The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sompuan341, 2022-06-23 00:33:01

พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550

พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๙ ก หนา ๑ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา

พระราชบญั ญัติ

สงเสริมการพฒั นาเด็กและเยาวชนแหงชาติ
พ.ศ. ๒๕๕๐

ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร.

ใหไ ว ณ วนั ที่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
เปน ปท ี่ ๖๒ ในรชั กาลปจ จบุ ัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหประกาศวา

โดยท่เี ปนการสมควรปรบั ปรุงกฎหมายวา ดว ยการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหง ชาติ
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอม
ของสภานิตบิ ญั ญัติแหงชาติ ดงั ตอไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
แหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีใหใชบังคับเม่ือพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาเปน ตน ไป
มาตรา ๓ ใหย กเลิกพระราชบญั ญัติสง เสรมิ และประสานงานเยาวชนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๒๑
มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัตินี้
“เดก็ ” หมายความวา บุคคลซ่งึ มอี ายุต่าํ กวาสิบแปดปบ ริบรู ณ
“เยาวชน” หมายความวา บุคคลซงึ่ มีอายตุ งั้ แตสิบแปดปบริบูรณถงึ ยี่สิบหาปบรบิ ูรณ
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสง เสรมิ การพฒั นาเด็กและเยาวชนแหง ชาติ

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๙ ก หนา ๒ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา

“คณะบริหาร” หมายความวา คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอ คณะบริหารสภาเด็กและ
เยาวชนจังหวดั คณะบรหิ ารสภาเด็กและเยาวชนกรงุ เทพมหานคร และคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน
แหง ประเทศไทย

“สาํ นกั งาน” หมายความวา สาํ นกั งานสง เสรมิ สวัสดิภาพและพิทกั ษเ ดก็ เยาวชน ผูดอยโอกาส
คนพกิ าร และผสู ูงอายุ

“ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก
เยาวชน ผูดอ ยโอกาส คนพกิ าร และผูส งู อายุ

“รฐั มนตร”ี หมายความวา รัฐมนตรีผูร กั ษาการตามพระราชบัญญตั นิ ้ี
มาตรา ๕ ใหรัฐมนตรวี าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษยรักษาการ
ตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี และใหม ีอาํ นาจออกกฎกระทรวงและระเบยี บเพ่อื ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบัญญัตนิ ี้
กฎกระทรวงและระเบียบนัน้ เมื่อไดป ระกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใ ชบ งั คับได

หมวด ๑
บทท่ัวไป

มาตรา ๖ ใหกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ยม หี นา ท่ใี นการพัฒนาเด็ก
และเยาวชน รวมท้ังแกไขปญหาที่อาจมีผลกระทบในทางลบตอเด็กและเยาวชน โดยมีหลักการ
ดังตอไปน้ี

(๑) การพัฒนาเด็กและเยาวชน การบังคับใชและการปฏิบัติตามบทบัญญัติใด ๆ
แหง พระราชบัญญตั ิน้ี หรอื กฎหมายอื่นทีเ่ กย่ี วของกับเดก็ และเยาวชน ตองคํานงึ ถึงประโยชนส ูงสดุ ของ
เดก็ และเยาวชนเปนอันดบั แรก

(๒) เด็กและเยาวชนทกุ คนมีสิทธิในการไดรับการศึกษา และไดรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีมี
คณุ ภาพสงู สดุ ตามที่กาํ หนดไวใ นรฐั ธรรมนูญ

(๓) เดก็ พกิ าร เด็กทมี่ ขี อ จาํ กัดทางการเรียนรู และเด็กท่ีมีความสามารถพิเศษ มีสิทธิในการ
ไดร บั การศกึ ษาทรี่ ัฐจดั ใหเปนพเิ ศษทเี่ หมาะสมกับลกั ษณะเดก็ ประเภทนัน้ ๆ

(๔) เด็กและเยาวชนมีสิทธิในการรับบริการทางการสาธารณสุขท่ีไดมาตรฐานสูงสุดเทาที่มี
การใหบริการทางดานนี้

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๙ ก หนา ๓ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา

(๕) เด็กและเยาวชนมีสิทธิในการเลน มีเวลาพักผอน และเขารวมกิจกรรมการละเลนทาง
นนั ทนาการท่เี หมาะสมตามวยั ของเดก็ และเยาวชน และการมีสวนรว มอยางเสรใี นทางวัฒนธรรมและศิลปะ

การดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ใหก ระทําโดยมีแนวทาง ดงั ตอ ไปน้ี
(๑) ใหเดก็ และเยาวชนมคี วามผูกพนั ตอครอบครวั ภาคภมู ิใจในความเปนไทย มีวิถีชีวิตแบบ
ประชาธิปไตย สามารถดําเนินชีวิตไดอยางปลอดภัย และรูจักเคารพสิทธิของผูอื่น รวมท้ังกฎเกณฑ
และกตกิ าในสังคม
(๒) ใหม สี ุขภาพและพลานามยั แขง็ แรง รจู กั การปอ งกนั ตนเองจากโรคและสงิ่ เสพติด
(๓) ใหมีวุฒิภาวะทางอารมณต ามสมควรแกว ัย จรยิ ธรรม และคุณธรรม
(๔) ใหมที กั ษะและเจตคติที่ดตี อ การทํางาน มศี ักด์ิศรแี ละความภาคภมู ิใจในการทาํ งานสุจริต
(๕) ใหรจู ักคิดอยางมเี หตุผลและมงุ มั่นพฒั นาตนเองอยางตอเนอ่ื ง
(๖) ใหรจู ักชวยเหลอื ผูอ นื่ โดยมจี ิตสํานึกในการใหแ ละการอาสาสมัคร รวมทั้งมีสวนรวมใน
การพัฒนาชุมชนและประเทศชาติ
(๗) ใหมีความรับผิดชอบตอตนเอง ตอ ผูอ นื่ และตอสวนรวมตามสมควรแกวัย
มาตรา ๗ ใหเ ดก็ และเยาวชนทกุ คนมีสทิ ธิไดรับการจดทะเบียนรับรองการเกิด การพัฒนา
การยอมรบั การคุมครองและโอกาสในการมสี ว นรวมตามที่บัญญัติในพระราชบัญญัติน้ี หรือกฎหมาย
อื่นที่เกี่ยวของอยางเทาเทียม โดยไมมีการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมเพราะเหตุแหงความแตกตาง
ในเร่อื งถิน่ กําเนิด เชือ้ ชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพกิ าร สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล
ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเช่ือทางศาสนาและวัฒนธรรม การศึกษาอบรม ความคิดเห็น
ทางการเมือง การเกิดหรอื สถานะอน่ื ของเดก็ และเยาวชน บดิ ามารดา หรอื ผูปกครอง
มาตรา ๘ ใหสํานักงานหรือสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด
รวมมือ สงเสริม และประสานงานกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินและหนวยงานอื่นท่ีเก่ียวของเพื่อ
จดั ทาํ แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในระดับทองถ่ินใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ
และใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินจัดสรรงบประมาณเพ่ือการพัฒนาเด็กและเยาวชนที่อยูในพื้นที่
รับผดิ ชอบ
ในการจัดทําแผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนตามวรรคหน่งึ ใหค าํ นึงถึงหลักการและแนวทางการมี
สว นรว มของประชาชนและประชาสงั คมในทอ งถ่ินดว ย

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๙ ก หนา ๔ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา

มาตรา ๙ เพอ่ื ประโยชนใ นการพฒั นาเด็กและเยาวชน ใหหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน
ทเี่ กย่ี วขอ งใหค วามรว มมอื สง เสริม และสนับสนุนการดาํ เนินงานของสภาเดก็ และเยาวชนอําเภอ สภา
เดก็ และเยาวชนจงั หวัด สภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานครและสภาเดก็ และเยาวชนแหงประเทศไทย

หมวด ๒
คณะกรรมการสงเสรมิ การพัฒนาเดก็ และเยาวชนแหงชาติ

มาตรา ๑๐ ใหมคี ณะกรรมการสง เสริมการพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหงชาตปิ ระกอบดวย
(๑) นายกรัฐมนตรหี รือรองนายกรัฐมนตรซี ึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเปน ประธานกรรมการ
(๒) รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยเปนรองประธาน
กรรมการ คนท่หี นง่ึ
(๓) รฐั มนตรวี า การกระทรวงศึกษาธิการเปนรองประธานกรรมการ คนที่สอง
(๔) กรรมการโดยตาํ แหนง ไดแก ปลดั กระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและ
กีฬา ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ และประธานสภาองคก ารพฒั นาเดก็ และเยาวชน
(๕) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งนายกรัฐมนตรีแตงต้ังจากนักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห
และบคุ คลทีม่ ีความรู ความสามารถ ความเชย่ี วชาญ และประสบการณดานการพัฒนาเด็กและเยาวชน
เปน ที่ประจักษ ซึง่ ตอ งเปน ผูปฏิบัติงานในภาคเอกชน จาํ นวนไมเ กนิ หา คน
(๖) ผแู ทนองคก รปกครองสวนทองถนิ่ ซึง่ เลอื กกนั เอง จาํ นวนหนึง่ คน
(๗) ผูแทนเดก็ และเยาวชนซ่ึงไดรบั เลอื กจากสภาเด็กและเยาวชนแหง ประเทศไทยจาํ นวนสองคน
เปน ชายหนงึ่ คนและหญิงหนึ่งคน
ใหผูอํานวยการเปนกรรมการและเลขานุการ และใหผูอํานวยการแตงตั้งขาราชการของ
สํานกั งานจาํ นวนไมเกนิ สองคนเปน ผูชว ยเลขานุการ
หลักเกณฑและวิธกี ารแตง ตง้ั กรรมการผทู รงคณุ วุฒิ ใหเ ปน ไปตามระเบียบทร่ี ัฐมนตรกี ําหนด
มาตรา ๑๑ คณะกรรมการมีอํานาจหนาท่ี ดงั ตอไปนี้
(๑) เสนอนโยบายและแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติตอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณา
อนมุ ัติ โดยตอ งคํานึงถงึ พนั ธกรณีระหวา งประเทศท่ีประเทศไทยมอี ยดู วย

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๙ ก หนา ๕ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา

(๒) เสนอแนวทางปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ และขอบังคับเก่ียวกับการสงเสริมการพัฒนา
เด็กและเยาวชนตอ คณะรัฐมนตรี

(๓) กําหนดระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการชวยเหลือ สงเสริม สนับสนุนและพัฒนา
คณุ ภาพชีวติ เด็กและเยาวชนแกห นว ยงานของรัฐและเอกชนทเี่ ก่ยี วของ เพ่ือใหก ารชว ยเหลือทางวชิ าการ
การวจิ ัยและพัฒนา เงินอดุ หนนุ ส่งิ อํานวยความสะดวก หรือบรกิ ารตา ง ๆ อยา งท่ัวถึงและเปน ธรรม

