The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอบ้านโพธิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nfeeast_korai, 2019-12-19 21:21:39

ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอบ้านโพธิ์

ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอบ้านโพธิ์

ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นอาเภอบ้านโพธ์ิ

ลาดบั ท่ี ตาบล ชื่อภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ความรู้ /ความสามารถ ท่อี ยู่
ประสบการณ์
1 เทพราช นายขวญั ชัย รกั ษาพันธ์ 85 หมูท่ ่ี 2 ตาบลเทพราช อาเภอบา้ นโพธ์ิ จังหวดั ฉะเชิงเทรา
2 ท่าพลับ นางสาวปคณุ า บญุ กอ่ เกอ้ื ปราชญเ์ กษตรเศรษฐกิจพอเพียง หมทู่ ่ี 4 ตาบลทา่ พลับ อาเภอบ้านโพธิ์ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
3 สิบเอด็ ศอก นางชลิตา ไทยแก่น เกษตรกรต้นแบบ
36 หมู่ที่ 1 ตาบลสบิ เอด็ ศอก อาเภอบา้ นโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ศูนยส์ าธติ เกษตรอินทรียบ์ า้ นกระถนิ

นายขวัญชยั รกั ษาพนั ธ์

ปราชญเ์ กษตรของแผ่นดนิ สาขาปราชญ์เกษตรเศรษฐกิจพอเพยี งปี พ.ศ. 2555

นายขวญั ชยั รักษาพนั ธ์ เปน็ ผู้ทีป่ ระพฤติตนอยูใ่ นศีลธรรมอนั ดงี ามจนเปน็ ท่ีประจักษ์
และไดร้ ับการยอมรับจากบุคคลโดยท่ัวไป มีความขยันหมั่นเพียร พ่ึงตนเอง เสมอต้น
เสมอปลาย มีความรับผิดชอบตนเองและผู้อ่ืน ชอบช่วยเหลือ และขันอาสา สังคมใน
ทุกๆ ด้นท่ีทาได้ทาให้ได้รางวัลคนดีท่ีสมควรยกย่องเชิดชู จากผู้ว่าราชการจังหวัด
ฉะเชิงเทรา ได้รับรางวัลเกษตรกรสานักรักบ้านเกิด จากมูลนิธิรักบ้านเกิด และได้รับ
ประกาศเกียรติคุณ คนดีศรีสังคม จาก ศ.นพ.ประเวศวะสี ประธานโครงการคนดีศรี
สังคม

อายุ 65 ปี
สถานภาพ สมรส
ที่อยู่ บา้ นเลขที่ 85 หมู่ 2 ตาบลเทพราชย์ อาเภอบา้ นโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
โทรศัพท์ 08-52793193
อาชีพ เกษตรกรรม
คณุ ลกั ษณะสว่ นบุคคล

1. การประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ดี แี ละเป็นท่ียอมรบั ของสังคม
- ประกอบสัมมาอาชีพเกษตรกรรม ทานาโดยใช้ปุ๋ยอนิ ทรยี ช์ ีวภาพ
- ผลิตป๋ยุ อนิ ทรยี ์ชีวภาพไว้ใชเ้ อง และเผยแพร่ใหเ้ กษตรกรและผู้สนใจนาไปใชใ้ นการทาการเกษตรในพื้นทตี่ นเอง

- เปน็ ผู้ทปี่ ระพฤตติ นอยู่ในศลี ธรรมอันดงี ามจนเปน็ ที่ประจกั ษแ์ ละไดร้ บั การยอมรบั จากบุคคลโดยทัว่ ไป มีความขยนั หมนั่ เพยี ร
พ่งึ ตนเอง เสมอต้นเสมอปลาย มคี วามรับผิดชอบตนเองและผู้อน่ื ชอบช่วยเหลอื และขันอาสา สังคมในทุกๆ ด้นท่ที าไดท้ าใหไ้ ด้รางวัลคนดที ี่
สมควรยกยอ่ งเชิดชู จากผ้วู ่าราชการจังหวัดฉะเชงิ เทรา ได้รับรางวัลเกษตรกรสานักรักบ้านเกิด จากมลู นิธิรักบา้ นเกดิ และได้รบั ประกาศ
เกียรติคุณ คนดีศรีสังคม จาก ศ.นพ.ประเวศวะสี ประธานโครงการคนดีศรีสังคม

- เป็นเจ้าภาพจดั กิจกรรมการไถ่ชวี ติ ความในจังหวดั ฉะเชิงเทรา มาเป็นปที ี่ 21
- เป็นเจา้ ภาพจดั กจิ กรรมประเพณจี ลุ กฐินสามคั คี
- ไดร้ บั หนา้ ทีเ่ ป็นคณะกรรมการเลือกตั้งประจาจงั หวดั ฉะเชิงเทรา ปี 2537
2. มคี ณุ ธรรมจริยธรรมและเสียสละในการถ่ายทอดองค์ความรู้
- เป็นเกษตรกรทมี่ ีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมประพฤตติ นอยใู่ นระเบยี บแบบแผน เปน็ เจา้ ภาพทาบญุ ไถช่ วี ิตความมาแลว้ เป็นปีที่ 21
ตดิ ตอ่ กนั เปน็ เจา้ ภาพจดั งานพธิ ีทาบญุ จลุ กฐิน เปน็ เจ้าภาพจัด กิจกรรมทาบุญ 9 วัด ในพื้นทฉี่ ะเชิงเทราและจังหวัดใกล้เคยี ง จนไดร้ ับใบ
ประกาศเกยี รตคิ ุณ เปน็ ผ้อู นรุ ักษ์ศลิ ปะ และวฒั นธรรมไทย จากนายบญุ ชโู รจนเสถยี ร รองนายกรฐั มนตรี เมื่อปี 2537
- เป็นผทู้ ีเ่ ผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ต่าง ๆ เช่น ยา สมุนไพร ปุ๋ยชวี ภาพ การลดต้นทนุ ด้านการเกษตร การเพาะไรแดงเพอ่ื เปน็ อาหาร
สตั ว์น้า การเพาะเลยี้ งปลาและกงุ้ ในบ่อเดียวกนั เป็นตน้ เป็นผอู้ ทุ ศิ แรงกายแรงใจ องค์ความรใู้ ห้กบั ผสู้ นใจทกุ คน โดยเสมอภาคกัน เท่าเทียม
กนั และไมม่ ีการแบง่ แยกชนชั้นวรรณะ จนไดร้ างวัลเกษตรกรสานกึ รักบา้ นเกิด จากมูลนิธสิ านกึ รกั บ้านเกดิ เม่อื ปี 2551
- รว่ มจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ กับเทศบาลตาบลเทพราชในฐานะคณะกรรมการชมุ ชน จนได้รับรางวลั ประกาศเกียรตคิ ุณ เป็นผ้เู สียสละ
อทุ ศิ เวลา แรงกายแรงใจ จากนายพลาการ โชคพิชิตชัย นายกเทศมนตรี ตาบลเทพราช ต้ังแต่ พ.ศ. 2550-2552
- เปน็ วิทยากรใหก้ ับหลายหน่วยงานท่เี ชญิ ไม่วา่ จะอยใู่ กล้หรือไกล เช่น จังหวัดสกลนคร อานาจเจรญิ ยโสธร พระนครศรอี ยธุ ยา
สพุ รรณบรุ ี ศรีษะเกษ เชียงใหม่ และจงั หวดั นครปฐม โดยไมไ่ ดค้ านึงถึงค่าตอบแทน
- ไดร้ ับแตง่ ต้ังเป็นทปี่ รึกษาดา้ นการเกษตรของสานกั งานการปฏิรปู ทดี่ นิ เพ่อื เกษตรกรรมเป็นคณะกรรมการ และคณะทางานของ
หน่วยงานราชการใหพ้ ้ืนทจี่ ังหวัดฉะเชิงเทราหลายหนว่ ยงาน
3. มีความสามารถในการใชอ้ งค์ความรู้ในด้านน้ัน ๆ
- เปน็ ผนู้ าพันธุ์ข้าว “หอมนครชยั ศรี” มาขยายพนั ธุ์ ปี 2518 ท่จี ังหวัดฉะเชิงเทรา
- เป็นผูป้ ลกู ข้าวอนิ ทรีย์ 9 สายพันธ์ุ เมอ่ื แปรรปู แล้วนามาผสมกัน ต้ังช่อื “ขา้ วนพรงค์”

