The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูล อำเภอบ้านโพธิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nfeeast_korai, 2019-12-19 21:16:48

ข้อมูล อำเภอบ้านโพธิ์

ข้อมูล อำเภอบ้านโพธิ์

ส่วนท่ี 1
บทนา

1.1 ข้อมลู พื้นฐานเพ่ือการวางแผน

1) ขอ้ มูลท่ัวไป

 ประวัตคิ วามเป็นมาอาเภอบา้ นโพธิ์
การตั้งชุมชนของคนในสมัยโบราณมักเลือกท้าเลอยู่ใกล้แหล่งน้า เมื่ออพยพมาตั้งบ้านเรือนหลาย ๆ

ครวั เรือนมากข้นึ ก็เกิดเป็นหมบู่ า้ น แลว้ จึงสร้างวดั หรอื ศาสนสถานเอาไวป้ ระกอบพธิ กี รรมทางศาสนา ถ้าหากจะ
คะเนวา่ ชุมชนใดมอี ายเุ ท่าใด หลกั ฐานที่พอจะเป็นท่ีเชื่อถือได้ก็คือ วัด หมู่บ้านสนามจันทร์เกิดข้ึนเม่ือใดน้ันไม่มี
หลักฐานบ่งบอกได้เลย แต่ถ้าดจู ากการสร้างวัดสนามจันทร์ ซึ่งตั้งเมื่อ พ.ศ.2400 บ้านสนามจันทร์มีอายุถึง 150
ปี ในปี พ.ศ.2446 ต้าบลบ้านโพธ์ิในปจั จบุ ัน มีชื่อว่าต้าบลสนามจันทร์ ดังรายงานการตรวจราชการมณฑลปราจีน
ของพระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหม่ืนมรุพงศ์สิริพัฒน์ กราบบังคมทูลพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 5 เรื่องการยุบอ้าเภอหัว
ไทร ไปรวมกบั อ้าเภอบางคลา้ และจัดตง้ั อ้าเภอบ้านโพธ์ิ ความวา่

“ถ้าดตู ามล้าน้าที่วา่ การอ้าเภอหัวไทรกับอา้ เภอบางคล้าห่างกันทางราว 1 ช่ัวโมง เห็นด้วยเกล้าฯว่าควรจะ
ยกเลิกอ้าเภอหัวไทรเสีย คงย้ายไปตั้งต้าบลสนามจันทร์ ที่จะเรียกนามอ้าเภอสนามจันทร์ ใต้เมืองฉะเชิงเทรา ”

สรุป ได้ว่าพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นมรุพงศ์สิริพัฒน์ สมุหเทศาภิบาล มณฑลปราจีน เป็นผู้จัดตั้ง
อ้าเภอบา้ นโพธิ์ โดยแยกออกมาจากอ้าเภอเมืองฉะเชงิ เทรา เมอื่ วนั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ.2447 ใช้ช่ือว่า อ้าเภอสนาม

จันทร์ ตามชื่อหมู่บ้าน และต้าบลท่ีต้ังอ้าเภอ ซึ่งเป็นชื่อของหมู่บ้านท่ีตั้งอ้าเภอ คือ “บ้านสนามจันทร์” ที่ว่าการ
อ้าเภอสนามจันทรห์ ลักแรก เปน็ อาคารไมช้ ้ันเดียว หลังคามงุ ด้วยจาก นายอา้ เภอคนแรก คอื ขุนประจ้าจันทเขตต์

(ชวน)
เหตุท่ีช่ือบ้านสนามจันทร์ มีประวัติเล่ากันว่า สมัยท่ีท้องท่ียังเป็นป่าอยู่ มีเสือชุกชุม มีพระยา 3

ท่าน ออกมาตั้งจั่นดักเสือท่ีหนองน้าแห่งหนึ่ง ราษฎรจึงเรียกหนองน้าน้ันว่า “หนองสามพระยา” และเรียกช่ือ
หมูบ่ ้านวา่ “บ้านสนามจน่ั เรียกขานกนั นานเข้าจึงเพยี้ นเป็นบ้านสนามจนั ทร์ ส่วนหนองสามพระยาไดต้ น้ื เขินเป็น
พนื้ นา ปจั จบุ นั คือบริเวณทีต่ ้งั โรงพยาบาลบ้านโพธ์ิ

