The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ลำพอง กลมกูล. (2567). ศาสตร์และศิลป์
การศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน State of the Art in Area Studies of Countries in ASEAN Community

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by polmcu, 2024-06-09 10:26:30

State of the Art in Area Studies of Countries in ASEAN Community

ลำพอง กลมกูล. (2567). ศาสตร์และศิลป์
การศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน State of the Art in Area Studies of Countries in ASEAN Community

ดร.ลําพอง กลมกูล | 193 ภาพที่ 5 ผลงานวิจัยพื้นที่จากนักวิจัย เครือขายศูนยอาเซียนศึกษา ในประเทศอินโดนีเซีย โดย อาจารยอํานาจ ขัดวิชัย จากภาพที่ 4-5 เปนเหตุการณที่ผูเขียน รวมเดินทางในฐานะนักวิจัยรวม และผู สังเกตการณในการเดินทาง ซึ่งเปนการศึกษาที่เนื่องดวยงานวิจัยที่วาดวยเรื่อง “การรับรูเชิง สุนทรียศาสตรที่มีตอสถาปตยกรรมทางศาสนา บุโรพุทโธ-จันดิปรัมบานัน ประเทศอินโดนีเซีย” ที่ มีเปาหมายเปนการศึกษาเชิงพื้นที่ โดยมีเปาหมายเชิงประจักษ เปนองคความรูเกี่ยวกับบุโรพุทโธ ซึ่งมี อาจารยอํานาจ ขัดวิชัย เปนนักวิจัยประจําโครงการ และใชการศึกษาในเชิงโบราณคดี ประวัติศาสตร และการสังเกตอยางมีสวนรวมตอพื้นที่วิจัย ทําใหไดมุมทางการศึกษาในอีกประเด็น หนึ่งคือ พัฒนาการทางพระพุทธศาสนาในอดีต ไดกลายเปนสวนสําคัญ การที่อินโดนีเซีย มีการรับ วัฒนธรรมทางพุทธศาสนาที่มีหลักฐานเชิงประจักษเปนโบราณสถานขนาดใหญสุดของโลก รวมไป ถึงวัฒนธรรมทางศาสนา และความเชื่อในบางประการที่เนื่องดวยพระพุทธศาสนา แมจะรับอิทธิพล ทางศาสนาจากอิสลามแลวก็ตาม แตประเด็นสาระสําคัญของพระพุทธศาสนาในอินโดนีเซีย ก็ยังคง อยูและถูกรักษาสงตอมาจนกระทั้งปจจุบัน รวมทั้งชาวอินโดนีเซีย รูสึกเปนมิตรและมีทาทีที่สะทอน ถึงความตระหนักถึงการมีอยูของพระพุทธศาสนาในอินโดนีเซียมากอน รวมทั้งสํานึกตอผลไดจาก พระพุทธศาสนาผานการทองเที่ยว รวมทั้งกําหนดใหวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาเปนวันหยุดของ ประเทศอินโดนีเซียดวย สิ่งเหลานี้สะทอนใหเห็นจากการเดินทางและการมีสวนรวมในสาระทาง พระพุทธศาสนาดวยเชนกัน การฟนกลับของพระพุทธศาสนาอีกครั้ง จากหลักฐานทางประวัติศาสตร และโบราณสถานอันเปนหลักฐานทางโบราณคดี ที่ ยืนยันวาพระพุทธศาสนาเคยเจริญเติบโตและเปนสวนหนึ่งของพื้นที่เกาะอินโดนีเซียในอดีตและ สืบเนื่องตอมานับแตอดีตจนกระทั่งปจจุบัน ดังนั้น การเดินทางของคณะพวกเรา จึงมีความหมาย เปนการคืนกลับ และการไปเสริมสรางใหกําลังใจตอความเปนผูดําเนินกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา


194 | ศาสตรและศิลปการศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน ในปจจุบัน คณะของพวกเราไดไปยังบุโรพุทโธ อันเปนศาสนสถานในพระพุทธศาสนา ไดไปยังเจดีย เซวู และเจดียปรัมบานัน อันเปนศาสนาสถานของศาสนาพราหมณฮินดู ที่ทําใหคณะของพวกเราได สะทอนคิดในสิ่งที่ไดพบเห็น รวมทั้งการที่ไดมีนิสิตของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่ เนื่องดวยพระพุทธศาสนาและคณะสงฆ ไดรวมเดินทางศึกษาเชิงพื้นที่ในคราวเดียวกัน การเดินทางในประเทศอินโดนีเซีย (26 กรกฎาคม 2560) เคยสันนิษฐานวา พุทธสถานบุโรบุดูร / บุโรพุทโธที่เกาะชวา อินโดนีเซีย สวนหนึ่งนาจะ มีรากฐานคํามาจาก " บุรีพุทธ " หรือเมืองพุทธ เพราะบางกรณี ภาษาทองถิ่นชะวา นิยมวาง/ เรียก คุณศัพท กอนถึงตัวคํานาม เชน ในภาษาไทยใชวา เมืองสุพรรณฯ เมืองนครสวรรค เปนตน ในการเดินทางครั้งนั้น พระศรีธวัชเมธี ผูอํานวยการศูนยอาเซียน ในขณะนั้น เปน หัวหนาคณะ ไดบรรยายใหขอมูลในความหมายของ บุโรพุทโธ ไววา “....Pura อินโดคือ gate ประตู โบโรความหมาย หนึ่งคือพระหรือเพียะเทากับวิหารบวกกับพุโธคือเนินเขา เทากับพระใหญ บนเขาสูง แตไทยฟนธงแลววาบรมพุทโธ grand or perfect Buddha ภาษาอินโดใชบาลีสันสกฤต ราว 40-50% แตเปนสําเนียงอินโด มังกรทองใชวา Naga Mas มาสคือทอง....” (พระศรีธวัชเมธี, 26 กรกฎาคม 2560 ภาพที่ 6 เดือนพฤษภาคม 2559 พบและสัมภาษณ Dr.Yunardi Yusuf ผูชวยทูตฝายการศึกษา และวัฒนธรรม ณ สถานฑูตอินโดนีเซีย ประจําประเทศไทย เพื่อสัมภาษณแนวประเด็นวิจัย แนวโนมการศึกษาของประเทศอินโดนีเซีย พรอมขอความอนุเคราะหประสานขอมูลบุคคลหรือ คณะบุคคล นักวิจัย หรือนักวิชาการ หรือผูบริหารการศึกษา ในประเทศอินโดนีเซีย ที่จะตอง ประสานเพื่อลงพื้นที่วิจัยในการสัมภาษณและพบในเดือนมิถุนายน 2559 ตอไป


