The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ ๒ การบริหารกิจการพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา Development of Organization for the Administration in Cambodia
รายวิชา การจัดการกิจการพระพุทธศาสนาในกลุ่มประเทศอาเซียน Buddhist Affairs Management in ASEAN
-
โดยพระปลัดระพิน พุทธิสาโร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by polmcu, 2021-12-15 03:17:36

บทที่ 2 การบริหารกิจการพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา

บทที่ ๒ การบริหารกิจการพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา Development of Organization for the Administration in Cambodia
รายวิชา การจัดการกิจการพระพุทธศาสนาในกลุ่มประเทศอาเซียน Buddhist Affairs Management in ASEAN
-
โดยพระปลัดระพิน พุทธิสาโร

๒๒

แผนการสอนประจำบทท่ี ๒

รายวชิ า การจัดการกิจการพระพทุ ธศาสนาในกล่มุ ประเทศอาเซยี น
Buddhist Affairs Management in ASEAN

บทท่ี ๒ การบริหารกิจการพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา
Development of Organization for the Administration in Cambodia

หวั ข้อย่อย

๑. บทนำ
๒. ประวัตแิ ละพัฒนาการของพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา
๓. พระพทุ ธศาสนากบั ความสัมพันธ์ทางวฒั นธรรมในประเทศกมั พูชา
๔. การจัดการกจิ การพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา
๕. พระพทุ ธศาสนานิกายธรรมยุตกิ นกิ ายกับพัฒนา การทางการเมืองระหวา่ งไทยกัมพูชา
๖. การเข้ามาของธรรมยตุ กิ นกิ ายและผลต่อสังคมกัมพูชา
๗. พระพุทธศาสนาหายไปจากกมั พูชา
๘. การจัดการศึกษาพระพทุ ธศาสนาในกัมพชู า
๙. สรุป

สรุปแนวคดิ ทีส่ ำคัญ

การบริหารกิจการพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา นับว่ามีความสำคัญอีกกรณีหน่ึงที่ปรากฏใน
อดีต การจัดการกิจการพระพุทธศาสนาในกัมพูชา ที่จำเป็นและมีส่วนสำคัญต่อการบริหารกิจการ
พระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา โดยมีประวัติและพัฒนาการมาต่อเน่ืองยาวนานนับแต่อดีต โดยเป็นการ
บริหารจัดการที่จะก่อให้เกิดการขับเคลื่อนกิจการพระพุทธศาสนาอย่างต่อเนื่อง โดยมีพัฒนาการทาง
ประวัตศิ าสตรร์ ่วมกับประวตั ศิ าสตร์กัมพูชา

วตั ถุประสงค์

๑. เพื่อศกึ ษาความหมายการจดั การกิจการพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา
๒.เพื่อศึกษาพัฒนาการของการจัดองคก์ รบรหิ ารเก่ยี วกับกิจการพระพุทธศาสนาในกัมพูชา
๓. เพอื่ ศึกษาการจดั องคก์ รบริหารกิจการคณะสงฆ์ในกมั พูชา อาทิ องคก์ รปกครองคณะสงฆ์ องค์กร
ทางการศกึ ษา องคก์ รอื่น ๆ
๔. เพอ่ื ศึกษาแนวโนม้ ของกจิ การพระพทุ ธศาสนาตอ่ การบรหิ ารองค์กร

๒๓

กิจกรรมระหว่างเรยี น

๑. ผ้เู รยี นศึกษาจากเอกสารประกอบการสอนบทท่ี ๒
๒. อาจารยผ์ ูส้ อนบรรยายตามเนอ้ื หาทกี่ ำหนด
๓. ผู้เรียนชักถาม
๔. อาจารย์ผ้สู อนสรุปเนือ้ หาประจำบท
๕. ผเู้ รียนตอบคำถามประจำบทเพ่อื การประเมินผลการเรียน

ส่ือการสอน

๑. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา
๒. เอกสารประกอบการสอนบทท่ี ๒
๓. สอ่ื Power point ประจำบท
๔. สื่ออ่ืน ๆ อาทิ เชน่ Flip Chart

การประเมนิ ผล

๑. ประเมนิ ผลจากความสนใจขณะศึกษาของผู้เรียน
๒. การชักถามของผเู้ รยี น
๓. การสอบกลางภาค

บทท่ี ๒
การจดั การกจิ การพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา

บทนำ

พุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา จากข้อมูลทางประวัติศาสตร์ การเมืองการปกครอง การจัดการ
พระพุทธศาสนา ความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม จากการศึกษาวิเคราะห์องค์รวมเกี่ยวกับพระพุทธ
ศาสนาในประเทศกัมพชู า จะเห็นแนวโน้มและทศิ ทางของพระพทุ ธศาสนากบั การพฒั นาสงั คมและวัฒนธรรม
ในประเทศกมั พูชา รวมไปถึงพัฒนาการของพระพุทธศาสนาในประเทศกมั พูชวา่ มีพัฒนาการและควรามเปน็ มา
อย่างไร ซ่งี ประมวลรวมถึงพัฒนาการและความเปน็ มาได้ คอื

๑) พระพุทธศาสนาไดเ้ ขา้ มาเผยแผ่ในดินแดนทีเ่ รียกว่ากัมพูชา ต้งั แต่สมยั หลงั สังคายนาคร้งั ที่ ๓ เสรจ็
เรียบร้อยแล้ว พระมหากษัตริย์ทรงยอมรับพระพทุ ธศาสนาเป็นหลักในการปฏบิ ตั ิ สืบทอดกันมาเปน็ ยคุ สมยั
คือ (๑) ยุคฟูนัน ซึ่งมีลักษณะของพระพทุ ธศาสนามหายาน (๒) ยุคเจนละ ซึ่งมีลักษณะเปน็ พระพุทธศาสนา
มหายาน (๓) ยุคพระนครซงึ่ พระพุทธศาสนาลถุ ึงความเจรญิ ถงึ ขดี สุดในสมัยพระเจา้ ชยวรมันที่ ๗ ซึ่งนับว่าเปน็
ยคุ ทองของพระพทุ ธศาสนา และ (๔) ยคุ หลังพระนคร พระพทุ ธศาสนาเถรวาทได้รับการยอมรับมากขน้ึ แตใ่ น
ระยะที่เขมรแดงมีอำนาจ พระพุทธศาสนาถูกปราบปรามจนสิ้นสูญ พอหมดยุคของเขมรแดงแล้ว พระพุทธ
ศาสนาได้รับการฟน้ื ฟอู ีกครัง้ จนกระทัง่ เป็นศาสนาประจำชาติที่ไดร้ บั การบรรจไุ ว้ในกฎหมายรฐั ธรรมนูญ

๒) เมื่อพระพุทธศาสนาได้เข้ามาเผยแผ่ในประเทศกมั พูชาแล้ว ได้มีการจัดการด้านพระพุทธศาสนา
เพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริงของแต่ละยุค กระทั่งในปัจจุบัน การจัดการด้านการปกครอง คณะสงฆ์
กัมพูชามีองค์กรการปกครองสูงสุดโดยมีสมเด็จพระสังฆราชเป็นผู้นำทั้งฝ่ายมหานิกายและธรรมยุติกนิกาย
และมีการปกครองคณะสงฆ์ระดับรัฐถึงระดับวัด พระสงฆ์มีความตระหนักถึงประวัติศาสตร์ มีความเป็น
“พระสงฆ์ของชาวบ้าน” การจัดการด้านการศึกษา ปัจจุบันมีองค์กรจัดการศึกษาโดยอิสระคือจัดการเรียน
การสอนที่วัด และองค์กรที่รัฐบาลอปุ ถมั ภ์ มีสถาบนั การศึกษาที่มคี วามพร้อมที่จะรองรับการเปิดประชาคม
อาเซียน เชน่ มหาวทิ ยาลัยพทุ ธกิ ศกึ ษา ท่จี ดั การศึกษาสำหรบั พระภิกษุสามเณรภายในประเทศกมั พชู า

๓) พระพุทธศาสนาเป็นส่วนหนึง่ ของประเทศกมั พชู าเป็นระยะเวลานาน เปน็ เหตุใหส้ ังคม วัฒนธรรม
และพระพทุ ธศาสนาพัฒนาการเปน็ กระบวนการเสรมิ สร้างซง่ึ กันและกันอยา่ งเหนียวแน่น ประชาชนยึดมั่นใน
พระรัตนตรัย แล้วแสดงออกมาด้วยการใหท้ าน รักษาศีล เจริญภาวนา ตามเทศกาล เช่น วันธรรมสวนะ (ทะ
ไงศิล) มีประเพณีสิบสองเดือน (ทวารสเมี๊ยะ) ที่เชือ่ มโยงระหว่างความเชื่อทางพระพุทธศาสนากบั วฒั นธรรม
ประเพณี สง่ิ เหล่านี้ทำให้เกดิ กระบวนการ “วถิ ีพุทธแบบกมั พูชา” แมว้ ่าประเทศกัมพชู าเคยตกเป็นอาณานิคม
ของฝร่ังเศส แต่อิทธิพลของฝรั่งเศสไม่สามารถเข้ามาแทนที่วัฒนธรรมเชิงพทุ ธได้ แม้จะไดร้ ับผลกระทบจาก
สาเหตทุ างการเมืองในชว่ งเขมรแดง ทำให้วดั ถูกทำลาย พระสงฆก์ ว่า ๖๐,๐๐๐ รปู ทั่วประเทศถกู บังคับให้สา
สิกขาไปใช้แรงงานในชนบทก็ตาม แต่พระพุทธศาสนาก็ได้รับการยกคืนกลบั มาให้เป็นส่วนสำคัญของสังคม
กัมพูชา และกลายเปน็ ส่วนสำคัญในการสรา้ งปฏิสัมพันธ์ระหว่างสังคมและชุมชนให้เกิดการคืนกลับฟื้นกลบั

๒๕

ร่วมกนั ดังนนั้ ในภาพรวมของพระพุทธศาสนา ในฐานะทเ่ี ป็นองคป์ รนะกอบของวสงี คม ซ่งึ ไดท้ ำการศีกษาทั้ง
ในส่วนของประวัติและพัฒนาการของการของพระพุทธศาสนาในองค์รวม รวมทั้งทศิ ทางอนั พึงพัฒนาให้เกิด
เปน็ การขับเคลอ่ื นใหก้ ้าวไปขา้ งหนา้ จนกลายเป็นส่วนสำคัญและส่วนหนึคง่ ของสังคม ทำให้กลายเปน็ พลงั ทาง
ในการบริหารกิจการพระพุทธศาสนาในประเทศกมั พูชา ที้งในส่วนของแนวทางการบริหารองคก์ รสงฆ์ การ
บริหารกิจการพระพทุ ธศาสนา ในองค์รวม เช่น การศึกษา การเผยแผ่ การปกครอง เป็นต้น ซึงจะได้คึกษา
และนำเสนอตอ่ ไป

ประวัติและพัฒนาการของพระพุทธศาสนาในประเทศกมั พูชา

ประเทศกมั พูชาได้รบั อารยธรรมท่รี งุ่ เรืองมาจากอนิ เดียไว้เป็นสมบัติของชาติ เปน็ มรดกของโลกต้ังแต่
อดีต ศาสนาท่ีชาวกัมพูชานับถอื ซ่ึงรบั มาจากอินเดยี คือศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธซึ่งรบั เข้าในสมยั ของ
พระเจา้ อโศกมหาราชสง่ สมณทูตเข้ามาในสวุ รรณภูมิ อันมพี ระโสณะและพระอตุ ตระเป็นหวั หนา้ คณะ เป็นสายท่ี
๘ ทั้งสองศาสนาต่างพยายามชิงอิทธิพลกันอย่างหนกั ในหมู่ประชาชนธรรมดาไปจนถงึ ชนชั้นสงู อำมาตย์ พระ
ราชวงศแ์ ละพระมหากษัตริย์ สมัยใดพระมหากษัตริย์นับถือศาสนาพราหมณ์ ๆ ก็เจริญรุ่งเรอื ง สมัยใดนับถอื
ศาสนาพทุ ธ ๆ ก็เจริญร่งุ เรือง บางสมัยนับถอื ศาสนาพราหมณ์และสนบั สนุนอปุ ถมั ภศ์ าสนาพุทธไปด้วยกัน ทำ
ใหศ้ าสนาท้งั ๒ ยงั คงฝงั รากลกึ ในใจของชาวกมั พูชาตลอดมา ถงึ แม้ว่าปัจจบุ นั จะเหลือเพยี งศาสนาพทุ ธเถรวาท
กต็ าม จากอดตี ศาสนาพราหมณ์สามารถแยง่ พน้ื ทีก่ ารนบั ถอื ไดส้ ำเรจ็ โดยยดึ ฐานชนช้นั ผ้ปู กครองได้มากกว่า อัน
จะเห็นไดจ้ ากรายชอ่ื พระมหากษัตรยิ ์ของกมั พชู าต้ังแต่ยคุ แรกจนถึงราว พ.ศ. ๑๗๐๐ เศษเป็นต้นมา ลว้ นมจี ารกึ
นามเปน็ สนั สกฤต และปราสาทท่สี ร้างล้วนเพอ่ื บูชาในศาสนาพราหมณ์ เป็นสว่ นมาก พ.ศ. ๑๗๐๐ สมยั พระเจ้า
ชัยวรมนั ที่ ๗ ถอื ว่าเป็นยคุ ทองของพระพุทธศาสนาอย่างแทจ้ รงิ เพราะพระมหากษตั รยิ ์กัมพชู าศรทั ธาเคารพนบั
ถอื พระรตั นตรยั เป็นสรณะเปน็ ทพ่ี ่งึ อาศยั กลายมาเปน็ พทุ ธมามกะโดยสมบูรณ์ ต่อมา แม้วา่ พระพุทธศาสนาจะ
ถูกเบียดเบียน เพราะตกเป็นประเทศในอารักขาอาณานิคมฝรั่งเศส แต่ก็ประคับประคองตัวอยู่รอดมาได้ จน
วาระสุดท้ายพระพุทธศาสนาได้ถูกทำลายเพราะชนชาติเดียวกัน นำโดยนายพอลพตและพวกกอ่ สงครามกลาง
เมอื ง เรยี กวา่ สงครามลา้ งเผา่ พนั ธ์กุ มั พชู า หลังสงครามสงบ พระมหากษัตรยิ ก์ มั พูชา ขนุ นางและประชาชนจึงได้
ช่วยกันฟื้นฟูพระพุทธศาสนาใหเ้ จริญรุ่งเรืองสถาพรตราบถึงปจั จุบนั

พระพทุ ธศาสนากับความสมั พันธท์ างวัฒนธรรมในประเทศกัมพชู า

พระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชามีความเป็นพลวัตคู่ขนานกัน กล่าวคือ เมื่อพระพุทธศาสนา
เจริญรงุ่ เรือง วฒั นธรรมเชงิ ศาสนาก็มีความเจรญิ รงุ่ เรืองไปด้วยกัน หรอื อาจเรยี กไดว้ ่าเป็นเงื่อนไขท่ีมีอิทธิพล
ต่อกนั โดยเฉพาะวฒั นธรรมทถ่ี ูกจัดระบบใหอ้ ย่ใู นรปู ของประเพณีสิบสองเดือนและพิธีชีวิตของประชาชน ซ่ึง
สามารถพิจารณาได้จากพลวัตของวัฒนธรรมที่เคียงคูก่ ับพระพุทธศาสนาในสองมิติ คือ ๑) วัฒนธรรมในมิติ
ของรูปธรรม ๒) วฒั นธรรมในมิติของนามธรรม ซึ่งในท่ีสุดแลว้ จะกลายเปน็ วถิ ปี ฏิบัตติ ามหลกั พระพทุ ธศาสนา
พอสรุปได้ดังน้ี

๒๖

วัฒนธรรมในมติ ิของรปู ธรรม วัฒนธรรมในมิตนิ ี้มีความเปน็ พลวัตสูง กล่าวคือการสร้างศาสนสถาน
ล้วนเกิดจากพลังศรัทธา จากประวัติศาสตร์กัมพูชาพบว่า กษัตริย์แต่ละพระองค์ได้แสดงศรัทธาในการสร้าง
ปราสาท อันเป็นแรงจงู ในศาสนาท้งั สิน้ แตส่ ิ่งเหลา่ นีไ้ ม่อาจยืนยนั ถึงความเปน็ ชาวพุทธอย่างแท้จริง หากไม่มี
การปฏิบตั ิต่อสง่ิ เหล่าน้ีจากวฒั นธรรมในมติ ินามธรรม จึงกลายมาเปน็ รูปแบบวถิ ชี ีวิตตามทปี่ รากฏในประเพณี
สิบสองเดือนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราว เหตุการณ์ในพระพุทธศาสนา หรือเกี่ยวข้องกับพระรัตนตรัย ซึ่งมี
ความสำคัญระดับพระราชวังมาตงั้ แตอ่ ดตี และประเพณีเหล่าน้ลี ว้ นเกดิ จากความเช่ือทางพระพุทธศาสนา ซ่ึง
อย่ใู นมิตขิ องนามธรรมทม่ี ีอยูใ่ นบคุ คลตัง้ แต่อดีต แต่เมอ่ื แปรความเช่อื มาเปน็ ภาคปฏบิ ัติ จงึ เปน็ ประเพณที ่ชี าว
กมั พชู าไดช้ ว่ ยสบื ตอ่ มาถงึ ปจั จุบนั บางประเพณอี าจเปล่ยี นแปลงไปบา้ งตามความเหมาะสม