ระหว่าง พ.ศ.2447 – พ.ศ.2449 มีการปรับแก้ไขเขตของหมู่บ้าน และต้าบลตาม พ.ร.บ. ลักษณะการ
ปกครองท้องท่ี รศ.116 (พ.ศ.2440) มาตรา 22 แนวทางการก้าหนด เขตต้าบล ดังนี้ “หลายหมู่บ้านรวมกันราว

10 หมู่บ้าน ให้จัดเป็นต้าบล 1 ให้ ผู้ว่าราชการเมืองปักหมายเขตต้าบลนั้นให้ทราบได้โดยชัดเจนว่าเพียงใด ถ้าที่
หมายเขตไม่มลี ้าห้วย หนอง คลอง บงึ บาง หรือ สิ่งใด เปน็ สา้ คญั ได้ กใ็ หผ้ ู้วา่ ราชการเมอื งจัดใหม้ ีหลกั ปักหมายเขต
อนั จะถาวรอย่ไู ปไดย้ นื นาน”

หมายความว่า การก้าหนดเขตตา้ บลใหใ้ ช้ ลา้ หว้ ย หนอง คลอง บึง บาง เป็นแนวเขต ต้าบลสนามจันทร์
เมื่อก่อนน้ีเข้าใจว่ามีพ้ืนท่ีอยู่ทั้งสองฝั่งแม่น้า จึงถูกแบ่งเขตออกจากกัน โดยมีแม่น้าบางปะกงเป็นเส้นแบ่ง

เขต พ้ืนท่ี ทางฝ่ังขวายงั คงใชช้ ือ่ ตา้ บลสนามจันทร์เหมือนเดิม ทั้งนี้อาจเปน็ เพราะมีเนื้อที่มากกว่า ส่วนทางฝ่ังซ้าย
ซึ่งเป็นท่ีตั้งที่ว่าการอ้าเภอตั้งช่ือใหม่ว่า ต้าบลบ้านโพธิ์ มีหลักฐาน คือ โฉนดที่ดินท่ีออกให้ราษฎรเม่ือ รศ. 125
(พ.ศ.2449) เปล่ียนชื่อเป็นตา้ บลบา้ นโพธิแ์ ล้ว

เหตทุ ีต่ ง้ั ชอ่ื วา่ บ้านโพธิ์ เนือ่ งจากถิ่นนี้มตี ้นโพธ์ิขนึ้ อยู่ทวั่ ไป เม่ือกอ่ นวัดสนามจันทร์ก็มีต้นโพธิ์ใหญ่หลาย
ตน้ ชาวบ้านมคี วามเคารพเพราะเป็นต้นไม้ทีพ่ ระพทุ ธเจา้ ตรัสรู้ จงึ เอาผา้ เหลอื งห่มตน้ โพธิ์ ถอื วา่ เปน็ สิ่งศักดิ์สทิ ธิ์

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โปรดฯ ให้ตั้งกองเสือป่าขึ้นเมื่อ พ.ศ.2454 และ
ทรงสถาปนาพระราชวงั สนามจนั ทร์ จงั หวดั นครปฐม เป็นค่ายหลวงสา้ หรับประชมุ และซ้อมรบ แบบเสอื ปา่ เพ่ือ
เป็นกา้ ลังร่วมป้องกันประเทศ และเสดจ็ พระราชดา้ เนินไปประทับแรมอยู่เนือง ๆ ทางราชการไดพ้ จิ ารณาเห็นว่าชื่อ

อา้ เภอไปพ้องกบั ชอื่ พระราชวงั สนามจนั ทร์ จึงเปล่ยี นชื่อเป็น อา้ เภอเขาดนิ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง
เปลี่ยนช่อื อา้ เภอ ลงวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2457 สมัยขุนเหี้ยมใจหาญ (พงษ์ บรุ ุษชาต)ิ เป็นนายอ้าเภอเขาดินอยู่