(๔) สงเสริมสนับสนุนใหมีการจัดสมัชชาการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติอยางนอยปละ
คร้ัง เพื่อวิเคราะหสถานการณดานเด็กและเยาวชน ทบทวนกลไกและกระบวนการทํางานและพัฒนา
องคความรู ทกั ษะ และทศั นคตใิ นการพัฒนาเด็กและเยาวชนของประเทศ

(๕) จัดการประเมินผลการดําเนินงาน และเสนอรายงานการสงเสริมการพัฒนาเด็กและ
เยาวชนของประเทศตอ คณะรัฐมนตรีและรัฐสภาอยา งนอ ยปละครง้ั

(๖) ปฏบิ ตั ิการอน่ื ตามทก่ี ฎหมายกําหนดหรือตามท่คี ณะรฐั มนตรีมอบหมาย
มาตรา ๑๒ กรรมการผูท รงคุณวฒุ ิ ตองมีคุณสมบัติและไมม ีลกั ษณะตอ งหามดงั ตอ ไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไมต า่ํ กวาสามสบิ ปบรบิ ูรณ
(๓) เปนผูปฏิบัติงานในภาคเอกชนท่ีมีความรู ความสามารถ ความเช่ียวชาญและประสบการณ
ดา นการพฒั นาเด็กและเยาวชนเปน ที่ประจักษ
(๔) ไมเปนบคุ คลลมละลาย คนไรความสามารถ หรือคนเสมอื นไรค วามสามารถ
(๕) ไมเ คยไดรบั โทษจาํ คกุ โดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิด
ที่ไดก ระทาํ โดยประมาท หรือความผดิ ลหุโทษ
(๖) ไมเคยตองคําพิพากษาหรือคําส่ังของศาลใหทรัพยสินตกเปนของแผนดินเพราะร่ํารวย
ผดิ ปกตหิ รอื มที รัพยสนิ เพิ่มขึ้นผิดปกติ
(๗) ไมเ คยถูกไลออก ปลดออก หรอื เลกิ จา งจากหนว ยงานของรฐั หรือเอกชนเพราะทจุ ริตตอ หนาที่
(๘) ไมเปน ผมู สี ว นไดเ สียในกจิ การทก่ี ระทํากบั สํานกั งาน
มาตรา ๑๓ กรรมการผูทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสามปนับแตวันท่ีไดรับ
แตงตัง้ กรรมการซ่ึงพนจากตําแหนงตามวาระอาจไดร ับแตงตั้งอกี ได แตต องไมเ กนิ สองวาระตดิ ตอกนั
ในกรณีที่กรรมการพน จากตาํ แหนงตามวาระ แตย งั มไิ ดแตง ตั้งกรรมการใหมใหกรรมการน้ัน
ปฏบิ ตั หิ นาทไี่ ปพลางกอนจนกวา จะไดแ ตง ต้ังกรรมการใหม

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๙ ก หนา ๖ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๑๔ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการผูท รงคุณวฒุ ิพน จากตาํ แหนงเมอ่ื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) นายกรัฐมนตรีใหออกเพราะบกพรองตอหนาที่ มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหยอน
ความสามารถ
(๔) ขาดคุณสมบัตแิ ละมีลักษณะตอ งหา มตามมาตรา ๑๒
มาตรา ๑๕ ในกรณีทก่ี รรมการผูทรงคณุ วฒุ พิ นจากตําแหนงกอนวาระ ใหผูไดรับแตงตั้งให
ดาํ รงตําแหนงแทนอยใู นตาํ แหนงเทา กับวาระทีเ่ หลืออยขู องผซู ึ่งตนแทน
มาตรา ๑๖ ใหน ําความในมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ (๑) และ (๒) และมาตรา ๑๕ มาใชบังคับ
แกก ารดํารงตําแหนง ของกรรมการตามมาตรา ๑๐ (๖) และ (๗) โดยอนโุ ลม
มาตรา ๑๗ การประชุมของคณะกรรมการ ตอ งมีกรรมการมาประชมุ ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของ
จํานวนกรรมการทง้ั หมดจงึ จะเปนองคประชมุ
ในกรณีที่ประธานกรรมการไมอยใู นทีป่ ระชมุ หรอื ไมส ามารถปฏิบัติหนาที่ไดใหรองประธาน
กรรมการคนท่ีหน่ึงเปนประธานในท่ีประชุม ถารองประธานกรรมการคนท่ีหนึ่งไมอยูในที่ประชุม
หรอื ไมสามารถปฏิบัติหนาท่ีได ใหรองประธานกรรมการคนที่สองเปนประธานในท่ีประชุม ถารอง
ประธานกรรมการทั้งสองคนไมอยูในท่ีประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดใหกรรมการซ่ึงมา
ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งขน้ึ ทาํ หนาที่แทน
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหน่ึงใหมีเสียงหนึ่งในการ
ลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากนั ใหป ระธานในที่ประชมุ ออกเสียงเพม่ิ ขึน้ อกี เสยี งหนึ่งเปน เสยี งชีข้ าด
ใหม กี ารประชุมคณะกรรมการอยา งนอยปละสีค่ รง้ั
มาตรา ๑๘ คณะกรรมการมีอํานาจแตงต้ังที่ปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน
แหง ประเทศไทย คณะอนกุ รรมการหรอื คณะทาํ งานเพือ่ พิจารณาหรือปฏบิ ัตกิ ารอยา งหนึง่ อยา งใดตามท่ี
คณะกรรมการมอบหมาย
ใหนําความในมาตรา ๑๗ มาใชบังคับแกการประชุมของคณะอนุกรรมการและคณะทํางาน
โดยอนุโลม
มาตรา ๑๙ ใหสํานักงานมีอํานาจหนาท่ีดําเนินการสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและ
เยาวชน และรับผิดชอบงานธุรการและวิชาการของคณะกรรมการ รวมทงั้ ใหมีอํานาจหนา ที่ ดงั ตอไปนี้

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๙ ก หนา ๗ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา

(๑) จัดทาํ นโยบายและแผนพฒั นาเด็กและเยาวชนแหง ชาติเสนอตอ คณะกรรมการ
(๒) กําหนดแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในดานตาง ๆ ใหสอดคลองกับนโยบายและ
แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ และกําหนดแนวทางปฏิบัติตามนโยบายและแผนดังกลาว
ตลอดจนการประสานงาน ติดตาม และประเมินผล ทั้งในสวนของรัฐและเอกชนใหมีการปฏิบัติงาน
ตามนโยบายเดก็ และเยาวชนแหง ชาติ
(๓) พัฒนาศักยภาพของบุคลากรดานเด็กและเยาวชน ตลอดจนสงเสริมสนับสนุน และ
รวมมือกบั เอกชนในการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากรดังกลา ว
(๔) ศกึ ษาวิจัยหรือสนบั สนุนใหม กี ารศึกษาวจิ ยั เก่ยี วกบั การพัฒนาเดก็ และเยาวชน
(๕) สาํ รวจ ศกึ ษา รวบรวมขอ มลู วเิ คราะห ติดตาม และประเมนิ ผลเกย่ี วกับสทิ ธปิ ระโยชน
ของเดก็ และเยาวชนตามอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก และความตกลงระหวางประเทศที่ประเทศไทยเปน
ภาคี ตลอดจนกฎหมายภายในประเทศ เพ่ือจัดทําระบบฐานขอมูล และรวบรวมขอคิดเห็นของเด็ก
และเยาวชน รวมท้ังจดั ทาํ รายงานเพอื่ เปน แนวนโยบายในการพัฒนาเดก็ และเยาวชนตอ ไป
(๖) สนับสนนุ และประสานงานกับหนวยงานทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อรวมมือกัน
พฒั นาเดก็ และเยาวชน รวมท้งั สงเสริมการดําเนินกิจการสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับ
(๗) สง เสรมิ ส่อื มวลชน และสถานศึกษาในการจัดกระบวนการเรียนรูเพ่ือสรางจิตสํานึกใน
การใหและการอาสาสมคั รใหแ กเ ด็กและเยาวชน
(๘) เปนศนู ยก ลางในการประสานงาน เผยแพร และประชาสัมพันธงานและกิจการเก่ียวกับ
การพฒั นาเด็กและเยาวชน
(๙) ศึกษา วิเคราะห และวางแผนการงบประมาณและคาใชจาย เพื่อการพัฒนาเด็กและ
เยาวชน โดยรว มกับหนว ยงานอน่ื รวมท้งั พจิ ารณาจัดสรรเงินอุดหนุนใหแกองคกรเอกชนหรือองคกร
ชุมชนตามมาตรา ๔๒
(๑๐) ดําเนินการจัดงานสมัชชาเด็กและเยาวชนแหงชาติรวมกับสภาเด็กและเยาวชน
แหงประเทศไทยอยา งนอ ยปละคร้งั เพอื่ เปน เวทีแลกเปลีย่ นเรียนรสู ําหรับเด็กและเยาวชนในดา นตาง ๆ
(๑๑) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามทีก่ ฎหมายกาํ หนด ตามมตคิ ณะกรรมการ หรือตามท่ีคณะรัฐมนตรี
มอบหมาย
มาตรา ๒๐ ใหสํานักงานจัดทํารายงานการพัฒนาเด็กและเยาวชนเสนอคณะกรรมการ
เพือ่ พิจารณาเสนอคณะรัฐมนตรอี ยา งนอ ยปละครั้ง โดยมีสาระสําคญั ดงั ตอไปนี้

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๙ ก หนา ๘ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา

(๑) การใชง บประมาณเพอ่ื การพัฒนาเดก็ และเยาวชน
(๒) ผลการดาํ เนินงานของสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย
(๓) สภาพการณและแนวโนม ของปญหาเดก็ และเยาวชน
(๔) ผลการดําเนินการเพ่ือแกไขปญหาการพัฒนาเด็กและเยาวชน ตลอดจนปญหาและ
อุปสรรคจากการดําเนินงาน
(๕) แนวทางในการแกไขปญหาและการพัฒนาเดก็ และเยาวชน
มาตรา ๒๑ เพอ่ื ปฏิบตั ิการใหเปน ไปตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ
หรอื สาํ นักงาน อาจเชิญบุคคลใดมาใหขอเท็จจริง คําอธิบาย คําแนะนําหรือความเห็นทางวิชาการได
เมื่อเห็นสมควร และอาจขอความรวมมือจากบุคคลใดเพื่อใหไดมาซึ่งขอเท็จจริงหรือเพ่ือสํารวจกิจการใด
ทอี่ าจมผี ลกระทบตอเด็กและเยาวชนได

หมวด ๓
มาตรการสงเสรมิ การดาํ เนนิ งานเพ่ือการพฒั นาเดก็ และเยาวชน

สวนท่ี ๑
สภาเด็กและเยาวชน

มาตรา ๒๒ ใหส าํ นักงานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดจัดใหมีสภาเด็กและ
เยาวชนอาํ เภอข้ึน โดยมสี มาชกิ ประกอบดวยเด็กและเยาวชนทอี่ ยูใ นเขตอําเภอนนั้

ใหม ีคณะบรหิ ารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอ ประกอบดวยประธานสภาคนหน่ึงและผูบริหาร
อีกไมเกินสิบหาคน ซ่ึงคัดเลือกกันเองจากผูแทนนักเรียนหรือนักศึกษาจากสถานศึกษาตามกฎหมาย
วาดว ยการศกึ ษาแหง ชาติทอี่ ยูในเขตอําเภอ ต้ังแตระดับมัธยมศึกษาตอนตนขึ้นไป และผูแทนเด็กและ
เยาวชน ซงึ่ ไมไ ดอยใู นสงั กดั สถานศึกษา

ใหค ณะบรหิ ารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอปรึกษาหารือรวมกันเพื่อกําหนดแนวทางในการจัด
กจิ กรรมเกีย่ วกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนในเขตอําเภอ และดําเนินการอ่ืนท่ีจําเปนเพ่ือใหบรรลุตาม
วัตถุประสงคใ นการจัดตัง้ สภาเดก็ และเยาวชนอําเภอ

ใหพ ัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ที่ดูแลอําเภอนั้น ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูแทนองคกรเอกชนหรือองคกรชุมชน

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๙ ก หนา ๙ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา

ที่มีกิจกรรมหรือผลงานเก่ียวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน เปนท่ีปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและ
เยาวชนอําเภอ

ในวาระเรม่ิ แรก ใหด าํ เนนิ การจัดใหม สี ภาเด็กและเยาวชนอําเภอใหแลวเสร็จภายในเกาสิบวัน
นบั แตว นั ที่พระราชบญั ญตั ินีใ้ ชบงั คับ

มาตรา ๒๓ การประชุมและการดําเนินงานของคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอ
ใหเปน ไปตามขอบงั คบั ท่ีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอกําหนด ทั้งนี้ ตองจัดใหมีการประชุม
สามัญอยา งนอ ยปละครัง้

มาตรา ๒๔ สภาเด็กและเยาวชนอําเภอมหี นา ที่ ดังตอไปนี้
(๑) สงเสริม สนับสนุน และเปนศูนยกลางการเรียนรูดานวิชาการและกิจกรรมเก่ียวกับ
การศึกษา กฬี า และวฒั นธรรมในทอ งถนิ่ ของเด็กและเยาวชน
(๒) จัดกิจกรรมตาง ๆ เพ่ือสงเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในทองถิ่นใหมีความรู
ความสามารถ และจรยิ ธรรม
(๓) เสนอแนะและใหความเห็นตอสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดเก่ียวกับการพัฒนาเด็กและ
เยาวชนในทอ งถนิ่
มาตรา ๒๕ ใหมีสภาเด็กและเยาวชนจงั หวัด ซึง่ สมาชกิ ประกอบดวย ผแู ทนจากคณะบริหาร
สภาเดก็ และเยาวชนอําเภอ จํานวนไมเ กนิ หา คนจากแตล ะสภาเด็กและเยาวชนอาํ เภอในจงั หวัด
ในวาระเริม่ แรก ใหด าํ เนินการจัดใหม สี ภาเดก็ และเยาวชนจังหวดั ใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอย
แปดสบิ วัน นับแตว ันทีพ่ ระราชบญั ญตั ิน้ใี ชบ งั คบั
มาตรา ๒๖ ใหม คี ณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด ประกอบดว ย ประธานสภาคนหน่ึง
และผูบริหารอีกไมเกินยี่สิบคน ซ่ึงคัดเลือกกันเองจากสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด มีหนาที่
บริหารงานท่ัวไปของสภา และดําเนินกิจกรรมเพ่ือการพัฒนาเด็กและเยาวชนในเขตจังหวัด รวมท้ัง
ดําเนนิ การอ่นื ที่จําเปน เพื่อใหบ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคใ นการจัดตง้ั สภาเด็กและเยาวชนจงั หวัด
ใหผ วู าราชการจังหวัด ผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาในจังหวัดพัฒนาสังคมและ
ความมัน่ คงของมนษุ ยจังหวัด นายกองคการบริหารสวนจังหวัด และผูแทนองคกรเอกชนหรือองคกร
ชุมชนท่ีมกี ิจกรรมหรอื ผลงานเกยี่ วกับการพฒั นาเดก็ และเยาวชนซ่งึ ผวู า ราชการจังหวัดแตงตั้งจํานวนไม
เกินหาคน เปนทปี่ รึกษาคณะบริหารสภาเดก็ และเยาวชนจงั หวัด

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๙ ก หนา ๑๐ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๒๗ การประชุมและการดําเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดและคณะบริหาร
สภาเด็กและเยาวชนจังหวดั ใหเปนไปตามขอ บังคับทส่ี ภาเด็กและเยาวชนจังหวัดกําหนด ทั้งน้ี ตองจัด
ใหมีการประชมุ สามญั อยา งนอ ยปล ะครง้ั

มาตรา ๒๘ ใหมีสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ซงึ่ สมาชกิ ประกอบดว ย
(๑) ผูแทนนักเรยี นหรือนักศึกษาจากสถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติที่อยู
ในเขตกรุงเทพมหานคร ดงั ตอไปน้ี

(ก) ผูแทนนักเรยี นในระดับมัธยมศกึ ษา ซ่งึ สํานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาคัดเลือกจํานวน
ไมเกนิ ยี่สิบคน

(ข) ผูแทนนักเรียนหรือนักศึกษาในระดับอาชีวศึกษา ซ่ึงสํานักงานคณะกรรมการ
การอาชวี ศึกษาคดั เลือกจํานวนไมเกนิ ยสี่ ิบคน

(ค) ผูแทนนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
คดั เลอื กจํานวนไมเกนิ ย่ีสบิ คน

(๒) ผูแ ทนเด็กและเยาวชนซึง่ ไมไ ดอ ยูใ นสงั กดั สถานศกึ ษา ซง่ึ สาํ นักงานคดั เลอื กจากเด็กและ
เยาวชนทีอ่ ยูใ นเขตกรงุ เทพมหานคร จํานวนไมเ กินสส่ี บิ คน

ในวาระเริ่มแรก ใหดําเนินการจัดใหมีสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานครใหแลวเสร็จ
ภายในหน่ึงรอ ยแปดสิบวัน นบั แตวันท่พี ระราชบัญญัตนิ ใ้ี ชบ ังคบั

มาตรา ๒๙ ใหมีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ประกอบดวยประธานสภา
คนหนึ่ง และผูบริหารอีกไมเกินย่ีสิบคน ซ่ึงคัดเลือกกันเองจากสมาชิกสภาเด็กและเยาวชน
กรงุ เทพมหานคร มหี นา ทบี่ รหิ ารงานทัว่ ไปของสภา และดําเนนิ กจิ กรรมเพอื่ การพฒั นาเดก็ และเยาวชน
ในเขตกรุงเทพมหานคร รวมทั้งดําเนินการอ่ืนท่ีจําเปนเพ่ือใหบรรลุตามวัตถุประสงคในการจัดตั้งสภา
เดก็ และเยาวชนกรงุ เทพมหานคร

ใหผูว า ราชการกรุงเทพมหานคร ผูแทนสาํ นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษากรุงเทพมหานคร ผูแทน
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผูแทน
สํานักงาน และผูแทนองคกรเอกชนหรือองคกรชุมชนที่มีกิจกรรมหรือผลงานเกี่ยวกับการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนซ่ึงผูวาราชการกรุงเทพมหานครแตงต้ังจํานวนไมเกินหาคนเปนท่ีปรึกษาคณะบริหารสภา
เดก็ และเยาวชนกรงุ เทพมหานคร

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๙ ก หนา ๑๑ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา

มาตรา ๓๐ การประชุมและการดําเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร และ
คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ใหเปนไปตามขอบังคับที่สภาเด็กและเยาวชน
กรงุ เทพมหานครกาํ หนด ทง้ั น้ี ตอ งจดั ใหม ีการประชมุ สามญั อยางนอ ยปล ะคร้งั

มาตรา ๓๑ สภาเดก็ และเยาวชนจงั หวัด และสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร มีอํานาจ
หนา ที่ ดงั ตอไปน้ี

(๑) ประสานงานระหวางสภาเด็กและเยาวชนอําเภอ และแลกเปลี่ยนความรูและ
ประสบการณใ นดา นตาง ๆ ของเดก็ และเยาวชนในเขตจงั หวดั หรอื เขตกรุงเทพมหานคร แลว แตกรณี

(๒) เปน ศูนยกลางการเรยี นรแู ละเผยแพรด านวิชาการ การศกึ ษา กีฬา และวัฒนธรรม
(๓) สง เสรมิ และสนับสนนุ ใหส ภาเด็กและเยาวชนอาํ เภอ และสถานศึกษาในเขตจังหวัดหรือ
เขตกรงุ เทพมหานคร แลวแตก รณี ไดมกี ารจดั กิจกรรมตา ง ๆ อนั เปน ประโยชนเพอ่ื สง เสริมและพัฒนา
เดก็ และเยาวชน
(๔) ออกขอบังคับเกี่ยวกับการประชุมและการดําเนินงานตามอาํ นาจหนา ที่
มาตรา ๓๒ ใหมีสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย ซ่งึ สมาชกิ ประกอบดวย
(๑) ประธานสภาเดก็ และเยาวชนจงั หวดั ทกุ จงั หวัด
(๒) ประธานสภาเด็กและเยาวชนกรงุ เทพมหานคร
(๓) ผูแทนเด็กและเยาวชน ซึ่งมาจากการคัดเลือกกันเองจากกลุมเด็กและเยาวชนที่ได
ลงทะเบียนไวตามระเบียบท่ีรัฐมนตรีกําหนด โดยคํานึงถึงความหลากหลายของกลุมเด็กและเยาวชน
จาํ นวนสามสิบแปดคน
ในวาระเร่ิมแรก ใหด ําเนินการจดั ใหมีสภาเดก็ และเยาวชนแหง ประเทศไทยใหแ ลว เสรจ็ ภายใน
สองรอยเจด็ สิบวนั นบั แตว ันทพี่ ระราชบัญญตั นิ ี้ใชบงั คบั
มาตรา ๓๓ ใหสภาเด็กและเยาวชนแหง ประเทศไทยมีอํานาจหนาที่ ดังตอ ไปนี้
(๑) เปนศนู ยก ลางประสานงานเพ่ือดาํ เนนิ กจิ กรรมการพฒั นาเดก็ และเยาวชนในจังหวดั ตาง ๆ
(๒) ใหความรวมมือในการดําเนินงานของรัฐและองคกรเอกชนหรือองคกรชุมชนในการ
พัฒนาเดก็ และเยาวชน
(๓) ใหความเหน็ ในการกําหนดนโยบาย แผนงาน และงบประมาณของหนว ยงานของรัฐเพื่อ
การพัฒนาเด็กและเยาวชน

