หน้า ๒๕ ๘ มนี าคม ๒๕๕๖
เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๓๑ ง ราชกจิ จานเุ บกษา
ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ
เรอ่ื ง มาตรฐานคณุ วุฒอิ าชีวศกึ ษาระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ
พ.ศ. ๒๕๕๖
เพื่ออนวุ ตั ใิ ห้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา
แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖ จงึ เหน็ สมควรกาํ หนดมาตรฐานคณุ วฒุ ิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
เพ่ือให้สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษา สถานศึกษาใช้เป็นแนวทาง
ในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ให้สามารถผลิตผู้สําเร็จการศึกษาที่มีคุณภาพและเพ่ือประโยชน์ต่อการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิผู้สําเร็จ
การศึกษา
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๘ และมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
โดยคําแนะนําของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการประชุมคร้ังท่ี ๑๒/๒๕๕๕ เม่ือวันที่ ๑
พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕ จึงออกประกาศไวด้ ังน้ี
๑. ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา
ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖”
๒. ประกาศนใ้ี ห้ใช้บังคับตั้งแตว่ นั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป
๓. ให้ยกเลกิ “ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง กรอบมาตรฐานหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพ (ปวช.) พ.ศ. ๒๕๕๑” ลงวนั ท่ี ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
๔. ชอ่ื คณุ วฒุ กิ ารศึกษา ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ใชอ้ ักษรย่อ ปวช.
๕. คุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ กําหนดให้ผู้สําเร็จการศึกษามีคุณภาพ
ครอบคลุมอย่างน้อย ๓ ด้าน คือ ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะ
ท่ัวไปและด้านสมรรถนะวิชาชีพ มีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการและการดําเนินงาน มีทักษะ
การปฏิบัติงานในขอบเขตสําคัญและบริบทต่าง ๆ ท่ีสัมพันธ์กัน ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นงานประจํา
สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะไปสู่บริบทใหม่ สามารถให้คําแนะนํา แก้ปัญหาเฉพาะด้าน
และรบั ผิดชอบต่อตนเองและผอู้ น่ื มีส่วนร่วมในคณะทํางานหรือมีการประสานงานกลุ่ม รวมท้ังมีคุณธรรม
จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี เจตคตแิ ละกิจนสิ ยั ท่ีเหมาะสมในการทาํ งาน
๖. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของการจัดการอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
มุ่งให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ
ปรัชญาการอาชีวศึกษา และมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะของสาขาวิชานั้น ๆ
ในการจดั การศกึ ษา โดยมงุ่ เนน้ ผลติ ผ้มู ีความรูค้ วามเขา้ ใจและทกั ษะในระดับฝีมือ มีสมรรถนะที่สามารถ
ปฏิบตั งิ านอาชพี ไดจ้ รงิ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี และกจิ นิสยั ทเี่ หมาะสมในการทํางาน