ชายแดนตดิ ตอ่ กับอ้าเภอบางปะกง เป็นเนินหินแกรนิต สูงประมาณ 15 เมตร เป็นที่ตั้งของวัดเขาดิน ภายในวัดมี
มณฑปรา้ งเก่าแกม่ าก เข้าใจวา่ เป็นทปี่ ระดษิ ฐานรอยพระพุทธบาท เหตุท่ีเอาเขาดินมาต้ังเป็นช่ืออ้าเภอแทนสนาม
จนั ทร์ คงเนอื่ งจากพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว รัชกาลที่ 4 เคยเสด็จประพาสวดั เขาดนิ เมื่อ พ.ศ.2402

ซึง่ ถอื เปน็ ความปีติและเป็นสิริมงคล จึงเอาชื่อเขาดินมาเป็นช่ืออ้าเภอ ต่อมาปรากฏว่าเขาดินอยู่ในเขตอ้าเภอบาง
ปะกง จึงเปลีย่ นชอ่ื อ้าเภออีกครัง้ หน่งึ จากเขาดนิ มาเป็น อ้าเภอบ้านโพธิ์ ตามช่ือของต้าบล เมื่อ พ.ศ.2460 (ตาม

รายงานกจิ การจงั หวดั ประจา้ ปี 2401 - 2502) อา้ เภอ บ้านโพธิ์มแี มน่ ้าบางปะกง ซ่ึงเกิดขึ้นตามธรรมชาติไหลผ่าน
พน้ื ท่ีเกือบทงั้ หมดของอา้ เภอบา้ นโพธ์ิเป็นท่รี าบลมุ่ สว่ นใหญเ่ ปน็ พื้นที่ทา้ นา มีสวนบา้ งเลก็ นอ้ ย บริเวณริมฝ่ังแม่น้า
บางปะกง พน้ื ดนิ มีลักษณะเปน็ ดินเหนยี วโดยทั่วไป ในสมัยขนุ เจนประจา้ กิจ (ช้ืน) เปน็ นายอ้าเภอ

อาคารที่ว่าการอ้าเภอหลังแรกหลังคามุงจาก หลังต่อมาปลูกสร้างเป็นอาคารไม้ 2 ช้ัน หลังคามุง
กระเบ้ือง หันหนา้ ส่แู มน่ ้าบางปะกง ปจั จบุ นั ใชเ้ ป็นส้านักงานเทศบาลต้าบลบ้านโพธ์ิ หลังท่ี 3 ขยับเข้ามาสร้างริม
ถนนเปน็ อาคารไม้ 2 ช้นั แบบสมัยใหม่ ปัจจุบันได้ร้ือหลังเก่า และก่อสร้างหลังใหม่ในท่ีเดิม ซ่ึงจะท้าการเปิดท่ีว่า
การหลงั ใหม่ ในวนั ที่ 15 มกราคม พ.ศ.2547 พรอ้ มท้ังเฉลมิ ฉลองในวาระท่ีอา้ เภอมีอายคุ รบ 100 ปีดว้ ย

ต้ังแตต่ ั้งอา้ เภอมา มีนายอา้ เภอปกครองรวม 41 คน โจรผู้ร้ายท่วี ่าชุมชุมก็หมดไป ชาวอา้ เภอบ้านโพธิ์ มี
ความเป็นอยู่ท่ีสงบสุข เรียบง่าย แม้ในปัจจุบันการท้ามาหากินเปลี่ยนไปจากเดิม สภาพสังคมเปล่ียนไป แต่มีส่ิง
หน่ึงที่ไม่เปลี่ยน คือ ความส้านึกรักบ้านเกิด และความกตัญญูต่อแผ่นดิน ซึ่งจะท้าให้บ้านโพธ์ิมีความย่ังยืน
ตลอดไป

 ขนาดพ้ืนท่ี

217.593 ตารางกโิ ลเมตร

 ท่ีต้ังและอาณาเขตติดต่อ

อ้าเภอบ้านโพธ์ิ ตงั้ อยทู่ างทิศตะวันตกของจงั หวดั ตัวอ้าเภอห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศตะวันออกเฉียง
ใต้ประมาณ 14 กิโลเมตร มีอาณาเขตตดิ ต่อกบั เขตการปกครองขา้ งเคยี งดงั ตอ่ ไปน้ี