- เป็นผปู้ ระดิษฐค์ ดิ คน้ พัฒนาและเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ต่าง ๆ ทม่ี ีอย่ใู หก้ บั ผสู้ นใจทว่ั ไปทงั้ ภาครฐั เอกชนและบคุ คลท่วั ไป อย่าง
มากมาย เปน็ ท่ีประจักษ์ยอมรบั จนได้รับเกยี รติคุณใหเ้ ป็นผ้มู ีภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ สาขาเกษตรกรรมดีเด่น จากนายอดิศัย โพธารามิก
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เม่ือปี พ.ศ. 2517 ไดร้ บั รางวลั ผู้มีผลงานดเี ดน่ ทางวฒั นธรรมจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา สาขาภูมิปัญญาชาวบ้าน
ด้านการเกษตร เม่ือปี พ.ศ. 2548 ได้รับรางวลั นกั พัฒนาตามรอยเบื้องยคุ บาท สาขาปรับปรงุ ดินและนา้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2549 และได้รบั รางวลั
เกยี รติยศ ผรู้ ู้ ผู้เอ้ือเฟือ้ ในการเปน็ ปราชญเ์ กษตรเศรษฐกิจพอเพยี ง ส.ป.ก. จากนายอนันต์ ภูส่ ทิ ธกิ ลุ เลขาธิการสานักงานการปฏิรูปทดี่ ินเพ่ือ
เกษตรกรรมเมอ่ื ปี พ.ศ. 2551

4. ใฝรุ ู้ ใฝเุ รียน ใฝปุ ฏิบัติ
- จบการศกึ ษาปริญญาตรี สาขาวชิ าปฐพีวิทยา จากมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ปี 2512
- จบการศกึ ษาหลักสตู รบัณฑิตอาสาสมัครจากมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ปี 2515 และได้เขา้ ทางานที่มูลนิธสิ ิทธิพร กฤดากร
- เริม่ ทาเกษตรกรเต็มตวั สร้างแปลงต้นแบบไร่นาสวนผสม เมื่อปี 2517
-เป็นผู้นาข้าวพันธม์ุ หศั จรรย์ “ไออา8” มาปลกู ขยายพันธุ์ในฤดนู าปรงั ที่ ตาบลเทพราช อาเภอบา้ นโพธ์ิ เปน็ คนแรก เม่ือปี พ.ศ. 2511
- เป็นผชู้ านาญในการปลูกแตงโมเหลอื คนแรกในจังหวัดฉะเชิงเทรา
- เปน็ ผู้วิจยั เรอ่ื ง ขา้ วใสป่ ุ๋ยอินทรียแ์ ลว้ แมลงไม่มา
- เปน็ ผปู้ ระดษิ ฐเ์ ครื่องลดความช้ืนข้าวเปลอื กจนได้รับรางวัลผลงานคิดคน้ หรอื ส่ิงประดษิ ฐเ์ พอ่ื การพัฒนา ปี 2525 จาก
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและพลังงาน
5. เป็นผ้นู าท่ีดีและมคี วามสามารถในการบริหารจดั การ
- ไดร้ ับแต่งต้ังใหเ้ ปน็ ที่ปรึกษาดา้ นการเกษตรของสานักงานปฏริ ูปทด่ี ินเพ่อื เกษตรของสานกั งานการปฏริ ูปทดี่ นิ เพ่อื เกษตรกรรม
เปน็ คณะกรรมการและคณะทางานของหน่วยงานราชการในพ้นื ท่จี งั หวดั ฉะเชิงเทราหลายหนว่ ยงาน ได้เสนอแนะข้อคดิ เห็น ท้วงติงส่ิงทีเ่ ป็น
ประโยชน์ ตอ่ ผทู้ ่ีเก่ียวข้อง จนเปน็ ทย่ี อมรับโดยทั่วกนั
- เปน็ ประธานกล่มุ เกษตรกร ทานาเทพราช
- เปน็ เลขานุการคณะกรรมการกลางกลมุ่ เกษตรกร
- เปน็ ผ้นู าเยาวชนมารว่ มทากิจกรรมพธิ บี ชู าพระแม่โพสพ

- เป็นปราชญข์ องกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดอบรมถา่ ยทอดความร้แู กผ่ ้สู นใจทวั่ ไปมีเครอื ข่ายขยายไปในพ้นื ที่หลายจงั หวัด
ทั่วประเทศ