ดร.ลําพอง กลมกูล | 195 ภาพที่ 7 การสัมภาษณเก็บขอมูลวิจัยในเชิงพื้นที่ในประเทศอินโดนีเซีย โดยเปนการสัมภาษณ Dr. Djohan, Dean of Graduate School, Indonesia Institute of the Arts. Yogyakarta Indonesia เมื่อ 17 มิถุนายน 2559 จากภาพที่ 6-7 ภารกิจดานการวิจัยในการเดินทางเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลวิจัย เกี่ยวกับการ จัดการศึกษาในประเทศอินโดนีเซีย โดยเปนภาพของการประสานเชื่อมกับทางสถานทูตอินโดนีเซีย โดยอุปทูตการศึกษา และคณาจารยที่สถาบันการศึกษาในประเทศอินโดนีเซีย เปาหมายเพื่อศึกษา ตามกรอบการศึกษาของประเทศในครั้งนั้นใหไดผลที่ชัดเจน


196 | ศาสตรและศิลปการศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน ภาพที่ 8 การศึกษาอาณาบริเวณในประเทศอินโดนีเซีย (ภาพ: ผูเขียน 17 กรกฎาคม 2560) เปนบันทึกการเดินทางภายในอินโดนีเซีย ที่เนื่องดวยการเรียนรูเชิงพื้นที่ และ ปฏิสัมพันธระหวางมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและกิจกรรมที่เนื่องดวย จากภาพ คณะผูเขียนในนามศูนยอาเซียนไดเดินทางเพื่อศึกษาเชิงพื้นที่ภายใตโครงการการสงเสริมสมรรถะ


ดร.ลําพอง กลมกูล | 197 ผูบริหารเชิงพื้นที่ โดยกําหนดพื้นที่เปาหมายเปนประเทศอินโดนีเซีย ทําใหเกิดการตื่นตัว และ ตระหนักภายใตแนวคิด และผลที่ทําใหเกิดการขับเคลื่อน สะทอนคิดภายใตความเปนมาจนกระทั่ง เกิดผลเปนการเรียนรูเชิงพื้นที่ในประเทศอินโดนีเซีย คณะของพวกเราไดเดินทางไปยังเจดีย บุโรพุทโธ การเดินทางไปยังเจดียที่เนื่องดวยศาสนาพราหมณฮินดู ที่ชื่อวาปรัมบานัน รวมทั้งเจดียเซวู เรือน เจดีย ที่ปรากฏในครั้งอดีต ทําใหเกิดการขับเคลื่อนใหเปนไปในทิศทางเดียวกันตลอดไป วิทยาลัยพระพุทธศาสนาที่ซามารัง ในการเดินทางครั้งหลังมีพระศรีธวัชเมธี เปนหัวหนาคณะ ภายใตโครงการ ทําใหผูเขียน ไดประสานกับพระอาจารยอุตตโม ซึ่งเปนนิสิตหลักสูตรนานาชาติของมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ได นําไปยังวัด วิทยาลัยสงฆ และชุมชนชาวพุทธที่ทานอยูอาศัย ทําใหไดภาพจํา และความประทับใจ รวมกันวา ในการเดินทางดังกลาว สะทอนขอเท็จจริงหลายประการ ชุมชนชาวพุทธ เปนชุมชนชาว พุทธดั้งเดิม นับไดวามีมาแตอดีต ไมใชมุสลิมหรือศาสนาอื่นเปลี่ยนนิกาย จึงอาจตีความไดวา ชุมชน ชาวพุทธเหลานี้ยังคงอยูและสืบทอดมาจนกระทั่งปจจุบัน


198 | ศาสตรและศิลปการศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน ภาพที่ 9 ภาพกิจกรรมที่ศูนยอาเซียนศึกษา มจร นําโดยพระศรีธวัชเมธี ผูอํานวยการศูนยอาเซียน ไดนําผูบริหาร คณาจารยและนิสิต รวมกิจกรรมการเรียนรูเชิงพื้นที่ในประเทศอินโดนีเซีย ทิศทางและแนวโนมของพระพุทธศาสนา ในป ค.ศ.1934 มีปรากฏการณสําคัญสองอยางคือ หนึ่ง ภิกษุนารทะ ถูกนิมนตไป เผยแผในอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 4 เดือนมีนาคม ซึ่งถือเปนพระภิกษุเถรวาทรูปแรกที่ออกเผยแผ ศาสนาอยางเปนทางการนับ ตั้งแตมีการฟนฟูพระพุทธศาสนาขึ้น นารทะใชเวลาในอินโดนีเซีย เพียงสามสัปดาหเทานั้น และผูเปนหัวแรงหลักในการผลักดันครั้งนี้คือ โจสิอาส (Josias) ประธานคนแรกของสมาคมชาวพุทธชวา (JBA) ประการที่สอง เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคมในป เดียวกัน สมาคมชาวพุทธชวาถูกเปลี่ยนชื่อเปนสมาคม ชาวพุทธปตตาเวีย (BBA) ที่วิหารอวโลกิ เตศวร (Vihara Avalokitesvara) ในชวาเพราะมีการเปลี่ยนประธานคนใหมคือ กวี เทค โฮย (Kwee Tek Hoay) นับจากนี้ พระพุทธศาสนามหายานก็เริ่มมีบทบาทมากขึ้นผานสมาคมนี้ (Edij Juangari, 2016, pp. 4-5) ปรากฏการณทั้งสองนี้พอจะสะทอนใหเห็นวา คนจีนมีความพยายาม ที่จะรักษาพระพุทธศาสนามหายานและวัฒนธรรมจีนเอาไว การที่ชาวจีนสนใจพระพุทธศาสนาเถร


ดร.ลําพอง กลมกูล | 199 วาทจึงมิใชการเปลี่ยนอัตลักษณอยางสิ้นเชิง หากแตเปนการเปดโอกาสกับการเปลี่ยนแปลง บางอยางเทานั้น พระมหานิกร ฐานุตโม (2558: 75-88) ไดทําการศึกษาไวในเรื่อง “ความเชื่อและ แนวโนมพระพุทธศาสนาในอนาคตของประเทศอินโดนิเซีย” ที่ไดเสนอแนวคิดผลการศึกษาไววา “แนวโนมพระพุทธศาสนาในประเทศอินโดนีเซีย จะดํารงอยูไดนานตองมี การสังคายนาพระไตรปฎกเพื่อรังสรรคหรือเรียบเรียงพระไตรปฎกซึ่งถือวาเปน หลักธรรมในทางพระพุทธศาสนาที่สําคัญที่สุด จําตองอาศัยพุทธบริษัท 4 ไดแก พระภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ซึ่งปจจุบันประเทศอินโดนีเซียแทบไมมีให เห็นแลว จึงตองอาศัยผูนําในการนําทูตทางพระพุทธศาสนามาชวยในการเผยแผ พระพุทธศาสนาและมาบวชเพื่อดํารงพระพุทธศาสนาโดยการไดรับการสนับสนุน จากผูนําประเทศหรือมีการรวมมือจากคณะสงฆจากประเทศไทย ถึงแมประเทศ อินโดนีเซียจะมี ศาสนสถานหรือศาสนวัตถุ ทางพระพุทธศาสนาที่เปนที่ สักการบูชาของชาวพุทธที่สําคัญจนสามารถไดรับการขึ้นทะเบียนเปน “มรดก โลก” ก็ตามที จะไมสามารถสืบทอดพระพุทธศาสนาได หากไมมีผูสืบทอด โดยตรงก็มีแนวโนมที่จะโดนกลืนโดยศาสนาอื่นเปนแนแท..” เจษฎา บัวบาล (2561) ไดทําการศึกษาไวในเรื่อง “การฟนฟูพระพระพุทธศาสนาเถร วาทในอินโดนีเซียผานการเคลื่อนยายแบบขามพรมแดน” ที่ดัดแปลงจากวิทยานิพนธเรื่อง “Religion and Mobilities: The Propagation of Thai Theravada Buddhism in Indonesia by Dhammayutta Missionaries” ที่เสนอขอคิดเห็นเกี่ยวกับพุทธศาสนาในอินโดนีเซียในกระแส ปจจุบัน ตามแนวคิดที่วา บทความนี้ศึกษากระบวนการเดินทางขามพรมแดนอันนําไปสูการฟนฟู พระพุทธศาสนาเถรวาทขึ้นในอินโดนีเซียเมื่อคริสตศตวรรษที่ 19 ซึ่งการเดินทางแบบขาม พรมแดนมีทั้งในรูปแบบที่ตอบสนองความตองการทางโลก เชน การเคลื่อนยายของเจาอาณา นิคมดัชตที่มาพรอมกับสมาคมเทววิทยา (Theosophical Society) สูเกาะชวาในป 1883 การ เดินทางไปอินเดียของ ออง โซ อาน (Ong Soe Aan) ผูถูกสงไปศึกษาวิธีปราบปรามฝนในป 1932 จนนําไปสูการไดเรียนรูและเห็นแบบอยางของพระพุทธศาสนาเถรวาทเมื่อหยุดพักที่ศรีลังกา อีกทั้งรูปแบบที่ตอบสนองความตองการดานศาสนาโดยตรง (Pilgrimage) ของชินรักขิตะ (Jinarakkhita) ชาวอินโดเชื้อสายจีนผูตองเดินทางไปอุปสมบทที่ประเทศพมาในป 1954 การ ทองเที่ยว ที่ขามพรมแดนเปดโอกาสในการสรางเครือขายใหมทางศาสนากอปรกับเทคโนโลยีที่ ทันสมัยทั้งดานการขนสงและการสื่อสาร ทําใหการเคลื่อนยาย (Mobilities) คน วัตถุ ขนบ รวมทั้ง อุดมการณความเชื่อเกิดไดงายยิ่งขึ้น จึงกลาวไดวา พระพุทธศาสนาเถรวาทถูกฟนฟูกลับมาอีกครั้ง ในอินโดนีเซียเพราะอาศัยการทองเที่ยวของผูคนและการสงผานศาสนวัตถุเปนตนแบบขาม


200 | ศาสตรและศิลปการศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน พรมแดน ขณะเดียวกันการปฏิสัมพันธแบบขามพรมแดนเปนเหตุใหอัตลักษณทางศาสนาของบุคคล เหลานั้นเปลี่ยนแปลงไปและหลากหลายมากยิ่งขึ้น ภาพที่10 ภาพกิจกรรมที่ศูนยอาเซียนศึกษา นําโดย พระศรีธวัชเมธี ผูอํานวยการศูนยอาเซียน ศึกษา ไดนําคณะผูบริหาร คณาจารย นิสิต รวมกิจกรรมการเรียนรูเชิงพื้นที่ในประเทศอินโดนีเซีย ภาพที่ 11 ภาพกิจกรรมที่ศูนยอาเซียนศึกษาไดนําทีมวิจัยรวมเรียนรูเชิงพื้นที่ในประเทศ อินโดนีเซีย


ดร.ลําพอง กลมกูล | 201 ขอมูลจาก พระศรีธวัชเมธี ในฐานะหัวหนาคณะผูรวมเดินทางไดสะทอนขอมูลเชิงพื้นที่วา “มีวัดไทยเมนดุตรอบยานนี้ 4 กม. ยานชาวพุทธมีที่วัดเวฬุวัน เมือง Boyilali หางจากยานนี้ราว 30 กม. มีพระอินโด 6 รูป เณร 3 เณรี 1 พระอินโด นาจะมีเชื้อจีนบวชและเปนอุปชฌายชื่ออาชิน สายพมาในป 1953 บรมพุทโธ คนพบเมื่อราว 100 ป ร.5 เสด็จไปชวานําเอาผักตบชวาจากทะเลสาปมาบานเรา สวนนกเขาชวาไมรูวาใครนําเขาไปไทย กําลังตามหาตัวอยู หรือขอมูล Somwang Khonthong สันนิษฐานวาพระสงฆวัดเมนดุตนี้ สังกัดคณะสงฆ ธรรมยุตติกนิกาย ซึ่งทานเจาคุณสุวีรญาณ ปจจุบัน เปนเจาอาวาส วัดพระศรี มหาธาตุ บางเขน เปนผูมาอยูวางรากฐานไว เมื่อ 45 ปมาแลว ตั้งแตป พ.ศ. 2515” ดังนั้น ทิศทางและแนวโนมของพระพุทธศาสนาในอินโดนีเซีย จึงเปนพัฒนาการเชิง บวก ดวยการที่มีสัดสวนพลเมืองที่เพิ่มขึ้น และการแสดงออกทางศาสนา และการที่รัฐไดกําหนดให วันสําคัญทางพระพุทธศาสนาเปนวันสําคัญและเปนวันหยุดรวมกับวันหยุดของประเทศ รวมทั้งการ ที่พื้นที่อันเปนศาสนสถานสําคัญคือบุโรพุทโธ ถูกทําใหยอมรับวาเปนของชาวพุทธ และสามารถจัด งาน และกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ดังนั้น ภาพลักษณของชาวพุทธและพระพุทธศาสนา จึงยัง เปนความนาสนใจและความสําคัญที่ชาวอินโดนีเซียตางศาสนาจึงไมรูสึกถึงความแปลกแยกวาเปน อื่นภายใตความเจริญเติบโตอยางตอเนื่องและเพิ่มมากขึ้นดวยเชนกัน บทสรุป บันทึกการเดินนี้เปนการประมวลจากประสบการณของการเดินทาง และเลาเรื่อง ยอนหลังแบบประติดประตอหลายชวงเวลา นัยหนึ่งเพื่อเปนการทบทวนยอนขอมูล อีกนัยหนึ่งเปน การแบงปนประสบการณที่สอดคลองกับชวงเวลา และที่สําคัญเปนการสรางขอมูลและองคความรู ดานอาเซียนศึกษา โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับพื้นที่และประเด็นทางพระพุทธศาสนาดวยเสนทางที่เกิดขึ้น จากการเดินทางในประเทศอินโดนีเซีย จึงนําขอมูลมาแบงปนเลาเรื่องเพื่อประโยชนของการศึกษา เชิงพื้นที่ ตางชวงเวลากันแตบนฐานของการเลาเรื่องเพื่อบันทึกเรื่องเลาของประเทศอินโดนีเซีย ที่มี ทั้งการเมือง เศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม ที่สะทอนขอมูลของการเดินทางเปนการบันทึกเลาเรื่อง เพื่อสังคม พระพุทธศาสนา โดยเฉพาะประเด็นทางพระพุทธศาสนา บุโรพุทโธ จัดเปนศาสนสถาน ในพระพุทธศาสนาที่ใหญที่สุดในโลก นับเปนความภาคภูมิใจของชาวพุทธทั่วโลก แมแตชาว อินโดนีเซีย ก็ยังสะทอนใหเห็นปรากฏการณของการอยูรวมกันดวยเชนกัน


202 | ศาสตรและศิลปการศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณผูที่มีสวนเกี่ยวของกับการเดินทางอินโดนีเซีย ถึงแมจะแตกตางกันในแตละ ชวงเวลา แตทําใหเกิดการเดินทางอินโดนีเซียตามแตเหตุปจจัยของแตละชวงเวลา แตสิ่งที่พบเห็น นั้นเปนประสบการณตรงและขอมูลตรงเชิงพื้นที่ ที่ทําใหเกิดการเรียนรู เกิดประสบการณใหม และ ความรูเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา รวมทั้งการบริหารกิจการพระพุทธศาสนาในอินโดนีเซีย ทั้งในสวน ของคณะผูบริหารกับการศึกษาดูงานเชิงพื้นที่ คณะนักวิจัยการศึกษาดานอาณาบริเวณศึกษา และ การศึกษาเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลวิจัยในการวิจัยเกี่ยวกับแนวโนมการศึกษาในประเทศอินโดนีเซีย ดวย รายการอางอิง พระมหาปรีชา เขมนนฺโท และคณะ. (2560). ความศรัทธา: มหาสถูปบุโรพุทโธสูความยั่งยืน พระพุทธศาสนา. วารสาร มจร สังคมศาสตรปริทรรศน. วารสารมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร. 19(2): 159-172. พระมหานิกร ฐานุตฺตโร. (2558). ความเชื่อ และแนวโนมพระพุทธศาสนาในอนาคตของประเทศอิน โดนิเซีย.วารสาร มจร มนุษยศาสตรปริทรรศน. 1(2). กรกฎาคม-ธันวาคม 2558: 75- 88. เจษฎา บัวบาล. (2561). “การฟนฟูพระพระพุทธศาสนาเถรวาทในอินโดนีเซียผานการเคลื่อนยาย แบบขามพรมแดน” สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ. 18(2). (2018): July – December: 21 - 38 https:// www. tcithaijo.org/index.php/cjwu/article/view/153566/111840 Brown, I. E. M. (2004). The Revival of Buddhism in modern Indonesia. In R.Martin (Ed.). Cresswell, T. (2006). On the move: Mobility in the modern Western world. NY: Routledge. Ditthisampanno Bhikkhu. (2015). Buddhism in Indonesia, past and present. A paper presented in the International Conference on Buddhism in Australia.


ดร.ลําพอง กลมกูล | 203 ภาคผนวก ภาพการศึกษาเชิงพื้นที่และการเขารวมกิจกรรม ของประเทศในประชาคมอาเซียน


204 | ศาสตรและศิลปการศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน เขารวมการสัมมนาทางวิชาการนานาชาติที่สิงคโปร 8th International Conference on Recent Challenges in Engineering and Technology 30th – 31st January 2020, Singapore Click https://www.icrcet.org/ (ภาพ ผูเขียน 31 มกราคม 2563) นําผูบริหาร บุคลากรสวนงานวิจัย สารสนเทศ และบริการวิชาการ จัดโครงการพัฒนาบุคลากร นําเสนอผลงานทางวิชาการในระดับนาชาติ ที่ University of Social Sciences and Humanities, Vietnam เครือขายความรวมมือดานวิชาการ (MOU) ของศูนยอาเซียนศึกษา จัดโครงการสัมมนาวิชาการนานาชาติ ภายใตหัวขอ “ASIAN Values in the Process of Integration and Development” ระหวางวันที่ 25-26 ตุลาคม 2562 ณ University of Social Sciences and Humanities นครโฮจิมินห สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม


ดร.ลําพอง กลมกูล | 205 เวียดนาม นําเสนอผลงานทางวิชาการของคณาจารย รวมกับคณาจารยและนักวิจัยจาก มหาวิทยาลัยตาง ๆ ทั้งจากประเทศเวียดนามและประเทศภาคีของการสัมมนา ทั้งไตหวัน ญี่ปุน ประเทศไทยและสิงคโปร เปนตน (ภาพ: ศูนยอาเซียนศึกษา)


206 | ศาสตรและศิลปการศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน ในนามศูนยอาเซียน. ศึกษาดูงานและกราบถวายสักการะ สมเด็จพระสังฆราชวัดวัดอุณาโลม (ภาพ : ศูนยอาเซียนศึกษา, 24 เมษายน 2561) จากภาพสะทอนใหเห็นถึงขอมูลของพื้นที่เกี่ยวกับ ศูนยอาเซียนที่เดินทางสํารวจพื้นที่ดูงาน และปฏิบัติการในพื้นที่ทําใหไดความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ อาเซียนศึกษาจนกระทั่งปจจุบัน