สอดคล้องกับความต้องการของเศรษฐกิจและสังคม สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีความสุข และพัฒนาตนเอง
ใหม้ ีความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการและวิชาชีพ
หนา้ ๒๖ ๘ มนี าคม ๒๕๕๖
เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๓๑ ง ราชกิจจานุเบกษา
๗. การจดั การศึกษาในระบบและระบบทวิภาคีใช้ระยะเวลา ๓ ปกี ารศึกษา การจัดภาคเรียน
ใหใ้ ชร้ ะบบทวิภาค โดยกําหนดให้ ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ๒ ภาคเรียน และใน ๑ ภาคเรียน
ปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๘ สัปดาห์ สําหรับภาคเรียนฤดูร้อน ให้กําหนดระยะเวลา
และจํานวนหน่วยกติ ใหม้ ีสดั สว่ นเทียบเคยี งกนั ไดก้ บั ภาคเรยี นปกติ
การจัดภาคเรียนระบบอ่ืน ให้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระบบการศึกษานั้น รวมท้ังการเทียบเคียง
หน่วยกิตกับระบบทวิภาคไวใ้ นหลกั สตู รให้ชัดเจน
๘. การคิดหน่วยกิตตอ่ ภาคเรียน
๘.๑ รายวชิ าทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปราย ไม่นอ้ ยกว่า ๑๘ ชวั่ โมง เทา่ กบั ๑ หน่วยกิต
๘.๒ รายวิชาปฏิบัติท่ีใช้เวลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ ไม่น้อยกว่า
๓๖ ช่วั โมง เท่ากับ ๑ หนว่ ยกติ
๘.๓ รายวิชาปฏิบัติท่ีใช้เวลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนาม ไม่น้อยกว่า
๕๔ ชัว่ โมง เทา่ กบั ๑ หนว่ ยกิต
๘.๔ การฝกึ อาชพี ในการศกึ ษาระบบทวิภาคี ไม่นอ้ ยกวา่ ๕๔ ชวั่ โมง เท่ากบั ๑ หน่วยกติ
๘.๕ การฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพในสถานประกอบการ ไม่น้อยกว่า ๕๔ ชั่วโมง
เท่ากบั ๑ หน่วยกิต
๘.๖ การทําโครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชีพ ไม่นอ้ ยกว่า ๕๔ ชวั่ โมง เทา่ กบั ๑ หนว่ ยกิต
๙. จํานวนหน่วยกติ มีจาํ นวนหนว่ ยกติ รวมระหว่าง ๑๐๐ - ๑๒๐ หนว่ ยกติ
๑๐. โครงสรา้ งหลักสูตร
๑๐.๑ หมวดวิชาทักษะชีวิต ประกอบด้วยกลุ่มวิชาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะใน
การปรบั ตัวและดําเนินชีวิตในสงั คมสมยั ใหม่ เหน็ คณุ คา่ ของตนและการพัฒนาตน มคี วามใฝร่ ู้ แสวงหาและ
พัฒนาความรู้ใหม่ มีความสามารถในการใช้เหตุผล การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและการจัดการ
มีทักษะในการส่ือสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการทํางานร่วมกับผู้อื่น มีคุณธรรม จริยธรรม
มนุษยสัมพันธร์ วมถงึ ความรับผิดชอบตอ่ ตนเองและสงั คม รวมไม่น้อยกว่า ๒๑ หนว่ ยกิต
การจัดวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิต สามารถทาํ ไดใ้ นลักษณะเปน็ รายวชิ าหรอื ลกั ษณะบรู ณาการ
ให้ครอบคลมุ กลุ่มวชิ าภาษาไทย กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ กล่มุ วิชาวทิ ยาศาสตร์ กลุม่ วิชาคณิตศาสตร์
กลุ่มวิชาสังคมศึกษา กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ในสัดส่วนท่ีเหมาะสมเพ่ือให้บรรลุจุดประสงค์
ของหมวดวิชาทกั ษะชีวิต
๑๐.๒ หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ประกอบด้วยกลุ่มวิชาที่พัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะวิชาชีพ
มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ วางแผน ดําเนินการ ตรวจสอบ แก้ปัญหา บูรณาการความรู้
และทกั ษะในการปฏิบัตงิ าน รวมไม่น้อยกวา่ ๖๙ หนว่ ยกิต ประกอบดว้ ย ๕ กล่มุ ดงั นี้
๑๐.๒.๑ กลุ่มทกั ษะวชิ าชีพพื้นฐาน