- เปน็ ครฝู ึกเยาวชน “โครงการเยาวชนสูท่ ้องนา” ร่วมกับมหาวทิ ยาลยั ประสานมิตร
ผลงานสร้างคุณประโยชน์
มีผลงานที่เกิดจากความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์และพฒั นางานอย่างตอ่ เนอื่ ง
- เปน็ ผปู้ ลูกข้าวอินทรีย์ 9 สายพนั ธ์ุ เม่ือแปรรูปแล้วนามาผสมกนั ต้ังชอ่ื วา่ “ข้าวนพรงค์” และได้ รว่ มกบั สานักงาน การปฏริ ูป
ทด่ี นิ จงั หวัดฉะเชิงเทรานาไปถวายสมเด็จพระบรมราชินีนาถฯ และสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ
- เปน็ ผู้นาพลงั แสงอาทิตย์ (ใชโ้ ซล่าเซล) มาประยกุ ต์ใชท้ ากบั อปุ กรณร์ ดนา้ ต้นไม้
- คิดคน้ และพัฒนาการทานาบก (การทานาใชพ้ ้ืนที่ 17 ตารางเมตรตอ่ 1 คน พอกนิ ทัง้ ปี)
- คิดคน้ และพฒั นาการเล้ียงก้งุ ชวี ภาพเพ่ือลดตน้ ทุน
- ประดิษฐ์เตาหุงขา้ วด้วยแกส๊ ชวี มวลจากแกลบ และประดษิ ฐโ์ รงสีข้าวด้วยกล้องมือถอื
- เข้ารว่ มโครงการเยาวชนสู่ท้องถิ่นเมือ่ พ.ศ. 2517
- เปน็ ผู้ประดษิ ฐเ์ คร่ืองลดความชน้ื ข้าวเปลือกจนไดร้ บั รางวลั ผลงานคดิ ค้นหรอื ส่ิงประดิษฐ์เพื่อการพฒั นา ปี 2525 จาก
รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละพลังงาน
มีผลงานเป็นประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติในการแก้ไขปัญหาและเพือ่ การพฒั นา
- นาเคร่อื งเก่ียวขา้ วโพด “จอมเดีย” มาเก่ียวข้าวนาปรงั ที่ ตาบลเทพราชเปน็ คนแรกจนมีคนนาไปผลิตเปน็ เคร่อื งนวดข้าวใน
ปัจจุบันมชี าวต่างประเทศมาศกึ ษาดูงาน
- เป็นผู้ประดิษฐเ์ คร่อื งลดความชื้นข้าวเปลือกจนได้รบั รางวลั ผลงานคิดค้นหรือสิ่งประดษิ ฐเ์ พือ่ การพัฒนา ปี 2525 จาก
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและพลงั งาน
- กระตนุ้ ใหก้ รมขา้ ว ผลิตพนั ธ์ขุ า้ ว ตา้ นโรคเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล ทาให้กรมขา้ วไดม้ าสร้างสถานีทดลองย่อย เพ่ือทดลองพันธุ์
ขา้ วทต่ี า้ นโรคเพล้ียกระโดดสนี ้าตาลในพ้ืนท่ีนา นายขวญั ชยั ทต่ี าบลเทพราชเปน็ เวลา 10 ปี ประดิษฐเ์ ตาหุงขา้ วด้วยแก๊สชวี มวลจากแกลบ
- ประดษิ ฐเ์ ตาหุงข้าวด้วยแก๊สชีวมวลจากแกลบ
- ประดษิ ฐ์โรงสขี ้าวกลอ้ งมือถือ

- เป็นผ้นู าพันธ์ขุ ้าว “หอมนครชยั ศรี” มาขยายพันธ์ุ เม่อื ปี 2518 ปจั จุบันพันธดุ์ งั กลา่ วมขี ายในท้องตลาดท่วั ไป ชาวบ้านเรยี ก
ข้าวพนั ธุ์น้ีวา่ “ข้าวขาวขวญั ชยั ”

- เปน็ ผู้ปลูกข้าวอินทรยี ์ 9 สายพนั ธ์ุ เม่อื แปรรปู แล้วนามาผสมกันตงั้ ชอ่ื ว่า “ขา้ วนพรงค์” และไดร้ ่วมกบั สานักงานการปฏริ ปู
ท่ีดนิ จงั หวัดฉะเชิงเทรา นาไปถวายสมเดจ็ พระบรมราชนิ ีนาถฯ และสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ

- มนี กั วชิ าการจากประเทศญี่ปนุ มาศึกษาดูงานการเล้ยี งกงุ้ ด้วยนา้ หมักชวี ภาพให้โตได้โดยไมต่ อ้ งใหอ้ าหาร จนเกษตรกรนาไป
ปฏบิ ตั ใิ นพน้ื ทขี่ องตนเองเปน็ จานวนมาก

การขยายผลงาน
1. มีความสามารถในการถ่ายทอดองคค์ วามรู้
- มีศูนย์ถ่ายทอดความรูใ้ นพื้นที่ มอี ุปกรณส์ ือ่ สาร และเครื่องขยายเสียงและวัตถดุ ิบสาหรับให้ผู้สนใจได้ฝกึ ปฏิบัติ เรียนรู้ และทดลอง
จากของจริง
- จัดกระบวนการถ่ายทอดความรู้ เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ สามารถปรับขัน้ ตอนกระบวนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรยี น ได้ดี จนได้รับ
เชิญเป็นวทิ ยากรให้ความรู้กับหน่วยงานต่าง ๆ เป็นจานวนมาก
- ปัจจุบันได้เชิญวทิ ยากรถ่ายทอดความรู้ด้านการเกษตรทัว่ ประเทศเปน็ จานวนมาก
2. มีการปรับปรุงและพฒั นาวธิ กี ารในการถ่ายทอดองค์ความรู้
- ทาอปุ กรณ์เพื่อใชใ้ นการถ่ายทอดเพ่ือให้ผู้รบั การถ่ายทอดเข้าใจไดด้ ขี ้ึน เช่น การทาน้าสมุนไพรต่าง ๆ การเน้นให้ผูเ้ รียนได้ฝกึ ปฏิบัติ
อย่างทว่ั ถึง เปน็ กนั เอง รับฟังขอ้ สรปุ ที่ดีร่วมกันกอ่ นท่ีจะนาไปปรบั ปรุงพฒั นาให้เกิดความเหมาะสม
- พฒั นาให้ผเู้ ข้ารับการอบรมได้มีโอกาสเรียนรู้ ผ่านสอ่ื วีดที ัศน์
- การถ่ายทอดความรู้เน้นสรุปผลได้จากของจรงิ ทีผ่ ู้เรยี นสัมผัสได้
3. มีความสามารถในการสร้างเครอื ข่ายการเรียนรู้
- มีเกษตรและผู้สนใจเข้าร่วมเครอื ข่าย ท้ังในพ้ืนทแ่ี ละต่างจังหวัด เป็นจานวนมาก เช่น จงั หวัดสกลนคร อานาจเจริญ ยโสธร
พระนครศรีอยธุ ยา สุพรรณบรุ ี ศรีสะเกษ เชยี งใหม่ และจังหวัดนครปฐม เปน็ ต้น และได้ร่วมกบั ผู้ร้ทู ั่วไป และนกั วิชาการจากหน่วยงานต่าง ๆ ทมี่ ี
ชอ่ื เสียงเพ่อื ร่วมกัน ปรับปรุงพัฒนา ผลงานก้าวหน้า เหมาะสมกับผู้ใช้ และพนื้ ที่

