The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sompuan341, 2022-07-13 00:32:17

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธี

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธี

(ราง)
ประกาศสํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการในการตรวจสอบรายละเอียดของหลกั สตู ร
การประเมินความพรอม และศักยภาพของสถาบัน พ.ศ. 2563
เพื่ออนุวัติใหเปนไปตามขอ 16 (4) ของประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เร่ือง เกณฑมาตรฐาน
คุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2562 ลงวันท่ี 8 มีนาคม 2562
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการตรวจสอบรายละเอียดของหลักสูตร
การประเมินความพรอม และศักยภาพของสถาบัน พ.ศ. 2563 เพ่ือกํากับดูแลคุณภาพและมาตรฐานของหลักสูตร
ท่สี ถาบนั เปดสอน ตามหลกั เกณฑและวิธีการ มดี งั นี้
นยิ ามศัพท
“สถาบัน” หมายความวา สถาบันการอาชีวศึกษาและสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรในสังกัด
สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาทจ่ี ัดตัง้ โดยกฎกระทรวง
“สภาสถาบัน” หมายความวา สภาสถาบันการอาชีวศึกษาและสภาสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร
ในสังกัดสํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาที่จัดตงั้ โดยกฎกระทรวง
หลกั เกณฑ
1. ใหสถาบันเสนอรายละเอียดของหลักสูตรที่ไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบันแลวตอสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา จํานวน ๓ เลม พรอมรายงานการประเมินตนเองในดานความพรอมและศักยภาพของ
สถาบันในการเปดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบัติการ
2. ใหสํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ มีหนาที่รับผิดชอบในการตรวจสอบ
รายละเอียดของหลักสูตรเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวนสมบูรณ และประเมินความพรอมและศักยภาพ ของสถาบัน
ตามเกณฑท ส่ี าํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากาํ หนดแนบทายประกาศนี้
3. เสนอรายละเอียดของหลักสูตร ที่ผานการประเมินความพรอมและศักยภาพตามเกณฑ
ท่ีสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากาํ หนด ตอ คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
วิธกี าร
๑. ใหมีการคัดเลือกและเสนอช่ือผูตรวจสอบหลักสูตรและประเมินความพรอ มจากสถานศึกษา สถาบัน
และสํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เพอ่ื เขา รบั การฝก อบรม
2. จัดการฝกอบรม “ผูตรวจสอบหลักสูตรและประเมินความพรอม” เพื่อทําหนาท่ีตรวจสอบ
รายละเอียดของหลักสูตร และประเมินความพรอม และศักยภาพของสถาบัน ตามเกณฑท่ีสํานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศกึ ษากําหนด แนบทายประกาศน้ี
3. ใหผูผานการฝกอบรมและทดสอบ ข้ึนทะเบียนและเสนอชื่อเปน“ผูตรวจสอบหลักสูตรและประเมิน
ความพรอ ม”
4. ใหสํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ เสนอรายช่ือ “ผูตรวจสอบหลักสูตรและประเมิน
ความพรอม” จากทะเบยี นผตู รวจสอบหลกั สตู รและประเมนิ ความพรอม จํานวน 3 คน ในแตละหลักสตู ร



5. ใหสํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ แจงคําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการตรวจสอบหลักสูตร
และประเมินความพรอ ม พรอมสงมอบรายละเอยี ดของหลกั สูตรและเอกสารที่เกี่ยวของ

6. ใหคณะกรรมการตรวจสอบหลักสูตรและประเมินความพรอม ดําเนินการตรวจสอบรายละเอียด
ของหลักสูตร และประเมินความพรอมและศักยภาพของสถาบัน และรายงานผลใหสํานักงานคณะกรรมการ
การอาชวี ศึกษาทราบ

7. ใหสํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ รายงานผลการตรวจสอบรายละเอียด ของหลักสูตร
และประเมินความพรอมและศักยภาพของสถาบัน ใหสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพื่อแจงใหสถาบัน
และหนว ยงานท่เี กย่ี วขอ งทราบ