ทศิ เหนอื ตดิ กบั อ้าเภอเมอื ง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศใต้
ตดิ กบั อ้าเภอบางปะกง จงั หวดั ฉะเชิงเทรา, อ้าเภอพานทอง
และอ้าเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบุรี

ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กับ อ้าเภอบางคลา้ และอ้าเภอแปลงยาว จังหวดั ฉะเชิงเทรา
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กับ อา้ เภอบางปะกง และอ้าเภอบางบอ่ จงั หวัดสมุทรปราการ

 ลักษณะทางกายภาพของพื้นท่ี

อ้าเภอบ้านโพธ์ิ สามารถแบ่งสภาพการพัฒนาตามกายภาพของพ้ืนท่ี เป็นพื้นท่ีทางทิศตะวันตกและ
ทิศใต้ของจงั หวดั ตดิ ตอ่ กบั กรงุ เทพมหานคร จังหวดั สมทุ รปราการและจังหวัดชลบุรี มีสภาพเป็นท่ีลุ่ม ได้แก่ พ้ืนท่ี
อ้าเภอบ้านโพธิ์ ด้านทิศตะวันตก ได้รับการเจริญเติบโตของกรุงเทพมหานคร และโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณ
ชายฝ่ังตะวนั ออก พ้ืนทส่ี ่วนนีม้ ีแนวโน้มจะกลายเปน็ ยา่ นอตุ สาหกรรม ชมุ ชนเมือง การบริการและท่ีอยู่อาศัย และ
อย่ใู กล้สนามบินสวุ รรณภูมิ จะเปน็ ตวั เร่งขยายความเจริญเติบโตของบา้ นเมอื งฉะเชิงเทรา

 ลักษณะภูมิประเทศ
เขตท่ีราบล่มุ แม่น้า เปน็ บรเิ วณท่ีมีความส้าคัญมากท่ีสุดของจังหวัดฉะเชิงเทรา เพราะเป็นพื้นที่ราบเรียบ

ดนิ อดุ มสมบูรณ์ และมีนา้ เพื่อการชลประทานอย่างเพยี งพอ เขตพน้ื ทร่ี าบลมุ่ แม่น้าจะครอบคลุมพื้นท่ีราบลุ่มแม่น้า
บางปะกงและสาขานี้จะมีชอื่ เรียก อีกอย่างวา่ “ทรี่ าบฉนวนไทย” ซึง่ ถอื ไดว้ ่าเปน็ เขตเศรษฐกิจที่ส้าคัญของจังหวัด
ฉะเชิงเทรา เพราะท่ีราบลุ่มผนื น้ี เป็นแหล่งผลิตข้าวเพอ่ื การคา้ ท่สี า้ คัญของภาคตะวันออกของประเทศไทย

 โครงสร้างพืน้ ฐาน

การไฟฟา้ การไฟฟ้าของอ้าเภอบ้านโพธ์ิดา้ เนนิ การโดยการไฟฟ้าสว่ นภมู ภิ าค 1 แห่ง
การประปา การประปาสว่ นภมู ิภาคของอา้ เภอบ้านโพธ์ิ ด้าเนินการโดยการประปาสว่ นภมู ภิ าค

สาขาบา้ นโพธิ์

 การคมนาคมตดิ ต่อสอ่ื สาร

1. ถนนสายหลัก 4 สาย มีถนนสายรองสัญจรระหวา่ งหมู่บา้ น 73 หมบู่ า้ น
2. ทท่ี ้าการไปรษณยี โ์ ทรเลขอ้าเภอบ้านโพธิ์ 1 แห่ง มีสถานียอ่ ยทุกหมบู่ ้าน
3. หอกระจายขา่ ว 30 แห่ง

 การขนส่งสาธารณะ
1. รถยนต์โดยสารประจา้ ทางสายฉะเชิงเทรา – บางปะกง
2. รถยนต์โดยสารประจ้าทางสายฉะเชงิ เทรา – ชลบรุ ี
3. รถยนต์และจกั รยานยนต์รบั จา้ ง

 การโทรคมนาคม
ในปจั จุบนั การโทรคมนาคมติดตอ่ ส่ือสารมกี ารตดิ ต่อสือ่ สารทางไปรษณยี ์ ระบบ Internet มอื ถือ และ