- เป็นปราชญ์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดอบรมถ่ายทอดความรู้แกผ่ ู้สนใจทว่ั ไปมเี ครือขา่ ยขยายไปในพื้นที่หลายจังหวัดทั่ว
ประเทศ

- เป็นครูฝกึ เยาวชน “โครงการเยาวชนสทู่ อ้ งนา” รว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั ประสานมิตร
4. มีการเผยแพร่ และประชาสมั พันธ์องค์ความรู้
- มกี ารเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ องค์ความรู้ผ่านสถานีโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วทิ ยุชุมชนหอกระจายข่าว บทความ วารสารทั่วไป การ
อบรมสัมมนา จัดนิทรรศการ และหน่วยงานราชการไดจ้ ัดเปน็ งานวิจยั ในหลายๆ เรื่อง เชน่ การทานาโดยไม่ใชป้ ุ๋ยเคมี การเล้ียงปลา กุ้งอินทรยี ์
การทาป๋ยุ ชีวภาพการทาชาจากดอกบวั หลวงเพอ่ื สุขภาพ
5. เป็นผมู้ กี ารติดตามประเมินผลการถ่ายทอดองค์ความรู้
- มกี ารติดตามผลการถ่ายทอดความรู้ภายหลังจากท่ไี ดใ้ ห้ความรู้ เพ่ือปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกบั สภาพ และขอ้ เทจ็ จรงิ ของพืน้ ที่
น้ัน ๆ
- ในทุกพืน้ ทีท่ ี่ไดไ้ ปถ่ายทอดความรู้ จะมกี ารติดตามผลและส่งเสริมให้ผูผ้ ่านการอบรมไดร้ วมกลมุ่ สร้างเครือข่ายให้เกิดความเขม้ แข็ง
- มีหลกั ฐานการได้เดินทางไปติดตามงานในพ้ืนที่จังหวัดต่าง ๆ

ปคณุ า บุญก่อเกอ้ื

“เกษตรกรตน้ แบบ” บา้ นสวนเมล่อน เริ่มจากความตงั้ ใจ ปลกู พืชผักปลอดภยั ใหค้ นที่รัก

ความภูมใิ จที่เกดิ ...มนั เกิดจากการท่ีเราเรม่ิ เป็นผใู้ ห้

ปคุณา บุญกอ่ เกื้อ เกษตรกรสานึกรกั บา้ นเกดิ ปี 2561

บ้านสวนเมล่อน เกิดจากความตั้งใจของคุณปคุณา เกษตรกรสาว วัย 39 ปี ท่ีอยากจะผลิตอาหารปลอดภัยให้กับคนที่รัก และ
แบ่งปนั ให้กบั คนรอบข้าง เร่ิมจากพ้ืนท่ีจานวน 4 ไร่ ใน ต.ท่าพลับ อ.บ้านโพธ์ิ จ.ฉะเชิงเทรา และได้น้อมนาเกษตรทฤษฎีใหม่ ของในหลวง
รชั กาลที่ 9 มาปรับใช้ ด้วยการจัดการพ้ืนท่ี 4 ไร่ ออกเป็น 4 ส่วน ( 30 : 30 : 30 : 10 ) และเร่ิมปลูกในส่ิงที่ครอบครัวชอบเป็นอันดับแรก
คอื “เมล่อน” เริ่มแรกน้ันโรงเรือนปลูกยังเป็นแบบดั้งเดิมมาก ๆ คือทาจากไม้ไผ่ หลังจากน้ันก็เรียนผิดเรียนถูกมาเรื่อย ทั้งศึกษาเรื่องของ
โรงเรือน และทสี่ าคัญศึกษาพัฒนาการ ลกั ษณะของต้นเมลอ่ น ส่ิงไหนท่เี มล่อนชอบ สิ่งไหนเมล่อนไม่ชอบ จนรู้สึกว่าสามารถเข้าใจเมล่อนได้
อย่างถอ่ งแท้ จึงไดเ้ รม่ิ ก่อสร้างโรงเรือนในแบบถาวร และใช้ระบบ "พี่เลี้ยงน้อง" ในการบริหารจัดการ น่ันคือ สร้างโรงเรือนท่ี 1 ปลูก ขาย
เพื่อใหไ้ ดก้ าไร มาสรา้ งโรงเรือนที่ 2 ปลูกแล้วขาย เพื่อนามาสร้างโรงเรือนท่ี 3 4 5 6 ต่อไปเร่ือย ๆ จนปัจจุบัน ทาให้บ้านสวนเมล่อนน้ัน มี
โรงเรอื นเมล่อนทัง้ หมด 13 โรงเรอื น โดยใชร้ ะยะเวลา 2 ปี

"บา้ นสวนเมลอ่ นไมไ่ ด้ปลูกแคเ่ มล่อนเทา่ น้นั แต่เป็นสวนผสมผสานมที ัง้ พชื ผักสวนครวั และพชื อื่นๆ
ปลูกรว่ มดว้ ยเสมือนวา่ มีตเู้ ยน็ ธรรมชาตอิ ยใู่ นบ้าน"

"บา้ นสวนเมล่อนมีการบริหารจัดการอย่างไรบา้ ง”

การบริหารจัดการพนื้ ที่ของบ้านสวนเมลอ่ น
ทางฟาร์มแบง่ พ้ืนทใี่ นการจัดการ โดยยดึ หลักเกษตรทฤษฎีใหม่ 30: 30 :30 :10 ดังน้ี
30 ท่ี 1 แบ่งเป็นสวนเพ่อื จัดไวร้ ับรองลูกค้าทีเ่ ข้าสวน จาหนา่ ยสินค้า อาหาร หอ้ งอบรม จดุ พักผ่อน
30 ท่ี 2 แบ่งเปน็ พชื เศรษฐกิจหลักของสวน คอื เมลอ่ น
30 ท่ี 3 เปน็ พืน้ ที่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ปลูกทุกอยา่ งทีเ่ ราทาน เลีย้ งเป็ด ไก่ จ้ิงหรดี ปลา ท้ังทานเองและนามาปรงุ เปน็ อาหารเพื่อจาหนา่ ยใน
ส่วนที่ 1 ของสวน
10 ที่ 4 ใช้เป็นพ้นื ที่ปลูกบ้านท่อี ยอู่ าศยั

ท้ังน้ีเพื่อจัดการกับความเส่ียงที่อาจจะเกิดขึ้นหากเมล่อนตลาดไม่สามารถจาหน่ายได้ เรายังมีสินค้าอื่นเพื่อจาหน่ายและยังมีทานเองใ น
ครอบครัว การควบคุณภาพของผลผลิต เราใช้วิธีการปลูกในโรงเรือนระบบปิดเพื่อลดปัญหาในการใช้สารเคมีกาจัดแมลง ในต้องตัด สินค้า
จาหน่ายเม่ือถึงกาหนดตัดเท่านั้น ควบคุมคุณภาพความหวานโดยการตรวจสอบความหวานโดยใช้เคร่ืองมือทุกครั้งก่อนให้ลูกค้าได้เข้าตัด
ภายในสวน

"บา้ นสวนเมล่อนก้าวไปไกล ด้วยเทคโนโลยี AI และ Big Data ใชฟ้ ารม์ แมน่ ยา ซึง่ ดแี ทคได้ร่วมมอื กับรคี ัลท์ สตารต์ อัพในโครงการ
ดแี ทค แอคเซอเลอเรท และบรษิ ทั รักบ้านเกิด พฒั นาขึน้ มา ซง่ึ จะเพ่มิ คณุ ภาพการเพาะปลกู และรายได้ให้กบั เกษตรกร"

เทคนคิ วิธีการ นวัตกรรมและเทคโนโลยที น่ี ามาปรับใชใ้ นกระบวนการผลิต (ลดต้นทุน เพ่มิ ผลผลติ )

นวัตกรรมโดดเด่นของเราทีค่ ดิ ค้นข้นึ มาไดเ้ องคือ เครอ่ื งโค้งเหลก็ เพื่อทาโรงเรือน ประสทิ ธภิ าพสงู และเรายังได้รับการสนับสนุนจาก บมจ.โท
เทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคช่ัน (DTAC) พัฒนาฟาร์ม ให้อยู่ในรูปแบบของ SMART FARM เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทาฟาร์มให้มีความ
แมน่ ยามากยงิ่ ขึ้น ส่งผลให้ผลผลติ ดี มรี ายได้ทีเ่ พิ่มมากข้ึน

"สวนเมล่อนขนาด 4 ไร่ ท่ีใครๆ ก็ต้องมาลองชิมเมล่อนสกั คร้งั ดว้ ยเอกลกั ษณพ์ เิ ศษของสายพันธ์เุ มลอ่ นทมี่ ีทั้งหวานกรอบ และหวาน
เนื้อนมุ่ รวมถึงการปลกู ท่ีใสใ่ จและปลอดภัยจากสารเคมี 100% "

การดาเนนิ กิจกรรมด้านการเกษตรดว้ ยแนวคดิ เป็นมิตรตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม

บา้ นสวนเมล่อน ไม่ใชส้ ารเคมีอนั ตรายฉดี พ่น ไม่ว่าจะเปน็ พชื เพื่อการบริโภค แม้กระทั่งวัชพืช ทีเ่ กิดขึน้ ภายในสวน ภายในสวนมีการจดั การ
ระบบนา้ ทงิ้ กอ่ นทจ่ี ะปลอ่ ยนา้ ออกสู่ธรรมชาติ ชวี้ ดั โดยการเลยี้ งปลากะพง ลงในบอ่ พักนา้ ก่อนทจี่ ะปลอ่ ยนา้ ออกสู่แหล่งนา้ ธรรมชาติ ซ่ึง

ขณะนี้ปลาในบ่อมนี ้าหนักถงึ 5 กิโลกรมั ตอ่ ตัว

"เมล่อนไทยดงั ไกลถงึ ต่างแดน ใหช้ าวต่างชาติได้ล้ิมชิมรสถึงบนเคร่อื งบนิ โดยมกี ารลงนาม mou กับการบนิ ไทยเป็นทเ่ี รียบร้อยแลว้ "

"เมล่อนบนิ ได"้ ปจั จุบนั เมลอ่ นในฟารม์ ได้กลายเป็นของวา่ งแสนอร่อยบนเครอื่ งบิน ซึ่งสรา้ งความภาคภมู ใิ จเป็นอย่างมาก และนอกจากเม
ลอ่ นแลว้ "บา้ นสวนเมลอ่ น" ยังมีพืชและผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ อีกหลากหลาย อยา่ งเช่น ผกั สลัด ข้าวโพดฮอกไกโด มะเขือเทศราชนิ ี เห็ด ขา่ ตะ
ใคร้ ใบมะกรูด พชื ผกั สวนครัว รวมถึงผลติ ภัณฑอ์ ่นื ๆ ท่แี ปรรูปแล้ว ไม่ว่าจะเปน็ น้าเมล่อน นา้ เมลอ่ นปนั่ สบ่เู มล่อน เป็นตน้

"“โครงการกลับมาเยย่ี มลกู เมลอ่ น” โดยให้ลกู คา้ มาจบั จองเมล่อนโดยการสลักช่ือไว้ทผี่ ลก่อนเกบ็ เก่ียวเมล่อนประมาณ 1 เดอื น และ
ทางสวนจะดแู ลต่อให้จนถงึ วันทีเ่ ก็บผลผลิตลูกค้ากส็ ามารถมาตดั เมล่อนไดด้ ้วยตนเองค่ะ"

"ดา้ นการตลาด บา้ นสวนเมลอ่ นบรหิ ารจัดการอย่างไร"