ประกาศ ณ วันท่ี 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563

(นายสุเทพ แกง สนั เทยี ะ)
เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

เอกสารแนบทา ยประกาศสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เร่อื ง หลักเกณฑและวธิ ีการ
ในการตรวจสอบรายละเอยี ดของหลกั สตู ร การประเมนิ ความพรอ ม และศกั ยภาพของสถาบัน พ.ศ. 2563

แบบประเมนิ ความพรอ มและศักยภาพของสถาบัน
การผา นการประเมินความพรอมและศกั ยภาพของสถาบัน คอื 1. มคี รบถวนทุกรายการ และ 2. ทุกรายการมคี วามถกู ตอ ง

สาขาวิชา............................................วิทยาลยั ......................................สถาบนั ............................................

รายการ ความพรอ มและศักยภาพ หลกั ฐาน ขอเสนอแนะ
ไมม ี มี
1. ดานหลักสูตร
ประเมนิ ตามประกาศสํานักงาน ถกู ตอ ง ไม
ถกู ตอ ง
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
เรอ่ื ง วธิ กี ารปฏบิ ัติในการบรหิ าร หลักเกณฑค วามพรอม
หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาตรสี าย และวิธีการในการพฒั นา
เทคโนโลยหี รอื สายปฏิบตั ิการ หรอื ปรับปรุงรายละเอยี ด
พ.ศ. 2563 ของหลักสตู ร ที่สภาสถาบนั
1.1 สภาสถาบันกาํ หนดหลักเกณฑ กาํ หนด
รายงานประเมินตนเอง
ความพรอ มและวิธีการ ในดานความพรอมและ
ในการพัฒนาหรอื ปรับปรงุ ศกั ยภาพของสถาบัน
รายละเอียดของหลกั สตู ร รายงานความตองการ
1.2 สถาบันประเมนิ ตนเอง กาํ ลังคนและความเช่ือมโยง
ในดานความพรอมและ กบั มาตรฐานอาชพี ที่
ศกั ยภาพของสถาบันในการ เก่ียวของในสาขาที่เปดสอน
เปด สอนหลกั สูตรระดับ
ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยี
หรือสายปฏบิ ัติการตาม
หลักเกณฑและวธิ กี าร
ท่ีสํานกั งานคณะกรรมการ
การอาชวี ศึกษากําหนด
1.3 สถาบันมีขอมลู ความตองการ
กําลังคนและความเชื่อมโยง
กบั มาตรฐานอาชพี
ทีเ่ ก่ียวของในสาขาที่เปดสอน



รายการ ความพรอ มและศกั ยภาพ หลกั ฐาน ขอ เสนอแนะ
ไมม ี มี คําส่ังสถาบันแตงตั้ง
1.4 สถาบันแตงต้ังคณะกรรมการ คณะกรรมการพัฒนา
พฒั นาหรือปรับปรุง ถูกตอ ง ไม หรือปรบั ปรงุ รายละเอยี ด
รายละเอียดของหลักสูตร ถกู ตอ ง ของหลกั สูตร
- คาํ ส่งั สถาบันแตงต้ัง
1.5 สถาบันมีการวิพากษ คณะกรรมการวพิ ากษ
หลักสูตร หลักสตู ร
- รายงานการวิพากษ
1.6 สภาสถาบันใหความเหน็ ชอบ หลักสูตร
รายละเอียดของหลักสตู ร รายงานการประชมุ
ตามหลกั เกณฑและวิธกี าร คณะอนกุ รรมการวชิ าการ
ท่ีกาํ หนด และรายงานการประชุมสภา
สถาบนั ในสวนทีเ่ กี่ยวขอ ง
2. ดา นการจัดการศึกษาระบบ
ทวภิ าคี บันทึกขอตกลงความ
รว มมอื ระหวา งสถาบันกับ
ประเมินตามประกาศ สถานประกอบการในการ
กระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง จดั การศกึ ษาหลักสูตร
มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษา ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยี
ระบบทวิภาคี พ.ศ. 2563 ลงวันที่ หรอื สายปฏบิ ัตกิ ารสาขาวิชา
22 มิถนุ ายน พ.ศ. 2563 และ ทีเ่ ปด สอน
ประกาศคณะกรรมการการ ใบรับรองการเปน ครูฝก
อาชวี ศึกษา เร่ือง กําหนดหลักเกณฑ ในสถานประกอบการ
การแตงต้ัง
การทดสอบ การฝกอบรม และ
การออกใบรับรองการเปนครูฝก
ในสถานประกอบการ ลงวันที่
๒๒ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๘
2.1 มีบันทกึ ขอตกลงความรว มมือ

ระหวางสถาบนั กับ
สถานประกอบการในการ
จดั การศกึ ษาหลกั สูตร
ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยี
หรอื สายปฏิบตั ิการสาขาวชิ า
ทเ่ี ปด สอน
๒.๒ สถานประกอบการมีครฝู ก
ตามเกณฑค รูฝก๑ คน
ตอผเู รยี นไมเ กนิ ๘ คน



รายการ ความพรอมและศกั ยภาพ หลกั ฐาน ขอเสนอแนะ
๒.๓ สถาบนั มคี รนู เิ ทศกการฝก ไมม ี มี หลกั ฐานผานการฝก อบรม
และการแตง ต้งั ครูนเิ ทศก
อาชพี ในสถานประกอบการ ถกู ตอ ง ไม การฝก อาชีพในสถาน
๒.๔ มรี ายละเอียดการฝกอาชพี ถกู ตอง ประกอบการ
รายละเอยี ดการฝกอาชีพ
หรือรายวชิ าทีจ่ ัดการเรยี น หรือรายวิชาทีจ่ ดั การเรยี น
การสอนในสถานประกอบการ การสอนในสถานประกอบการ
ประกอบดวย ช่ือรายวชิ า ประกอบดว ย ชื่อรายวิชา
อาจารยผ สู อน สถานทฝี่ ก อาจารยผูสอน สถานที่ฝก
ครฝู ก ฯลฯ ครูฝก ฯลฯ
3. ดา นอาจารย
ประเมนิ ตามประกาศ กรณีเปนอาจารยจ ากสถาบันฯ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง เกณฑ พจิ ารณาจากหลักฐานการ
มาตรฐานหลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาตรี สาํ เรจ็ การศกึ ษาและผลงาน
พ.ศ. 2558 ลงวนั ที่ 7 ตุลาคม 2558 ทางวชิ าการของอาจารย
และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ผรู ับผิดชอบหลักสตู ร
เร่ือง แนวทางการบริหารเกณฑ ตามเกณฑท ี่ กพอ.กําหนด
มาตรฐานหลักสตู รระดับอุดมศึกษา กรณเี ปนอาจารยท ม่ี าจาก
พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงวนั ที่ ๗ ตลุ าคม ๒๕๕๘ สถานประกอบการ พจิ ารณา
3.1 มอี าจารยผ รู บั ผดิ ชอบ จากหลกั ฐานการสาํ เรจ็
หลกั สตู ร จาํ นวน ไมนอย การศกึ ษา และหลกั ฐาน
กวา 5 คน ประสบการณการทาํ งาน
ในหนวยงานแหง นนั้ ไมนอย
3.2 มีอาจารยประจําหลักสูตร กวา 6 ป และ MOU ทแ่ี สดง
ตามทเี่ กณฑกําหนด ถงึ การมอบหมายบคุ คลมาเปน
อาจารยประจําหลกั สตู ร

หลกั ฐานการสาํ เร็จ
การศึกษาและผลงานทาง
วิชาการของอาจารย
ประจําหลักสตู รตามเกณฑ
ที่ กพอ.กาํ หนด



รายการ ความพรอมและศักยภาพ หลักฐาน ขอเสนอแนะ
ไมมี มี แผนการจัดการเรยี น
3.3 มีอาจารยผูสอนครบทุก การสอนทแี่ สดงรายวชิ า
รายวชิ า ถูกตอง ไม และอาจารยผ สู อนตลอด
ถกู ตอง หลักสูตร
4. ดา นอาคารสถานท่แี ละส่งิ
สนบั สนนุ การเรยี นรู ประเมินจากสภาพจรงิ
(มกี ารจดั สดั สว นเฉพาะ
ประเมนิ จากสภาพจรงิ ตามที่ สําหรบั ปรญิ ญาตร)ี
สถาบันกาํ หนดไวในรายละเอียด ประเมนิ จากสภาพจรงิ
ของหลกั สตู ร ท่สี อดคลองกับ ประเมินจากสภาพจรงิ
รายวชิ าในหลกั สูตร (มีความเหมาะสมกับ
4.1 มีหอ งเรียน หอ งปฏบิ ตั กิ าร รายวชิ าในหลกั สตู ร)
ประเมินจากสภาพจรงิ
ท่ีเหมาะสม ปลอดภยั (มีสภาพแวดลอมท่ี
สะอาด เรียบรอย เหมาะสมกับการจดั
๔.๒ มีหองสมุดหรอื ศูนยวทิ ยบริการ การเรยี นการสอน)
ท่เี หมาะสม - หลักฐานเอกสารผสู าํ เรจ็
4.๓ มีครภุ ัณฑ วัสดอุ ปุ กรณ การศึกษาหรือจะสาํ เร็จ
ตํารา เอกสารวชิ าการ การศกึ ษาระดบั
4.4 อาคารสถานที่และส่ิง ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี
สนบั สนนุ การเรยี นรู ชัน้ สงู ทีต่ รงกบั สาขาวชิ าที่
ในสถานประกอบการ จะเปด สอน
5. ดานนักศกึ ษา - รายงานความตอ งการ/
ประเมินจากสภาพจริงตามที่ รายงานสํารวจความ
สถาบนั กาํ หนดไวใ นรายละเอียด ตอ งการของผูสนใจศกึ ษา
ของหลักสูตร ตอ ที่มีคุณสมบัตติ รงกบั
๕.1 มีจาํ นวนผูส าํ เร็จการศึกษา สาขาทีจ่ ะเปดสอน
หรือจะสาํ เร็จการศกึ ษา
ระดบั ประกาศนียบัตร
วชิ าชีพชนั้ สงู ทีป่ ระสงค
จะเขา ศกึ ษาและมคี ุณสมบัติ
ตามท่กี ําหนดพอเพยี งตาม
แผนการรับนักศึกษา



รายการ ความพรอ มและศกั ยภาพ หลกั ฐาน ขอ เสนอแนะ
๕.2 มกี ารวางแผนการรับ ไมม ี มี - แผนการรับนกั ศึกษา
เชน การประชาสัมพันธ
นักศกึ ษา ถูกตอง ไม การคัดเลือกผเู ขา เรยี น
ถกู ตอ ง เปน ตน
5.3 มีการบริหารความเสี่ยง - รายงาน/สถิต/ิ ขอมลู
ความตองการของ
ตลาดแรงงาน
-แผนการบรหิ ารจดั การ
ความเส่ียงของนกั ศกึ ษา
แรกเขา การคงอยูข อง
นักศึกษา และการสําเร็จ
การศึกษา
- สมั ภาษณผูบรหิ ารและ
อาจารยผูร ับผิดชอบ
หลกั สตู ร

สรุปผลการประเมนิ ความพรอ มและศักยภาพของสถาบัน
สาขาวชิ า..............................................วทิ ยาลัย........................................สถาบนั ....................................
 ผา นเกณฑประเมนิ

 ผานเกณฑประเมนิ โดยมีขอ สังเกตดงั นี้

1...................................................................................................................................................................

2....................................................................................................................................................................

3....................................................................................................................................................................

4....................................................................................................................................................................

5....................................................................................................................................................................

 ไมผา นเกณฑการประเมนิ เน่อื งจาก..................................................................................................

ลงชือ่ ...................................... ลงช่ือ...................................... ลงชื่อ....................................
() () ()
กรรมการตรวจสอบหลักสูตร
ประธานกรรมการตรวจสอบหลกั สูตร และประเมินความพรอม กรรมการตรวจสอบหลักสูตร
และประเมนิ ความพรอม และประเมนิ ความพรอม

แนบทายประกาศสํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เรื่อ
และประเมนิ ความพรอมและศ

แบบประเมินรายล

การผานการตรวจสอบรายละเอยี ดของหลกั สูตร คือ 1. มีครบถวนทกุ รายการ แ

การตรวจสอบรายละเอียดของหลักสูตร สาขาวิชา....................................วิทยาลยั

รายการ ความครบถวน
ไมม ี ถกู
หลกั สูตร
สาขา/สาขาวชิ า
หลกั สตู รใหม/ ปรบั ปรงุ
ช่อื สถาบนั
วทิ ยาลยั /คณะ/ภาควชิ า
หมวดท่ี 1 ขอมูลทั่วไป
1. รหสั และชอื่ หลักสูตร
2. ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า
3. วชิ าเอก (ถา มี)
4. จาํ นวนหนวยกิตทีเ่ รียนตลอดหลักสตู ร
5. รปู แบบของหลกั สตู ร

5.1 รปู แบบ
5.2 ประเภทของหลกั สตู ร
5.3 ภาษาทใ่ี ช

6

หนา ท่ี ๑

องหลักเกณฑและวิธกี ารในการตรวจสอบรายละเอียดของหลักสูตร
ศกั ยภาพของสถาบนั พ.ศ. 2563

ละเอยี ดของหลักสูตร

และ 2. ทกุ รายการมีความถกู ตอง

ย.........................................สถาบัน..........................................................

นและความถกู ตอง ขอเสนอแนะเพอ่ื การปรับปรุงแกไ ข
มี

กตอ ง ไมถ กู ตอ ง

การตรวจสอบรายละเอียดของหลักสตู ร สาขาวชิ า............................
ความครบ

รายการ ไมมี

5.4 การรบั เขา ศกึ ษา
5.5 ความรว มมือกบั สถาบันอนื่
5.6 การใหป รญิ ญาแกผูสาํ เรจ็ การศึกษา
6. สถานภาพของหลกั สูตรและการพิจารณาอนุมัต/ิ เห็นชอบหลกั สตู ร
7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรที่มคี ุณภาพและมาตรฐาน
8. อาชพี ที่สามารถประกอบไดหลังสําเรจ็ การศึกษา
9. ชือ่ นามสกุล เลขประจาํ ตัวประชาชน ตาํ แหนง คณุ วฒุ ิการศึกษา
และสถานท่ีทํางานของอาจารยผรู บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร
10. สถานทจี่ ัดการเรียนการสอน
11. สถานการณภายนอกหรือการพฒั นาท่ีจําเปน ตอ งนํามาพจิ ารณา
ในการวางแผนหลกั สตู ร
11.1 สถานการณห รือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
11.2 สถานการณหรอื การพัฒนาทางสังคมและวฒั นธรรม
12. ผลกระทบจากขอ 11.1 และ 11.2 ตอการพฒั นาหลักสตู รและ
ความเกย่ี วของกับพนั ธกิจของสถาบนั
12.1 การพัฒนาหลักสูตร
12.2 ความเก่ยี วของกับพันธกจิ
13. ความสัมพนั ธ (ถา ม)ี กับหลักสูตรอ่ืนทเ่ี ปด สอนในคณะ /ภาควิชา /
วทิ ยาลัยอน่ื ของสถาบัน

7

หนาท่ี 2
.........วทิ ยาลัย.........................................สถาบนั ....................................
บถว นและความถูกตอ ง

มี ขอ เสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรุงแกไ ข
ถกู ตอ ง ไมถ กู ตอง

การตรวจสอบรายละเอียดของหลกั สตู ร สาขาวิชา............................

รายการ ความครบ
ไมมี

หมวดท่ี 2 ขอมลู เฉพาะของหลักสตู ร
1. ปรชั ญา ความสําคญั และวัตถุประสงคข องหลกั สตู ร
2. แผนพฒั นาปรบั ปรุงหลกั สูตร

2.1 แผนการพัฒนา/เปล่ียนแปลง
2.2 กลยทุ ธ
2.3 หลักฐาน/ตวั บงชี้
หมวดท่ี 3 ระบบการจดั การศกึ ษา การดําเนนิ การและโครงสรา ง
ของ หลักสตู ร
1. ระบบการจดั การศึกษา
1.1 ระบบ
1.2 การจดั การศึกษาภาคฤดรู อน
1.3 การเทยี บเคยี งหนวยกิตในระบบทวิภาค
1.4 การกําหนดจาํ นวนหนว ยกติ และจาํ นวนชว่ั โมงเรยี นตอสัปดาห
2. การดาํ เนนิ การหลักสตู ร
2.1 วนั -เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน
2.2 คุณสมบัติของผูเ ขาศึกษา
2.3 ปญหาของนักศกึ ษาแรกเขา
2.4 กลยทุ ธในการดําเนนิ การเพ่ือแกไขปญ หา/ขอจํากัดของ

นักศกึ ษาในขอ 2.3
2.5 แผนการรับนกั ศกึ ษาและผูสาํ เรจ็ การศึกษาในระยะ 5 ป

8

หนาท่ี 3

.........วิทยาลยั .........................................สถาบนั ....................................

บถว นและความถกู ตอ ง ขอเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรุงแกไ ข
มี

ถูกตอง ไมถ ูกตอ ง

การตรวจสอบรายละเอียดของหลักสูตร สาขาวชิ า............................

ความครบ

รายการ ไมมี

2.6 งบประมาณตามแผน
2.7 ระบบการศึกษา
2.8 การเทียบโอนหนว ยกติ รายวชิ าและการลงทะเบยี นเรยี นขา มสถาบนั (ถา มี)
3. หลักสตู รและอาจารยผ สู อน
3.1 หลักสตู ร

3.1.1 จาํ นวนหนวยกติ
3.1.2 โครงสรางหลกั สตู ร
3.1.3 รายวิชา
3.1.4 แสดงแผนการศึกษา
3.1.5 สมรรถนะรายวิชาและคําอธิบายรายวชิ า
3.2 ชอ่ื นามสกุล เลขประจําตวั ประชาชน ตาํ แหนง และคณุ วฒุ ิ
ของอาจารย
3.2.1 อาจารยประจาํ หลักสตู ร
3.2.2 อาจารยพ ิเศษ
4. องคประกอบเก่ียวกับประสบการณภ าคสนาม
4.1 มาตรฐานผลการเรยี นรูข องการฝก อาชีพหรอื การจัดการเรยี น
การสอนรายวิชาในสถานประกอบการหรอื การฝก
ประสบการณท ักษะวชิ าชพี
4.2 ชวงเวลา
4.3 การจดั เวลาและตารางสอน

9

หนา ท่ี 4

.........วทิ ยาลยั .........................................สถาบนั ....................................

บถวนและความถกู ตอง

มี ขอ เสนอแนะเพอื่ การปรับปรุงแกไ ข

ถูกตอง ไมถ กู ตอ ง

การตรวจสอบรายละเอียดของหลักสตู ร สาขาวิชา............................
ความครบถ

รายการ ไมม ี

5. ขอกําหนดเกย่ี วกับการทาํ โครงงานหรืองานวจิ ัย
5.1 คําอธบิ ายโดยยอ
5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู
5.3 ชวงเวลา
5.4 จํานวนหนวยกิต
5.5 การเตรียมการ
5.6 กระบวนการประเมินผล

หมวดที่ 4 ผลการเรยี นรู กลยุทธก ารสอนและการประเมินผล
1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนกั ศึกษา
2. การพัฒนาผลการเรียนรใู นแตล ะดาน

2.1 คําอธบิ ายท่วั ไปเกี่ยวกบั ความรูหรือทกั ษะในหลกั สูตร
2.2 คําอธบิ ายเก่ยี วกับกลยุทธก ารสอนทีจ่ ะใชในรายวชิ าตา งๆ
2.3 วธิ ีการจัดและประเมินผลทีจ่ ะใชใ นรายวิชาตา งๆ
3. แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู
จากหลกั สตู รสูรายวิชา
หมวดที่ 5 หลกั เกณฑใ นการประเมนิ ผลนักศกึ ษา
1. กฎระเบียบหรอื หลกั เกณฑในการใหระดับคะแนน
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธขิ์ องนักศึกษา
3. เกณฑการสาํ เรจ็ การศึกษาตามหลกั สตู ร

10

หนาท่ี 5

.........วทิ ยาลยั .........................................สถาบนั ....................................
ถวนและความถกู ตอง

มี ขอเสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรุงแกไ ข
ถูกตอ ง ไมถ ูกตอ ง

การตรวจสอบรายละเอียดของหลักสตู ร สาขาวชิ า............................
ความครบ

รายการ ไมม ี

หมวดท่ี 6 การพัฒนาคณาจารย
1. การเตรยี มการสําหรับอาจารยใ หม
2. การพฒั นาความรูและทกั ษะใหแกค ณาจารย

2.1 การพฒั นาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวดั และ
การประเมินผล

2.2 การพัฒนาวิชาการและวชิ าชีพดา นอื่นๆ
หมวดท่ี 7 การประกนั คณุ ภาพหลักสตู ร
1. การกาํ กบั มาตรฐาน
2. บณั ฑิต
3. นกั ศึกษา
4. อาจารย
5. หลักสูตร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผูเรียน
6. สิ่งสนบั สนนุ การเรยี นรู
7. ตวั บงชี้ผลการดาํ เนินงาน (Key Performance Indicators)
หมวดที่ 8 การประเมนิ และปรับปรงุ การดําเนนิ การของหลักสตู ร
1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน

1.1 การประเมินกลยุทธก ารสอน
1.2 การประเมนิ ทักษะของอาจารยใ นการใชแผนกลยุทธก ารสอน
2. การประเมินหลกั สูตรในภาพรวม

11

หนาท่ี 6

.........วิทยาลัย.........................................สถาบัน....................................
บถวนและความถกู ตอง

มี ขอเสนอแนะเพื่อการปรบั ปรุงแกไ ข
ถกู ตอง ไมถกู ตอง

การตรวจสอบรายละเอียดของหลักสตู ร สาขาวชิ า............................
ความครบ

รายการ ไมม ี

3. การประเมินผลการดําเนนิ งานตามรายละเอยี ดของหลักสูตร
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรงุ
เอกสารแนบ

สรปุ ผลการตรวจสอบรายละเอยี ดของหลักสตู ร สาขาวิชา.....................................

 ผา นการตรวจสอบรายละเอยี ดของหลักสตู ร มีความครบถวน ถกู ตองสมบูรณ

 ผา นการตรวจสอบรายละเอยี ดของหลกั สตู ร โดยมขี อสังเกต/ขอเสนอแนะใหป
1....................................................................................................................
2....................................................................................................................
3....................................................................................................................

 ไมผ า นการตรวจสอบรายละเอียดของหลกั สูตร เน่ืองจาก  ไมค รบถวน
 ครบถว นแ

ลงช่ือ............................................. ลงช่อื ...................
() (

ประธานกรรมการฯ กรรมกา

12

หนา ท่ี 7

.........วทิ ยาลยั .........................................สถาบัน....................................
บถวนและความถกู ตอ ง

มี ขอเสนอแนะเพอื่ การปรับปรุงแกไข
ถูกตอง ไมถ กู ตอ ง

..วทิ ยาลัย......................................สถาบนั ..................................

ปรับปรงุ แกไขดังน้ี ลงชื่อ.............................................
................................................ ()
................................................. กรรมการฯ
.................................................
น ไมถูกตองสมบูรณ
แตไมถูกตอ งสมบูรณ
...........................

)
ารฯ


Click to View FlipBook Version