วัฒนธรรมในมิติของนามธรรม มิตินี้มีพืน้ ฐานมาจากความเชื่อในพระพุทธศาสนา ความเชื่อในหลัก
กรรมทางพระพทุ ธศาสนา แมว้ า่ เปน็ อดุ มการณ์ในความเหน็ ของคนทว่ั ไป แตส่ ำหรับพุทธศาสนาแล้ว ส่ิงที่เป็น
นามธรรมถอื ว่าเป็นแกน่ สาระสำคญั ท่ฝี ังรากลึกและตรึงจติ ใจของแต่ละบคุ คล และสามารถถ่ายทอดไปสคู่ นรนุ่
ต่อ ๆ ไปได้ เช่น ความเชื่อหลกั ธรรมในเรื่องกรรม ความเชื่อในผลของกรรม ความเชื่อว่าทุกคนมีกรรม และ
ความเชอ่ื ในพระโพธิญาณของพระพุทธเจ้า ซึง่ ในท่ีสดุ แล้ว ความเช่อื เหลา่ นไ้ี ด้กลายมาเป็นวิถีปฏิบัติโดยผ่าน
กระบวนการของทาน ศลี ภาวนา

จะเห็นได้วา่ ประเพณีทกี่ ำหนดไว้ในในสิบสองเดือนจะมีแกน่ สารที่เน้นการให้ทาน รกั ษาศลี และเจริญ
ภาวนา การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมตามหลักพระพุทธศาสนา เช่น เมื่อถึงเดือนสิบนับตามจันทรคติ ชาว
กมั พชู าต้องทำพิธีโฎนตา ซึ่งอาจเรยี กได้ว่าเป็นวาระของชวี ติ ประชาชนชาวกัมพูชาจะยากดีมจี น อยู่ส่วนไหน
ของประเทศ จะตอ้ งทำพิธีโฎนตา คอื พิธีทำบญุ อทุ ศิ ให้แกบ่ รรพบรุ ุษ

ดงั น้ัน เม่ือนบั วงรอบของประเพณสี ิบสองเดือนจงึ เป็นวิถพี ทุ ธ มีพลวัตขับเคลื่อนตามวงจรชวี ติ แม้บาง
เดือนมีมูลเหตุจากการประสมประสานกับพิธีพราหมณ์ด้วยก็ตาม แต่สำหรับชาวกัมพูชาแล้ว เขาสามารถ
อธบิ ายได้ในเชิงพทุ ธ

การเสริมสรา้ งความสมั พันธ์ทางศาสนาและวัฒนธรรมในประเทศกัมพูชา
พบวา่ กระบวนการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางศาสนาและวฒั นธรรมไดท้ ำผา่ น ๓ กระบวนการ คือ
(ก) ผา่ นความศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนา
ความศรัทธานี้แสดงออกด้วยสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม สิ่งที่เป็นรูปธรรม คือ ผ่านการสร้าง
ปราสาท การสรา้ งวัง สร้างวดั ชาวพทุ ธกัมพูชามีศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนา ดูไดจ้ ากประวตั ศิ าสตร์ต้ังแต่สมัย
ฟนู ันเปน็ ตน้ มา การสรา้ งปราสาทมลี กั ษณะพุทธมหายาน ปัจจบุ ันปราสาทเปน็ สญั ลกั ษณข์ องประเทศทปี่ รากฏ
ในธงชาติ และศาสนสถาน คือวัดหรือสิ่งปลูกสร้างในวัดปัจจุบันก็ปรากฎศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมจาก
ปราสาทด้วย ปจั จุบันปรากฏรูปธรรมจากการสรา้ งวงั สร้างวัดอยา่ งชดั เจน
ความศรัทธาเป็นนามธรรมเกิดผ่านคำสอนในพระพทุ ธศาสนา โดยเฉพาะบุญกริ ิยาวัตถุ ๓ คือ เชื่อใน
หลักกรรม ทำดีไดด้ ี ทำชัว่ ไดช้ ว่ั

๒๗

(ข) ผ่านบทบาทของพระมหากษัตริย์หรือผูน้ ำ
พระมหากษัตรยิ ์ของประเทศกัมพูชาเปน็ พุทธมามกะ อุปถมั ภพ์ ระพุทธศาสนาและเก้อื กูลตอ่ สถาบันสงฆ์
ตลอดมาถึงปัจจุบัน ชนชั้นปกครองจึงมีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างพระพุทธศาสนาให้มั่นคงในประเทศ
กมั พชู า ในปัจจบุ นั พระพุทธศาสนาไดร้ บั การบรรจใุ หเ้ ปน็ ศาสนาประจำชาติ นบั ได้วา่ เป็นความม่นั คงในระดบั หนึง่
(ค) ผา่ นกระบวนการความขัดเกลาทางสงั คม
เกิดจากการสืบเนื่องที่ยาวนานของพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชาและได้รับการส่งเสริมสร้าง
สนับสนุนจากพระมหากษัตริย์ ความขัดเกลาทางสังคมถูกซมึ ซับโดยพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาผสมผสาน
เข้าไปในวิถชี วี ิตของชาวกัมพชู า การทำบญุ ทำทาน การรกั ษาศลี ถืออุโบสถศีล เปน็ สิ่งท่ีสบื ทอดต่อ ๆ กันมาให้
เยาวชนเหน็ และปฏบิ ตั ิตามด้วยความเช่อื เลือ่ มใส ความขัดเกลาทางสงั คมยังเกิดเป็นประเพณีผู้ชายได้รับการ
บรรพชาอปุ สมบทในพระพุทธศาสนา เพื่อศึกษาธรรม อบรมศลี ธรรมจรรยาอีกดว้ ย ส่วนผูช้ ายท่ีไมไ่ ด้บรรพชา
อุปสมบทจะใชช้ ีวติ ชว่ งหนง่ึ ในการเป็นเด็กวดั เปน็ อบุ าสกรบั ใชศ้ าสนบคุ คลในวดั จนกระทั่งจบการศกึ ษาหรอื มี
คูค่ รองเรอื นตอ่ ไป

การจัดการกิจการพระพทุ ธศาสนาในประเทศกมั พูชา

๑. การจดั การดา้ นการปกครอง
การจัดการกิจการพระพุทธศาสนาในสว่ นการปกครองได้มกี ารจดั การพระพุทธศาสนาในแบบ องคก์ ร
ปกครอง โดยมีมหาเถรสมคม ที่เขมรเรียกวา่ สังฆสภา ทำหน้าที่ในการบรหิ ารองค์กรปกครองสว่ นสงู สดุ ของ
ประเทศทั้งในรูปแบบการบริหาร และการจัดการ โดยแต่ละนิกายจะมีสภาของตัวเองในการบริหารกิจการ
พระพทุ ธศาสนา โดยในประเทศกมั พูชามีองค์กรปกครองสงู สดุ เรยี กว่า
นิกายและการปกครองคณะสงฆร์ ะหวา่ งนิกาย. กมั พูชาปัจจุบันมแี บง่ เปน็ ๒ นิกาย คือมหานิกาย และ
ธรรมยุติกนิกาย โดยมีรูปแบบ แบบแผนทางการปกครอง ที่ไม่แตกต่างกันในโครงสรา้ ง แต่มีการบรหิ ารแยก
สว่ นกันต้งั แต่ระดับสงั ฆราช ไปจนถงึ เจา้ อาวาส โดยทง้ั หมด ทำใหเ้ กดิ การบรหิ ารองคก์ รโดยมกี ระทรวงธรรม
การ ทำหนา้ ท่ีประสานงานจากภาครัฐในการบรหิ ารกิจการคณะสงฆใ์ นด้าน ๆ ต่าง ๆ ในกมั พูชา

ภาพท่ี ๒.๑ สมเดจ็ พระสงั ฆราชกมั พชู าฝ่ายธรรมยุติกนิกาย และมหานิกาย กับความสมั พนั ธ์ทางศาสนา
ระหวา่ งไทยกมั พชู าในการประชมุ ผู้นำชาวพุทธ

๒๘

ภาพท่ี ๒.๒. สมเดจ็ พระสงั ฆราชเทพวงศ์ วดั อณุ าโลม กรงุ พนมเปญ
โครงสร้างการบริหารการปกครอง ในฝ่ายมหานิกายมีสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานกิ ายมีจำนวน
๑๒ รูป อนั ประกอบด้วย สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี กติ ติอสุ เทสบณั ฑิต เทพ วงศ์ สมเดจ็ พระสงั ฆราช
คณะมหานิกาย เจ้าอธิการวัดอุณาโลม ซึง่ เปน็ ศูนยก์ ลางการบรหิ ารกจิ การพระพทุ ธศาสนาทีว่ ัดอุณาโลม

ภาพท่ี ๒.๓ สมเดจ็ พระมหาสุเมธาธิบดี กิตติอุสเทสบณั ฑิต นนท์ แง๊ต สมเดจ็ พระสงั ฆนายกฝา่ ยมหานกิ าย
แห่งราชอาณาจกั รกมั พูชา วดั ปทมุ วดรี าชวราราม

ภาพ ๒.๔ สมเด็จพระธรรมลขิ ติ สมเดจ็ พระสงั ฆนายกรองรปู ที่ ๑ สมเดจ็ พระอธิบดเี ถรสภาสงฆ์ (ประธานเถร
สภาพระพทุ ธศาสนา) สมเด็จพระโพธิวงศ์ สมเดจ็ พระสงั ฆนายกรองรูปท่ี ๒ รองประธานเถรสภา
พระพทุ ธศาสนารูปท่ี ๒

๒๙

ภาพท่ี ๒.๕ สมเดจ็ พระวันรตั สมเดจ็ พระสังฆนายกรองรูปท่ี ๓ รองประธานเถรเถรสภาพระพทุ ธศาสนา
รปู ที่ ๑ สมเดจ็ พระมหาอรยิ วงศ์ รองประธานเถรเถรสภาพระพทุ ธศาสนารปู ที่ ๓

ภาพท่ี ๒.๖ สมเดจ็ พระอุดมจริยา สมาชิกเถรสภาพระพุทธศาสนา สมเดจ็ พระอุดมมนุ ี
สมาชกิ เถรสภาพระพุทธศาสนา

ภาพที่ ๒.๗ สมเดจ็ พระอุดมวงษา สมาชิกเถรสภาพระพทุ ธศาสนา และสมเดจ็ พระอดุ มปญั ญา
สมาชกิ เถรสภาพระพุทธศาสนา

๓๐

ภาพที่ ๒.๘ สมเดจ็ พระสากยะมุนี สมาชกิ เถรสภาพระพทุ ธศาสนา และสมเดจ็ พระพุทธชัยมนุ ี
ประธานเลขาธิการคณะสงั ฆนายก สมาชิกเถรสภาพระพทุ ธศาสนา เจ้าคณะราชธานพี นมเปญ

ภาพที่ ๒.๙ โครงสร้างการบริหารคณสงฆร์ ะดบั สูงของกมั พชู า

๓๑

จากแผนภาพเป็นเถรสภาในพระพุทธศาสนา ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา (มหาเถรสมาคม) คณะ
มหานิกายประกอบด้วย (๑) สมเดจ็ พระโพธวิ ังศ์ ประธาน (๒) สมเดจ็ พระวนั รตั รองประธาน (๓) สมเด็จพระ
อุดมวงศา รองประธานเเละอัครเลขาธิการ (๔) สมเด็จพระธรรมลิขิต ที่ปรึกษาสูงสุด (๕) สมเด็จพระอุดม
ปัญญา รองประธาน (๖) สมเด็จพระอุดมจริยา รองประธาน (๗) สมเด็จพระพุทธชัยมุนี อัครเลขาธิการรอง
(รองเลขา) (๘) สมเดจ็ พระมหาอรยิ วงศ์ อัครเลขาธิการรอง (๙) สมเด็จพระอดุ มมุนี สมาชกิ (๑๐) สมเดจ็ พระ
สากยมุนี สมาชิก (๑๑) พระมหาวมิ ลธรรม สมาชิก (๑๒) พระโฆษธรรม สมาชิก (๑๓) พระสาสนมนุ ี สมาชกิ
(๑๔) พระสริ ิสมั มติวงศ์ พระสมาชกิ (๑๕) พระพุทธวงศ์ สมาชิก

ภาพที่ ๒.๑๐ สมเดจ็ พระราชาคณะฝา่ ยคณะสงฆธ์ รรมยตุ ิกนกิ าย มีจำนวน ๓ รูป
สมเดจ็ พระอภสิ ริ สิ คุ นธามหาสงั ฆราชาธบิ ดี กิตติอสุ เทสบณั ฑิต บวั ครี สมเดจ็ พระสังฆราช เเละประธาน

คณะสงั ฆนายก ในคณะธรรมยุต สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ ตู๊จ สุขโวหาร สมเด็จพระสังฆนายกรอง

ในส่วนการบริหารองค์กรสงฆ์ ได้มีการการจัดองค์กรบริหารคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ในประเทศ
กัมพูชา ประกอบด้วย (๑) สมเด็จพระมงคลเทพาจารย์ สมเด็จพระสังฆนายกรอง ในส่วนเถรสภาใน
พระพุทธศาสนา(มหาเถรสมาคม)คณะธรรมยุติกนกิ าย กัมพูชา ทำหน้าที่ในการบริหารกจิ การคณะสงฆ์ฝ่าย
ธรรมยตุ กิ นิกายในประเทศกมั พูชาประกอบด้วย (๑) สมเด็จพระพทุ ธาจารย์ ประธานเถรสภา (๒) สมเด็จพระ
มงคลเทพาจารย์ รองประธานรูปท่ี ๑ (๓) พระมหาพรหมมนุ ี รองประธานรปู ที่ ๒ (วา่ ง) ประกอบดว้ ยสมาชิก
เถรสภา ๔ รูป คือ ๑. พระอริยวงศ์ ๒. พระธรรมวโรดม (เลื่อนเป็น พระมหาพรหมมุนี) ๓. พระวชิรเมธา
๔. พระครูมงคลมุนี โดยมีเลขาธิการเถรสภา จำนวน ๒ รูป ประกอบดว้ ย พระครูธรรมราชจริยา เลขาธิการ
พระครูทีปญาณมุนี รองเลขาธกิ าร

๓๒

พระพุทธศาสนานิกายธรรมยตุ กิ นกิ ายกับพัฒนา การทางการเมอื งระหวา่ งไทยกัมพชู า

ธรรมยุตินิกาย มีอิทธิพลในสังคมกัมพูชา โดยมฐี านเกดิ ขึน้ และการส่งต่อจากสยาม ในช่วงที่สยามมี
อิทธิพลเหนือราชสำนักกัมพูชา ในทางการเมืองมีการคัดเลือกและส่งกษัตริย์ที่นิยมสยามไปเป็นผู้ปกครอง
ในทางศาสนาได้มีการส่งผ่านพระพุทธศาสนานิกายที่มีฐานเกิดจากสยาม ด้วยฐานคิดว่าความทันสมัยของ
สยามมีส่วนสำคัญจากพระพุทธศาสนาธรรมยุตินิกาย โดยการรับธรรมยุติของกัมพูชาเพื่อประสงค์ต่อความ
ทนั สมยั น้ันดว้ ย ที่มาพรอ้ มกบั อิทธพิ ลทางการเมืองจากสยามดว้ ย จนกระท่ังฝร่งั เศสเมื่อเข้ามาปกครองกมั พูชา
ในฐานะอาณานิคม ได้จัดตั้งสถาบันพุทธศาสนาบัณฑิต เพื่อป้องกันอิทธิพลทางการเมืองของสยามที่ผ่านมา
พรอ้ มกับศาสนาด้วย

ความขัดแย้งทางการเมืองและศาสนา เกิดขึ้นในวางกว้างโดยมีนัยเกาะเกี่ยวกันทั้งศาสนาและ
การเมือง ซง่ึ ครัง้ หนง่ึ ในกัมพชู า เปน็ ประเทศที่นับถือพระพทุ ธศาสนาเหมือนประเทศไทย และถกู กล่าวอ้างถึง
ในกรณีความขัดแย้งอนั ว่าสงั ฆราชในประเทศไทย และให้มกี ารแยกสังฆราชปกครองโดยมีแบบจากประเทศ
กัมพูชา ซึ่งมีสังฆราชฝ่ายมหานิกาย และธรรมยุตกิ นกิ าย จึงเกดิ คำถามตอ่ ไปว่า “ธรรมยุติกนกิ าย” อันมีฐาน
เกดิ จากประเทศไทย มพี ัฒนาการทางการเมือง ศาสนา และการนบั ถอื อย่างไรท่เี กิดข้ึนในกมั พูชา โดยการนับ
ถอื พระพทุ ธศาสนานกิ ายดงั กลา่ วเกิดขน้ึ ภายใตบ้ ริบททางการเมือง ประวตั ศิ าสตร์ท่เี กาะเกีย่ วกับอดีตกระท่ัง
ปัจจบุ ัน ทง้ั ผสมผสานกลายเป็นสว่ นหนงึ่ ของสงั คมกัมพชู าไปด้วย ดงั กรณีเคยเกดิ ขึน้ ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันท่ี
๗ (Jayavarman VII/ครองราชย์/ค.ศ.๑๑๘๑-๑๒๑๘/พ.ศ.๑๗๒๔-๑๗๖๑) กับแนวคิดในเรื่อง “พุทธราชา-
Buddha Raja” กบั สถานะกษตั รยท์ ่เี ปน็ ประหนึ่งพระพุทธเจ้า (เดวดิ แชนเลอร์,๒๕๔๖ : ๘๒) หรือลว่ งมา
ในสมัยพระเจ้านโรดม สีหนุ (Norodom Sihanouk/ค.ศ.๑๙๒๒ – ๒๐๑๒ ๒๐๑๒/พ.ศ.๒๔๖๕-๒๕๕๕) กับ
แนวคิดในเรอื่ ง “พุทธสงั คมนิยม-Buddhist Socialism” ทผ่ี สมผสานระหว่างแนวคดิ ทางการเมอื งในระบบ
สังคมนิยมกับพระพทุ ธศาสนา (ชุมพล เลิศรฐั กาล, ๒๕๓๖, นภดล ชาติประเสริฐ, ๒๕๔๐) ที่มีความหมายถงึ
พระพุทธศาสนากับการเมืองเป็นส่วนเกื้อหนุนกันและกัน กัมพูชาในฐานะรัฐโบราณที่เคยเป็นที่รู้จักกันใน
ประวัตศิ าสตร์ไทยคืออาณาจักรขอมโบราณทเี่ คยมอี ิทธิพลเหนือแผน่ ดินไทย ลาว กมั พูชา และเวยี ดนาม เป็น
เจ้าของแหล่งวัฒนธรรมแห่งนี้ในภมู ิภาคน้ี กาลเวลาผันเปลี่ยนได้ทำให้สถานะทางการเมืองเข้มแข็ง อ่อนแอ
จากรัฐใหญ่กลายเป็นรัฐเล็ก และได้ส่งผ่านอทิ ธพิ ลทางพระพุทธศาสนามหายาน หรือเถรวาทในแบบกมั พชู า
และกลับกนั ในฐานะประเทศทีไ่ ดร้ ับอิทธิพลทางพระพุทธศาสนาจากประเทศชิดขา้ งอยา่ งเวยี ดนาม หรือไทย
ในช่วงสมัยหลัง โดยเฉพาะพุทธศาสนานิกายธรรมยุติ ที่มีจุดกำเนิดจากประเทศไทย นิกายธรรมยุติเข้ามามี
อิทธพิ ลในกัมพชู า ซ่ึงมาพรอ้ มกบั อทิ ธิพลทางการเมืองราชสำนกั สยาม ท่ผี สมผสานระหว่างรัฐ “องค์ประกัน
แหง่ บางกอก” และหรือการทำให้เปน็ ไทย (Thai-Ization) ทเี่ กิดขน้ึ ในยุคสมัยนนั้ การเกดิ ขึน้ ของหรอื การเมอื ง
ผสมผสานด้วยศาสนาซงึ่ ถอื ว่าเปน็ มรดกร่วมของสังคมท่เี น่อื งด้วยศาสนา ในส่วนของธรรมยุติกนิกายเคยเป็น
กลไกลทางการเมอื งระหว่างรัฐแบบราชาธิปไตย ระหว่างรัฐสยามกับเขมร ระหว่างฝรั่งเศสเจา้ อาณานิคมกบั
การป้องกันรัฐผ่านมิติทางศาสนาซึ่งเคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีต ซึ่งในบทความนี้จะได้นำเสนอถึงประวัติ
พฒั นาการและการมีสว่ นร่วมทางการเมอื งในมติ ิของศาสนาและการเมอื งอันเปน็ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรัฐสยาม
กับกัมพชู าในแตล่ ะช่วงเวลา

๓๓

ภาพที่ ๒.๑๑ สมเด็จพระสงั ฆราชปาน ผ้นู ำพระพุทธศาสนาแบบธรรมยุตนิ ิกายเขา้ สู่กัมพูชา
ทมี่ าภาพ : http://i๐.wp.com/www.cambosastra.org/wp-content/

uploads/2010/09/Dhammatykaya-in-Cambodia.jpg. เมอ่ื ๒๐ มกราคม ๒๕๖๐

การเขา้ มาของธรรมยตุ ิกนกิ ายและผลตอ่ สังคมกมั พูชา

ธรรมยุติกนิกายเป็นพทุ ธศาสนาที่พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งขึน้ เมื่อพระองคย์ งั
ทรงผนวชในรัชกาลท่ี ๓ ตอ่ มาในปี ค.ศ. ๑๘๖๔/พ.ศ.๒๔๐๗ สมเด็จพระหรริ กั ษ์รามาอิศราธบิ ดี (พระองค์ด้วง)
ที่เคยใช้ชีวิตในกรุงเทพ พร้อมให้ราชโอรสนักองคส์ ีสวุ ัตถ์ บวชที่วัดบวรนิเวศ ๑ พรรษา เมื่อกลบั ไปปกครอง
บา้ นเมืองเขมร จงึ ไดข้ อพระราชทานธรรมยุตกิ นกิ ายไปเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศกัมพูชา พระบาทสมเดจ็
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้พระอมรภริ ักขิต (เกิด) พระมหาปาน ปญฺญาสีโล ซึ่งต่อมาได้เป็น
สมเด็จพระสคุ นธาธิบดี ดำรงตำแหน่งเป็นสมเด็จพระสังฆราชฝ่ายธรรมยุติรูปแรกในประเทศกมั พูชา (ศานติ
ภักดีคำ, ๒๕๕๕: ๓-๑๙) ได้เดินทางจากประเทศไทยพร้อมพระสงฆ์ ๘ รูป อุบาสก ๔ คน เดินทางไปก่อตง้ั
พระพทุ ธศาสนาในแบบธรรมยตุ ิกนกิ ายในประเทศกมั พูชา สมเดจ็ พระหริรกั ษ์รามาอิศราธบิ ดไี ด้ทรงอาราธนา
พระมหาปานให้จำพรรษาอยทู่ ่ีวัดศาลาคู (วัดอ์พลิ ปี) กรงุ อดุ งคม์ ชี ยั พทุ ธศาสนาแบบธรรมยตุ ิกนิกายจึงเริ่มมี
ขน้ึ ในประเทศกมั พชู าตงั้ แตค่ ร้ังนน้ั

สำหรับสมเด็จพระสงั ฆราชปาน มีประวัติว่าเกิดท่ีจังหวัดพระตะบอง เมื่ออายุได้ ๑๒ ปี จึงบวชเปน็
สามเณรที่วัดโพธิ์ ตำบลสังแก จังหวัดพระตะบอง ในคณะมหานิกาย แล้วได้เข้ามากรุงเทพ อยู่ที่วัดสระเกศ
คณะมหานิกาย จำพรรษาที่วัดสระเกศได้ ๔ พรรษา เวลานั้นได้ถวายตัวเป็นศิษย์พระวชิรญาณเถระ
(พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) โปรดให้ศึกษาพระวินัยในสำนักเจ้าคุณพระญาณรักขิต (สุด) เจ้า

๓๔

อธิการวดั บรมนิวาส คณะธรรมยุตนิ กิ าย จนกระทง่ั อายุ ๒๔ ปี ใน พ.ศ.๒๓๙๓/ค.ศ.๑๘๔๙ จึงบวชแปลงเป็น
พระธรรมยุตินิกาย โดยมีพระวชริ ญาณเถระเป็นพระอุปัชฌาย์ พระญาณรักขิต (สุด) เป็นกรรมวาจารย์ และ
อมราภิรกั ขติ (เกิด) เป็นอนุสาวนาจารย์ มีฉายาว่า "ปญฺญาสีโล" จนกระท่ังเรียนบาลีและสอบได้เป็นเปรียญ
ธรรม ในนาม "พระมหาปาน" สมเด็จพระหริรักษ์รามา (พระองค์ด้วง) ขอพระราชทานธรรมยตุ นิ กิ ายเพือ่ เผย
แผพ่ ระพุทธศาสนาธรรมยุตนิ กิ ายในกัมพชู า พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว จงึ โปรดให้พระมหาปาน
พร้อมด้วย พระอมราภิรักขิต (เกิด) และพระสงฆ์ ๘ รูป อุบาสก ๔ คน เดินทางไปสืบศาสนายังกรุงกัมพูชา
สมเด็จพระหรริ กั ษร์ ามาอศิ ราธบิ ดี ทรงนิมนตพ์ ระมหาปานให้จำพรรษาอยู่ทว่ี ัดศาลาคู่ (วดั อพ์ ิลปี) กรงุ อุดงค์มี
ชัย พระมหาปาน ได้เลอื่ นสมณศกั ด์ิ เป็นพระอรยิ วงศ์ พระวิมลธรรม พระมหาวมิ ลธรรม ตามลำดับ ภายเป็น
หลังเป็นสมเด็จพระสุคนธาธบิ ดี

สมเด็จพระสุคนธาธบิ ดี (ปาน) เป็นกวีและปราชญ์ในราชสำนักสมเดจ็ พระหรริ ักษรามาธิศราธบิ ดี กับ
สมเด็จพระนโรดม ผลงานนิพนธ์ของท่านหลายเรื่องตกทอดมาถึงปัจจุบัน เช่น รบากษัตริย์ (พระราช
พงศาวดารกรุงกัมพชู า) ที่แต่งร่วมกบั ออกญาสุนธรโวหาร (มุก) และลเบิกอังกอร์วัดแบบเก่า (เลฺบีกองฺครวตฺ
ตแบบจาส่) สมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน) สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. ๒๔๓๗ พระชนม์ได้ ๖๘ พรรษา ตรงกับ
รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวของไทยและสมเด็จพระนโรดม (พระองค์ราชาวดี) ของ
กัมพชู า

ผลจากการที่คณะสงฆ์ธรรมยตุ ินิกาย (ซึง่ ถกู ทำให้เช่ือว่าบริสุทธติ ามพระธรรมวนิ ยั มากกว่า) จากสยาม
เขา้ มาเผยแพร่ ได้ทำใหพ้ ทุ ธศาสนาเถรวาทในกมั พูชาเกิดการแบง่ แยกเป็น ๒ คณะ โดยคณะสงฆ์เถรวาทเดิม
ได้ชอ่ื วา่ คณะมหานกิ าย เชน่ เดียวท่เี กดิ ขึน้ ในประเทศสยาม คณะธรรมยุตในกมั พชู ามคี วามสมั พันธ์ใกล้ชิดกับ
พระราชวงศ์เชน่ เดยี วกับทีเ่ ป็นในสยาม แต่คณะธรรมยุตในกมั พชู ากลับมสี ่วนนำความก้าวหน้าเพียงเล็กนอ้ ย
มาสู่ชาวกัมพูชาที่ไม่ใช่เจ้านายและชนชั้นสูง อีกทั้งไม่ได้มีบทบาทในการนำความทันสมัยมาสู่สังคมกัมพูชา
ดงั เช่นทีเ่ ป็นในสยาม ในขณะท่มี หานิกายซ่ึงเปน็ นกิ ายดั้งเดมิ ซ่งึ มคี วามเครง่ ครดั ในพระธรรมวินัยน้อยกว่า กลบั
มีบทบาทท่โี ดดเด่นกว่า (ธิบดี บัวคำศรี,๒๕๕๕) ในส่วนคณะสงฆ์ธรรมยตุ เม่ือเข้ามาแล้วมีการต้ังโรงเรียนบาลี
ระดับมัธยมขึน้ ณ กรุงพนมเปญ ใน ค.ศ.๑๙๑๔ ผลคอื กระตุ้นให้มีการศึกษาศาสนาในรปู แบบใหม่ อนั นำมาซง่ึ
ความแตกแยกของคณะมหานิกายในทศวรรษที่ ๑๙-๒๐ ระหว่างพระสงฆ์ตามแบบจารีตกับพระสงฆ์หัว
สมัยใหม่ซึ่งได้รับอิทธิพลจากวิทยาศาสตร์ตะวันตกและนิยมการวิพากษ์วิจารณ์ รวมทั้งต้องการให้มีการทำ
ความเข้าใจคัมภีร์ทางศาสนากันใหม่ กลุม่ หัวสมัยใหมร่ จู้ กั กนั ในภายหลงั วา่ คณะธรรมยตุ ินกิ าย ซงึ่ ก้าวข้นึ มามี
บทบาทอย่างมากในการต่อต้านฝรั่งเศสร่วมกบั ปัญญาชนคนกลุ่มใหม่ของกมั พูชา หากเม่ือเทียบกับลาวและ
กมั พูชาการเผยแผ่นกิ ายธรรมยุติเข้าไปเพยี งภาคอีสาน (สพุ ัตรา ทองกลม, ๒๕๕๖) และในจำปาศกั ดิ์เท่านนั้ แต่ใน
ภายหลังก็ได้รบั การวมเป็นนิกายเดยี วเป็น “คณะสงฆ์ลาว” (พระศรีธาตุ สิงห์ประทุม และคณะ, ๒๕๕๓: ๗๓-
๙๖) และหายไปในชว่ งเปล่ียนแปลงการปกครองในช่วงเปลย่ี นแปลงการปกครองใน ค.ศ.๑๙๗๕/พ.ศ.๒๕๑๘

การที่พระสงฆ์กัมพูชาโดยเฉพาะคณะธรรมยุตมีปฏิสัมพันธ์อันดีกับไทย ยังคงไปมาหาสู่และศึกษา
พระพุทธศาสนาจากประเทศไทย ฝรั่งเศสเจ้าอาณานิคมซึ่งไม่มีนโยบายส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับ
พระสงฆ์สามเณร และเกรงอิทธิพลที่มาพร้อมกับศาสนาจากไทย จึงได้จัดตั้งสถาบันพุทธศาสนาบั ณฑิต

๓๕

(ฺBuddhist Institute) ใน พ.ศ. ๒๔๗๓ เพื่อควบคมุ การศึกษาของพระสงฆ์ให้อยูใ่ นขอบเขตที่จะไมเ่ ป็นภัยตอ่
การปกครอง ดงั ที่ David Chandler กล่าววา่ "เพอื่ ลดอิทธพิ ลของไทยท่ีส่งผา่ นเข้ามาทางพระพุทธศาสนา"
หรือจากการศึกษาของยัง ซัม (Yang Sam) พบว่าความพยายามของฝรั่งเศสในการควบคุมพระพุทธศาสนา
และพระสงฆด์ ้วยเหตผุ ลว่า

(๑) อยากมีอำนาจเหนือคณะสงฆธ์ รรมยุตนิ ิกายท่ีมีสถาบันพระมหากษัตริย์ใหค้ วามอุดหนุน และลด
อทิ ธพิ ลของไทย

(๒) ลดความเชื่อมั่นของประชาชนที่ให้ความเคารพนับถือคณะสงฆ์มหานิกาย โดยกล่าวหาอาจารย์
สวาและอาจารย์โปกา โบร์ ซึง่ เป็นอดีตพระสงฆว์ ่าเปน็ ขบถ ทั้งนีเ้ พอ่ื รักษาความปลอดภัยของเจ้าหน้าฝรั่งเศส
(Yang Sam, ๑๙๙๐ : ๑๒๔ - ๑๒๕)

จากสภาพการณ์ธรรมยตุ ิกนิกายเป็นสว่ นหนึง่ ของกมั พูชาภายใตก้ ารสนับสนนุ และไดร้ บั ความนิยมจาก
ราชสำนักและฝา่ ยสนับสนุนราชสำนัก การคงอยู่ และบทบาทจึงอยู่ภายใต้การค้ำยันของราชสำนักโดยตรง
ประหน่ึงเปน็ มรดกของเจา้ ประเทศราชจากสยาม และเปน็ มรดกของบรรพชนทสี่ ืบทอดมาจากอดีตด้วยเช่นกัน

ตารางที่ ๒.๑ ลำดบั พระสงั ฆราชในฝ่ายธรรมยตุ กิ นิกายในกมั พูชานับตั้งแต่กอ่ ตงั้ จนกระทง่ั ปจั จบุ ัน

ที่ ชือ่ -นามพระสงั ฆราช ช่วงเวลา วัด อายุ
๑ สมเดจ็ พระมหาสธุ รรมาธิบดี (ปาน) ๑๘๒๔-๑๘๙๓/๒๓๖๙-๒๔๓๖ ปทมุ วดี ๖๘
๒ สมเด็จพระมงคลเทพาจารย์ (เอ่ยี ม) ๑๘๔๙-๑๙๒๒/๒๓๙๒-๒๔๖๕ ปทุมวดี ๗๓
๓ สมเด็จพระมงคลเทพาจารย์ (สกุ ) ๑๘๖๑-๑๙๔๓/๒๔๐๔-๒๔๘๕ ปทุมวดี ๘๒
๔ สมเดจ็ พระสุธรรมาธิบดี (อุง สะเรย) ๑๘๗๐-๑๙๕๖/๒๔๑๓-๒๔๙๘ ปทุมวดี ๘๕
๕ สมเด็จพระมหาสุธรรมาธบิ ดี (ภุล เตส์) ๑๘๙๑-๑๙๗-? ปทมุ วดี ?
๖ สมเด็จพระมหาสุธรรมาธิบดี (เทพ เลือง) ๑๘๙๕?-๑๔ เมษายน ๑๙๗๕ ปทมุ วดี ๘๐
๗ สมเด็จพระมหาสุธรรมาธิบดี (บวั คลี) ๑๙๔๐-/๒๔๘๓- ปจั จบุ ัน ปทมุ วดี ๖๑
ที่มา : พระระพนิ ด้วงลอย. (๒๕๔๕) : ๑๔๑.

พัฒนาการของธรรมยตุ ิกนิกายทีเ่ ข้าไปสู่กัมพูชาจึงมีความเข้มแข็งและมีอิทธิพลต่อสังคมในวงกวา้ ง
รวมท้ังมรี าชสำนกั เป็นฐานในการสนับสนนุ จงึ ทำให้ธรรมยุตนิ ิกายเจรญิ เตบิ โตและมีอิทธิพลตอ่ สงั คมกมั พูชาใน
ช่วงเวลานน้ั แมจ้ ะหายไปในชว่ งเวลาหนง่ึ แตก่ ไ็ ดร้ บั การฟ้นื กลบั มาอกี ครั้ง และเข้ามาเปน็ ส่วนหนง่ึ ของกัมพูชา
ในชว่ งนน้ั และมอี ิทธพิ ลเปน็ การค้ำยันและสนับสนนุ โดยราชสำนกั ซึ่งไม่แตกตา่ งจากประเทศสยามในช่วงเวลา
นน้ั ดว้ ยเชน่ กัน

๓๖

พระพทุ ธศาสนาหายไปจากกมั พชู า

การแข่งขันทางการเมือง ในทางการเมืองนับแตไ่ ทยสูญเสยี กมั พชู าในสถานะประเทศราช ไทยก็ไม่ได้
หลงเหลืออิทธิพลใด ๆ ในกัมพูชาอีก และในส่วนของฝรั่งเศสที่มีบาทบาทในฐานเจ้าประเทศอาณานิคมก็
มองเห็นวา่ การเขา้ มาของสยามผ่านศาสนามีนยั ยะของแทรกแซง การก่อตั้งพทุ ธศาสนบัณฑติ ข้นึ มาในปี ค.ศ.
๑๙๒๑ จึงมีนยั ยะของการยอ้ นแย้งต่อประเด็นทางศาสนาที่สยามใช้เป็นกลและเคร่ืองมือในการเชื่อมระหว่าง
รัฐทางการเมอื งกบั รัฐศาสนาร่วมกัน

คณะสงฆ์ธรรมยุติกนกิ ายอยภู่ ายใตส้ ถานการณ์ทางการเมืองในกัมพูชาภายหลัง พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นการ
เผชิญหน้ากันด้วยอุดมการณ์ทางการเมืองคอมมวิ นิสต์ที่แม้แต่กษัตริย์อย่างพระเจ้าสหี นุเอง ก็ได้ใช้แนวคิด
ผสมผสานทางการเมืองเพื่อปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงของระบบคอมมิวนิสต์ สงครามกลางเมืองในช่วง
รัฐบาลนายพลลอน นอล (ค.ศ. ๑๙๗๕-๑๙๘๙) การเปลี่ยนแปลงแบบพลิกฟ้าคว่ำแผ่นดิน สถาบัน
พระพุทธศาสนาถูกยกเลิกไปในสมยั เขมรแดง สมเด็จพระสังฆราชฝ่ายธรรมยุติกนิกาย เทพ เลือง มรณภาพ
ก่อนกรุงพนมเปญแตกในวันที่ ๑๔ เมษายน ๑๙๗๕ ส่วนสมเด็จ ฮวต ตาต มีหลักฐานว่าถูกสังหารมรณภาพ
ภายหลังการปฏิวตั สิ ำเร็จของพลพรรคคอมนสิ ตเ์ ขมรแดง หลังวนั ท่ี ๑๗ เมษายน ๑๙๗๕ พระสงฆ์ถูกนโยบาย
ทางการเมืองหมดประเทศ ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๗๕-๑๙๗๙ ไม่เหลือทั้งธรรมยุตและมหานิกาย จนกระท่งั มีการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองโดยรัฐบาล เฮงสัมริน รัฐบาลเฮง สัมริน ได้กำหนดแนวทางและนโยบายเกี่ยวกบั
ศาสนาไว้ โดยดำเนินการผ่านคณะกรรมการที่รัฐบาลจัดขึ้นประจำวนแต่ละวัด เพื่อให้มาดูแลศาสนาและ
ควบคุมพระสงฆ์ ที่เรยี กว่า "สันนบิ าตสงฆ์" (Religious Direction Office) มีหน้าทีใ่ นการกำกับดูแลวดั และ
พระสงฆ์ และการจัดการภายในวัด โดยมีการออกกฏสำหรบั ปฏบิ ัติต่อวดั การปฏบิ ตั ิทางพระพทุ ธศาสนาและ
พระสงฆ์และชาวพุทธไว้ อาทิ ผู้จะบวชต้องเคยบวชมาก่อน และมีอายุ ๕๐ ปี บวชแล้วต้องช่วยเผยแผ่
อุดมการณ์คอมมิวนิสต์ในแบบเฮง สัมริน เสียภาษีพระ ๑๐ เรียล เสียภาษีในนามวัด ๑๐๐ บุญพิธีต้องแบง่
รายได้ให้กับรฐั เป็นตน้ (พระระพิน ด้วงลอย, ๒๕๔๕: ๕๒)

จนกระท่ัง ใน ค.ศ. ๑๙๘๒ มกี ารประชมุ สงฆ์ครงั้ แรก มขี ้อมูลเกย่ี วกบั พระราว ๒,๓๑๑ รูป และมีวัด
เพียง ๑,๘๒๑ วัด ทถี่ กู รือ้ ฟน้ื กลบั มาและมีพระภกิ ษอุ ยูอ่ าศัย รัฐไดข้ อความร่วมมอื จากคณะสงฆใ์ นขณะน้ันว่า
(๑) ให้พระสงฆ์ให้ความร่วมมือในการเผยแผ่อุดมการณท์ างการเมืองของพรรคสู่ประชาชน (๒) เสนอผลการ
ปฏิวตั ิแก่ประชาชน (๓) สนับสนนุ การปฏวิ ตั ิ ต่อสขู้ า้ ศกึ ศัตรู กระตุน้ ใหม้ ีความอดทนตอ่ การปฏิวตั ิ เป็นต้น ใน
ส่วนนิกายสงฆ์ ซึ่งแต่เดิมมี ๒ นิกาย คือมหานิกายและธรรมยุตนั้น และบัดนี้ได้เปลี่ยนไป กล่าวคือรัฐมิให้
พระสงฆ์มกี ารสังกัดนกิ ายใด ๆ โดยเป็นความต้องการของประธานสงฆ์เทพวงศ์ ท่านได้แสดงทศั นะเกี่ยวกบั
นกิ ายของพระพทุ ธในช่วงนี้วา่ “ในเวลานส้ี งฆ์ไม่มีความแตกต่างกันระหว่างสองนกิ ายมแี ตเ่ พียงคณะสงฆ์ชาว
พุทธที่เรียกว่าคณะสงฆ์ของพวกเรา..” (Yang Sam, ๑๙๙๐: ๘๖) หรือจากคำกล่าวของพระอุม สุม (Oum
Soum) (Chear Keab, ๒๐๐๐: ๑๘-๒๘) ได้ยนื ยันวา่ การปกครองคณะสงฆใ์ นชว่ งแรกภายใต้รัฐบาลเฮง สมั รนิ
นั้น “คณะสงฆ์ของพวกเราไมใ่ ช่มหานิกาย หรือธรรมยตุ แต่เป็นคณะสงฆผ์ ู้รกั ชาติ...” (Yang Sam, ๑๙๙๐:
๘๖) จากสภาพการณ์ดังกล่าวทำให้พระภกิ ษทุ ี่เคยบวชเป็นพระธรรมยุตเมื่อสึกไปแล้ว เมื่อกลับมาบวชจึงได้
บวชตามมหานกิ ายอันเนอื่ งด้วยรฐั ให้มเี พียงนิกายเดยี ว เช่น พระปุต ปน เจ้าอาวาสวดั เกษราราม จงั หวัดเสยี ม

๓๗

ราฐ ซง่ึ กอ่ นปี ๑๙๗๕ ทา่ นเคยบวชในนิกายธรรมยุติกนิกาย และวดั เกษรารามแห่งนี้เคยเป็นวัดของคณะสงฆ์
ฝ่ายธรรมยุติ โดยมีท่านเป็นเจ้าอาวาส ภายหลังปี ๑๙๗๕ ท่านได้กลับมาบวชตามคณะสงฆ์มหานิกาย รัฐ
อนญุ าตใหม้ เี พยี งนิกายเดยี ว พระปุต ปน จงึ กลับมาอยู่วัดเดมิ วดั นจ้ี ึงเป็นวดั มหานิกายในที่สดุ แต่คนเสยี มราฐ
สว่ นใหญ่ยงั เรียกชอื่ วา่ น้เี ป็นภาษาปากวา่ “วดั ธรรมยุต” (พระระพิน ดว้ งลอย, ๒๕๔๕: ๖๑)

ภาพที่ ๒.๑๒ สมเดจ็ พระสงั ฆราชสุคนธาธบิ ดี (บัว คลี่) สมเด็จพระสังฆราชฝ่ายธรรมยตุ ิกนิกาย
แห่งพระราชอาณาจกั รกมั พชู ารปู ปจั จบุ ัน และวดั ปทมุ วดี กลางกรุงพนมเปญ

ศูนย์กลางการบริหารกจิ การพระพทุ ธศาสนาของคณะสงฆธ์ รรมยตุ กิ นิกายในปจั จบุ นั
(ท่ีมาภาพ : กระทรวงการตา่ งประเทศ http://m.mfa.go.th, เมอื่ ๒๐ มกราคม ๒๖๖๐)

ตารางที่ ๒.๒ สถิตพิ ระสงฆ์/วดั ธรรมยตุ กิ นิกายในกมั พูชา

นกิ าย พ.ศ. ๒๕๑๒ พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ศ. ๒๕๔๙ พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ .๒๕๕๙
วัดมหานิกาย ๓,๒๓๐ ๓,๖๓๓ ๓,๙๘๐ ๔,๒๔๑ ๔,๔๘๘
วัดธรรมยตุ ิ ๑๓๙ ๙๘ ๑๒๖ ๑๕๑ ๑๗๔
พระมหานิกาย ๖๒,๖๗๘ ๑๙,๔๑๒ ๕๗,๕๐๙ ๕๓,๔๕๖ ๕๒,๘๒๔
พระธรรมยตุ ิ ๒,๓๘๔ ๓๐๓ ๑,๓๑๙ ๑,๓๘๐ ๔,๑๖๙

ตารางท่ี ๒.๒ สถติ ิพระสงฆ์/วัดธรรมยตุ กิ นิกายในกมั พูชา ทมี่ าขอ้ มูล : กระทรวงธรรมการและศาสนา
กรุงพนมเปญ Ministry of Cult and Religion, Phnom Penh (เมื่อ ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙) อุเทน วงศ์สถติ ย์
(๒๕๔๙) “ธรรมยตุ กิ นกิ าย : ศาสนมรดกไทยในกมั พชู า”, หนังสอื รวมบทความทางวชิ าการจากการประชมุ ทาง
วิชาการนานาชาติ เรื่อง : มรดกวัฒนธรรม : ไทยกับเพ่ือนบ้าน" หอประชุมมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ
๒๑-๒๓ มิถุนายน ๒๕๔๙ หนา้ ๑๘๘.

๓๘

ตารางท่ี ๒.๓ สถิติพระสงฆ์/วดั ธรรมยตุ กิ นิกายในกัมพูชา

สถติ พิ ระสงฆ์/วดั ธรรมยตุ กิ นกิ ายในกัมพูชา หมายเหตุ
ท่ี เขต/จังหวดั วดั พระภิกษ/ุ รปู

๑ กรงุ พนมเปญ ๖ ๔๗๑ ขอ้ มูลจากกระทรวงธรรมการ และศาสนา

๒ กำปงจาม ๑๑ ๑๓๒ กรงุ พนมเปญ มขี อ้ มลู ว่าระหวา่ ง ค.ศ.๒๐๑๔-๒๐๑๕

๓ ตาแกว้ ๑๗ ๔๒๐ มีวัดทวั่ ทงั้ ประเทศทั้งในสว่ นมหานกิ าย/ธรรมยตุ ิ

๔ กนั ดาล ๒๖ ๘๙๒ จำนวนรวม ๔,๖๗๖ วดั มีพระสงฆ์ทง้ั ประเทศ

๕ วิหาร ๑ ๙ จำนวนรวม ๕๗,๕๗๓ รูป โดยมีวดั คณะสงฆ์

๖ โพธิสัตว์ ๗ ๑๐๐ มหานิกาย จำนวน ๔,๔๘๘ วดั และพระภิกษสุ งฆ์
๗ พระสีหนุ ๒ ๑๓ ๕๒,๘๒๔ รูป

๘ กำปงชะนงั ๑๖

๙ เสียมเรยี บ ๖ ๑๒๘ สถาบนั การศึกษาสงฆ์ : มหานกิ าย

๑๐ กรอแจะ ๖ ๒๓ ๑. พทุ ธิกมธั ยมศกึ ษาปฐมภมู ิ โรงเรยี น ๓๕ แหง่

๑๑ พระตะบอง ๑๗ ๔๕๒ จำนวนนิสิต ๔,๗๑๖ รูป ครสู อน ๖๑๔ คน

๑๒ เกาะกง ๕ ๙๓ ๒. พุทธิกมัธยมศกึ ษาทุตยิ ภมู ิ มีโรงเรียนจำนวน ๑๗

๑๓ ไพรเวง ๑๗ ๓๘๓ แหง่ มนี ักเรยี นจำนวน ๑,๗๗๖ รปู ครู ๓๗๗ คน

๑๔ กำปงจาม ๑๑ ๑๓๒ ๓. พทุ ธสิ กลวิทยาลัยพระสหี นรุ าช (Preah

๑๕ กำปงชนงั ๑ ๖ Sihanouk Raja Buddhist University) มจี ำนวน
๑๖ บันทายเมียนชยั ๗ ๑๒๗ นสิ ติ ๒๐๘๗ รูป/คน ครสู อน ๒๕๕ คน (๑) วิทยา
๑๗ กำปงสะปอื ๑๗ ๓๗๖ เขตพนมเปญ มีนสิ ติ จำนวน๑,๑๕๕ รปู /คน (๒)
๑๘ กำปงธม ๒ ๒๗ วิทยาเขตพระตระบอง ๔๗๗ รปู /คน (๓) วิทยาเขต
๑๙ กำปอต ๑๘ ๓๗๙ เขตกำปงชะนงั นิสิต ๔๕๕ รปู /คน ในสว่ นคณะสงฆ์
๒๐ สวายเรียง
๒๑ รัตนครี ี ธรรมยุติมี พทุ ธกิ วิทยาลัยพระสหี มนุ ี (Preah
๒๒ สตรึงแตง
Sihamoni Raja Buddhist University)วัดสวายโป

โป กรงุ พนมเปญ

๒๒ กรงุ แกบ

๒๓ กรุงไพลนิ

๒๔ อดุ รมชี ัย

๒๕ ตโบงฆมุม

รวมทั้งหมด ๑๗๘ ๔,๑๖๙

ที่มาข้อมลู : กระทรวงธรรมการและศาสนา กรงุ พนมเปญ

Ministry of Cult and Religion, Phnom Penh (เมอ่ื ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙)

๓๙

ตารางท่ี ๒.๔ เปรยี บเทยี บสมณะศกั ด์แิ ละสัดสว่ นของพระราชาคณะระหวา่ ง
คณะธรรมยุตและมหานกิ ายในกัมพชู า

พระราชาคณะสมเด็จพระสงั ฆราช นกิ าย ละ ๑ รปู

คณะมหานิกาย สมเดจ็ พระมหาสเุ มธาธบิ ดี (สงั ฆราช)

คณะธรรมยตุ กิ นกิ าย สมเดจ็ พระมหาสุคนธาธบิ ดี (สงั ฆราช)

พระราชาคณะช้ันเอก ฝา่ ยมหานิกาย ๓ รูป ฝา่ ยธรรมยตุ ๒ รปู

คณะมหานิกาย (๑) พระธรรมลขิ ิต (๒) พระโพธิวงศ์ (๓) พระวันรัตน์

คณะธรรมยุตกิ นิกาย (๑) พระมงคลเทพาจารย์ (๒) พระพุฒาจารย์

พระราชาคณะช้นั โท ฝา่ ยมหานกิ าย ๖ รูป ฝา่ ยธรรมยุต ๓ รูป

คณะมหานกิ าย (๑) พระมหาวิมลธรรม (๒) พระพทุ ธโฆษาจารย์ (๓)พระธรรม

โฆษาจารย์ (๔) พระโฆษธรรม (๕) พระศาสนมนุ ี (๖) พระมนุ ี

โกศล

คณะธรรมยุติกนิกาย (๑) พระมหาพรหมมุนี (๒) พระธรรมอุดม (๓) พระอริยกสั สป

พระราชาคณะชน้ั ตรี มหานกิ าย ๖ รูป ฝา่ ยธรรมยตุ ิ ๔ รูป

คณะมหานิกาย (๑) พระศริ ีสมั มตวิ งศ์ (๒) พระพุทธวงศ์ (๓) พระศากยวงศ์

(๔) พระอบุ าลวี งศ์ (๕) พระญาณวงศ์ (๖) พระสุเมธวงศ์

คณะธรรมยตุ ิกนิกาย (๑) พระอรยิ วงศ์ (๒) พระญาณรงั ษี (๓) พระธรรมกววี งศ์

(๔) พระมหาวรี วงศาจารย์

พระราชาคณะชัน้ จัตวา ฝา่ ยมหานกิ าย ๒๐ รปู ฝา่ ยธรรมยุต ๑๖ รปู

คณะมหานกิ าย (๑) พระธรรมวปิ สั สนา (๒) พระสมาธธิ รรม (๓) พระญาณโกศล

(๔) พระสริ สี งคามมุนี (๕) พระสริ ิวสิ ทุ ธิ์ (๖) พระธรรมวงศา

(๗) พระญาณสังวระ (๘) พระธรรมสงั วระ (๙) พระอินทรม์ นุ ี

(๑๐) พระเทพมุนี (๑๑) พระวินัยมนุ ี (๑๒) พระเทพสตั ถา

(๑๓) พระศลี สงั วร (๑๔) พระคมั ภีร์เถร (๑๕) พระอริยมคั ค

ญาณ (๑๖) พระวิภทั รญาณ (๑๗) พระบวรสตั ถา

(๑๘) พระญาณวิสุทธิวงศ์ (๑๙) พระธรรมวสิ ทุ ธวิ งศ์

(๒๐) พระปิฏกธรรม

คณะธรรมยุติกนิกาย (๑) พระปทุมวงศา (๒) พระธรรมุนี (๓) พระวชริ เมธา

(๔) พระอรยิ มุนี (๕)พระเทพโมลี (๖) พระธรรมมตั เถร

(๗) พระอมราภริ ักขติ (๘) พระมหาราชธรรม (๙) พระรตนะมนุ ี

(๑๐) พระธรรมไตรโลกาจารย์ (๑๑) พระธรรมวโรดม

(๑๒) พระญาณวริ ิยะ (๑๓) พระธรรมุนี +

๔๐

ทั้ง ๒ นกิ าย พระฐานานกุ รมตา่ ง ๆ พระปลัด พระวินัยธร พระธรรมธร พระ

ครู พระธรรมกถกึ และพระสมหุ ์ (เป็นฐานานกุ รมของพระมนตรี

สงฆ์แต่ละรูปจะพจิ ารณาแตง่ ตง้ั เอง)

หมายเหตุ : พระราชาคณะพระมหากษตั ริย์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งโดยการออกพระราชกฤษฎีกา

ทีม่ า : ชล เอยี่ ม. (๑๙๙๔). องค์การจดั ตั้งพระสงฆ์พทุ ธศาสนกิ ในประเทศกมั พชู า. กมั พูชสรุ ยิ า. ๔๘ (๔) : ๓๑-
๔๗ (ภาษาเขมร)

การจดั การศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาในกมั พูชา

การจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์กัมพูชา ในอดีต มี ๔ ยุค คือ สมัยฟูนัน สมัยเจนละ
สมัยพระนครและสมัยหลงั พระนคร สมัยฟูนัน การศึกษาพระปริยัติธรรมสมยั ฟูนัน จากหลักฐานทั้งหมดทีไ่ ด้
กลา่ วมาในบทท่ี ๔ น้นั เปน็ การศกึ ษาภาษาสันสกฤตและภาษาบาลีเปน็ หลัก แตล่ ักษณะของการเรียนการสอน
น้ันเป็นการท่องบน่ บอกเลา่ ต่อ ๆ กนั มา โดยอาศัยความจำเป็นหลักเรยี กว่ามุขปาฐะ มฉิ ะนนั้ คงไมม่ ีหลักฐาน
ที่ปรากฏในหลักศลิ าจารึกที่ว่า ในพระราชอาณาจักรฟูนนั มีพระภิกษุสามเณรเปน็ จำนวนมากทรงประพฤติดี
ปฏิบัติชอบตามหลักพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด พร้อมทั้งมีพระเถระผู้ทรงความรู้ดา้ นภาษาศาสตร์ได้เปน็
สมณทตู ไปแปลพระไตรปิฎกท่ีประเทศจีนดังกล่าว

สมัยเจนละการศึกษาพระปริยัติธรรมสมัยเจนละ จากหลกั ฐานที่ปรากฏในสมัยเจนละ ช่วงแรกจะ
เป็นการแย่งชิงราชสมบัตเิ ป็นส่วนใหญ่ ทางด้านพระพุทธศาสนานั้นพระราชาทกุ พระมหากษตั ริย์ก็มไิ ดท้ รง
ทอดทง้ิ พระพทุ ธศาสนา ดงั เช่นในรัชสมยั ของพระบาทชยั วรมนั ที่ ๑ พระองค์ทรงเป็นพระราชาทรงอำนาจอกี
พระองค์หน่ึง และขยายอาณาเขตอนั กว้างใหญ่ โดยในรชั สมยั น้ี พระองค์ทรงไดผ้ นวชพระภกิ ษุสองรูปท่ีเป็น
เชื้อสายกษัตริย์ คือภิกษุรัตนะภาณุ และภิกษุรัตนะสิงหะ ให้เป็นผูด้ ูแลวัดไพรเวียร์ที่ทรงสร้างถวาย๑ และ
ตามการบันทึกของหลวงจีนอี้จิงไดก้ ล่าวว่า พระพุทธศาสนาในอาณาจักรเจนละมคี วามเจรญิ รุ่งเรืองมาก มี
การสร้างวัดทั่วทุกแห่ง ประชาชนนิยมบวชในพุทธศาสนา แม้กระทั่งเจ้านายก็นิยมบวชเช่นกัน นี่ก็เป็น
หลักฐานทีช่ ัดเจนข้ึนเพราะการบวชก็คือการศกึ ษานัน่ เอง เนื่องจากการบวชนั้นกจ็ ำเป็นต้องมพี ระอุปชั ญาย์
อาจารยท์ เี่ ปน็ พระสังฆเถระผใู้ หก้ ารอุปสมบทหรอื ใหก้ ารศกึ ษาแกส่ ัทธวิ หิ ารกิ ทศี่ รทั ธาเขา้ มาบวชจงึ ถือเปน็ การ
ให้การศึกษาในเบื้องต้น กล่าวคือการใหก้ รรมฐานหลังจากบวชเป็นที่เรยี บร้อยแล้วก็ขึน้ อยู่กับพระอุปัชญาย์
อาจารย์เปน็ ผสู้ ง่ั สอน

สมัยพระนคร พระบาทอนิ ทรวรมันที่ ๑ พระองค์ทรงเปน็ ผู้ให้เสรีภาพแกป่ ระชาราษฎร์ในการนับถือ
ศาสนาไมจ่ ำกดั เฉพาะแต่ในศาสนาพราหมณ์เท่านน้ั แตท่ รงให้นบั ถอื ศาสนาทตี่ นเคารพศรัทธาตามประเพณี
เช่นพระองค์ก็ทรงศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นแบบอย่าง พระบาทยโสวรมันที่ ๑ พระอง ค์ทรงเป็น
พุทธศาสนิกชนที่ทรงนบั ถือพระพุทธศาสนามหายานอย่างเป็นทางการ พร้อมกนั นัน้ ก็ทรงศรัทธาในศาสนา

๑คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. ประวัตพิ ระพุทธศาสนา. หน้า ๑๒๑.

๔๑

พราหมณ์ และพระพุทธศาสนาเถรวาทที่สบื ทอดมาจากรชั กาลกอ่ น ๆ พระบาทราเชนทรวรมนั ท่ี ๒ มกี ารสรา้ ง
วัดวาอารามเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก และเปิดโอกาสให้เคารพนับถือศาสนาได้อย่ างเสรี โดยเฉพาะ
พระพทุ ธศาสนามหายานได้รับการสนบั สนุนจากกวีทรฺ าริมถนะ พรอ้ มท้งั ได้นำเอาคมั ภีรพ์ ระพุทธศาสนาจาก
ต่างประเทศ เข้ามาเป็นจำนวนมาก นี่ก็แสดงให้เห็นว่าการศึกษาของพระสงฆ์ในยุคนั้นคงจะมีความ
เจริญรุ่งเรืองแน่นอน ซึ่งจากสถิติการสร้างวัดหรือจำนวนของพระสงฆ์ที่บวชอยู่ในวัดนั้น ๆ พร้อมทั้งตำรา
เอกสารต่าง ๆ สำหรับใช้ประกอบการเรียนการสอนด้วย พระพุทธศาสนามหายานได้รับการเชิดชูจาก
พระราชสำนกั ทำให้ลทั ธิมหายานมคี วามเจรญิ รงุ่ เรืองในพระราชอาณาจักรกมั พูชาและเปน็ ศาสนาประจำชาติ
ดว้ ย สว่ นพระพุทธศาสนาเถรวาทท่ีมีอยู่เดมิ นั้นก็มคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งอยู่เชน่ กัน เพียงแต่ไมไ่ ด้รับสนับสนนุ จาก
พระราชสำนกั เท่าท่คี วร

พระบาทสุริยวรมันที่ ๒ ได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองพร้อมทั้งการทำนุบำรุง
พระพทุ ธศาสนา พระบาทตรภี ูวนาทิตยวรมันทรงสวรรคต พระบาทชยวรมันท่ี ๗ พระองคจ์ งึ รวบรวมกองทัพ
รบกับจามจนไดร้ ับชยั ชนะ และกำจดั พวกจามออกจากพระราชอาณาจกั รกัมพูชาในปีพ.ศ. ๑๗๒๔ ซงึ่ เป็นปีที่
พระองค์ขึ้นครองราชย์ทรงได้รับพระนามว่าพระบาทชัยวรมันที่ ๗ รัชกาลของพระองค์นั้น ทำให้ประเทศ
กัมพชู ามอี ารายธรรมเจริญรุ่งเรอื งถึงช้ันสงู สุดในทุก ๆ ด้าน โดยผ้ศู กึ ษาขอสรุป ได้ดังน้ี

ด้านการศึกษาพระพทุ ธศาสนา (Buddhist Studies) สำหรับการศึกษาน้นั ถอื ว่าเปน็ ยคุ ของพระองค์
มีความเจรญิ รงุ่ เรืองทัง้ ฝา่ ยพุทธจกั ร และอาณาจกั รโดยมีพุทธกิ มหาวิทยาลัยคะเชนทรตง ซงึ่ เป็นมหาวิทยาลัย
แห่งที่หนึ่งที่สอนวิชาลัทธิพระพุทธศาสนา มหาวิทยานิละกะกุตตระ และมหาวิทยาลัยนเรนทราศรม เป็น
สถานที่ศึกษาสำหรับประชาชนทั่ว ๆ ไป รวมทั้งสตรีเชื้อพระวงศ์ด้วย นอกจากนั้นแล้วยังมีพระภิกษุ
ชาวตา่ งชาตทิ เ่ี รียนมหาวิทยาลยั น้ีด้วย แม้เราไมส่ ามารถรู้ได้ว่ามกี ารการเรยี นการสอนในรูปแบบใดก็ตาม แต่
ในยคุ น้ีการศกึ ษาของพระสงฆ์มคี วามเจริญที่สดุ ยุคหนึง่ ของกัมพูชา

ดา้ นสถาปตั ยกรรม (Architectures) ทางดา้ นสถาปัตยกรรมรชั สมยั ของพระองคถ์ อื เป็นยุคท่ีมีอารย
ธรรมเจริญรุ่งเรืองที่สุด และมีการสร้างประสาทต่าง ๆ ทั่วทุกหนแห่งในพระราชอาณาจักร เพื่ออุทิศแด่
พระพุทธศาสนาและพระราชามหากษตั รยิ ์องค์ก่อน ๆ โดยเฉพาะปราสาทตาพรหมอนั เปน็ สถานศึกษาที่สำคัญ
ของพระนครทีเ่ รยี กวา่ มหาวทิ ยาลัยพระพุทธศาสนา มพี ระสงฆ์สามเณรศึกษาอยปู่ ระมาณ ๒๐,๐๐๐ กว่ารปู

การศึกษาพระปรยิ ัตธิ รรมต่อจากพระบาทชยั วรมันท่ี ๗ มาจนกระท่ังพระบาทอินทรวรมนั ท่ี ๒ ผ้เู ป็น
พระราชโอรสขึ้นครองราชย์ การพระศาสนาทรงได้ดำเนินรอยตามพระราชบิดาคือทั้งพระพุทธศาสนาลัทธิ
มหายาน และหินยานที่ได้แบบอย่างจากลังกาทวีปก็ได้รับยกย่องจากประชาชนทุกระดับชั้น และมีความ
เจริญรุ่งเรืองเรื่อยมาจนกระทั่งถึงรัชสมยั ของพระบาทชัยวรมันท่ี ๘ สถานการณ์พระพุทธศาสนาถูกทำลาย
อย่างหนกั จากอทิ ธิพลของพวกพราหมณ์ จึงถือเปน็ ยุคเส่ือมสลายลัทธมิ หายาน และพราหมณไ์ ด้ส้นิ สุดลง ใน
พระราชอาณาจักรของพระบาทชัยวรมันที่ ๗ และคงเหลือเพยี งพระพุทธศาสนาเถรวาท ที่ได้รับการเคารพ
ศรทั ธาจากพุทธศาสนิกทค่ี บั แคน้ ใจจากพวกพราหมณท์ ก่ี ีดกันเรอื่ งของศาสนา ทำใหพ้ ระพุทธศาสนาเถรวาท
ถูกยกย่องให้เป็นศาสนาประจำชาตกิ มั พูชา (Esteem to The National Religion of the Cambodia) และ
ไดม้ คี วามเจริญร่งุ เรอื งมาโดยตลอด

๔๒

ดงั จะเหน็ ในรชั สมัยพระบาทอนิ ทรวรมันท่ี ๓ ถือว่าพระองคท์ รงเปน็ แบบฉบบั ของพระราชสำนักและ
พสกนกิ รทกุ ช่วงชนั้ ใหไ้ ด้เขา้ มาศกึ ษาและปฏิบตั ิธรรมตามหลักคำส่งั สอนขององค์สมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
อย่างแท้จริง ดังตัวอย่างที่พระองค์ทรงเสดจ็ ออกผนวชเพื่ออุทิศเวลาใหก้ ับการศึกษาทางด้านศาสนา และถอื
เปน็ พระกรณยี กจิ ทสี่ ำคญั ในการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในรัชสมัยของพระองคด์ ้วย และสิง่ ท่ีสำคัญคือทรงใช้
ภาษาบาลแี ทนภาษาสันสกฤตอย่างเปน็ ทางการในพระราชอาณาจกั ร จึงทำให้การศึกษาพระพุทธศาสนาใน
รชั กาลของพระองคม์ คี วามเจริญรงุ่ เรืองท่สี ุดยคุ หนึง่ ของกมั พูชาโดยตลอดมา

พระบาทชัยวรมันที่ ๙ ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจอันสำคัญในการประกาศพระศาสนาไปยังประเทศ
ลาวในรชั กาลของเจา้ ฟา้ งุ้ม จงึ ทำให้พระพุทธศาสนาเถรวาทไดก้ ลายเปน็ ทพี่ ่ึงทางจิตวิญญาณและเป็นศาสนา
ประจำชาตขิ องสาธารณรัฐประชาชนลาวมาถึงปจั จบุ ัน

สมัยหลังพระนคร การศึกษาพระปริยัติธรรมรัชสมัยพระบาทพญาญาติพระองค์ทรงทำนุบำรุง
ประเทศชาติให้ไดร้ บั ความเจรญิ รงุ่ เรอื งทงั้ ฝ่ายพทุ ธจกั ร และฝ่ายอาณาจกั รไปพรอ้ มๆกนั แม้จะอยู่ในช่วงทีท่ รง
ยา้ ยพระราชธานหี ลายครง้ั ก็ตามที แตพ่ ระองคก์ ็ไม่ทรงละทงิ้ ในเรอื่ งของพระพุทธศาสนา พรอ้ มทรงได้สร้าง
พระอารามไว้เป็นจำนวนมาก และยังคงอยู่จนกระทั่งปัจจุบัน แต่ต่อมาหลังจากที่พระองค์ทรงสวรรค์แลว้
ประเทศชาติก็เกิดวิบัติกันเองภายในราชวงศ์ทั้งปัญหาภายในประเทศ และปัญหาจากการรุกรานจาก
ต่างประเทศดว้ ย

การศกึ ษาสมยั พระยาละแวกจนถึงสมัยของพระบางองคด์ วง คือนับตง้ั แต่สมัยพระบาทศรสี คุ นธบทขนุ
หลวงพระเสดจ็ กอน และพระบาทจันทราชาซึ่งทั้งสามพระองค์ล้วนแล้วเป็นพุทธมามกะทรงเคารพบูชาพระ
รตั นตรยั เปน็ ท่ีสกั การบชู าสูงสดุ นอกจากนีท้ กุ ๆพระองค์ทรงสรา้ งพระอารามไวเ้ ปน็ จำนวนมาก และสนับสนนุ
ให้พระสงฆ์ได้รับการศกึ ษาเพื่อเป็นกำลังสำคญั ในการช่วยชี้แนะแนวทางสั่งสอนหลักการปฏิบัติท่ีถูกที่ควรใน
ฐานะเป็นพทุ ธศาสนกิ ชนผซู้ งึ่ ศรทั ธาเล่อื มใสในพระศาสนา และชว่ งท่ีทรงครองราชยน์ ้นั พระองคย์ งั ได้คัดเลือก
ตวั บคุ คลทีจ่ ะเขา้ มาช่วยบริหารกิจการทางบา้ นเมือง โดยมีการจัดใหส้ อบไล่ประโยคภาษาลแี ละหลกั คมั ภรี ์ฎกี า
ต่างๆในทางพระพุทธศาสนาเพื่อจะได้ผู้บริหารทีม่ ีความรู้ควบคู่คุณธรรมและเป็นแบบอย่างในการปกครอง
บ้านเมือง เมือ่ สอบผา่ นแลว้ ก็จะได้รบั แตง่ ตงั้ ให้เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางด้านการเมืองการปกครองไปประจำท่ี
หวั เมอื งตา่ งๆ ฉะนน้ั จงึ ถือวา่ ยุคน้เี อาหลักพระธรรมนำหน้าการปกครองประเทศ