จานดาวเทยี มดงั นี้
1. กจิ การไปรษณียโ์ ทรเลข 1 แหง่
2. กิจการโทรศัพทม์ ชี ุมสายโทรศพั ท์ 2 แห่ง
3. ระบบ Internet และจานดาวเทยี ม
4. ระบบสัญญามือถือไร้สาย และโทรศพั ทร์ ะบบน้าสาย

2) สภาพทางสังคม - ประชากร

 ตารางแสดงข้อมลู จานวนครวั เรอื น , จานวนประชากร

ลาดับ ตาบล จานวนประชากร จานวน
ท่ี ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) ครัวเรือน

1 ต้าบลบ้านโพธ์ิ 1,420 1,459 2,879 1,351
2,250 2,223 4,473 1,140
2 ต้าบลเกาะไร่ 1,104 1,164 2,268 632
942 971 1,913 533
3 ตา้ บลคลองขุด 1,697 1,825 3,522 1,919
1,424 1,589 3,013 1,010
4 ตา้ บลคลองบ้านโพธ์ิ

5 ตา้ บลคลองประเวศ

6 ต้าบลดอนทราย

7 ต้าบลเทพราช 2,945 3,145 6,090 1,859
8 ตา้ บลทา่ พลับ 619 671 1,290 445
9 ต้าบลหนองตีนนก 1,426 1,587 3,013 996
10 ต้าบลหนองบัว 1,141 1,179 2,320 709
11 ตา้ บลบางซ่อน 714 738 1,452 393
12 ตา้ บลบางกรูด 944 1,001 1,945 795
13 ต้าบลแหลมประดู่ 1,670 1,732 3,402 981
14 ตา้ บลลาดขวาง 1,955 2,174 4,129 3,196
15 ตา้ บลสนามจันทร์ 1,140 1,234 2,374 1,035
16 ต้าบลแสนภดู าษ 2,257 2,421 4,678 3,150
17 ต้าบลสบิ เอ็ดศอก 1,868 2,040 3,908 1,105
25,516 27,154 52,669 21,250
รวม

* ขอ้ มูล ณ วันท่ี 12 ธันวาคม 2561 อา้ งอิงจาก สานักงานทะเบียนอาเภอบา้ นโพธ์ิ จังหวดั ฉะเชิงเทรา

 ตารางแสดงขอ้ มูลกลุ่มอายุ

ลาดับ ชว่ งอายุ ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน)
ท่ี
4,223 3,979 8,202
1 0 – 14 ปี 8,981 8,913 17,894
7,984 8,617 16,601
2 15 – 39 ปี 2,488 2,936 5,424
1,160 1,618 2,778
3 40 – 59 ปี 569 873 1,442
111 218 329
4 60 – 69 ปี 25,516 27,154 52,669

5 70 – 79 ปี

6 80 – 89 ปี

7 90 ปีข้นึ ไป

รวม

 ตารางแสดงข้อมูลศาสนา

ลาดับ ศาสนา จานวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ ศาสนสถาน (แห่ง)
ท่ี วัด 28 แหง่

1 พทุ ธ 48,021 91.18 สถานทปี่ ระกอบพิธี 1 แหง่
ตา้ บลหนองตนี นก
2 ครสิ ต์ 1,515 2.88

3 อิสลาม 3,133 มัสยดิ 4 แห่ง ต้าบลเกาะไร่
รวม 52,669 5.95 มัสยิดยมั อย้ี ะตลุ้ อสิ ลาม, มัสยติ อัลฮาดี

มัสยดิ อลั วะต้อนยี ะห,์ มัสยดิ ดารลุ อาบีดนี

100

3) สภาพทางเศรษฐกิจ

1. โครงสรา้ งฐานอาชพี ของชมุ ชน
อาชีพหลัก ไดแ้ ก่อาชพี เกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรท่ีส้าคัญ ไดแ้ ก่ข้าว มะพร้าว ไก่กระทง

ไก่ไข่ เพาะลูกกุ้ง ลูกปลาน้าจืด เล้ียงกุ้งก้ามกราม กุ้งขาว เล้ียงปลานิล ปลากะพง และอาชีพรับจ้างโรงงาน
อตุ สาหกรรม รบั จ้างรายวนั

