัพยากร
เพื่อการเรียนรู้ การมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการและเทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์
ปลูกฝังผเู้ รียนด้านจริยธรรม คณุ ธรรม ความเป็นไทย พัฒนาผ้เู รียนด้านสุนทรียภาพและอนรุ ักษค์ วามเป็นไทย
มงุ่ สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างโรงเรยี นและชุมชน และมุ่งพัฒนาการนำแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยกุ ต์ใช้ ในชีวติ ประจำวัน

นอกจากน้ีโรงเรียนวัดอินทาราม ยังกำหนดนโยบายส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความศรัทธาและเช่ือมั่นการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ปลูกฝังให้ผู้เรียนรู้จักอันตรายของ
ยาเสพติด และรู้จักป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด รวมทั้งม่งุ พัฒนาการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและ
ได้มาตรฐานอุดมการณ์ของการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เป็นการจัดการศึกษาเพื่อปวงชนโดยรัฐต้องจัดให้มี
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อพัฒนาเยาวชนไทยทุกคนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท้ังในฐานะที่เป็นพลเมือง
ไทยและเป็นพลเมืองของโลก เพื่อเป็นรากฐานที่พอเพียงสำหรับการใฝ่รู้ ใฝ่เรียนตลอดชีวิต รวมทั้งเพื่อการ
พฒั นาหน้าท่ีการงาน และการพัฒนาคุณภาพชีวิตส่วนตัวและครอบครัว และเพื่อสร้างรากฐานพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตส่วนตนและครอบครวั เพ่ือสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งสำหรับการสรา้ งสรรค์สังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการ

42

เรียนรู้ เพื่อการพัฒนาประเทศที่ย่ังยืนในอนาคต ในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานยึดหลักที่สอดคล้องกับ
อดุ มการณ์ ดงั น้ี

1. หลักการพัฒนาผูเ้ รียนอยา่ งครบถว้ นสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา ความรู้และคุณธรรมเป็น
ผู้ท่ีมีจริยธรรมในการดำเนินชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่นื ไดอ้ ย่างมีความสุข ใฝ่รู้ มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้
ที่พอเพียงต่อการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตส่วนตน สามารถเผชิญความเปล่ียนแปลงได้อย่างเท่าทัน ชาญ
ฉลาด และมคี วามเปน็ ประชาธปิ ไตย

2. หลักการจัดการศึกษาเพ่ือความเป็นไทย ให้มีความรักและภาคภูมิใจในท้องถ่ินและประเทศชาติ มี
ความรู้และทักษะพื้นฐาน สำหรับการประกอบอาชีพสุจริต มีความมุ่งมั่น ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดทน มี
ลกั ษณะนิสัยและทศั นคติทีพ่ งึ ประสงค์เพ่ือเปน็ สมาชกิ ที่ดีท้ังของครอบครวั ชุมชน สังคมไทยและสงั คมโลก

3. หลักแห่งความเสมอภาค คนไทยทั้งปวงต้องมีสิทธิ์เสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อย
กว่า 12 ปี อย่างท่ัวถึงเท่าเทียมควบคู่ไปกับความมีคุณภาพ โดยไม่แบ่งชนช้ันหรือความแตกต่างทางสังคม
วฒั นธรรม

4. หลักการมีส่วนร่วม องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการบริหารและการ
จัดการศึกษาร่วมกับคณะกรรมการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาเพื่อเสริมสร้างเอกลักษณ์
ศักดิ์ศรีและตอบสนองความต้องการของท้องถ่ินตามนัยของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช
2557 เกีย่ วกบั การกระจายอำนาจ

5. หลักแหง่ ความสอดคล้อง อดุ มการณแ์ ละมาตรฐานในการจดั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานตอ้ งสอดคลอ้ งกับ
สาระบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี2) พุทธศักราช 2545 นโยบายการศึกษาของรัฐบาลท่ีแถลงต่อ
รัฐสภา สอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ

4. โครงการท่สี อดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวัดและการประเมินผล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ตาม
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานสมู่ าตรฐานสากล

1.1 ยุทธศาสตร์ที่ 1.1 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สำคญั สมู่ าตรฐานสากล

1) โครงการพัฒนาหลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรู้สมู่ าตรฐานสากล
2) โครงการพฒั นาศักยภาพ และยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
1.2 ยุทธศาสตร์ที่ 1.2 พัฒนาการวัดและการประเมินผลด้วยวิธีการท่ีหลากหลายเหมาะสมกับ
ศักยภาพของผเู้ รียน
1) โครงการพฒั นาหลักสูตรและกระบวนการเรยี นรู้สูม่ าตรฐานสากล
2) โครงการพฒั นาศักยภาพ และยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน

43

1.3 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1.3 ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ูงขึ้นร้อยละ 3
1) โครงการพฒั นาศกั ยภาพ และยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น

1.4 ยุทธศาสตร์ท่ี 1.4 ส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ คิด
สร้างสรรค์ และสามารถแก้ปัญหาได้ดว้ ยตนเอง

1) โครงการพัฒนาศกั ยภาพ และยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
2) โครงการเสริมสรา้ งบคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21
1.5 ยุทธศาสตร์ท่ี 1.5 ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ออกแบบ สร้างสรรค์นวัตกรรม
นำเสนอ เผยแพรผ่ ลงาน และแลกเปล่ียนเรยี นรไู้ ด้
1) โครงการพัฒนาศักยภาพ และยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
2) โครงการเสริมสรา้ งบุคคลแห่งการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21
1.6 ยุทธศาสตร์ท่ี 1.6 ส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสามารถ ความถนัด และความ
สนใจในอาชีพสจุ ริต
1) โครงการพฒั นาศักยภาพ และยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
2) โครงการเสรมิ สรา้ งบคุ คลแหง่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21
1.7 ยุทธศาสตร์ท่ี 1.7 ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความสามารถในการอ่าน เขียน การแสวงหาความรู้ด้วย
ตนเอง และมีนสิ ัยรักการอ่าน
1) โครงการสง่ เสรมิ นสิ ัยรกั การอา่ น
2. กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมหลัก 12
ประการ บนพื้นฐานความเป็นไทย
2.1 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2.1 ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน และค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ
1) โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ บนพื้นฐานความเป็นไทย
และค่านยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ
2) โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข
3) โครงการพฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน
2.2 ยุทธศาสตรท์ ี่ 2.2 ปลูกฝังให้ผู้เรียนรักและภูมิใจในความเป็นไทย อนรุ ักษ์ สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ไทย และอย่รู ว่ มกันบนความหลากหลายทางวฒั นธรรม
1) โครงการสืบสานภมู ิปัญญาไทย และอนุรักษ์ศลิ ปวัฒนธรรมไทย
2) โครงการสง่ เสรมิ การเรียนรู้ความหลากหลายทางวฒั นธรรม
2.3 ยุทธศาสตร์ที่ 2.3 สนับสนุนการนำภูมิปัญญาท้องถ่ิน ปราชญ์ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา
การศกึ ษา
1) โครงการสบื สานภูมปิ ญั ญาไทย และอนุรักษศ์ ลิ ปวฒั นธรรมไทย
2) โครงการส่งเสริมการเรยี นรูค้ วามหลากหลายทางวัฒนธรรม

44

3. กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา จัดบรรยากาศสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
สิง่ แวดลอ้ ม และดำเนนิ ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3.1 ยุทธศาสตร์ท่ี 3.1 พัฒนาอาคารสถานท่ีสิง่ แวดล้อม ส่ิงอำนวยความสะดวก แหล่งเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อ
การเรยี นรู้ และบรกิ ารชมุ ชน

1) โครงการพฒั นาอาคารสถานที่ สง่ิ แวดลอ้ ม ใหเ้ ปน็ สงั คมแห่งการเรยี นรู้
3.2 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3.2 ส่งเสริมการใชพ้ ลงั งานอย่างคุ้มค่า อนรุ กั ษ์ส่ิงแวดล้อม บรหิ ารจัดการขยะ และ
ลดใชถ้ งุ พลาสติกในสถานศึกษา

1) โครงการรรู้ ักษส์ ่ิงแวดล้อม
3.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3.3 ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

1) โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. กลยทุ ธท์ ่ี 4 ส่งเสริม พัฒนาสมรรถนะของครูในการจัดการศกึ ษาให้มีคุณภาพ สู่ความเปน็ ครูมืออาชีพ

4.1 ยุทธศาสตร์ท่ี 4.1 ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ประพฤติปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม
จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ

1) โครงการส่งเสริม พัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพอย่างมือ
อาชีพ

4.2 ยุทธศาสตร์ท่ี 4.2 ส่งเสริมให้ครูมีแผนพัฒนาตนเอง วิจัยในชั้นเรียน การใช้และสร้างนวัตกรรม
ส่ือเทคโนโลยใี นการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น

1) โครงการส่งเสริม พัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพอย่างมือ
อาชีพ

4.3 ยุทธศาสตร์ท่ี 4.3 พัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัตงิ านโดยใช้ระบบการนิเทศประเมินผลอย่างเป็น
รูปธรรม