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๙ ก หนา ๑๒ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา

(๔) เสนอขอ คิดเห็นเก่ียวกบั กจิ กรรมการพฒั นาเดก็ และเยาวชนที่อาจมีผลกระทบตอเด็กและ
เยาวชน

(๕) เสนอคณะกรรมการเกยี่ วกับการปฏิบัติงานของหนวยงานของรัฐและองคกรเอกชนหรือ
องคก รชมุ ชน

(๖) ออกขอ บังคับเกี่ยวกับการประชมุ และการดาํ เนนิ งานตามอํานาจหนา ที่
สภาเดก็ และเยาวชนแหงประเทศไทยตอ งจัดใหมีการประชุมสามัญอยางนอยปล ะครงั้
มาตรา ๓๔ ใหมีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย ประกอบดวย
ประธานสภาคนหน่ึง และผูบริหารอีกไมเกินย่ีสิบหาคน ซึ่งคัดเลือกกันเองจากสมาชิกสภาเด็กและ
เยาวชนแหง ประเทศไทย มีหนาท่บี ริหารงานทว่ั ไปของสภา และเสนอแผนงานหรือแนวทางปฏิบัติใน
การพัฒนาเด็กและเยาวชนในดานตาง ๆ ตอสํานักงานเพ่ือประโยชนในการจัดทําแผนพัฒนาเด็กและ
เยาวชนแหงชาติ รวมท้ังเปนผูแทน หรือพิจารณาคัดเลือกผูแทนเด็กและเยาวชนของประเทศในการ
ดําเนินกิจกรรมเพ่ือการพัฒนาเด็กและเยาวชนท้ังในระดับประเทศและระดับนานาชาติ ตลอดจน
ดําเนนิ การอน่ื ทีจ่ ําเปนเพ่ือใหบ รรลุตามวัตถปุ ระสงคในการจัดตง้ั สภาเด็กและเยาวชนแหง ประเทศไทย
มาตรา ๓๕ การประชุมและการดําเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทยและ
คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนแหงประเทศไทย ใหเปนไปตามขอบังคับที่สภาเด็กและเยาวชน
แหงประเทศไทยกําหนด
มาตรา ๓๖ คณะบริหารอยางนอ ยตอ งมคี ณุ สมบัตแิ ละไมม ลี ักษณะตองหา มดงั ตอไปน้ี
(๑) มอี ายุไมเกินย่ีสิบหา ปบรบิ ูรณ
(๒) ไมเ ปน ผดู าํ รงตาํ แหนง ในทางการเมือง กรรมการหรือผูดํารงตําแหนงท่ีรับผิดชอบในการบริหาร
พรรคการเมือง ท่ปี รึกษาพรรคการเมือง เจาหนาที่พรรคการเมือง สมาชิกพรรคการเมือง สมาชิกสภา
ทองถิน่ หรือผบู ริหารทอ งถนิ่
มาตรา ๓๗ คณะบริหารมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสองปนับแตวันที่ไดรับคัดเลือก
ประธานสภาหรือผูบริหารซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระอาจไดรับแตงตั้งอีกไดแตตองไมเกินสองวาระ
ติดตอ กัน
ในกรณที ีค่ ณะบริหารพนจากตําแหนงตามวาระ ใหดําเนินการคัดเลือกใหมภายในหกสิบวัน
ในระหวางท่ียังมิไดมีการคัดเลือกคณะบริหารขึ้นใหม ใหคณะบริหารนั้นปฏิบัติหนาที่ไปพลางกอน
จนกวา จะไดม กี ารคัดเลือกคณะบรหิ ารใหม

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๙ ก หนา ๑๓ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา

มาตรา ๓๘ นอกจากการพนจากตําแหนง ตามวาระ ประธานสภาและผูบริหารในคณะบริหาร
พนจากตาํ แหนง เมอื่

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัตแิ ละมลี ักษณะตอ งหา มตามมาตรา ๓๖
มาตรา ๓๙ ในกรณีที่ประธานสภาหรือผูบริหารในคณะบริหารพนจากตําแหนงกอนวาระ
ใหม ีการคดั เลอื กบุคคลอ่ืนแทนตาํ แหนง ทว่ี าง เวนแตว าระของคณะบรหิ ารจะเหลือไมถ งึ เกาสิบวัน และ
ใหผูไดรับคัดเลือกแทนตําแหนงที่วางอยูในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของประธานสภาหรือ
ผบู รหิ ารซงึ่ ตนแทน
มาตรา ๔๐ ใหส ํานักงานดาํ เนินการสงเสริม สนับสนุน และประสานงานการจัดตัง้ และการดําเนนิ
กิจการของสภาเดก็ และเยาวชนแหงประเทศไทย และสภาเดก็ และเยาวชนกรุงเทพมหานคร
ในจังหวดั อ่ืนใหสํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัดดําเนินการสงเสริม
สนับสนุน และประสานงานการจดั ต้ังและดําเนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชนอําเภอและสภาเด็กและ
เยาวชนจงั หวัด