2. ผลผลติ หรอื สินค้า / บรกิ าร ทสี่ าคัญของตาบล ไดแ้ ก่
- หนึ่งต้าบลหน่ึงผลิตภัณฑ์ (OTOP) จักสานตะกร้าก้านมะพร้าว เย็บหมวกใบจาก เย็บผ้าใน

ชุมชน ท้าไขเ่ ค็ม ผลไม้แช่อม่ิ น้าพริก ขนมเปีย๊ ะ กระยาสารท ขนมหวาน เยบ็ ตบั จาก
- ด้านการเกษตรปลูกพืชผักสวนครวั ทา้ ลกู ประคบสมนุ ไพร ท้าปลาส้ม
- ดา้ นการประมงริมนา้ ตกปลา ตกกุ้งแมน่ ้า ดักปูทะเล จับกุ้งเคยมาท้ากะปิ ลงแห
- ดา้ นการทอ่ งเทีย่ วและบริการ รา้ นอาหารริมแมน่ า้ ล่องเรือตกปลา นวดแผนไทย โฮมสเตย์

3. รายไดเ้ ฉลีย่ ของประชากร 123,549.26 บาท/คน/ปี

4 ) ขอ้ มูลด้านการศึกษา

ลาดบั ระดบั การศึกษา ชาย หญิง รวม
ท่ี
128 151 279
1 ผูไ้ มร่ หู้ นงั สือ 1,583 1,213 2,796
3,543 4,875 8,418
2 ต้า่ กว่าระดับประถมศึกษา 16,580 13,334 29,914
2,611 3,688 6,299
3 ระดบั ประถมศึกษา 1,071 3,893 4,964
25,516 27,154 52,669
4 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

5 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช.

6 สงู กวา่ มัธยมศึกษาตอนปลาย

รวม

5) ปญั หาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนท่จี าแนกตามลกั ษณะของกลมุ่ เป้าหมาย

 ด้านการรูห้ นงั สือ

ประชาชนส่วนใหญ่สามารถอา่ นออก เขียนได้ สา้ หรบั ผูไ้ มร่ หู้ นงั สอื มักเปน็ ผู้สูงอายุท่ีเริ่มมีพัฒนาการล่าช้า
เดินทางไปไหนมาไหนไม่สะดวก และไม่ต้องการที่จะเรียนหนังสือแล้ว ควรส่งเสริมให้กิจกรรมงานประดิษฐ์งาน
ฝีมือที่ทา้ ได้โดยใชเ้ วลาไมม่ ากนกั และเห็นผลที่ชัดเจน กิจกรรมกระตุ้นด้านร่างกายจิตใจใช้ส่ือในการเรียนรู้ต้องมี
ความเหมาะสม

 ดา้ นการศกึ ษาระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน (สายสามญั และ ปวช.)

ประชาชนสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรมในรอบปีโดยไม่ได้ทง้ิ ชว่ งเวลาพักการเกษตร เช่นการท้านา
1 ปีทา้ ได้ถึงสามครงั้ ก็จะครบรอบปีพอดี และในสว่ นที่รบั จ้างตามโรงงานต่างๆ ในช่วงวัดหยุดก็จะมีค่าแรงเพ่ิมขึ้น
กว่าวันท้างานปกติ เป็นสาเหตุท้าให้เวลาที่จะให้ความสนใจในเร่ืองของการศึกษาลดน้อยลง และส่งผลให้การ
ขับเคล่ือนทางด้านการศึกษาเป็นไปอย่างล่าช้าในส่วนของการสนับสนุนทางด้านเทคโนโลยีมีน้อยและขาด
งบประมาณ

 ด้านอาชพี

อาชีพหลักของประชาชนคอื เกษตรกรรม และรบั จา้ ง ในส่วนความต้องการอาชีพเสริมรายได้เสริมยังอยู่
ในกลมุ่ ของสตรที ีร่ บั ภารเลยี้ งลกู ดแู ลบา้ น และกลุม่ ผู้สงู อายุท่ีมีจ้านวนเพิ่มมากขึ้น จะให้ความสนใจกิจกรรมด้าน
อาชพี ก็จะเปน็ อีกทางเลือกท่ีจะสามารถสร้างรายไดใ้ ห้กบั ประชาชนในชมุ ชนได้