1) โครงการส่งเสริม พัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพอย่างมือ
อาชีพ

4.4 ยุทธศาสตรท์ ่ี 4.4 เสริมสรา้ งขวัญและกำลงั ใจให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา
1) โครงการเสรมิ สร้างขวญั และกำลงั ใจใหแ้ ก่ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา

5. กลยุทธ์ท่ี 5 พัฒนาสื่อ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางการศึกษา และระบบบริหารการจัดการศึกษาอย่างมี
ประสิทธิภาพโดยใชห้ ลักการมีส่วนรว่ ม

5.1 ยุทธศาสตร์ท่ี 5.1 พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต ที่เอื้อต่อการเรยี นรู้ และ
การบรหิ ารจดั การ

1) โครงการพัฒนาระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์เพอื่ การเรยี นรู้ และการบรหิ ารจดั การ
5.2 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5.2 พัฒนาระบบบรหิ ารและจดั การศึกษาดว้ ยระบบคุณภาพ

1) โครงการพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การศึกษาดว้ ยระบบคุณภาพโดยใชห้ ลกั การมีสว่ นรว่ ม

45

5.3 ยุทธศาสตร์ที่ 5.3 ส่งเสริม สนับสนุน การมีส่วนร่วมของชุมชน เครือข่าย และองค์กรท่ีเก่ียวข้อง

ในการจัดการศึกษา

1) โครงการพัฒนาระบบบริหารจดั การศกึ ษาด้วยระบบคุณภาพโดยใช้หลักการมีสว่ นร่วม

มาตรฐานการศกึ ษา ช่ือโครงการ
ของสถานศกึ ษา

มาตรฐานที่ 1 ด้านคณุ ภาพ 1) โครงการพฒั นาหลกั สูตรและกระบวนการเรียนรู้ส่มู าตรฐานสากล

ผู้เรียน 2) โครงการพัฒนาศกั ยภาพ และยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น

3) โครงการเสรมิ สร้างบคุ คลแหง่ การเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21

4) โครงการส่งเสริมนสิ ัยรกั การอา่ น

5) โครงการสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ บน

พื้นฐานความเปน็ ไทย และค่านยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ

6) โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข

7) โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน

8) โครงการสบื สานภมู ิปญั ญาไทย และอนรุ กั ษศ์ ิลปวฒั นธรรมไทย

9) โครงการสง่ เสริมการเรยี นรคู้ วามหลากหลายทางวัฒนธรรม

10) โครงการร้รู ักษ์สิ่งแวดล้อม

11) โครงการสง่ เสริมการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการ 1) โครงการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรูส้ ่มู าตรฐานสากล

บรหิ ารและการจัดการ 2) โครงการพฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน

3) โครงการพัฒนาอาคารสถานท่ี สง่ิ แวดลอ้ ม ใหเ้ ป็นสงั คมแห่งการเรยี นรู้

4) โครงการรูร้ กั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม

5) โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาสมรรถนะครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้มี

คุณภาพอย่างมืออาชีพ

6) โครงการเสรมิ สร้างขวญั และกำลงั ใจให้แก่ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

7) โครงการพัฒนาระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์เพอ่ื การเรยี นรู้ และการ

บรหิ ารจดั การ

8) โครงการพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การศึกษาด้วยระบบคุณภาพโดยใช้

หลักการมสี ว่ นร่วม

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการ 1) โครงการพัฒนาศกั ยภาพ และยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน

จัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี น 2) โครงการเสริมสร้างบคุ คลแห่งการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21

เปน็ สำคญั 3) โครงการรู้รกั ษส์ ่ิงแวดล้อม

4) โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรเ์ พอื่ การเรยี นรู้ และการ

บรหิ ารจัดการ

46

สว่ นท่ี 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

โรงเรียนวัดอินทารามได้ใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นทิศทาง เป้าหมายการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา และใช้เป็นหลักในการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษาและ
ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด มีทั้งหมด 3
มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานท่ี 1 ด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ และ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมีข้ันตอนในการประเมิน คือ มี
การวางแผนผู้รบั ผิดชอบในแตล่ ะมาตรฐาน และประเด็นการพจิ ารณา และประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
โดยการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และนำผลที่ได้มาเป็นข้อมูลย้อนกลับเพ่ือทบทวนค่าเป้าหมายเพ่ือ
กำหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษา และปรับปรุงคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาที่
ตอ่ เนื่องและย่ังยืน

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น
ระดับคุณภาพ: ดเี ลศิ

1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนวัดอินทารามมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีท่ีหลากหลาย ครูจัดการเรยี นการสอนเป็นไป
ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรโดยจัดให้มีโครงการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระ
เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนตามท่ีสถานศึกษาหรือ
เขตพื้นท่ีการศึกษากำหนด มีผลการประเมินมรรถนะสำคัญเป็นไปตามเกณฑ์ อันได้แก่ ความสามารถในการ
ส่ือสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และ
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี การอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
โรงเรียนมีความคาดหวังใหน้ ักเรียนมีพฤติกรรม เป็นคนดี คนเดง่ อยู่ในสังคมอยา่ งมีความสุข โดยผ่านโครงการ
ของโรงเรยี น อีกท้งั สนับสนุนโครงการสง่ เสรมิ ทักษะการเรียนร้ขู องผ้เู รยี นทั้ง 8 กลุ่มสาระ
โรงเรยี นได้ดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาผ้เู รยี น โดยจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนเพ่อื พัฒนาศักยภาพ
และยกผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน เช่น ส่งเสริมศักยภาพนกั เรยี นด้านภาษาไทย ยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
ทั้ง 8 กลุ่มสาระ นอกจากยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ยังมีกิจกรรมแก้ปัญหา 0,ร,มส เพื่อปลอด 0,ร,มส
ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนด้วยการจัดนิทรรศการมากมายของแต่ละกลุ่มสาระฯ เพ่ือให้นักเรียนเห็น
ความสำคัญทางการศึกษา ส่งเสริมให้นักเรียนมีนิสัยในการรักการอ่าน ใช้เวลาว่างในห้องสมุด และห้อง
คอมพิวเตอร์ แสดงถึงการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อศึกษาหาความรู้นอกเวลาเรียน เม่ือผู้เรียนมี
ความสามารถในการรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ รวบรวม ผสมผสานจากการศกึ ษานอกชนั้ เรียน นกั เรยี นสามารถประดิษฐ์
ช้ินงานเพ่ือสร้างนวัตกรรมเป็นโครงงาน ชิ้นงาน นอกจากน้ีผู้เรียนต้องมีความรู้พ้ืนฐานท่ีจะศึกษาต่อระดับท่ี
สงู ข้ึนดว้ ยการเตรยี มตัวเข้าสู่มหาวิทยาลัย

47

โรงเรียนมีนโยบาย ส่งเสริมและปลูกผังให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมประสงค์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จัดโครงการและกิจกรรมให้สอดคล้องกับผู้เรียน เช่น ทำบุญ
ตักบาตรวิถีพุทธ กิจกรรมไหว้พระก่อนเข้าชั้นเรียน น้องไหว้พ่ี พ่ีรับไหว้น้อง กิจกรรมมอบตัวเป็นพุทธมามกะ
เพ่อื สง่ เสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรม นอกจากน้ี โรงเรยี นไดจ้ ัดกจิ กรรมวันไหวค้ รู กิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ
เป็นตน้ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อบุพการีและผู้มพี ระคุณ ประพฤติตนเป็นนักเรียนท่ีดี
โดยแสดงความสุภาพ นอบน้อม ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข นอกจากน้ีโรงเรียนได้จัดให้มีโครงการต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นของ
ตนอย่างสุภาพ เชน่ กิจกรรมประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น และยังมกี ิจกรรมตามบริบททางวัฒนธรรมประเพณีเพื่อ
สืบสานความเปน็ ไทย

นอกจากน้ีโรงเรียนได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เช่น ตรวจสุขภาพ
ประจำปี เป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้เรียนในโรงเรยี น โดยจดั ให้มีการตรวจสุขภาพผู้เรยี นในโรงเรียนโดยจัดให้มี
การตรวจสุขภาพ นักเรียน ชั้น ม.1–6 ทกุ คน และทำการรักษาอยา่ งต่อเนื่องกับนักเรยี นที่มีปัญหาดา้ นสุขภาพ
ชงั่ น้ำหนัก–วัดส่วนสูง โดยมอบให้ครูกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศกึ ษาเป็นผู้รบั ผดิ ชอบในการชั่งนำ้ หนักและวัด
สว่ นสูงนักเรียน ช้ัน ม.1–6 ทุกคน โดยเทียบกับเกณฑ์ของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข กิจกรรมทดสอบ
สมรรถภาพทางกายของนักเรียนโดยครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบ ทำการ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียน ช้ัน ม.1–6 ทุกคน กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด มีการสนับสนุน
และส่งเสริมให้นักเรียนเล่นกีฬา เผยแพร่และให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติด การ
หลีกเลี่ยงอุบัติเหตุและปัญหายาเสพติด และปัญหาทางเพศอย่างต่อเน่ืองสม่ำเสมอ และมีการจัดกิจกรรมให้
นักเรียนแสดงออกทั้งด้านดนตรี กีฬา เพ่ือเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความสามารถตามศักยภาพอย่าง
ภาคภูมใิ จ

2. ผลการดำเนนิ งาน
ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ มีการพัฒนาศักยภาพด้านการคิด มีทักษะการสรุปความคิด
รวบยอด คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และคิดอยา่ งมีระบบ ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถนำเสนอรูปแบบ และวิธีการ
แกป้ ญั หาได้เปน็ อย่างดี อีกทั้งสามารถใช้สอ่ื เทคโนโลยปี ระกอบการนำเสนอช้ินงานได้อย่างเหมาะสม ผู้เรียนยัง
สามารถคิดรเิ ริม่ สรา้ งผลงานดว้ ยตนเองได้แปลกใหม่ นา่ สนใจ และนำไปเผยแพรไ่ ด้อย่างภาคภูมใิ จ
จากการพัฒนาส่งเสริมให้นักเรียน มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเฉล่ียเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา
กำหนดหรือเขตพืน้ ท่ีการศึกษากำหนด สง่ ผลให้คณุ ภาพของผูเ้ รยี น มผี ลการดำเนินการเชงิ ประจักษ์ ดงั นี้

48

ร้อยละของนักเรยี นท่ผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 8 กลุม่ สาระการ
เรียนรู้ อยู่ในระดบั 2.5 ข้นึ ไป

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1-6 ปกี ารศกึ ษา 2562

65.25 78.68 75.93
63.23 59.81 56.39
33.21 44.18

การอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน สมรรถนะของผเู้ รียน
และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผู้เรยี น

ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-6 ปกี ารศกึ ษา 2562

95 94.46 93.82
94.5 92.51

94 สมรรถนะของนกั เรียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรยี น
93.5

93
92.5

92
91.5

การอา่ นคดิ วเิ คราะห์และเขยี น

49

สรุป วชิ าการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1,IS2) และ

วิชาการสอ่ื สารและการนำเสนอ ประจำปกี ารศึกษา 2562

รายการ จำนวน (คน) จำนวนนกั เรียนที่ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ
ภาคเรียนที่ 1 781 717 91.81
ภาคเรยี นท่ี 2 454 412 90.75
ปีการศกึ ษา 2562 1,235 1,129 91.42

การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1,IS2) และ
การส่ือสารและการนาเสนอขอ้ มูล ปีการศกึ ษา 2562

1500 1,235 1,129

1000 781 717
454 412
500 91.81 90.75 91.42

0

ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา

2562

จานวนนกั เรียน จานวนนักเรยี นทผี่ า่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ

สถิติการสาเรจ็ การศึกษาของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
และนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562

100 92.64
80 75.73

60

40

20

0 ม.6
ม.3

50

สรุปยอดจำนวนนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ทศ่ี กึ ษาต่อสายอาชีพ (ปวช.)
สถาบันของเอกชน ปีการศึกษา 2562

ที่ รายการ จำนวน รวม
ชาย หญงิ
1. วทิ ยาลัยเทคโนโลยจี รญั สนทิ วงค์ -1 1
2. วิทยาลัยเทคโนลยีตัง้ ตรงจติ พาณิชยการ 44 8
3. วิทยาลยั เทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนนิ 32 5
4. วทิ ยาลัยเทคโนโลยีปญั ญาภวิ ัฒน์ 1- 1
5. พาณชิ ยการสยาม -1 1
6 วทิ ยาลัยมติ รพลพาณิชยการ -1 1
89 17
รวมนักเรียนทีศ่ ึกษาต่อวทิ ยาลัยของเอกชน

สรุปยอดจำนวนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ทศ่ี ึกษาต่อ ปีการศึกษา 2562

ท่ี รายการ จำนวน รวม ร้อยละ
ชาย หญิง
1 มหาวทิ ยาลยั ของรฐั 26 44 70 43.48
2 มหาวิทยาลัยเปิดของรัฐ 88 16 9.94
3 มหาวทิ ยาลยั ของเอกชน 89 17 10.56
4 มหาวิทยาลยั ราชภฏั 17 14 31 19.25
5 สถาบันอ่นื ๆ 43 7 4.35
63 78 141 87.58
รวมศกึ ษาต่อ 32 5 3.11
5 ไมศ่ ึกษาต่อ 13 2 15 9.32
6 สำรวจไม่ได้ 79 82 161 100

รวมทั้งสน้ิ


Click to View FlipBook Version