พระบาทองค์ด้วง การศึกษาของพระสงฆ์ และการศกึ ษาของเยาวชนนั้น พระองคท์ รงเอาพระทยั ใน
การจัดการศึกษาให้เป็นไปตามกาลสมัย คือทรงปรับปรุงระบบการศึกษาระบบข้าราชการ และทรงแต่งต้งั
ตำแหน่งในราชวงศ์ตามลำดบั เพื่อใหม้ คี วามคลอ่ งตัวในการปกครองบ้านเมอื ง โดยทรงให้ไปประจำตำแหน่ง
ตามหัวเมืองต่างๆอันที่จะพัฒนาประเทศชาติให้มีความเข้มแข็ง และเพื่อที่จะต่อต้านจากภายนอกประเทศ
นอกจากจะทรงปกครองประเทศตามหลกั ทศพิธราชธรรมแลว้ พระองค์ทรงเปน็ นักเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศท่ี
สำคญั อีกด้วยกลา่ วคอื มีการจัดพิมพ์เงินเพอ่ื ทำพานชิ กรรมกบั จนี และอินเดียดังกล่าวแล้วข้างตน้ ส่วนทางการ
ศึกษานั้นพระองค์ทรงจัดให้มกี ารสอบไล่ประโยคบาลี ได้มีพระสงฆ์เป็นพระมหาเปรยี ญ คือต้ังแต่เปรยี ญตรี
เปรียญโทมาตามลำดับ ทำให้การศึกษาพระพุทธศาสนาสมัยนี้มีความเจริญอย่างมาก พร้อมกันนั้นยังมี

๔๓

เหตุการณท์ สี่ ำคัญเกิดขึ้นในวงการพระศาสนาของพระราชอาณาจกั รกมั พชู า คือไดร้ ับคณะธรรมยตุ กิ นิกายจาก
ประเทศไทยเพิม่ อีกนกิ ายทำให้พระพทุ ธศาสนาในกมั พูชามี ๒ นิกายเหมือนกบั ประเทศไทยจนถงึ ปัจจุบนั

การจดั การศึกษาพระปรยิ ัติธรรมของคณะสงฆก์ มั พูชาในปัจจุบนั จัดเป็นรูปแบบ ๓ คอื การศกึ ษาพระ
ปรยิ ตั ธิ รรมแผนกธรรม การศึกษาพทุ ธกิ ศกึ ษา และการศึกษาระดบั อุดมศึกษาในพระราชบัญญตั ิด้านการศึกษา
ไดม้ อบหมายพระเถระเหล่าน้ีรบั ผดิ ชอบ คือ

ตาราง ๒.๕. คณะกรรมการศกึ ษาของคณะสงฆ์กัมพูชา

ท่ี ชอ่ื สมณศกั ด์ิ ชอื่ จริง ตำแหน่ง
๑ สมเดจ็ พระมหาสเมธาธบิ ดี นน แหงด ประธาน
๒ สมเดจ็ พระธรรมลขิ ติ ลอส ลาย รองประธาน
๓ สมเดจ็ พระอุดมมนุ ี เฮง เลยี งโฮ รองประธาน
๔ สมเดจ็ พระวันรตั น์ นอย จรกึ รองประธาน
๕ สมเดจ็ พระโพธิวงศ์ อัม ลมิ เฮง รองประธาน
๖ สมเดจ็ พระอุดมวงศา ม่วง รา รองประธาน
๗ พระโฆสธรรม เสาร์ จนั ทร์ธรู รองประธานและเลขานุการ
๘ พระสทั ธรรมโกศล เจีย สำอาง รองประธาน

การศึกษาปริยัติธรรมแผนกธรรม จากสถิติ พ.ศ.๒๕๕๑ มีโรงเรียนแผนกพระธรรมวินัย (นักธรรมตรี
โท เอก มีจำนวน ๗๒๖ โรงเรียนสมณศึกษามีจำนวน ๑๓,๖๑๒ รูป โรงเรียนพทุ ธิกประถมศึกษา มีจำนวน
๕๔๙ โรงเรียน สมณศึกษาที่เรียนอยู่มี ๑๒,๑๗๔ รูป พุทธิกอนุวิทยาลัย (ม.๑-๓) มีจำนวน ๒๖ โรง สมณ
ศึกษา ๔,๐๓๗ รูป พุทธิกวิทยาลยั (ม.๔-๖) ๑๑โรง มีสมณศึกษา ๑,๘๙๓ รูป ระดับอดุ มศึกษา ๒ แห่ง คือ
พุทธิกสากลวทิ ยาลยั พระสีหนุราช และพุทธสิ ากลพระสีหมุนี ๖๐๕ รปู ส่วนวดั ทั่วราชอาณาจกั ร ๔,๒๓๗ วดั มี
พระภกิ ษุ-สามเณร ๕๗,๓๕๐ รูป

การศึกษาพทุ ธิกศึกษา
๑. พทุ ธกิ ประถม ศึกษาให้ศึกษาระดบั ประถมศึกษาชั้นป.๑-๖
๒. พทุ ธกิ มัธยมศกึ ษาปฐมภูมิ จัดการศกึ ษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
๓. พทุ ธิกมัธยมศึกษาทตุ ยิ ภูมิ จัดการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.๒๕๐๕ สมเด็จพระสีหนุ
ราชได้สร้างโรงเรยี นสงฆเ์ รียกว่าโรงเรยี นพุทธิกศึกษาตัง้ แตร่ ะดบั มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย โรงเรียน
นี้ตั้งอยู่ท่ีวัดมหามนตรี ให้นามว่า วิทยาลัยพระสรุ ามฤต ในกรุงพนมเปญ ตามนามของพระบิดาของพระองค์
ปจั จุบนั ขยายตัวออกไปหลายจงั หวดั มจี ำนวนโรงเรียนท้ังสนิ้ ๑๒ แห่ง มีนักเรียน ๓,๔๐๐ รปู /คน พ.ศ.๒๕๓๒
(๑๙๘๙) โรงเรียนมัธยมสงฆ์ได้รับการฟื้นฟูอีกครั้ง หลังถูกทำลายยับเยินในสมัยเขมร แดง เป็นฐานผลิต
บุคลากรใหม้ หาวิทยาลยั สงฆ์ต่อมา พ.ศ.๒๕๕๑ มจี ำนวนโรงเรียนมัธยมทางพทุ ธศาสนา ๑๒ แห่ง

๔๔

การศึกษากับอุดมศึกษา จัดการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยคือระดับปริญญาตรี โท และ เอก
ระดบั อุดมศึกษา ได้ก่อต้งั ขน้ึ ในวนั ท่ี ๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๗ (๑๙๕๔) โดยสมเดจ็ พระเจา้ นโรดมสีหนุ โดยใช้
พระนามของพระองค์ทา่ นมาเรียกชื่อมหาวิทยาลัย เหมือนกบั มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่ง
พระราชทานนามจากในหลวงรัชกาลที่ ๕ ชื่อว่าพุทธิกสากลวิทยาลัยพระสีหนุราช Preah Sihanouk Raja
Buddhist) โดยมุ่งหวังใหพ้ ระสงฆ์ใด้รบ้ การศึกษาที่สงู ขึ้นจนถงึ ระดับมหาวทิ ยาลัยเพื่อนำเอาความรู้ทางพุทธ
ศาสนาไปเผยแผ่พุทธศาสนกิ ชน โดยมีพระโพธิวงศ์ (ฮวด ตาท) เป็นอธิการบดรี ปู แรก มนี กั ศึกษาชดุ แรก ๔๐
รูป มหาวิทยาลัยตกตาํ่ สดุ ขีดในสมัยแขมรแดง ตกึ ถูกทบุ หนังสือทางพุทธศาสนาถกู เผาทำลาย ไม่มีนักศึกษา
เหลอื อยู่ จนถึงปพี .ศ.๒๕๔๐ (๑๙๙๗) จงึ ไดเ้ รมิ่ ฟ้นื ฟอู ีกครง้ั โดยเปดิ คณะพุทธศาสตรเ์ ป็นคณะแรก มีนกั ศึกษา
จบรุ่นแรก ๕๐ รูป พ.ศ.๒๕๔๙ (๒๐๐๖) รัฐบาลกัมพูชาได้ตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย มีผลทำให้เป็น
มหาวิทยาลัยรฐั บาลสมบรู ณแ์ บบ ในเบื้องต้นเปิดสอนในระดบั ปริญญาตรี ๕ คณะ คอื

๑. คณะศาสนาและปรัชญา (Faculty of Phylosophy and Religions)
๒. คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ประชาสัมพันธ์ทางค้านเทคโนโลยี (Faculty of Education
Science and Infor-mation Technology)
๓. คณะวรรณคดเี ขมร (Faculty of Khmer Literature)
๔. คณะบาลี สันสกฤตและภาษาตา่ งประเทศ (Faculty of Pali Sanskrit and Foreign Technology)
๕. ศูนย์ฝกึ อบรมครู (Center of Teacher Training) มีสถานะเทยี บเท่าคณะ ตั้งแต่ก่อตง้ั จนถึง พ.ศ.
๒๕๑๘ มีผู้จบการศึกษาแล้ว ๑๗๖ รูป ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ (๑๙๙๙) มีผู้จบปริญญาตรีรุน่ แรก ๕๐ รูป วันที่ ๒๓
มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙ (๒๐๐๖) รัฐบาลพระราชอาณาจักรกัมพูชายกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐอย่าง
สมบูรณ์ มีพรบ.ที่ชัดเจน มีสมเด็จพระสังฆราช (นน แหงด) เป็นที่ปรึกษาอธิการบดี มีสมเด็จพระโพธิวงศ์
(อัม ลิม เฮง) เป็นอธิการบดี และศาสตราจารย์ ดร.พระเทพสัตถา (ชีร) สุวัณณรัตนะ เป็นรองอธิการบดี
มหาวิทยาลัยได้ขยายการศกึ ษาออกสูช่ นบทโดยจัดตัง้ วทิ ยาเขตออกเป็น ๓ วทิ ยาเขตกำปงชนงั คอื
๑. วิทยาเขตพระตะบอง
๒. วิทยาเขตกมั ปงจาม
๓. วิทยาเขตกำปงชนัง พ.ศ. ๒๕๕๕ มีนกั ศกึ ษาทงั้ หมด ๑,๕๑๒ รปู /คน
มหาวิทยาลัยอีกแหง่ หน่ึงคอื พุทธกิ สากลวทิ ยาลัยพระสีหมนุ ีราชา (Preah Sihamoniraja Buddhist
University) เปน็ มหาวิทยาลยั ทตี ้งั ตามนามชองสมเด็จพระเจา้ นโรดม สหี มุนีพระมหากษัตริย์องคป์ จั จบุ นั ตั้งท่ี
วดั สวายเปาะแป กรงุ พนมเปญ โดยความพยายามของสมเด็จพระสงั ฆราชบัวคลี ฝา่ ยธรรมยตุ ิ ในพ.ศ.๒๕๔๗
ในวนั เปิดมหาวทิ ยาลยั พระเจ้าสีหมนุ ีไดเ้ สด็จมาเปดิ อยา่ งเป็นทางการ การดำเนนิ งานเปน็ ไปด้วยดี จนถงึ พ.ศ.
๒๕๕๐ จงึ มพี รบ.อย่างสมบูรณ์ มสี ถานะเปน็ มหาวิทยาลยั ในกำกบั ของรัฐบาล ขณะนเ้ี ปิดแล้ว ๔ คณะ คือ

๑. คณะปรชั ญา ศาสนา และนิติศาสตร์
๒. คณะบาลี สนั สกฤต และภาษาต่างประเทศ
๓. คณะอักษรศาสตร์เขมร
๔. คณะสารสนเทศ

๔๕

การศกึ ษาสงฆก์ ัมพูชา และระดบั ก่อนอดุ มศกึ ษา
การศึกษาในประเทศกัมพูชา และพบผู้บริหารมหาวิทยาลัยสงฆ์ในกัมพูชาใน ๒ สถานที่พบว่า
การศกึ ษาที่นอกเหนอื จากการศึกษามหาวิทยาลัยสงฆ์ จะมกี ารศึกษาที่เรยี กว่านักธรรม และบาลี ซ่งึ หากมอง
ไปก็ไม่แตกตา่ งกนั กบั ประเทศไทยในรปู แบบการศึกษาของกมั พชู า ในบทความของ Ven.Suy Sovann ในเรอ่ื ง
"Cambodia Buddhist Education" ให้ข้อมลู วา่
๑. การศึกษานกั ธรรม (Dhamma-Vinaya School) จากขอ้ มลู ของการศึกษาในระบบนักธรรมที่
ภาษาเขมรเรียกวา่ “ธรรมโกศล” แบ่งเป็น ๓ ระดบั หรอื ใช้เวลาในการศึกษา ๓ ปี เหมอื นกับระบบการศกึ ษา
พระปรยิ ัตธิ รรมในประเทศไทย จากขอ้ มูลของกระทรวงธรรมการท่ีทำหนา้ ท่ใี นการจดั การศกึ ษาของคณะสงฆ์
ในกมั พูชาสว่ นน้ี ใน ค.ศ.๒๐๑๒-๒๐๑๓ มีนักเรยี นท่วั ประเทศ ๗,๓๙๐ และมคี รสู อนในแผนกนอี้ ยู่ท่ี ๖๕๙ รูป
คน ทวั่ ประเทศ แต่เดิมการศึกษาแบบนี้ได้รับความนยิ มและเปน็ สงิ่ ท่พี รภกิ ษุสงฆ์สามเณรทว่ั ประเทศต้องศกึ ษา
๒. การศึกษาบาลี (Pali School) หมายถึงการศึกษาภาษาบาลี ดังปรากฏในงานของเขียนของ
Ven.Suy Sovann ในเรื่อง Cambodian Buddhist Education ให้ข้อมูลว่า ใน ค.ศ.๑๙๓๓ โรงเรียนมธั ยม
พุทธิกศึกษา (secondary school) ถูกตั้งขึ้นมาเพื่อพระภิกษุสามเณร ในปี พ. ศ. ๒๕๐๕ โรงเรียน
ประถมศึกษาเกือบ ๖๐๐ แห่งของพุทธศาสนามีการลงทะเบียนของสามเณรมากกว่า ๑๐,๐๐๐ คนและมี
พระสงฆ์ ๘๐๐ คนเป็นอาจารย์ โรงเรียนประถมศึกษา Preah Suramarit - สถาบันสีป่ ีในกรุงพนมเปญก่อตัง้
เมื่อปีพ. ศ. ๒๔๙๘ ประกอบด้วยหลักสูตรภาษาบาลีภาษาสันสกฤตและภาษาเขมรรวมทั้งในสาขาวิชาท่ี
ทันสมัยหลายแห่ง ในปีพ. ศ. ๒๕๐๕ นักเรียนมีจำนวน ๖๘๐ คนผูส้ ำเรจ็ การศกึ ษาของโรงเรียนสามารถเรียน
ต่อในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้ พระพุทธศาสนานิกายสราญราชวงศ์ฉานสร้างขึ้นเมื่อปีพศ. ๒๕๐๒
มหาวิทยาลัยได้เปิดสอนหลักสูตรสามรอบ ปริญญาเอกได้รับรางวลั หลังจากจบรอบที่สามเรยี บร้อยแลว้ ในปี
พ.ศ. ๒๕๐๕ มีนักเรียนเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยพุทธศักราช ๑๐๗ ในช่วงปีการศึกษา ๒๕๑๒-๑๙๗๐ มี
นักเรียนเข้าร่วมโรงเรยี นประถมศกึ ษาทางศาสนาพุทธกวา่ ๒๗,๐๐๐ คนนกั เรียนโรงเรียนพทุ ธศาสนา ๑,๓๒๘
คนและนกั เรียนในมหาวิทยาลัยพทุ ธศักราช ๑๗๖ คน
ในปพี ุทธศักราช ๒๔๗๖ มีการจดั ตั้งระบบโรงเรยี นมัธยมพทุ ธกิ ศึกษาสำหรบั พระสามเณร มีการจัดตง้ั
โรงเรียนในวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ เป็นการจัดการศึกษาภาษาบาลี เริ่มตั้งแต่พุทธิปฐมศึกษา ใช้เวลาใน
การศึกษา ๓ ปี จากนั้นสามารถไปศึกษาต่อในโรงเรียนมัธยมพุทธิกศึกษาอีก ๓ ปี ผู้สำเร็จการศึกษาจาก
โรงเรียนเหล่านี้สามารถเข้าสอบที่มหาวิทยาลัยพระสีหนุราชในกรุงพนมเปญได้ โดยหลักสูตร วิชาที่เรียน
ประกอบด้วยการศึกษาภาษาบาลี ธรรมวินัย ภาษาเขมร คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์กัมพูชา ภูมิศาสตร์
วิทยาศาสตร์ สุขศาสตร์พลเมอื ง และการเกษตร อยูภ่ ายใตก้ ารดูแลและควบคมุ ด้วยกระทรวงธรรมการ มสี าม
ปสี ำหรับระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ สาม ๓ ปสี ำหรับระดับมธั ยมศึกษา ๓ ปสี ำหรับระดับมัธยมปลายและ ๔
ปีสำหรับระดับมหาวทิ ยาลัย
นอกจากนี้สำหรับปีแรกของโรงเรียนประถมศึกษาภาษาปาลีภาษาไวยากรณ์ชีวิตของพระพทุ ธเจ้า,
คณติ ศาสตรแ์ ละวรรณคดเี ขมรไดร้ บั การสอนอย่างดี ปที ่ีสองและปที ีส่ ามได้มกี ารแปลเรอื่ งราวพระธรรมเทศนา
และอธตั ถาให้ หนงั สอื Dhammapada มีอยู่ ๘ เล่มในภาษาโรมัน - ปาลีของกัมพูชา