ดร.ลําพอง กลมกูล | 207 คณะนักวิจัยไดสัมภาษณนักวิชาการ ผูบริหารมหาวิทยาลัยแหงชาติบรูไน (University of Brunei Darussalam) คือ Dr.Mulyadhi Kartanegara, Dr.Kathrina, Dr.Osman Bakar, Dr.Abby Tan Chee Hong, and Dr.Pg Norhazlin เพื่อเก็บขอมูลเกี่ยวกับยุทธศาสตรการศึกษาชาติบรูไน สูความเปนอาเซียน แบงปนเรื่องแนวทางการจัดพหุวัฒนธรรมในการศึกษา (ที่มา: ภาพผูวิจัย, 13 มิถุนายน 2016)


208 | ศาสตรและศิลปการศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน 17 March 2019 Dr.Lampong Klomkul Keynote speaker “How education is very important for people in the World ?” on PA-O National Day at MCU, Thailand


ดร.ลําพอง กลมกูล | 209 การศึกษาเชิงพื้นที่ประกอบรายงานการวิจัยเรื่อง “การศึกษาการรับรูเชิงสุนทรียศาสตรที่มีตองานสถาปตยกรรมทางศาสนา: กรณีศึกษาบุโรพุทโธ และจันดีปรัมบานัน ประเทศอินโดนีเซีย”


210 | ศาสตรและศิลปการศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน ดัชนีคําคน (Index) ก กฎหมายการศึกษา.................................148 กระแสโลกาภิวัตน....................................64 กลุมชาติพันธุ.......................101, 169, 172 การจัดการทองเที่ยว.....................101, 105 การประชุมสุดยอดผูนําชาวพุทธโลก......126 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย17, 123, 136, 141 การพัฒนาหลักสูตร..................................59 การเรียนรูขามวัฒนธรรม ...................18, 87 การเรียนรูตลอดเวลา...............................95 การเรียนรูสูการปฏิบัติ.............................96 การศึกษาเชิงพื้นที่...................88, 140, 163 การศึกษาเพื่อการพัฒนา........................140 การศึกษาภาคบังคับ ..............................151 การศึกษาภาคสนาม...............................186 การศึกษาสงฆลาว....................................17 การสอนแบบคละชั้น..............................152 การสะทอนคิด...................................85, 96 เกาะชวา................................................189 เกาะบังกา..............................................190 เกาะบาหลี.............................................190 เกาะเบลิตุง............................................190 เกาะสุมาตรา..........................................190 ข เขมรศึกษา.................................................3 เขายายเพ็ญ...............................................8 ค คณะสงฆลาว.....................................25, 26 คนไทยพลัดถิ่น.......................................163 คนสยาม.................................................176 คริสต......................................................101 ครูบาบุญชุม .............................................57 ครูฟลิปปนสในประเทศไทย....................146 ความเปนไทยพลัดถิ่น.............................166 ความสัมพันธเชิงอัตลักษณ.....................171 ความเหลื่อมล้ํา.......................................152 คาบสมุทรมลายู.....................................108 เครือขาย..................................................91 เครือขายผูบริหารมหาวิทยาลัย...............129 จ จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา.................130 จันดิปรัมบานัน.......................................196 จันดีปรัมบานัน.......................................186 จําปาสัก............................................17, 36 จีนกลาง .................................................105 จีนฮกเกี้ยน...............................................76 เจดียเซวู.................................................197 เจดียปรัมบานัน......................................197 เจาพระยาอภัยภูเบศ................................10 ช ชาติพันธุ.............................63, 65, 72, 101 ชาวไทใหญ.............................................132 ชาวสยาม ...............................................168 ชุมชนชาวมุสลิม .....................................176


ดร.ลําพอง กลมกูล | 211 ชุมชนมุสลิม...........................................168 เชียงตุง.....................................................52 เชื้อสายมลายู.........................................176 ซ ซิกข.......................................................101 ด ดานชองเม็ก..............................................21 ถ ถกเขมร......................................................4 ท ทรัพยากรทางศาสนา.............................101 ทรัพยากรมนุษย.......................................17 ทวิภาษา................................................151 ทักษะภาษาอังกฤษ................................150 ทาขี้เหล็ก...............................................103 เทววิทยา...............................................203 ไทยทาวว...............................................106 ไทยบุรี...................................................174 ไทใหญ......................................................63 ธ ธรรมยุติกนิกาย........................................30 ธรรมยุตินิกาย...........................................23 น นครเชียงตุง..............................................49 นครธม........................................................2 นครวัด...................................................2, 5 นโยบายสาธารณะ.................................109 นักวิชาการมืออาชีพ ...................93, 94, 97 นิสิตชาวไทใหญ........................................50 นิสิตสัมพันธอาเซียน..........................17, 18 บ บรูไน........................................................71 บันทึกการเดินทาง....................................15 บุโรพุทโธ....................185, 192, 195, 205 ป ประชาคมอาเซียน..................................124 ประเทศ CLMV........................................86 ประเทศอินโดนีเซีย................................185 ปรัมบานัน..............................................200 ปราสาทวัดพู......................................21, 42 ปากเซ.........................................20, 21, 36 พ พระเจาชัยวรมันที่ 7..................................6 พระถังซัมจั๋ง...........................................190 พระพิมพดินดิบ......................................189 พระพุทธศาสนาv, vi, 2, 6, 7, 9, 11, 12, 13, 14, 16, 17, 18, 21, 22, 25, 26, 29, 30, 31, 33, 35, 36, 43, 44, 45, 46, 47, 52, 61, 78, 89, 90, 94, 96, 97, 101, 103, 106, 111, 112, 113, 120, 121, 122, 123, 124, 125, 126, 127, 128, 129, 130, 131, 132, 133, 134, 135, 136, 161, 162, 163, 164, 167, 169, 170, 171, 173, 175, 177, 178, 179, 181, 184, 185, 186, 187, 188, 189, 190, 192, 193, 194, 195, 196, 197, 200, 202, 204, 205 พระพุทธศาสนานานาชาติ......................122 พระโพธิสัตว...........................................189 พระอี้จิง.................................................190


212 | ศาสตรและศิลปการศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน พราหมณฮินดู............................................2 พลวัตวัฒนธรรมพุทธศาสนา..................167 พหุลักษณ.......................................72, 101 พหุลักษณนานาชาติ...............................123 พหุวัฒนธรรม.....................................74, 81 พหุวัฒนธรรมทางการศึกษา.....................79 พหุวัฒนธรรมทางเชื้อชาติ........................78 พหุวัฒนธรรมทางศาสนา..........71, 78, 117 พิธีลงนาม ................................................91 พิธีฮดสรง.................................................23 พิพิธภัณฑประวัติศาสตรแหงชาติเวียดนาม ............................................................89 พื้นถิ่นคนสยาม ......................................174 พุทธเถรวาท..................................112, 131 ฟ ฟลิปปนส...............................................140 ภ ภาษาตากาล็อก......................................149 ภาษาไต...................................................65 ภาษาทมิฬ .............................................105 ภาษาเพื่อการสื่อสาร................................58 ภาษาฟลิปโน..........................................158 ภิกษุนารทะ...........................................202 ภูมิภาคเอเชีย.........................................102 ภูมิสถาปตย.............................................18 ม มลายู.......................................................71 มหานิกาย................................................23 มหายาน.................................................131 มหาวิทยาลัย Thu Dau Mot ..................90 มหาวิทยาลัยนาลันทา............................189 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ..........................................................122 มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย........123 มหาวิทยาลัยสงฆ...........17, 121, 126, 134 มหาวิทยาลัยสงฆไทย.............................121 มหาวิทยาลัยแหงชาติโฮจิมินห..................87 มหาวิหารเชนตแอนดรูว.........................110 มาเลเซีย.................................................114 มิติทางวัฒนธรรม ...................................101 เมียนมาร.....................................51, 52, 53 เมืองจําปาสัก...........................................17 เมืองปนัง................................................108 เมืองมะละกา .........................................108 เมืองเว......................................................90 ย ยุทธศาสตร.............................................127 ร รอมฎอน ...........................................72, 80 ระบบการศึกษา.............................148, 160 ระบบการศึกษาแบบคาทอลิก................152 รัชกาลที่ 5..............................................174 รัชกาลที่ 9..............................................174 รัฐกลันตัน .....................................168, 177 รัฐเคดาห..............................168, 174, 177 รัฐฉาน......................................................52 รัฐปะลิส.................................................172 รัฐเปรัค..................................................177 ราชวงศไศเลนทร....................................189 โรงเรียน SYI................................49, 50, 61


ดร.ลําพอง กลมกูล | 213 โรงเรียนยุวพัฒน (SYI).......................57, 61 โรงเรียนสงฆ.............................................27 ว วรรณคดีทองถิ่น ....................................152 วัชรยาน.................................................131 วัฒนธรรมอาเชียน.................................125 วัดไซยะพุม...............................................23 วัดไทยในสิงคโปร...................................113 วัดปาเลไลยก..............................................2 วัดผาโอ....................................................32 วัดพนม.......................................................2 วัดพระแกว.................................................2 วัดพระธาตุเขี้ยวแกว......................105, 112 วัดพระศรีสรรเพชญ..................................10 วัดพุทธประทีป ......................................131 วัดพุทธเมตตา........................................195 วัดภูควาย.................................................28 วัดเมนดุตพุทธศาสนวงศ........................195 วัดเมืองกัมพูชา...........................................2 วัดวิปสสนาคราหะ.................................195 วัดศรีมาริอัมมันต...................................116 วัดอภิธรรมพุทธวิหาร............................131 วัดอุณาโลม...................................2, 12, 13 วัดอุตตมาราม................................107, 164 วิถีของชาติพันธุ.....................................107 วิถีชีวิต...................................................178 วิถีทางวัฒนธรรม...................................117 วิถีทางศาสนา........................................107 วิทยาเขตสุรินทร.......................................95 วิทยาเขตอุบลราชธานี.......................45, 95 วิทยาลัยสงฆจําปาสัก...............................45 วิทยาลัยสงฆนครลําปาง...........................95 วิทยาลัยสงฆพุทธปญญาศรีทวารวดี.........96 วิทยาลัยสงฆองคตื้อ.................................31 วินัยทางวิชาการ.......................................94 วินัยทางสังคม ..........................................94 วิลเลี่ยม เชคสเปยร................................149 เวียงจันทน.........................................18, 31 เวียดนาม .................................................85 ศ ศาสนทายาท.............................17, 44, 167 ศาสนสถาน................................................5 ศูนยกลางการศึกษาพระพุทธศาสนาระดับ นานาชาติ...........................................123 ศูนยกลางของการจัดการศึกษา..............160 ศูนยไทยศึกษา.........................................88 ศูนยมรดกมาเลย....................................114 ศูนยอาเซียนนศึกษา.................................86 ศูนยอาเซียนศึกษา......................3, 14, 187 ส สภาสงฆแหง สปป.ลาว............................23 สมณอี้จิง................................................191 สมเด็จพระนโรดม ....................................10 สมัชชาสงฆไทย......................................111 สมัยรัตนโกสินทร...................................164 สยามพลัดถิ่น .........................................105 สังคมพหุลักษณมาเลเซีย........................170 สังคมมลายู............................................170 สันติภาพในอาเซียน ...............................187 สํานักปฏิบัติธรรมงุยเตาอู.......................103


214 | ศาสตรและศิลปการศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน สิงคโปร..................................................101 สุลตาน ฮุสเซน.......................................114 ห หมูเกาะชวาอินโดนีเซีย..........................108 หลวงพระบาง ....................................18, 34 หลักสูตรอาชีวศึกษา..............................155 อ อัตลักษณ......................................117, 147 อัตลักษณของความเปนไทย...................165 อัตลักษณไทย................................170, 178 อาณาจักรมัชปาหิต................................189 อาณาจักรศรีวิชัย...................................189 อาณาบริเวณศึกษา.....................49, 74, 88 อาณาบริเวณศึกษามาเลเซีย...................163 อาณาศึกษาบริเวณเวียดนาม....................85 อิสลาม...................................................101 อุโมงคกูจี...........................................89, 90 ฮ ฮินดู.......................................................101


ดร.ลําพอง กลมกูล | 215 ดร.ลําพอง กลมกูล สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาการสอนมัธยมศึกษา วิชาเอก คณิตศาสตร- ฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน เมื่อปการศึกษา 2544 และในขณะกําลังศึกษาระดับปริญญาตรี ไดรับทุนกาญจนาภิเษก (Golden Jubilee Scholarship) ไปศึกษา ณ มหาวิทยาลัย Guelph ประเทศ แคนาดา เปนเวลา 2 ป สําเร็จการศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจัยและ จิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อปการศึกษา 2548 และสําเร็จการศึกษา หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อปการศึกษา 2554 เคยไดรับรางวัลสภาวิจัยแหงชาติรางวัล วิทยานิพนธระดับดีประจําป 2556 (สาขาการศึกษา) จากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติและรางวัล Graduate Scholar Award จากการเขารวมนําเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติครั้งที่19 ณ มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ เปนนักวิจัยทุนวิจัยมุงเปา ป 2558 สาขาการศึกษา และทุนวิจัย มุงเปาป 2560 สาขาการศึกษา จากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ไดรับรางวัลนักวิจัย “ระดับ ดีเดน” ประจําป พ.ศ. 2563 จากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีผลงานตีพิมพทั้งในระดับชาติและนานาชาติทั้งผูเขียนหลักและผูเขียนรวมมากกวา 100 เรื่อง และไดรับเชิญ บรรยายพิเศษในเวทีประชุมวิชาการนานาชาติอยางตอเนื่อง และเปนผูประสานงานจัดงานประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติจํานวน 10 ครั้ง และไดรับเชิญบรรยายการวิเคราะหโมเดลสมการโครงสราง (SEM) ดวย โปรแกรม LISREL จากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จํานวน 7 หลักสูตร ปจจุบันดํารงตําแหนงอาจารยประจําภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย และตําแหนงบริหารเปนรองผูอํานวยการศูนยอาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัยE-mail: [email protected]


216 | ศาสตรและศิลปการศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน หนังสือในฐานะผูเขียนหลัก


ดร.ลําพอง กลมกูล | 217 หนังสือในฐานะผูเขียนหลัก


218 | ศาสตรและศิลปการศึกษาเชิงพื้นที่ประเทศในประชาคมอาเซียน หนังสือในฐานะผูเขียนรวม


ศาสตร์แร์ละศิลป์ การศึกษาเชิงชิพื้นพื้ที่ประเทศในประชาคมอาเซียซีน เป็นป็การบูรณาการความรู้ที่รู้ที่ เป็นป็ศาสตร์คืร์ คือวิธีวิวิธีทวิยาการวิจัวิยจั ด้วด้ยการศึกษาเชิงชิพื้นพื้ที่ในการเดินดิทางและเรียรีนรู้อรู้ย่าย่งเข้าข้ใจในพื้นพื้ที่ พหุวัหุฒวันธรรมอาเซียซีนร่วร่มกับความเป็นป็ศิลป์ใป์นการสร้าร้งสรรค์และนำ เสนอ ประเด็นด็ข้อข้ค้นพบที่มีคมีวามหลากหลาย ได้แด้ก่ มิติมิ ติทางการศึกษา มิติมิ ติทางศาสนา มิติมิ ติทางสังสัคม มิติมิ ติทางประเพณีแณีละวัฒวันธรรม และมิติมิ ติทางวิถีวิ ถีชีวิชีตวิความเป็นป็อยู่ขยู่องคนอาเซียซีน นำ เสนอผ่าผ่นมุมมองและประสบการณ์ขณ์องผู้เผู้ขียขีน โดยมีเมีป้าป้หมายสำ คัญเพื่อพื่ถ่ายทอด ถอดบทเรียรีนแลกเปลี่ยนเรียรีนรู้ นำ สู่สัสู่ งสัคมสันสัติสุขสุ L. Klomkul (2023)


Click to View FlipBook Version