สวนที่ ๒
การสง เสริมบทบาทขององคก รเอกชนหรือองคกรชมุ ชนในการพฒั นาเดก็ และเยาวชน

มาตรา ๔๑ เพอื่ เปนการสนบั สนุนการมสี ว นรวมของประชาชนในการสงเสริมและพฒั นาเดก็
และเยาวชน ใหองคกรเอกชนหรือองคกรชุมชนท่ีมีกิจกรรมหรือผลงานเก่ียวกับการพัฒนาเด็กและ
เยาวชน และมิไดมีวัตถุประสงคในทางการเมืองหรือมุงคาหากําไรจากการประกอบกิจกรรมดังกลาว
มีสทิ ธขิ อจดทะเบียนเปนองคกรเอกชนหรือองคกรชุมชนดานการพัฒนาเด็กและเยาวชนตอกระทรวง
การพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย ตามหลกั เกณฑ วธิ ีการ และเง่อื นไขทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๔๒ องคก รเอกชนหรอื องคกรชุมชนที่ไดจดทะเบียนตามมาตรา ๔๑ อาจไดรับเงินอุดหนุน
ความชวยเหลือ หรอื การสนบั สนนุ จากรัฐ ในการดําเนนิ การ ดงั ตอไปนี้

(๑) การจัดใหมีอาสาสมัครเพื่อชวยเหลือการปฏิบัติงานดานการพัฒนาเด็กและเยาวชนตาม
พระราชบญั ญตั นิ ี้ หรือกฎหมายอนื่ ทเ่ี ก่ียวขอ งกบั การคมุ ครองและพฒั นาเด็กและเยาวชน

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๙ ก หนา ๑๔ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา

(๒) การประชาสัมพันธ เผยแพรขอมูลหรือขาวสารเพื่อสรางจิตสํานึกของสาธารณชนที่
ถกู ตอ งเกยี่ วกบั การพัฒนาเดก็ และเยาวชน

(๓) การจัดต้ังหรือดําเนนิ โครงการหรอื กิจกรรมเพื่อการพัฒนาเดก็ และเยาวชน
(๔) การศกึ ษาวิจัยเก่ียวกบั การพฒั นาเด็กและเยาวชน
(๕) การใหความชวยเหลือหรือสนับสนุนในดานอ่ืน ๆ แกเด็กและเยาวชนท่ีถูกละเมิดสิทธิ
เชน การใหความชวยเหลือดา นกฎหมาย การแพทย การบาํ บัดฟนฟู การสงเคราะหเ ด็กและเยาวชน
หลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขในการใหเงินอุดหนุน ความชวยเหลือ หรือการสนับสนุน
จากรัฐตามวรรคหนึง่ ใหเปน ไปตามระเบยี บทีร่ ัฐมนตรกี ําหนด
มาตรา ๔๓ ใหองคก รเอกชนหรอื องคก รชมุ ชนที่ไดรับความชวยเหลือหรือสนับสนุนจากรัฐ
ตามมาตรา ๔๒ มีหนาที่จัดทํารายงานผลการดําเนินงานเสนอตอสํานักงานตามระเบียบที่รัฐมนตรี
กาํ หนด
มาตรา ๔๔ องคกรเอกชนหรือองคกรชุมชนใดท่ีไดจดทะเบียนแลวดําเนินกิจการที่อาจกอ
ความวุนวายหรือขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ไมดําเนินการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนใหเหมาะสม หรือไมมีผลงานตามมาตรฐานที่รัฐมนตรีกําหนดใหรัฐมนตรีมีอํานาจสั่ง
เพกิ ถอนการจดทะเบียนหรือระงับการใหเ งินอดุ หนนุ ความชว ยเหลือหรอื การสนับสนุนท่ีใหแกองคกร
เอกชนหรือองคก รชมุ ชนนน้ั ได

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๔๕ ในระหวางที่ยังมิไดแตงตั้งคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
แหงชาติตามพระราชบัญญัตินี้ ใหคณะกรรมการสงเสริมและประสานงานเยาวชนแหงชาติตาม
พระราชบัญญัตสิ งเสรมิ และประสานงานเยาวชนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๒๑ ซึ่งดํารงตําแหนงอยูในวันที่
พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ทําหนาท่ีคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติตาม
พระราชบญั ญตั นิ ้ี จนกวาคณะกรรมการทไี่ ดร บั แตง ตง้ั ข้ึนใหมจะเขา รบั หนาที่ ทัง้ นี้ ไมเกินสามรอยวัน
นบั แตว ันทพ่ี ระราชบัญญัตินีใ้ ชบ ังคบั

ผูร ับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สรุ ยุทธ จลุ านนท
นายกรฐั มนตรี

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๙ ก หนา ๑๕ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ีพระราชบัญญัติสงเสริมและ
ประสานงานเยาวชนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๒๑ ใชบ งั คับมาเปนเวลานาน สมควรกําหนดแนวทางและปรับปรุง
วิธีการในการสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนใหเหมาะสมและสอดคลองกับสภาพสังคมในปจจุบัน
โดยกาํ หนดใหม กี ารจดั ตั้งศูนยเดก็ และเยาวชนอําเภอ และสภาเด็กและเยาวชน เพ่อื ใหก ารสงเสริมและพัฒนาเด็ก
และเยาวชนมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น รวมทั้งใหองคกรเอกชนและองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีสวนรวม
ในการสง เสริมการพฒั นาเด็กและเยาวชน จงึ จําเปนตอ งตราพระราชบญั ญัตินี้


Click to View FlipBook Version