๔๖

สำหรบั โรงเรียนมัธยมศึกษาพทุ ธศาสนามกี ารแปลหนังสือเลม่ ๔ เลม่ ทม่ี ีช่ือวา่ mangalatthadipani
และเรื่องอื่น ๆ และในช่วงสามปีที่ผ่านมาโรงเรยี นพุทธศาสนานักเรยี นจำเป็นต้องเรียนรู้การแปลพระคัมภรี ์
สามเลม่ ของวิสาขบูชา ตามสถิติของกระทรวงศาสนาและลทั ธิ (๒๐๑๒-๒๐๑๓) มีโรงเรยี นประถมพทุ ธ ๗๗๕
แหง่ นกั เรียน ๒๖,๔๖๒ คนและครู ๑๘๑๗ คน; โรงเรียนมธั ยมต้น ๓๕ โรงเรียน ๔๘๑๗ คนและครู ๖๑๔ แหง่ ;
๑๗ โรงเรียนมธั ยมปลาย ๑๖๘๕ นักเรียนและครู ๓๗๗; และมมี หาวทิ ยาลัยพทุ ธศาสนา ๕ แหง่ ทั่วประเทศ

การศกึ ษาในระดบั อุดมศึกษาและมหาวทิ ยาลยั สงฆ์
การจัดการศึกษาของคณะสงฆ์กัมพูชา หรือโอกาสทางการศึกษาของพระสงฆ์สามเณรในประเทศ
กัมพูชา เป็นสิ่งหนึ่งที่รัฐได้พยายามจัดสรรและพยายามเข้าไปส่งเสริมให้เกิดการศึกษาในรูปแบบดังกล่าว
สะท้อนให้เหน็ ผลของการศึกษาในองคร์ วมวา่ สิ่งใด ที่เกิดขึ้นจะตอ้ งก่อใหเ้ กิดการขบั เคลื่อนและเปน็ ภาพลกั ษณ์
ของการศึกษาทำใหเ้ กดิ ผลในเชงิ ประจักษต์ อ่ การศึกษาในองค์รวมและก่อใหเ้ กดิ ผลดีต่อการจดั การศึกษา ซ่งึ
เม่อื ไดส้ อบถามข้อมูลจากผบู้ รหิ ารมหาวิทยาลยั สงฆท์ ัง้ ๒ แห่ง และมีโอกาสไดไ้ ปทำการเยีย่ มเยยี นแลกเปลย่ี น
นิสิตกับผู้บริหารและอาจารยแ์ ล้ว ได้ข้อสรุประบบการจดั การศึกษา และหน่วยจัดการศึกษาที่สนับสนุนการ
พฒั นาบุคลากรของพระภกิ ษุสามเณรในประเทศกมั พูชา จำแนกได้คือ
๑.มหาวิทยาลัยพระสีหนุราช (Preah Sihanouk Raja Buddhist University) สถาบันการศึกษา
พระพทุ ธศาสนาแหง่ แรกในประเทศกมั พูชา ในปจั จบุ ันมี ศาสตราจารย์ พระเทพสตั ตาคีร์ สวุ รรณรัตนะ เป็น
รองอธิบายการบดี (Ven. Prof. Preah Tepsattha Khy Sovanratana (M.A.) โดยมหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งน้ี
ก่อตั้งขึ้นเมื่อ ๑ กรกฏาคม ๑๙๕๔ ภายใต้การอุปถัมภ์ขององค์พระนโรดมสีหนุ (King-father Norodom
Sihanouk) ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์ในขณะนั้น เพื่อจัดการศึกษาให้กับพระสงฆ์สามเณร เป็นมหาวิทยาลยั
พระพุทธศาสนาที่เก่าแก่เป็นอันดับสามของโลก ในขณะก่อตั้งมีสมเด็จพระสงั ฆราชฮวต ตาต (Huot Tath)
เป็นองค์อธิการบดีรูปแรก ซึ่งต่อมาก็คือสมเด็จพระโพธิวงษา ( Samdech Bodhivamsa)การก่อตั้ง
มหาวทิ ยาลัยพุทธเกดิ ขึ้นภายใต้ดำริของพระเจา้ แผ่นดินภายหลังจากได้เอกราชจากฝรั่งเศสใน ๙ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๔๙๖ ซ่ึงการจดั การศกึ ษานี้ส่งผลดี ตอ่ การจดั การศึกษาในประเทศกมั พชู าเปน็ อยา่ งย่งิ
มีการเปิดเรียนช้ันพทุ ธิกมัธยมศึกษา ต่อเนือ่ งไปถึงระดบั ปริญญาตรี ซึ่งมีนักศึกษาไมม่ ากประมาณ
๔๐ รูป/คน แต่ก็มีมาตรฐานและเชี่ยวชาญบาลี จนกระท่ังมีการแปลพระไตรปิฎกจากภาษาบาลีเปน็ ภาษา
เขมรได้จำนวน ๑๑๐ เล่ม ในปี ๑๙๖๙/๒๕๑๒ จนไดร้ ับการยกย่องว่าจากปัญญาชนและนกั วิชาการว่าเป็น
ประเทศแรกที่มกี ารแปลพระไตรปิฎกภาษาบาลีเปน็ ภาษาประจำชาติ
หลังจากสงครามกลางเมืองเกดิ ขึ้นหลังจากการรฐั ประหารเมอ่ื วนั ที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๓/๑๙๗๐
มหาวทิ ยาลยั พุทธเชน่ เดียวกบั สถาบนั อน่ื ในประเทศประสบกบั ความยากลำบากและความยากลำบากท่ีคาดไม่
ถึง งบประมาณทไี่ ด้รบั การจดั สรรไม่ได้ถกู จัดใหอ้ ยใู่ นสภาพทีเ่ ลวรา้ ยจนตอ้ งปิดตัวในปี พ. ศ. ๒๕๑๕/๑๙๗๒
ในสมัยรัฐบาลเขมรแดง (ค.ศ. ๑๙๗๕-๑๙๗๙) มหาวิทยาลัยพุทธศาสนาได้ปิดตัว และอาคารส่วนหนึ่งถูก
ทำลาย

๔๗

การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยเริ่มตั้ง ๑๙๙๗/๒๕๔๐ แปดปีให้หลังจากมีการเปิดเรียนในระดบั
ปฐมพทุ ธกิ ศึกษา (Buddhist primary school) ได้รับการร้อื ฟน้ื ใหม้ กี ารจดั การศึกษาขนึ้ มาอีกครั้ง ต่อเน่ือง
มาเป็นมัธยมพุทธิกศึกษา (upper-secondary education) และเปิดใหม้ กี ารเรยี นการสอนในระดบั อุดมศึกษา
ใน ค.ศ.๑๙๙๙ กับการศึกษา ๓ ปี ในคณะพุทธศาสตร์ ที่สามารถเปิดการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาได้
จำนวน ๕๐ รปู /คนในปีการศึกษานน้ั

ในปี ๒๐๐๒/๒๕๔๕ ไดม้ ีการเปิดการเรยี นการสอนในคณะศกึ ษาศาสตร์ และรองรับการศึกษาสำหรบั
พระสงฆ์สามเณรได้เพิ่มขึ้นอีกตั้งแต่ ๕๐ รูป/คนต่อปีขึ้นไป เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙/๒๐๐๖
มหาวิทยาลยั สงฆ์ไดเ้ ปิดเพม่ิ อีก ๒ คณะและ ๑ ศูนย์ ซ่งึ ทำให้ในปกี ารศึกษาน้นั สามารถรับนักศกึ ษาได้ ๒๒๐๐
รูป/คน ต่อปีได้ด้วยเชน่ กนั

โดยในการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคุณภาพของพระสงฆ์ให้มี
คุณภาพท้ังดา้ นภาษาบาลแี ละพระพุทธศาสนา รวมไปถึงฝึกให้พระภกิ ษกุ ัมพชู าเป็นครแู ละผนู้ ำทม่ี ีคุณภาพ มี
ภูมปิ ญั ญาและทกั ษะในการใหค้ ำแนะนำและให้คำปรกึ ษาแกป่ ระชาชน เปน็ พระสงฆป์ ญั ญาชน นักวิชาการท่ีมี
ส่วนสำคัญต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ยกระดับศีลธรรมและสันติสุขระหว่างชุมชนและ
ประเทศชาติ รกั ษาและส่งเสริมคำสอนของพระพุทธเจา้ ในประเทศกมั พชู าและตา่ งประเทศ ส่งเสริมการปฏบิ ัติ
ตามคำสอนของพระพทุ ธเจา้ ในชวี ิตของผคู้ น

ในทางการบริหารมีอธิการบดเี ปน็ ผู้บริหารสูงสุดมีรองฝา่ ยตา่ ง ๆ เป็นส่วนสนับสนุน การบริหารใน
องคร์ วม ในปจั จบุ นั ในขณะท่ีพวกเราเขา้ เย่ียมและพบผบู้ ริหารมหาวิทยาลัย มกี ารเปิดเรียนในคณะตา่ ง ๆ อาทิ
คณะปรัชญาและศาสนา ( Faculty of Philosophy and Religions) คณะศึกษาศาสตร์และเทคโนโลยี (
Faculty of Education and Information Technology) คณะ วร ร ณคด ี เ ขม ร ( Faculty of Khmer
Literature) คณะบาลสี นั สกฤต และภาษาต่างประเทศ (Faculty of Pali-Sanskrit and Foreign Languages)
รวมทั้งศูนย์ฝึกหัดครู (Center of Teacher Training) มีบุคลากรที่สนับสนุนการจัดการศึกษาทั้งระบบอยู่ที่
ประมาณ ๘๓ รูป/คน โดยประมาณ ในระดับคณะมีผู้บริหารสูงสุดเป็นคณบดีและรองคณบดี หรือบาง
สาขาวิชาก็มีหวั หน้าระดบั สาขาวิชาลดหลน่ั กนั ไปตามลำดบั ในเชิงของการบรหิ าร

ในแต่ละสาขาวิชาจะมีวิชาบงั คบั แกนในฐานะทเี่ ปฯ็ มหาวิทยาลยั พระพทุ ธศาสนา อาทิ วนิ ัยปิฎก พระ
สันตันตปิฎก และอภิธรรมปฎิ ก เปน็ ตน้ เป็นวชิ าบังคับโดยเฉพาะในปแี รกและปที ่ีสอง นอกจากวิชาทีเ่ รียนตาม
สาขาวิชาแล้วยังมีการสอนวิชาที่เกี่ยวขอ้ งอ่ืน ๆ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นเก่ียวกับรฐั ศาสตร์จิตวิทยา
เบือ้ งต้นและการแนะนำวชิ ากฎหมายภาษาอังกฤษและภาษาฝรงั่ เศส

มหาวิทยาลัยพุทธศาสนาให้ความสำคัญกับการศึกษาภาษาบาลี ดังนั้นในปีพ. ศ. ๒๕๔๙/๒๐๐๖
หลักสตู รศลิ ปะศาสตร์บณั ฑติ สาขาภาษาบาลี เรม่ิ ขึ้นโดยมีเป้าหมายเพื่อผลติ ครูและนกั วชิ าการภาษาบาลีเพื่อ
ตอบสนองความต้องการที่เพ่ิมข้นึ ของครูบาลจี ากโรงเรยี นมธั ยมศึกษาตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ระบบหนว่ ยกติ ของมหาวทิ ยาลยั สงฆเ์ ปน็ ไปตามเกณฑ์ของกระทรวงศึกษาธิการ ถา้ ไม่ครบ หรือไม่ผา่ น
กต็ ้องดำเนนิ สอบ เรียนซ้ำ จนกว่าจะผ่านเป็นไปตามเกณฑ์ในการวดั คุณสมบัติ

๔๘

ปจั จุบันมหาวทิ ยาลยั พุทธศาสนามีพระสงฆ์จำนวน ๔๐๓ คนท่เี รยี นอยูใ่ นคณะส่ีคณะ ในขณะเดยี วกัน
นกั เรยี น ๑๑๕ คนสำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรดี ้านปรัชญาและการศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลัย บางสว่ นของ
ผู้สำเร็จการศึกษาได้กลายเป็นครูที่โรงเรียนมัธยมศึกษาพุทธศาสนา บางคนกำลังเรียนปริญญาโทใน
มหาวิทยาลัยต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ สำหรับปีการศึกษา ๒๕๕๐-๒๕๕๑ จะดำเนินการสอบ
คัดเลอื กเพอื่ คัดเลือก ๔๔๐ ในขณะทจ่ี ำนวนนักเรียนท่ีสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายของพุทธ
ศาสนาเพ่มิ ข้นึ ทกุ ปีกระทรวงวัฒนธรรมและศาสนาได้วางแผนที่จะจัดตง้ั สาขาของมหาวทิ ยาลัยพุทธศาสนาใน
สามจังหวัดใหญ่ ๆ คือกำปงจามทางตะวนั ออกเฉียงเหนือของกัมพูชาพระตะบอง ในกัมพูชาตะวันตกและกำ
ปงชนงั ในภาคกลางของประเทศกัมพชู า

มหาวิทยาลัยสงฆ์พระสีหนุราช มีพัฒนาการทางประวตั ศิ าสตรม์ ายาวนาน เปน็ มหาวทิ ยาลยั สงฆ์แห่ง
แรกของกัมพูชา และต้องปิดตวั เองลงไปในช่วงก่อน ค.ศ.๑๙๗๒ ในชว่ งสถานการณข์ องสงครามกลางเมอื งและ
ภายใต้ระบบการปกครองของคอมมินนิสต์ ซึ่งแต่เดิมมหาวิทยาแห่งนี้มีความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติ มี
พระภิกษสุ งฆ์จากลาว เวยี ดนามมาศึกษา จนกระท่งั ได้รบั การบรู ณะและจัดใหม้ ีการเรยี นสอนอีกคร้ังใน ค.ศ.
๑๙๙๗ และเปิดให้มีการจัดการศึกษาที่สูงขึ้นอีกในระดับอุดมศึกษาและระดับบัณฑิตศึกษา ภายใต้การ
สนับสนุนของรัฐ ซึ่งผู้บริหารมหาวิทยาลัยก็คาดหวังว่าจะมีความก้าวหน้าเจริญเตบิ โตเป็นส่วนหนึ่งของการ
พฒั นาสงั คมกมั พชู า และเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในวงกวา้ งยิ่งข้นึ ไปอกี ได้

ภาพที่ ๒.๑๓ ผเู้ ขียนในนามศนู ยอ์ าเซียนศึกษา ในโครงการยุวสงฆ์อาเซยี นความสมั พนั ธ์ทางพระพุทธศาสนา
ไทย-กมั พูชา" กบั นสิ ิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ร่วมพบปะ แลกเปลีย่ นกบั ผบู้ รหิ าร นสิ ิต ท่ี

มหาวทิ ยาลยั พระสหี นรุ าช ซ่งึ เป็นสถานศึกษาสำหรับพระภกิ ษสุ ามเณรฝ่ายมหานิกาย
(ภาพศูนย์อาเซียนศึกษา ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙)

๒. มหาวิทยาลัยพระสีหมุนี (Preah Sihamoni Raja Buddhist University) เป็นมหาวิทยาลัย
พระพุทธศาสนาท่ตี ้ังข้นึ มาของคณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยตุ ิ โดยเป็นวทิ ยาลัยสงฆ์ที่มพี ฒั นาการของมหาวิทยาลยั สงฆ์
โรงเรียนประถมมัธยม และพฒั นามาเป็นมหาวยิ าลยั ดงั ปรากฏในปัจจุบัน

๔๙

ภาพท่ี ๒.๑๔ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั รว่ มกจิ กรรมผบู้ รหิ ารและนสิ ติ มหาวิทยาลัยพระสี
หมุนี (Preah Sihamoniraja Buddhist University) วดั สวายโปเป พนมเปญ สถาบันการศกึ ษาสำหรบั คณะ

สงฆฝ์ ่ายธรรมยุตใิ นกัมพูชา (ภาพศูนย์อาเซยี นศกึ ษา ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙)

ภาพที่ ๒.๑๕ พร้อมผบู้ รหิ าร คณาจารยแ์ ละนสิ ติ จากมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั [ส่วนกลาง
พระนครศรอี ยธุ ยา/วิทยาเขตขอนแก่น/วิทยาเขตอบุ ลราชธาน/ี วิทยาลัยสงฆ์เลย/วทิ ยาลัยสงฆ์เชียงราย/
วิทยาลยั สงฆล์ ำปางฯลฯ] แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ กับนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยปญั ญาศาสตร์ (Paññāsāstra
University of Cambodia) พนมเปญ (ภาพศนู ย์อาเซียนศกึ ษา : ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙)
๓. มหาวทิ ยาลัยอ่ืน ๆ ท่เี ปดิ รบั การศึกษาของพระภกิ ษุสามเณร หมายถงึ มหาวิทยาลยั รฐั หรอื เอกชน

ที่เปิดโอกาสใหพ้ ระสงฆส์ ามเณรเข้ารบั การศึกษาในระบบ นัง่ เรียนรวมกบั นิสติ ท่เี ป็นฆราวาส โดยมีเงื่อนไขใน
เรื่องของค่าธรรมเนียมการศึกษา หมายถึงการศึกษาเรียนที่ไหนก็ได้ถ้าพระภิกษุสามเณรสามารถเข้ารับ
การศกึ ษาได้ และ

๔. สถาบันพุทธศาสนบณั ฑติ (Buddhist Institute) เป็นหนว่ ยงานจัดต้ังของรัฐ ภายใตก้ ระทรวงธรรม
การ ที่ทำหน้าที่ค้นคว้าศึกษาเกี่ยวกับพระพทุ ธศาสนา เป็นหน่วยจัดตัง้ ที่ตัง้ ข้ึนโดยฝรั่งเศสทีม่ ีเปา้ หมายเพือ่
ป้องกนั การขยายตัวอทิ ธิพลทางศาสนาของสยามในช่วงอาณานคิ ม และเป็นหน่วยจัดตั้งท่ที ำหน้าท่ใี นการแปล

๕๐

พระไตรปิฎก พิมพ์ตำราทางด้านพระพุทธศาสนา สนับสนุนการเรียนรู้ด้านพระพุทธศาสนานับแต่อดีต
จนกระทั่งปจั จบุ ัน

ขอ้ มลู จากกระทรวงธรรมการ และศาสนา กรงุ พนมเปญ มีข้อมลู วา่ ระหว่าง ค.ศ.๒๐๑๔-๒๐๑๕ มีวดั
ทั่วทั้งประเทศทั้งในส่วนมหานิกาย/ธรรมยุติ จำนวนรวม ๔,๖๗๖ วัด มีพระสงฆ์ทั้งประเทศ จำนวนรวม
๕๗,๕๗๓ รปู โดยมีวัดคณะสงฆ์มหานิกาย จำนวน ๔,๔๘๘ วัด และพระภิกษุสงฆ์ ๕๒,๘๒๔ รปู ซ่งึ สะท้อนให้
เห็นสถติ ิของพระสงฆใ์ นช่วงทเ่ี ราเดินทางกอ่ นหนา้ น้ที เ่ี ป็นปจั จบุ นั ทส่ี ุด แตเ่ มื่อพวกเราไดเ้ ดินทางมาอีกครงั้ ในปี
๒๕๖๑ สถิติของสถาบันการศึกษาและพระสงฆ์กป็ รบั เพม่ิ ขน้ึ ..... นัยหน่ึงเปน็ การสะท้อนให้เหน็ ประโยชน์ของ
การศึกษาว่า การศึกษาคณะสงฆไ์ ดร้ บั ความนยิ มทีม่ ที ้ังพระ ฆราวาส เข้ารับการศึกษากับเพม่ิ มากขึ้น รวมทั้ง
สถาบนั การศกึ ษาน้ีได้กลายเป็นเคร่อื งมือสำคัญในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้เกดิ ข้ึนแก่พระพุทธศาสนาใน
ประเทศกัมพชู าดว้ ย

ตารางท่ี ๒.๔ สถิติพระสงฆ/์ วดั ในกมั พูชา

สถติ ิพระสงฆ/์ วัดในกมั พชู า หมายเหตุ

ท่ี เขต/จังหวัด วดั พระภิกษ/ุ รูป

มธ ม ธ

๑ กรุงพนมเปญ ๖ ๔๗๑ ข้อมลู จากกระทรวงธรรมการ และศาสนา กรงุ

๒ กำปงจาม ๑๑ ๑๓๒ พนมเปญ มขี อ้ มลู วา่ ระหวา่ ง ค.ศ.๒๐๑๔-

๓ ตาแกว้ ๑๗ ๔๒๐ ๒๐๑๕ มวี ดั ทว่ั ทั้งประเทศทั้งในสว่ น

๔ กันดาล ๒๖ ๘๙๒ มหานิกาย/ธรรมยุติ จำนวนรวม ๔,๖๗๖ วดั มี

๕ วหิ าร ๑ ๙ พระสงฆท์ งั้ ประเทศ จำนวนรวม ๕๗,๕๗๓ รปู
๖ โพธิสตั ว์
๗ พระสีหนุ ๗ ๑๐๐ โดยมวี ัดคณะสงฆ์มหานกิ าย จำนวน ๔,๔๘๘
๒ ๑๓ วัด และพระภิกษสุ งฆ์ ๕๒,๘๒๔ รปู

๘ กำปงชะนัง ๑ ๖

๙ เสยี มเรียบ ๖ ๑๒๘ สถาบนั การศกึ ษาสงฆ์ : มหานกิ าย

๑๐ กรอแจะ ๖ ๒๓ ๑.พทุ ธกิ มธั ยมศกึ ษาปฐมภูมิ โรงเรียน ๓๕ แหง่

๑๑ พระตะบอง ๑๗ ๔๕๒ จำนวนนิสิต ๔,๗๑๖ รปู ครสู อน ๖๑๔ คน

๑๒ เกาะกง ๕ ๙๓ ๒.พุทธิกมัธยมศกึ ษาทุติยภูมิ มโี รงเรียนจำนวน

๑๓ ไพรเวง ๑๗ ๓๘๓ ๑๗ แหง่ มนี ักเรียนจำนวน ๑,๗๗๖ รปู ครู
๑๔ กำปงจาม ๑๑
๑๕ กำปงชนัง ๑ ๑๓๒ ๓๗๗ คน
๑๖ บันทายเมียนชยั ๗ ๖ ๓.พทุ ธสิ กลวิทยาลยั พระสหี นุราช (Preah
๑๗ กำปงสะปอื ๑๗ ๑๒๗ Sihanouk Raja Buddhist University) มี
๓๗๖ จำนวนิสิต ๒๐๘๗ รูป/คน ครสู อน ๒๕๕ คน

๕๑

สถิติพระสงฆ/์ วัดในกมั พูชา หมายเหตุ

ท่ี เขต/จงั หวัด วัด พระภกิ ษ/ุ รปู

มธ ม ธ

๑๘ กำปงธม ๒ ๒๗ (๑) วทิ ยาเขตพนมเปญ มีนสิ ติ จำนวน๑,๑๕๕

๑๙ กำปอต ๑๘ ๓๗๙ รปู /คน (๒) วทิ ยาเขตพระตระบอง ๔๗๗ รูป/

๒๐ สวายเรียง คน (๓) วทิ ยาเขต เขตกำปงชะนงั นสิ ติ ๔๕๕

๒๑ รตั นคีรี รูป/คน ในส่วนคณะสงฆธ์ รรมยตุ มิ ี พุทธิก

๒๒ สตรึงแตง วทิ ยาลยั พระสหี มุนี (Preah Sihamoni Raja
๒๒ กรงุ แกบ Buddhist University)วดั สวายโปโป กรงุ
๒๓ กรงุ ไพลนิ พนมเปญ

๒๔ อุดรมีชยั

๒๕ ตโบงฆมุม

รวมทั้งหมด ๑๗๘ ๔,๑๖๙

ท่มี าขอ้ มลู : กระทรวงธรรมการและศาสนา กรงุ พนมเปญ Ministry of Cult and Religion, Phnom Penh
(เมอ่ื ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙)

สรปุ

การจดั การกิจการพระพทุ ธศาสนาในกมั พูชา หากพิจารณาแล้วจะมีลกั ษณะใกลเ้ คยี งกบั ประเทศไทย
ทั้งในสว่ นของแบบแผนทางพระธรรมวินัย การดำเนินชวี ติ ด้วยความใกลเ้ คียงใกล้ชดิ กับสยามนับแต่อดีตและ
สลบั กันรบั แบบแผนธรรมเนยี มตามวัฒนธรรมประเพณชี ิดข้างทเ่ี กดิ ขึน้

ธรรมยุติกนิกายมีประวัตเิ ริ่มต้นจากประเทศไทย และถูกส่งต่อไปยังกัมพูชาผา่ นราชสำนักสยามกับ
ราชสำนักกัมพูชา ทั้งมีอทิ ธิพลเหนอื ราชสำนักกัมพชู า จนกระทง่ั ฝรั่งเศสไดก้ อ่ ตั้งพทุ ธศาสนบณั ฑติ (Buddhist
Institute) เพื่อป้องกันอิทธิพลของสยามที่มาพร้อมกับพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะธรรมยุติกนิกาย โดย
ธรรมยตุ กิ นกิ าย นัยหน่ึงเป็นการสรา้ งการมีส่วนรว่ มทางการเมืองกับราชสำนักสยามกับราชสำนักกัมพูชา อีก
นยั หนึ่งเปน็ การใช้ลกั ษณะร่วมทางวฒั นธรรมเพื่อแสวงหาความรว่ มมือและการใกล้ชดิ ในอำนาจทางการเมือง
ระหว่างรัฐและรัฐบริวารในฐานะประเทศราช ซึ่งธรรมยุติกนิกายก็มีพัฒนาการร่วมกับสังคม การเมือง
เศรษฐกจิ กัมพูชามาตลอดสมยั แมจ้ ะหายไปในช่วงเวลาสงครามกลางเมอื งและแนวคดิ อดุ มการณท์ างการเมอื ง
แบบสุดขั้ว ทำให้ธรรมยุติกนิกายหมดไปจากแผ่นดินกัมพูชา ด้วยเหตุผลทางการเมืองในราชสำนักและ
การเมืองโลกที่มีผลต่อการเข้ามากำหนดบทบาททางการเมอื งใหม่ พระพุทธศาสนาจึงกลับมาพร้อมกับการ
เลือกตั้ง และการฟ้ืนกลบั ของสถาบันกษัตริย์ทีต่ ่างฝ่ายต่างเป็นฐานสนับสนุนค้ำยันซึ่งกันและกัน ในช่วงหลัง
พ.ศ. ๒๕๓๕–ปจั จุบัน (๒๕๖๐) พุทธศาสนาได้ถูกรอื้ ฟ้นื และเขา้ มามีส่วนร่วมกับสังคมกัมพชู าและมีพัฒนาการ
ย่างก้าวเติบโตผ่านสถิตพระภิกษุ วัดในส่วนของธรรมยุติได้เพิ่มขึ้น มีสถานบันการศึกษาสะหรับพระสงฆใ์ น

๕๒

ระดบั สงู ข้ึนอาทิ สถาบนั การศกึ ษาทเ่ี พ่มิ มาขึน้ รวมไปถงึ สิทธ์ิในการบรหิ าร การปกครองตนเองที่เป็นเอกเทศ
กลา่ วคอื การมสี มเดจ็ พระสังฆราชทั้ง ๒ นกิ ายท่ีมเี อกสิทธใิ์ นการบริหาร การปกครองภายใต้นิกายของตัวเอง
จึงทำให้เป็นพัฒนาการและการก้าวย่างของพระพทุ ธศาสนาในกัมพูชาโดยเฉพาะธรรมยุติกนิกายมีพลวัฒน์
ขยบั กา้ วไปขา้ งหน้าอย่างทปี่ รากฏนับแตอ่ ดตี จนกระทงั่ ปจั จุบัน

คำถามท้ายบท

๑. โครงสร้างการบรหิ ารในกัมพชู า มลี ักษณะเป็นอยา่ งไร ?
๒. แนวทางการจัดการเก่ียวกบั การบริหารกิจการพระพทุ ธศาสนาในกมั พชู าเป็นอยา่ งไร อธบิ าย
๓. พฒั นาการของการจดั การพระพทุ ธศาสนาในประเทศกมั พชู าเป็นอย่างไร
๔. ประวตั ิและพฒั นาการของการจดั การศึกษาในประเทศกัมพูชา
๕. ความสำคัญของการจดั การศึกษาเป็นอยา่ งไรอธิบาย พรอ้ มยกตวั อยา่ งประกอบ

อา้ งอิงทา้ ยบท

กรมพระยาดำรงราชานุภาพ,สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ. (๒๕๑๔). นิราศนครวตั . ธนบรุ ี : รงุ่ วฒั นา.
ชล เอี่ยม. (๑๙๙๔). องค์การจัดตั้งพระสงฆ์พุทธศาสนิกในประเทศกัมพูชา. กัมพูชสุริยา. ๔๘ (๔) : ๓๑-๔๗

(ภาษาเขมร)
ชุมพล เลิศรัฐกาล. (๒๕๓๖). กัมพูชาในการเมืองโลกบทบาทเจา้ สีหนุกับสังครามและสันติภาพ. กรุงเทพ ฯ :

ธญั ญาพบั ลิเคช่ัน.
เดวิด พี แชนด์เลอร์. ประวัติศาสตร์กมั พูชา.(๒๕๔๖). แปลโดย พรรณงาม เง่าธรรมสาร สดใส ขันติวรพงศ์

และ วงเดอื น นาราสจั จ์. กรงุ เทพมหานคร : มลู นิธิโครงการตำราสงั คมศาสตรแ์ ละมนุษยศ์ าสตร์.
นภดล ชาตปิ ระเสริฐ. (๒๕๔๐). เจ้านโรดมสีหนุกับนโยบายความเปน็ กลางของกมั พชู า. ปทมุ ธานี : โรงพิมพ์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธิบดี บัวคำศรี. (๒๕๕๕). ประวัติศาสตร์กัมพูชา. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า

เจ้าอยู่หัว. (๒๕๑๖). พระราชวิจารณ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั . พระนคร : คุรุสภา.
พระเจา้ ทิพากรวงศ์. (๒๕๐๕). พระราชพงศาวดารกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ เลม่ ๑ (รัชกาลท่ี ๓ รัชกาลที่ ๔).
พระนคร : กรมศลิ ปากร.
พระอธิการเกียรติศักด์ิ กิตฺติเมโธ. (๒๕๕๓). การศึกษาวิเคราะห์บทบาทของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
เจ้าอยหู่ ัวในการทำนุบำรงุ พระพทุ ะศาสนา. วทิ ยานพิ นธพ์ ุทธศาสตรมหาบัณฑติ (พระพุทธศาสนา).
บณั ฑิตวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระศรีธาตุ สิ่งห์ประทุม,มณีมัย ทองอยู่,ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (๒๕๕๓). “การเปลี่ยนแปลงทาการเมืองและ
พระพุทธศาสนาสมัยสังคมนิยมในลาว”, วารสารลุ่มแม่น้ำโขง. ๖ (๓) : ๗๓-๙๖ http://mekongjournal.
kku.ac.th/Vol๐6/Issue๐๓/๐๔.pdf

๕๓

พระไพศาล วิสาโล. (๒๕๕๒). พทุ ธศาสนาไทยในอนาคต : แนวโน้มและทางออกจากวิกฤต. กรงุ เทพ ฯ : มลู นธิ ิ
โกมลคมี ทอง.

พระสุเธีย สุวณฺณเถโร (ยนต์). (๒๕๕๓).การศึกษาของคณะสงฆ์ในราชอาณาจักรกัมพูชา. วิทยานิพนธ์พุทธ
ศาสตรมหาบัณฑติ (สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราช
วิทยาลยั

พระระพนิ ด้วงลอย. (๒๕๔๕). การศึกษาสถานภาพของพระสงฆ์กมั พูชา ระหวา่ ง ค.ศ.๑๙๗๕-๑๙๗๙. สารนิพนธ์
ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ (ประวตั ศิ าสตร์เอเชีย). บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ.

สุพัตรา ทองกลม. (๒๕๕๖). การศึกษาวดั ธรรมยุติกนิกายในจังหวัดอุบาลราชธานี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต (สาขาประวัติศาสตรส์ ถาปัตยกรรม). บณั ฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยศิลปากร.
http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Supattra_Tongklom/Supa
ttra_Tongklom_abstract.pdf

ศานติ ภักดีคำ, (๒๕๕๕). ความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาระหว่างสยามสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยหู่ วั กับกรงุ กมั พชู า", วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสงั คมศาสตรแ์ ละมนุษย์ศาสตร์, ๑๘ (๓) : ๓-๑๙

อุเทน วงศส์ ถิตย์. (๒๕๔๙). “ธรรมยตุ กิ นิกาย : ศาสนมรดกไทยในกมั พชู า”, หนงั สอื รวมบทความทางวชิ าการ
จากการประชุมทางวิชาการนานาชาติ เรื่อง : มรดกวัฒนธรรม : ไทยกับเพื่อนบ้าน". หอประชุม
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วังทา่ พระ ๒๑-๒๓ มถิ ุนายน ๒๕๔๙.

Chear Keab. (January-March, 2000). "Chivapravat Sangkhep Somdhech Mongkolthepachan
Oum Sum Sangha Thero-Biography of Somdhech Mongkolthepachan Oum Sum".
Kambujasuriya, 54 (1) : 18-28. (Khmer)

Ian Harris. (2001). Buddhist Sangha Grouping in Cambodia. In Buddhist Studies Review is the
semi-annual journal of the UK Association for Buddhist Studies and is sponsored by the
Institut de recherche bouddhique Linh-S’on, http://www.templenews.org/wp-content/
uploads/2011/11/Ian-Harris-Buddhist-Sangha-Groupings-in-Cambodia-BSR-2011.pdf

Manich Jumsal. (1987). History of Thailand and Cambodia From the days of Angkor to the
present, Bangkok: Chalermnit Press.

Yang Sam. (1987). Khmer Buddhism and Politics from 1954 to 1984. A Research Project
Publication Support by Inoochina Studies Program/Social Science Resarch Council
Khmer Stuideis Institute.

Yang Sam. (1990). Buddhism in Cambodia, 1795–1954. Thesis of Master of arts : Cornel
University.


Click to View FlipBook Version