 ด้านการพฒั นาทกั ษะชวี ติ

การพฒั นาทกั ษะชีวิตในด้านตา่ งๆ มคี วามจา้ เป็นและสา้ คัญควรปฏบิ ตั ิอย่างต่อเน่ือง เพราะประชาชนยัง
ขาดความใสใ่ จในการดแู ลตนเอง ชมุ ชน ซ่ึงเป็นส่วนสา้ คัญในการดา้ เนินชีวติ ประจ้าวนั

 ด้านการพฒั นาสังคมและชุมชน

ประชาชนเร่ิมตระหนกั ถึง ผลกระทบที่เกิดขนึ้ ในชมุ ชน ในเร่ืองสิ่งแวดล้อม มลพิษ และความปลอดภัยใน
การเดินทางสัญจร มีความจ้าเป็นอย่างยิ่งท่ีต้องมีการสร้างจิตสาธารณะในเชิงอนุรักษ์ และเฝ้าระวังในด้าน
สิ่งแวดล้อมแมน่ ้าคูคลอง มลพษิ การจราจร และหาแนวทางในการด้าเนินการแก้ปญั หาและหาทางป้องกัน

 ด้านปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ประชาชนยงั ขาดความเข้าใจในหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและการนา้ มาใชใ้ นชวี ิตประจ้าวัน รวมถึง
การได้เรยี นรู้จากแหลง่ ทเี่ ป็นต้นแบบ

 ด้านการศึกษาตามอธั ยาศยั

ประชาชนทรี่ ักการอ่าน มีเป็นส่วนนอ้ ย เนือ่ งจากประชาชนมงุ่ ในการท้ามาหากินโดยใช้แรงงาน จึงไม่ใส่ใจ
ในการคน้ ควา้ หาความร้จู ากแหล่งต่างๆ เทา่ ที่ควร

 ข้อมูล ข้อมูลคนพกิ ารในอาเภอ

ท่ี ตาบล จานวนคน จดั การศึกษา จบการศึกษา หมายเหตุ
พิการ (คน) ขน้ั พน้ื ฐาน ขนั้ พน้ื ฐาน
1 ต้าบลบา้ นโพธิ์
2 ตา้ บลเกาะไร่ 52 (คน) (คน)
3 ตา้ บลคลองขดุ 145
4 ตา้ บลคลองบา้ นโพธิ์ 85 5 1
5 ต้าบลคลองประเวศ 79
6 ต้าบลดอนทราย 74 1
7 ต้าบลเทพราช 72
8 ตา้ บลทา่ พลับ 131 3
9 ตา้ บลหนองตนี นก 36 2
10 ต้าบลหนองบัว 102
11 ต้าบลบางซ่อน 61
12 ต้าบลบางกรดู 89
13 ต้าบลแหลมประดู่ 48
83

14 ตา้ บลลาดขวาง 50
15 ตา้ บลสนามจนั ทร์ 55
16 ตา้ บลแสนภูดาษ 58
17 ต้าบลสบิ เอ็ดศอก 131

รวม 1,351 11 1

อ้างอิงจาก สานกั งานสาธารณสุขอาเภอบา้ นโพธิ์ ข้อมูล ณ ธันวาคม 2561 หมทู่ ่ี
1
เขตพ้นื ท่ี 2
3
- มเี ขตพน้ื ที่บริการมี 17 ต้าบลและ 73 หมู่บ้านไดแ้ ก่ 4
1
ตาบล ชอ่ื หมบู่ ้าน 2
ตาบลบ้านโพธิ์ 3
ตาบลเกาะไร่ หมบู่ า้ นสนามจันทร์ 4
หมู่บา้ นคลองหลอดยอหม่บู า้ น 5
ตาบลคลองขดุ หมู่บา้ นคลองชวดแค 1
ตาบลคลองบา้ นโพธิ์ หมู่บา้ นตลาดทด 2
ตาบลคลองประเวศ หมบู่ ้านคลองแขวงกล่นั 3
หมูบ่ ้านคลองจรเข้นอ้ ยหมบู่ ้าน 4
ตาบลดอนทราย หมู่บา้ นคลองแขวงกลัน่ 1
หมู่บา้ นคลองเกาะไร่ 2
หมบู่ า้ นคลองเกาะไร่ 3
หมบู่ ้านวังอู่ 4
หมบู่ ้านไผ่แถว 1
หมบู่ ้านชวดสนามเถือ่ น 2
หม่บู ้านลาดบัว 3
หมู่บ้านปากคลองบ้านโพธิ์ 1
หมบู่ า้ นคอนชะคราม
หมู่บา้ นปากคลองต้นหมนั
หมบู่ ้านทา่ ไฟไหม้
หมบู่ ้านคลองประเวศ
หม่บู า้ นคลองลัดยายหรงั่
หมู่บ้านคลองขุนพทิ ักษ์
หมบู่ า้ นทางหลวง

ตาบล ชอ่ื หมู่บา้ น หมทู่ ่ี
ตาบลเทพราช หมบู่ ้านดอนสะแก 2
หมบู่ า้ นดอนทราย 3
ตาบลท่าพลับ หมบู่ า้ นทด 4
ตาบลหนองตนี นก หมบู่ า้ นปากคลองขุนพทิ กั ษ์ 1
หมู่บ้านปากลัดยายมดุ 2
ตาบลหนองบัว หมบู่ า้ นคลองแขวงกลัน่ 3
ตาบลบางซอ่ น หมู่บ้านคลองแขวงกล่นั 4
ตาบลบางกรูด หมู่บ้านคลองพระยาสมทุ ร 5
ตาบลแหลมประดู่ หมู่บา้ นตลาดคลองสวน 6
หมู่บา้ นบางกรูด 1
หมบู่ ้านตลาดโรงสีล่าง 2
หมบู่ ้านวัดเกาะชนั 3
หมบู่ ้านกน้ กรอก 4
หมู่บา้ นขา้ งวดั อินทราราม 1
หมบู่ ้านคเู้ ตาอิฐ 2
หมบู่ า้ นโรงหลวง 3
หมู่บา้ นชวดล่างหัวไผ่ 4
หมู่บ้านตลาดหนองตีนนก 5
หมู่บา้ นหนองบัว 1
หมู่บา้ นสามขา 2
หมบู่ ้านดอนสีนนท์ 3
หมบู่ ้านทงุ่ ช้าง 4
หมู่บา้ นชวดล้าภู 1
หมู่บา้ นคลองยายค้า 2
หมบู่ ้านจากแดง 3
หมบู่ า้ นอตู่ ะเภา 1
หมู่บ้านบางชายสอ 2
หมบู่ า้ นทา่ ถ่ัว 3
หมู่บา้ นดอนศาลเจ้า 1

ตาบล ชือ่ หมู่บา้ น หมทู่ ่ี
หมู่บา้ นเนินเรยี บ 2
ตาบลลาดขวาง หมบู่ ้านหนองหอย 3
ตาบลสนามจนั ทร์ หมบู่ ้านแหลมประดู่ 4
หมบู่ ้านวงั อู่ 5
ตาบลแสนภูดาษ หมบู่ ้านหนองกระสังข์ 6
ตาบลสิบเอด็ ศอก หมู่บา้ นจากขาด 1
หมู่บา้ นลาดขวาง 2
หมู่บา้ นหัวเนิน 3
หมบู่ ้านตลาดแสนภดู าษ 4
หมบู่ ้านปากคลองทา่ ถ่ัว 1
หมู่บา้ นหนองน้ากิน 2
หมบู่ ้านคลองตาแยม้ 3
หมู่บา้ นคลองบางกนก 4
หมูบ่ ้านคลองสวนอ้อย 5
หมบู่ ้านหวั สวน 6
หมู่บา้ นด่านเก่า 1
หมู่บา้ นนอก 2
หมบู่ ้านหมใู่ หญ่ 3
หมบู่ ้านหนองตบั ปอ 1
หมู่บ้านดอนอา้ ยแขม 2
หมบู่ า้ นหนองหน้าบา้ น 3
หม่บู า้ นดอนควายโทน 4
หมบู่ ้านหนองแบน 5


Click to View FlipBook Version