เนอื่ งจากบา้ นสวนเมลอ่ นเราทาการเกษตรแบบ ทาเพ่ือคนที่รกั คอื การทค่ี น คนหนึ่งจะเข้ามาในบา้ นเรา เค้าจะต้องรู้สกึ ว่า กลับบ้าน
กลบั มาทานอาหารรสชาติ แบบคนุ้ เคย และความรสู้ กึ เปน็ กนั เอง สบายๆ พร้อมมคี วามรู้ มีสาระ มาเติมพลังเพือ่ ที่จะกลับออกไปตอ่ สู้กับโลก
ภายนอกทีม่ ีปญั หาอย่างมากมาย รสู้ ึกถงึ ความปลอดภยั และสบายใจเม่อื เข้ามาหาเรา จึงเป็นที่มาของชื่อทีเ่ ราตั้งข้นึ มา คือ บา้ นสวนเมล่อน

- การกาหนดราคาที่ตอบสนองต่อความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคมีหลกั การอย่างไร
กโิ ลกรัมละ 100 บาท เป็นราคากลางๆ ท่ีลกู คา้ สามารถรบั ได้ และจาราคาได้งา่ ย
- ระบบการขนสง่ การกระจายสนิ คา้ ต่อผบู้ ริโภคมชี อ่ งทางไหนบ้าง
ส่งผ่านระบบขนส่งสาธารณะ ทว่ั ประเทศ จาหน่ายตรงถึงมือลกู ค้าโดยใหเ้ ข้าตัดเองภายในสวน

"จดั ตั้ง สหกรณ์พืชผัก ผลไม้ ปลอดภยั สูง จังหวดั ฉะเชิงเทรา จากัด เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมและจัดจาหนา่ ยสินคา้ เกษตรของเครือขา่ ย
ซง่ึ เป็นสนิ คา้ มาตรฐาน GAP ท้งั หมด อาทิ เมล่อน ถว่ั ฝักยาว คะน้า เห็ด มะพร้าว มะมว่ ง โดยมีตลาดหลักคือ การบินไทย"

"กจิ กรรมด้านการเกษตรท่ีทาเพอื่ ชุมชน จนเกดิ ผลสาเร็จอย่างเปน็ รูปธรรม มีอะไรบา้ ง"

-เป็นแหล่งเรยี นรแู้ ละศกึ ษาดูงาน การปลูกพชื แบบปลอดภยั ให้กบั ชาวบา้ นในชมุ ชน และผู้ที่สนใจทวั่ ไป
-เปดิ ฟารม์ เปน็ สถานทจ่ี าหนา่ ยสินค้าชุมชน ทงั้ แบบฝากวางเพ่ือจาหน่ายและเข้ามา และจาหนา่ ยเอง
-เป็นหน่ึงในสถานที่จดั โครงการทอ่ งเทย่ี ว O-TOP นวตั วิถี เพ่ือทาให้เศษฐกิจในชุมชนดมี ากยิ่งขึน้ เมอ่ื มลี กู ค้าเข้ามาในชมุ ชนเรามากขน้ึ ก็จะ
ก่อให้เกิดรายได้ในครวั เรอื นมากข้นึ
-เปน็ หนึ่งในคณะกรรมการในการ ก่อต้ัง สหกรณ์ พชื ผักผลไมป้ ลอดภยั สูงจงั หวัดฉะเชิงเทรา โดยมวี ัตถุประสงค์หลักของสหกรณ์คอื
ชว่ ยเหลอื เกษตรกรรายยอ่ ยได้มสี ถานที่จาหนา่ ยสนิ ค้า ซ่งึ ขณะนี้เราไดเ้ ปิดตลาดสนิ คา้ ของเรา กบั บ.การบนิ ไทย โดยมีพธิ ีลงนาม MOU
ระหวา่ งกนั เมือ่ วันที่ 31 ส.ค 61
-เปน็ หนง่ึ ในกลุม่ young smart famer ฉะเชงิ เทรา ในการช่วยเหลือเพือ่ นเกษตรกรคนอืน่ ๆ ท่ีพร้อมจะผลิดสินค้าอย่างปลอดภัยและผลกั ดนั
ให้ได้การรับรองมาตรฐานต่างๆจากหนว่ ยงานทีเ่ ชอ่ื ถอื ได้ เชน่ มาตรฐาน GAP

ข้อมูลการตดิ ตอ่ บ้านสวนเมลอ่ น
นางสาวปคุณา บุญก่อเกือ้ ท่ีอยู่ 47/29 หมู่ 2 ต.คลองนา อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24140

แผนที่จากขนสง่ จังหวัดฉะเชิงเทรา ไป บา้ นสวนเมลอ่ น
http://gg.gg/g2os4

"กระถิน ชลิตา" ไอดอลบ้านนา ตามรอยเทา้ พ่อหลวง ร.9 มงุ่ ทาเกษตรแบบพอเพียง

ไอดอลบ้านนา "กระถนิ ชลติ า" สาวสวยดกี รปี ริญญาโท เกษตรกรของฉะเชิงเทรา ทรี่ กั บ้านเกิดและสนใจการทาเกษตรผสมผสานที่
นาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ ในหลวง ร.9 มาปรับใช้ เป็นตัวอย่างให้เยาวชนคนรุ่นใหม่มาทาความรู้จักกับ ไอดอลบ้านนา ชลิตา ไทย
แก่น หรือ คุณกระถิน วัย 39 ปี สาวสวยดีกรีปริญญาโท เรียนจบประถม-มัธยม โรงเรียนวัดประชาบารุงกิจ (หนองแบน) และศึกษาจบ
ปริญญาตรี จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ และปริญญาโท วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม สาขา รปศ. บริหารปกครองท้องถิ่น M.P.A.
(การบริหารการจัดการภาครัฐ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต) คนรุ่นใหม่ของฉะเชิงเทรา ท่ีรักบ้านเกิดและสนใจการทาเกษตรผสมผสาน

โ ด ย ก า ร น า ห ลั ก ป รั ช ญ า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ม า ป รั บ ใ ช้ ใ น
ชีวิตประจาวัน “ทาความดีถวายพ่อ สานงานต่อตามศาสตร์
พระราชา” โดยหลกั การท่วี ่า “เดนิ ทีละก้าว กินข้าวทีละคา ทาที
ละอย่าง”

กระถิน เล่าถึงท่ีมาที่ไปของการทาเกษตรผสมผสาน ว่า ตัวเอง
เริ่มสนใจการทาเกษตรตอนช่วงเรียนปริญญาตรี ได้มีโอกาสเข้า
ศึกษาดูงาน และเข้าอบรม ณ สถาบันเศรษฐกิจพอเพียง (บาง
คล้า) โดย ดร.วิวัฒน์ ศัลยกาธร (อ.ยักษ์) มาบรรยายให้ความรู้
เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 หรือท่ีคนไทยทุกคน
เรียกว่า “พ่อหลวง” พร้อมกับได้ลงมือปฏิบัติ ในฐานการเรียนรู้
ด้านตา่ ง ๆ ทฤษฎี 9 ฐาน จึงมีความรู้สึกว่าตนเองชอบ หลังจาก
น้ันก็นามาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน และคิดว่าเราน่าจะทาส่ิงดีๆ
แบบน้ีในชุมชน ต.สิบเอ็ดศอกบ้าง ดังน้ันจึงคุยกับคนใน
ครอบครัว ต้ังปณิธานทางานถวายพ่อ สละพ้ืนท่ี 13 ไร่ พื้นท่ีทา
กิน ทดแทนคุณแผ่นดิน “ทาความดีถวายพ่อ สานงานต่อตาม
ศาสตร์พระราชา” ช่วยเผยแพร่องค์ความรู้ เน้นความอยู่รอด
ด้วยการทาเกษตรอินทรีย์ ให้คนรุ่นใหม่ท่ีอยู่ในชุมชน และนอก
ชุมชน ได้มาเรียนรู้ ทาให้คนรุ่นใหม่เห็นว่าคนทาเกษตรก็มี
ความสุขได้ “อาชีพเกษตรกร เป็นอาชีพที่อิสระ” ทาแล้วมี
ความสุข “ยิ่งให้ย่ิงได้ ยิ่งให้ยิ่งมี” จึงตัดสินใจปรับพ้ืนท่ีมาทา
เกษตรผสมผสาน

หน่ึงในเกษตรกรตน้ แบบของ จ.ฉะเชิงเทรา กลา่ ววา่ เริม่ จากอาจารย์สมชาย ขอนดอน อาจารย์ที่ปรึกษา เข้ามาวาง
แผนการปรับพื้นที่ เดิมเป็นพ้ืนที่บ่อปลา 2 บ่อ ล้อมรอบด้วยต้นกล้วย ปรับเปล่ียนให้เป็นพื้นท่ีเรียนรู้ 9 ฐาน
ปัจจุบนั มี 7 ฐานการเรียนรู้ เพื่อเปน็ ตน้ แบบใหก้ บั เยาวชน และคนทว่ั ไปไดม้ าศกึ ษาเรียนรู้ โดยเร่ิมต้นทาเมื่อปี พ.ศ.
2557 เริ่มต้นด้วยการปลูกหญ้าแฝกเพ่ือไม่ให้ดินพังทลาย ตามโครงการของพ่อหลวงท้ัง 7 ฐานการเรียนรู้ให้กับ
บุคคลทีส่ นใจเรยี นรูม้ ดี ังนี้
1. ฐานฅนรกั ษแ์ มธ่ รณี ซง่ึ เป็นฐานเกีย่ วกับดนิ ปุ๋ยอินทรีย์ จลุ นิ ทรียน์ า้ หมกั สมนุ ไพรไลแ่ มล
2. ฐานฅนรักษ์ปุา เป็นฐานเก่ียวกับการปลูกปุาผสมผสาน เรื่องปุา 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ซ่ึงฐานน้ีทางาน
รว่ มกบั ธนาคารต้นไมข้ องธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ์ ชาวบ้าน ทมี่ าให้ความร่วมมอื
3. ฐานการทานาข้าวอนิ ทรยี ์ 1 ไร่ ฐานน้จี ะทานาหมนุ เวยี น สาหรับพันธุ์ข้าวที่ใช้ทาคือข้าวไรซ์เบอร์รี และข้าวหอม
ปทุมธานี ผลผลติ ท่ีไดจ้ ะนาไปรับประทานภายในครัวเรือน เหลือก็ทาเป็นข้าวกล้องจาหน่าย แปลงนา 1 ไร่ แบ่ง 4
แปลง รอบๆ แปลงนา จะปลูกทุกอยา่ งท่กี นิ ในน้าปล่อยปลา

4. ฐานการกาจดั ขยะอนิ ทรีย์ ดว้ ยการเลย้ี งไสเ้ ดอื น ทางศูนย์การเรียนรู้ได้มีการเล้ียงวัว ควาย ม้า เพื่อนามูลสัตว์ มาทาเป็นปุ๋ยอินทรีย์ ก่อน
จะมีการเลย้ี งสตั ว์ ทางศูนยเ์ รยี นรไู้ ด้ซื้อมูลสัตว์จากคนในชุมชน ซ่ึงเป็นการสิ้นเปลือง ทางภาคีเครือข่าย ญาติธรรม ได้มาศึกษาดูงานเห็นว่า
ตอ้ งซือ้ มลู สัตว์ จงึ ได้ไถช่ วี ติ ควายจากโรงฆ่าสตั ว์มาให้เล้ยี งเพื่อใชป้ ระโยชน์ในการนามลู สตั ว์มาทาปุ๋ยอินทรีย์

นอกจากนย้ี งั เปน็ สตั วท์ ่ีเล้ยี งอนรุ กั ษไ์ ว้ใหล้ ูกหลานรุ่นหลังได้ดู ด้วยการขยายผลผลิตจากมูลสัตว์ โดยนามูลสัตว์มาแช่น้า และทาเป็น
อาหารไสเ้ ดอื น กจ็ ะได้ปยุ๋ มูลไสเ้ ดือน ทย่ี ังเอาไปต่อยอดได้ด้วยการนาปยุ๋ มูลไส้เดือนมาทาน้าหมักจุลินทรีย์ ไว้ฉีดพืชผักทางใบ เก็บฉ่ีไส้เดือน
เพอ่ื นามาฉีดเร่งดอกผล ขณะเดียวกนั ยงั ต่อยอดด้วยการนาปุ๋ยมลู ไส้เดือน มาผสมเป็นดินเพาะปลูกด้วย เพื่อใช้แทนพีสมอส จากที่เคยซื้อใช้
ก็จะได้ประหยัดรายจา่ ยลงอกี การเลยี้ งไส้เดอื นสามารถลดรายจ่าย เพิ่มรายไดใ้ ห้กบั เกษตรกร โดยเกษตรกรทีเ่ ข้ามาดงู าน สามารถนาไปปรับ
ใชเ้ องได้งา่ ยๆ ไม่ยงุ่ ยาก ประหยัด ลดต้นทุน แถมยงั ปลอดภัยต่อพชื ดนิ และสงิ่ แวดลอ้ ม

5. ฐานคนมีน้ายา ฐานน้ีจะเป็นการลดรายจ่ายในครัวเรือน ทาน้ายาอเนกประสงค์ สบู่สมุนไพร ฯลฯ คุณกระถินเล่าว่า บ้านกระถินได้
ยกระดับขน้ึ เปน็ ศนู ย์ความย่ังยืนรว่ มกบั ธนาคารเกษตรและสหกรณ์ และศูนย์ปราชญ์ของการศกึ ษานอกโรงเรยี นอาเภอบ้านโพธ์ิ

6. ฐานการแปรรปู เพื่อสร้างอาชีพ บ้านกระถินทาผลิตภัณฑ์แปรรูปต่างๆ เช่น ไข่เค็มใบเตย แหนมเห็ด ซ่ึงเป็นเห็ดภูฏาน นา งฟูาเกาหลี ซึ่ง
เห็ด 2 อย่างน้ีจะมีความโดดเด่นตรงที่มีความเหนียวหนึบ ทาเป็นแพ็ก แพ็กละ 50 บาท ข้าวกล้องไรซ์เบอร์รี ข้าวกล้องหอมปทุม ไข่เค็ม
สมนุ ไพรใบเตย ซึ่งเปด็ เลีย้ งเองตามธรรมชาติ ไขแ่ ดง ไม่เหมน็ คาว นาไขเ่ ป็ดที่มีอยู่มาแปรรปู เพิม่ มูลคา่ นามาประกอบอาหาร น้าพริกเห็ด ผัก
สดไร้สารบ้านกระถิน

7. ฐานการเพาะเห็ด เกษตรยุค 4.0 ได้นาเอาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยแบ่งเบาภาระการทางานได้ด้วย เช่น ท่ีนี่ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในเร่ือง
การทาฟารม์ เมล่อน ด้วยการใช้เครอ่ื งวดั ความช้ืนมาวัดความชื้น ซ่ึงจะดูแลผ่านโทรศัพท์มือถือ ไฟฟูาท่ีใช้ก็จะได้จากโซลาร์เซลล์ โรงเรือนท่ี

แปรรูป กจ็ ะใชไ้ ฟฟูาจากโซลาร์เซลล์ อนาคตจะใช้โซลารเ์ ซลลผ์ ลิตกระแสไฟมาปม๊ั นา้ เพื่อรดผกั เชน่ กนั

กระถิน ชลิตา กล่าวอีกว่า การทาเกษตร ด้วยการนาเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ คนท่ีทาต้องมีใจรัก ใช้ความเพียร
พยายาม มานะ อดทน และใฝุศึกษา ไม่ใจร้อน เพื่อจะได้เดินไปอย่างมั่นคง และย่ังยืน ตามแนวคิดที่ว่า “เดินทีละก้าว กินข้าวทีละคา ทาที
ละอยา่ ง” มาเตือนใจ ไม่ทาอะไรแบบก้าวกระโดด อย่ามองงานเปน็ ภาพธรุ กจิ ให้มองว่าเป็นการทางานให้ครอบครัว เช่น จะทานาข้าว ให้คิด
วา่ จะทาอย่างไรให้คนในบา้ นไดก้ นิ ข้าวปลอดสาร อาหารปลอดภยั “ปลูกทุกอยา่ งทีก่ ิน กนิ ทุกอยา่ งท่ีปลูก” ดีต่อสุขภาพ ห่างไกลโรคร้าย ลด
รายจา่ ยในครวั เรอื น

"เทคนิคการสรา้ งแรงจงู ใจ ให้คนเข้ามาเยยี่ มชมศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์บ้านกระถิน โดยใช้ความสัมพันธ์อันดี และมีความ
เปน็ กนั เอง ใหก้ ับทุกคนที่มาดงู าน หากมคี นมาศึกษาดูงานในชว่ งผลผลิตออกมากๆ ทางศูนย์จะให้นักท่องเท่ียวหรือคนท่ีมาศึกษาดูงานได้ถือ
ตะกรา้ คนละใบ เพื่อเก็บผลผลิตทม่ี อี ย่ใู นสวนดว้ ยตนเอง หากท่านใดต้องการจะเก็บผลผลิตอะไรกลับบ้านท่านสามารถเก็บพืช ผัก เหล่านั้น
ด้วยตนเอง เป็นการให้นักท่องเท่ียวจะได้สัมผัสของจริง ราคาผลผลิตก็ย่อมเยา และใช้วัสดุธรรมชาติห่อผักจากใบตอง มัดด้ วยเชือกกล้วย
นอกจากปลูกไวท้ านเอง ยังแบง่ ปนั เพือ่ นบา้ น และแปรรูป เหลือจึงค่อยจาหน่าย โดย กระถนิ บอกวา่ เป็นสง่ิ สาคญั เพราะวา่ “ยิ่งให้ย่ิงได้ ยิ่งให้
ยิ่งม”ี จะมคี วามสขุ จากการให้ เพราะใหด้ ้วยใจ, จะมมี ติ รภาพ, จะมเี ครือข่าย เพิ่มมากขนึ้ ศูนยท์ ัง้ หมด" เกษตรกรต้นแบบที่ฉะเชิงเทรา กลา่ ว

กระถนิ กลา่ วทงิ้ ทา้ ยด้วยว่า ผลผลติ ทั้งหมดการนั ตีความปลอดภยั ด้วย "ผกั เบอร์ 8" ไร้สารบ้านกระถิน ได้รับรางวัลการันตีด้วยการ
ปลูกผักปลอดภัยสูง ของโครงการผักเบอร์ 8 ของท่านผู้ว่าราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา ปี 60 ผักเบอร์ 8 คืออะไร หากท่านท่ีไม่เคยไปเยี่ยม
เยือนเกษตรกรจังหวัดฉะเชิงเทรา จะไม่รู้ว่า ผักเบอร์ 8 คืออะไร คาว่า "ผักเบอร์ 8" คือ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรมีความปลอดภัยสูง ไร้
สารเคมี ไรป้ ๋ยุ เคมี ไรย้ าฆ่าแมลง ปลอดปนเปอ้ื น น้าปลอดภัย ดินปลอดภัย กระบวนการผลิตปลอดภัย และตรวจรับรองมาตรฐานปลอดภัย
นั่นเอง.

แผนท่/ี เส้นทางไปศนู ยส์ าธติ เกษตรอินทรยี บ์ ้านกระถนิ
LINK/ QR code: http://gg.gg/g2ous


Click to View FlipBook Version