๑๐.๒.๒ กล่มุ ทักษะวชิ าชีพเฉพาะ
๑๐.๒.๓ กลุม่ ทกั ษะวิชาชีพเลอื ก
๑๐.๒.๔ ฝึกประสบการณ์ทักษะวชิ าชีพ
๑๐.๒.๕ โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ
หน้า ๒๗ ๘ มีนาคม ๒๕๕๖
เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๓๑ ง ราชกจิ จานเุ บกษา
ในการกําหนดใหเ้ ป็นสาขาวิชาใดสาขาวิชาหน่ึง ต้องศึกษากลุ่มทักษะวิชาชีพพ้ืนฐาน
และกลมุ่ ทกั ษะวชิ าชพี เฉพาะในสาขาวิชานัน้ ๆ รวมไม่น้อยกว่า ๓๕ หน่วยกิต นอกจากนี้ กําหนดให้มี
การฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ จํานวน ๔ หน่วยกิต และโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ จํานวน
๔ หนว่ ยกติ
๑๐.๓ หมวดวิชาเลอื กเสรี ประกอบด้วยวชิ าท่ีเกี่ยวกบั ทักษะชวี ติ และหรือทักษะวิชาชีพ
เพอ่ื เปิดโอกาสใหผ้ ้เู รียนเลอื กเรยี นตามความถนัดและความสนใจเพ่ือการประกอบอาชีพ หรือการศึกษา
ตอ่ รวมไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐ หนว่ ยกิต
๑๐.๔ กิจกรรมเสริมหลักสูตร เป็นส่วนท่ีส่งเสริมการพัฒนาทักษะชีวิตและหรือทักษะ
วิชาชีพผู้เรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๒ ชั่วโมงทุกภาคเรียน กิจกรรมเสริม
หลักสตู รนีไ้ มน่ ับหนว่ ยกิต
การยกเวน้ การเรยี นรายวชิ าในหมวดวิชาทกั ษะชีวิต หมวดวิชาทักษะวชิ าชพี และหมวดวิชาเลอื กเสรี
สามารถทําได้โดยการเทียบโอนผลการเรียน หรือโดยการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หน่วยกิต
ตามหลักสตู ร ตามหลักเกณฑแ์ ละแนวปฏิบัติทคี่ ณะกรรมการการอาชีวศึกษากาํ หนด
๑๑. เง่ือนไขการจัดการเรยี นรู้
๑๑.๑ สถานศึกษาต้องจัดเตรียมความพร้อมในด้านอาคารสถานท่ี ครุภัณฑ์ ครูและบุคลากร
ทางการศึกษาให้เหมาะสมสอดคล้องกับการจัดการเรยี นการสอนแตล่ ะลักษณะของการผลติ และพฒั นาผู้เรยี น
๑๑.๒ การจัดอัตราส่วนของเวลาการเรียนรภู้ าคทฤษฎีต่อภาคปฏิบัติในหมวดวิชาทักษะวิชาชีพ
ประมาณ ๒๐ ต่อ ๘๐ ทัง้ นี้ ข้นึ อยู่กับลกั ษณะหรือกระบวนการจดั การเรียนรูข้ องแตล่ ะสาขาวชิ า
๑๑.๓ สถานศกึ ษาสามารถพฒั นารายวชิ าได้ตามเง่อื นไขของหลักสูตร
๑๑.๔ สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนได้ทั้งในระบบ นอกระบบ และระบบทวิภาคี
โดยกาํ หนดวิธีการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณลักษณะให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียนและระดับคุณวุฒิ
ของแตล่ ะประเภทวิชาและสาขาวิชา
๑๑.๕ สถานศกึ ษาทีม่ คี วามร่วมมือในการจัดการศึกษากับสถานประกอบการ สามารถจัดได้
ใน ๒ ลักษณะ ได้แก่ การฝึกประสบการณ์ทกั ษะวิชาชพี และการศึกษาระบบทวิภาคี โดยจะต้องร่วมกัน
กําหนดรายวชิ า การจัดทาํ แผนการฝกึ อาชีพ การวัดผลและการประเมินผล
๑๑.๖ สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนจัดทําโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพที่สอดคล้องกับ
สาขาวชิ าท่ีเรียนนําสู่การปฏบิ ตั ิในอาชีพตามทก่ี ําหนดไวใ้ นหลกั สูตร
๑๑.๗ สถานศึกษาตอ้ งจดั ใหม้ กี ิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร เพ่ือสง่ เสริมทักษะชีวิตและทักษะวิชาชีพ
ปลูกฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม ระเบยี บวนิ ยั ปลูกฝังจิตสํานึกและเสริมสร้างการเป็นพลเมืองไทย
และพลโลก ทาํ นุบาํ รงุ ขนบธรรมเนียมประเพณอี นั ดงี าม และสง่ เสริมการทํางานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม
ในการทําประโยชนต์ ่อชมุ ชน
๑๑.๘ สถานศกึ ษาต้องจดั ให้ผู้เรียนได้รับการประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี
หน้า ๒๘ ๘ มีนาคม ๒๕๕๖
เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๓๑ ง ราชกิจจานุเบกษา
๑๒. คณุ สมบตั ผิ ู้เรยี น เปน็ ผสู้ ําเรจ็ การศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ หรือเทียบเท่า
๑๓. คุณสมบัติผู้สอน เป็นผ้มู ีวฒุ ิการศกึ ษา มคี วามรคู้ วามสามารถท่ตี รงหรือเหมาะสมกับวชิ าที่สอน
๑๔. การวดั ผลและประเมินผลการเรียน และการสาํ เรจ็ การศกึ ษา
๑๔.๑ การวัดผลและประเมินผลการเรียน ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ
วา่ ด้วยการจดั การศึกษาและการประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ
๑๔.๒ การสําเร็จการศึกษา ต้องได้จํานวนหน่วยกิตสะสมครบถ้วนตามโครงสร้าง
ท่ีกําหนดไว้ในหลักสูตร และได้คะแนนเฉล่ียสะสมไม่ต่ํากว่า ๒.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนน และผ่าน
การประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพ
๑๕. การประกันคุณภาพหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรกําหนดระบบประกันคุณภาพไว้ให้ชัดเจน
อย่างนอ้ ยประกอบดว้ ย ๔ ประเด็น คือ
๑๕.๑ คณุ ภาพของผ้สู ําเร็จการศกึ ษา
๑๕.๒ การบริหารหลกั สตู ร
๑๕.๓ ทรัพยากรการจดั การอาชวี ศึกษา
๑๕.๔ ความต้องการกําลังคนของตลาดแรงงาน
๑๖. การกําหนดมาตรฐานคุณวฒุ อิ าชีวศึกษา หลักสตู ร และการอนมุ ตั ิ
๑๖.๑ การปรับปรุง แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพ่ิมเติมมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ เป็นหน้าท่ีของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา และใหท้ ําเปน็ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๑๖.๒ การพัฒนาหลักสูตรหรือการปรับปรุงสาระสําคัญของหลักสูตรตามมาตรฐาน
คุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ให้เป็นหน้าที่ของสํานักงานคณะกรรมการ
การอาชวี ศึกษา สถาบนั การอาชีวศึกษา สถานศึกษา โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
๑๖.๓ การอนุมัตหิ ลกั สูตรใหเ้ ป็นหน้าทข่ี องสํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
๑๖.๔ การประกาศใช้หลกั สูตรใหท้ าํ เป็นประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ
๑๖.๕ การพฒั นารายวชิ าหรือกลุ่มวชิ าเพิม่ เตมิ สถาบันการอาชีวศึกษาหรือสถานศึกษา
สามารถดาํ เนนิ การได้ โดยตอ้ งรายงานให้สํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาทราบ
๑๗. ใหส้ าํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา สถาบันการอาชวี ศกึ ษาและสถานศึกษาจัดให้
มกี ารประเมินเพ่ือพัฒนาหลักสตู รทีอ่ ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบอยา่ งตอ่ เน่อื ง อยา่ งนอ้ ยทุก ๕ ปี
๑๘. ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามประกาศน้ีได้ หรือมีความจําเป็นต้องปฏิบัตินอกเหนือ
จากท่กี าํ หนดไวใ้ นประกาศน้ี ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการการอาชีวศึกษาที่จะพิจารณาวินิจฉัย
และให้ถือเปน็ ท่ีสดุ
ประกาศ ณ วนั ที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖
พงศเ์ ทพ เทพกาญจนา
รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร