สทิ ธิ สวัสดิการ
และ
เร่ืองทพ่ี นกั งาน
ควรทราบ
(สวสั ดิการพนักงาน)
สทิ ธิ และสวสั ดกิ ารที่พนักงานควรทราบ 1
กองทนุ สารองเลี้ยงชีพ
(Provident Fund)
บรษิ ัทฯ ไดจ้ ดั ตง้ั กองทนุ สาํ รองเลีย้ งชีพ เพ่ือเป็นหลกั ประกนั แก่พนกั งานในยามเกษียณอายุ
โดยพนกั งานจา่ ยเงนิ สะสม และนายจา้ ง (บรษิ ัท) จา่ ยเงนิ สมทบเพ่มิ ตามหลกั เกณฑ์
ขอ้ บงั คบั ท่ีกาํ หนดไวใ้ นกองทนุ ฯ โดยมีบรษิ ัทหลกั ทรพั ยจ์ ดั การ กองทนุ เป็นผดู้ แู ลบรหิ าร
เงินกองทนุ ฯ ตามนโยบายการลงทนุ ท่ีคณะกรรมการกองทนุ รว่ มกนั พิจารณา เพ่ือใหเ้ กิด
ประโยชนส์ งู สดุ
วัตถุประสงค์
• เพ่อื สง่ เสรมิ ให้พนักงานรู้จกั การออมเงนิ
• เพอ่ื เปน็ หลกั ประกนั ความม่นั คงในอนาคต เมอ่ื เกษียณอายุ
พนักงานทกุ ระดบั มีสทิ ธสิ มัครเข้าเปน็ สมาชกิ กองทุนสารองเล้ียงชพี ตั้งแต่
วนั แรกทเี่ ริม่ งาน และไดร้ บั การอนุมัติจากคณะกรรมการกองทุนฯ
อัตราเงนิ สะสม (ส่วนของพนกั งาน) และ อตั ราเงินสมทบ (ส่วนของบรษิ ัท)
อายุงาน อตั ราเงนิ สะสม อตั ราเงนิ สมทบ
(ร้อยละของคา่ จา้ ง) (ร้อยละของคา่ จ้าง)
น้อยกวา่ 3 ปี พนักงานสามารถเลอื ก 3%
ต้ังแต่ 3 แต่ไมถ่ ึง 5 ปี อัตราเงนิ สะสม ไดต้ ั้งแต่ 3 - 5%
ตงั้ แต่ 5 แต่ไมถ่ ึง 7 ปี 7%
15% 10%
ตั้งแต่ 7 ปีขนึ้ ไป
สมาชิกทีส่ ้ินสุดสมาชิกภาพไม่สามารถสมัครกลบั เขา้ เป็นสมาชิกกองทนุ ไดอ้ ีก เว้นแต่คณะกรรมการกองทนุ มี
มตใิ หส้ มคั รใหม่ได้เป็นคราว ๆ ไป
สทิ ธิ และสวัสดกิ ารท่ีพนกั งานควรทราบ 2
กองทนุ สารองเลย้ี งชีพ
(Provident Fund)
หลกั เกณฑก์ ารจ่ายเงินสะสมและเงนิ สมทบแกส่ มาชิกทส่ี ิ้นสดุ สมาชกิ ภาพ
1. การจา่ ยเงนิ สะสม และผลประโยชน์ของเงนิ สะสม
สมาชกิ มีสทิ ธิไดร้ ับเงินสะสมและผลประโยชน์ของเงินสะสมเต็มจานวน
2. การจา่ ยเงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงินสมทบ
สมาชกิ ท่พี ้นจากการเปน็ ลูกจ้างด้วยเหตุถูกไลอ่ อกหรือนายจ้างเลิกจ้าง เนื่องจากฝา่ ฝนื ข้อบังคับ
เกีย่ วกบั การทางานหรือระเบยี บหรอื คาส่งั ของนายจ้างอนั ชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรมในเรื่องทีร่ า้ ยแรง
โดย“เรอื่ งท่ีรา้ ยแรง“ ให้เป็นไปตามระเบยี บข้อบงั คับของบรษิ ทั หรอื บริษทั พิจารณาแลว้ เหน็ ว่าเป็นความผดิ
ร้ายแรง โดยพิจารณาบทลงโทษให้พ้นสภาพการเปน็ พนกั งาน
สมาชกิ ผู้นน้ั ไมม่ ีสทิ ธไิ ดร้ ับเงนิ สมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบ
การส้นิ สุดสมาชกิ ภาพในกรณดี งั ตอ่ ไปน้ี
สมาชิกมีสิทธไิ ดร้ ับเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงนิ สมทบ 100%
1. สมาชิกที่พ้นจากการเป็นลูกจ้างดว้ ยเหตุเสยี ชวี ิต ทุพพลภาพ หรอื เกษยี ณอายุ
2. สมาชกิ สนิ้ สุดสมาชกิ ภาพดว้ ยเหตนุ ายจ้างถอนตัวจากการเปน็ นายจ้างของกองทุน
ผลประโยชนข์ องเงนิ สมทบ กรณสี ้นิ สุดสมาชกิ ภาพจากกองทนุ ด้วยกรณอี นื่ ๆ
อายงุ าน อัตราเงินสมทบและผลประโยชน์
น้อยกวา่ 1 ปี 0%
ตั้งแต่ 1 แต่ไมถ่ งึ 5 ปี 50%
ตั้งแต่ 5 ปขี ้ึนไป 100%
สิทธิ และสวัสดกิ ารท่ีพนักงานควรทราบ 3
กองทนุ สารองเลี้ยงชพี
(Provident Fund)
การลาออก (พน้ สภาพการเป็นพนกั งาน หรือ ขอลาออกจากสมาชกิ กองทุนฯ
1. พนกั งานท่ีขอลาออกจากงาน : ใหส้ ่งแบบฟอร์มการขอลาออกให้ฝา่ ยบคุ คล เพอื่ บันทกึ การลาออก
2. พนกั งานทขี่ อลาออกจากสมาชิกกองทนุ ฯ โดยไม่ได้ลาออกจากงาน : ใหก้ รอกแบบขอลาออกจากการ
3. เปน็ สมาชิกกองทุน แบบขอลาออกจากกองทนุ ฯ โดยมิได้ลาออกจากงาน) สง่ ใหผ้ ูบ้ งั คบั บญั ชา และ
หน่วยงานบุคคล พิจารณาอนุมัติ พร้อมแนบสาเนาบัญชีธนาคาร ลงนามรับรองสาเนาถูกต้อง และสง่ ให้
คณะกรรมการกองทนุ ฯ ทีมีอานาจลงนามอนมุ ตั ิ
4. หนว่ ยงานค่าจา้ ง จดั ทาเอกสารแจ้งการลาออกส่งให้คณะกรรมการกองทนุ
5. คณะกรรมการกองทุนฯ ลงนามอนมุ ตั ิ
6. หน่วยงานค่าจ้าง ส่งข้อมลู การแจ้งพ้นสภาพการเปน็ สมาชิก ใหก้ บั บรษิ ัทจดั ทาทะเบยี น
7. บริษัทจัดทาทะเบียนสมาชิก คานวณเงนิ กองทนุ ส่วนของพนักงานและบริษทั รวมผลประโยชนท์ ี่
พนักงานจะไดร้ ับตามเงอ่ื นไข โดยออกเช็ค หรอื โอนเงนิ เข้าบัญชีพนกั งานภายใน 30 วนั
เอกสารท่จี ะได้รับเมอื่ พน้ จากการเปน็ สมาชกิ กองทนุ
1. หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ทีจ่ ่าย
2. ใบรายงานสว่ นของสมาชกิ ทจี่ า่ ยเงินสะสมเข้ากองทุน
3. หนังสือรบั รองการจ่ายเงนิ สะสมเข้ากองทนุ เพ่อื นาไปลดหย่อนภาษีแนบกบั ภงด. 90 / 91
การขอคงเงินไวใ้ นกองทนุ
สมาชิกสามารถขอคงเงินไว้ในกองทนุ ฯ ได้ 1 ปี โดยแจง้ ความประสงคก์ รอกแบบฟอร์มการขอคงเงินไวใ้ นกองทุน
(แบบขอคงเงินไว้ในกองทนุ ฯ) สง่ ให้หน่วยงานคา่ จา้ ง เพือ่ ใหค้ ณะกรรมการกองทุนลงนาม และแจ้งใหบ้ รษิ ทั
จดั ทาทะเบยี นสมาชกิ ดาเนนิ การคงเงินไว้ในกองทนุ ฯ
• หากพนกั งานประสงค์ขอนาเงินออกจากกองทุนกอ่ นครบ 1 ปี ให้พนกั งานเป็นผตู้ ดิ ต่อและแจ้งไปยังบริษัท
จดั ทาทะเบียนสมาชิก เพือ่ โอนเงินคนื ให้พนกั งาน
สิทธิ และสวสั ดิการทพ่ี นักงานควรทราบ 4
ประกนั ชีวติ และประกนั อบุ ัติเหตกุ ลุ่ม
บริษทั ฯ จัดสวัสดิการและผลประโยชน์ให้กับพนกั งานทว่ั ไปและพนกั งานปฏิบัติการ เพ่ือให้พนักงานทุกคนมีชวี ิต
ความเปน็ อย่ทู ี่ดแี ละมีหลกั ประกนั ความมัน่ คงในชวี ติ ใหแ้ กต่ นเองและครอบครวั ดงั นน้ั การท่ีบริษทั ซอื้ ประกัน
ชวี ิต และประกันอุบตั เิ หตุกลุ่มให้กบั พนักงานทุกคน จงึ เปน็ การซื้อความเส่ียงใหก้ ับพนักงานทุกคน กรณที ่ี
พนักงานเสยี ชีวิตเน่อื งจากการเจบ็ ปว่ ย หรือประสบอุบัติเหตุตลอดระยะเวลาท่ีปฏิบัตงิ านกับเครอื เบทาโกร
เง่อื นไขการทาประกันชีวติ และประกันอบุ ัติเหตุ
1. การทาประกันชีวิตและประกนั อบุ ตั เิ หตุ คุ้มครองพนักงานท่มี ีอายุไม่เกิน 65 ปี
2. พนกั งานทีม่ ที นุ ประกนั ชีวติ เกินกวา่ 1 ล้านบาท จะตอ้ งผ่านการตรวจสขุ ภาพกอ่ นการทาประกัน ตาม
เง่อื นไขของบรษิ ัทประกนั
3. การทาประกันอุบตั เิ หตุ บรษิ ทั ฯ ซื้อสวสั ดกิ ารค่ารักษาพยาบาลจากอุบตั ิเหตใุ นวงเงนิ 10 % ของทุน
ประกัน ใหก้ บั พนักงานทุกคน ยกเว้นพนกั งานปฏบิ ตั ิการ
4. การใหค้ วามคมุ้ ครองการประกนั ชวี ิตและประกนั อบุ ัติเหตุ เรมิ่ ตน้ ตั้งแต่วนั ทพ่ี นักงานเริม่ งานจนถึงส้นิ สดุ
การเป็นพนักงานในเครอื เบทาโกร
ระดับ เงนิ ประกันชวี ิต ประกันอบุ ตั เิ หตุ ค่ารักษาพยาบาล
เนือ่ งจากอุบัติเหตุ
JL8 1 ล้านบาท 1 ล้านบาท
JL7 8 แสนบาท 8 แสนบาท 1 แสนบาท
JL3 – JL6 5 แสนบาท 5 แสนบาท 8 หมนื่ บาท
JL2 2 แสนบาท 2 แสนบาท 5 หมื่นบาท
JL1 1 แสนบาท 1 แสนบาท 2 หม่นื บาท
กรณีเสียชีวิต กรณีเสยี ชีวิต หรือ ไมม่ ี
จากการเจบ็ ป่วย ทพุ พลภาพถาวร
ส้นิ เชิงจากอุบตั เิ หตุ 10% ของ
ทนุ ประกนั อบุ ตั ิเหตุ
สิทธิ และสวัสดกิ ารทพ่ี นกั งานควรทราบ 5
ประกันชีวติ และประกนั อบุ ตั ิเหตกุ ลุ่ม
ขอ้ ยกเว้นการประกันชวี ติ กลมุ่
การประกันชวี ติ กลมุ่ นี้ ไมค่ มุ้ ครองการเสยี ชวี ติ ทีเ่ กดิ จาก
1. ผเู้ อาประกนั ฆ่าตัวตาย ภายใน 1 ปี นบั แต่วันทเ่ี ข้าร่วมประกันภัย
2. ผเู้ อาประกนั ภัยถูกผ้รู ับประโยชนฆ์ ่าตายโดยเจตนา
ข้อยกเวน้ การประกนั อุบตั เิ หตกุ ลุม่
การประกนั อบุ ัติเหตุกลมุ่ ไมค่ มุ้ ครองการความสญู เสีย ทเ่ี กดิ จากหรอื สบื เนอื่ งจากสาเหตุ หรือเกดิ ข้ึนในเวลา
ตอ่ ไปนี้
1. การแขง่ ม้าหรือการแข่งขันทใ่ี ชล้ ้อ
2. ขณะท่ีผเู้ อาประกนั ภยั กาลงั ขน้ึ หรือกาลังลง หรอื ขณะโดยสารอยูใ่ นอากาศยานทีม่ ิไดจ้ ดทะเบียนเพอื่
บรรทกุ ผโู้ ดยสาร และมิได้ประกอบการโดยสายการบินพาณิชย ์ หรือขณะทผ่ี เู้ อาประกนั ภัยขบั ข่ี หรือปฏิบตั ิ
หน้าทเี่ ป็นพนกั งานประจาอากาศยานใด ๆ
3. การฆา่ ตวั ตายหรอื การทาร้ายร่างกายตนเอง หรือพยายามกระทาเช่นวา่ น้นั ในขณะที่รสู้ กึ ผดิ ชอบ หรอื
วกิ ลจริตหรอื ไม่ก็ตาม
4. ขณะทผี่ ้เู อาประกนั ภัยปฏบิ ตั หิ น้าทีเ่ ปน็ ทหาร ตารวจ หรืออาสาสมคั ร และปฏบิ ัตกิ ารในสงคราม หรอื เยีย่ ง
สงคราม ในกรณเี ชน่ นี้ ถ้าผู้เอาประกันภัยได้ปฏบิ ตั หิ นา้ ทีด่ ังกล่าวเปน็ เวลาติดต่อกนั เกินกวา่ 30 วัน บรษิ ทั
จะคืนเบ้ียประกันภัยอบุ ตั เิ หตุใหต้ ามส่วนสาหรับระยะเวลาที่เข้าปฏบิ ตั ิหนา้ ทด่ี งั กลา่ ว
5. ขณะท่ีผูเ้ อาประกนั ภัยกอ่ อาชญากรรมหรอื ขณะถกู จบั กุม หรือหลบหนกี ารจบั กมุ
6. อาวุธนิวเคลยี ร์ อาวธุ เชือ้ โรค การแผ่รังสี หรอื กัมมนั ตภาพรังสจี ากเช้อื เพลิงนิวเคลียร์ หรอื จากกาก
นิวเคลียร์ใด ๆ อนั เกิดจากการเผาไหม้ของเช้อื เพลิงนิวเคลยี ร์และจากกรรมวธิ ใี ด ๆ แหง่ การแตกแยกตัวทาง
นิวเคลียรซ์ ึง่ ดาเนิน การติดตอ่ กนั ไปโดยตวั เอง
สทิ ธิ และสวัสดิการที่พนักงานควรทราบ 6
ประกันชีวิต และประกนั อุบตั เิ หตุกลุ่ม
การเข้ารับการรักษาพยาบาลกรณีประสบอบุ ัติเหตุ
กรณีเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลคู่สญั ญาของบริษัทประกนั
พนักงานเข้ารับการรักษาพยาบาล แสดงบตั รประจาตวั ประชาชน แก่เจ้าหนา้ ที่โรงพยาบาลน้นั ๆ หาก
ค่าใช้จ่ายอย่ใู นวงเงนิ ที่กาหนดไว้บนบตั ร พนกั งานไม่ต้องออกค่าใช้จ่าย
กรณคี า่ รกั ษาพยาบาลเกินวงเงนิ ทีก่ าหนดไวบ้ นบตั รประกนั พนักงานเปน็ ผู้รับผิดชอบสว่ นทเี่ กินจาก
ค่าใช้จ่าย
กรณีเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลทไ่ี มอ่ ยู่ในคู่สัญญาของบริษัทประกนั
พนักงานเขา้ รบั การรักษาพยาบาล และชาระคา่ รกั ษาพยาบาลตามท่ีจา่ ยจรงิ ไปกอ่ น
พนักงานขอหลกั ฐานใบเสรจ็ รบั เงิน และใบรับรองแพทยจ์ ากโรงพยาบาล ส่งหลักฐานดงั กล่าว พร้อม
เอกสารเลขทบ่ี ญั ชีธนาคาร ให้หนว่ ยงานบคุ คลบริษัทต้นสังกดั เพอ่ื ตรวจสอบเอกสาร
บคุ คลบริษทั ตน้ สงั กัด ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและบนั ทกึ รายละเอยี ดค่ารกั ษาพยาบาลกรณีประสบ
อุบัตเิ หตุ ตามเอกสารแนบ
จัดสง่ เอกสารใหห้ นว่ ยงานบุคคลสายธรุ กจิ เพ่ือนาสง่ ให้บรษิ ัทประกนั โดยรวบรวมเอกสารสง่ ผ่าน
หนว่ ยงาน HR Shared Service
บริษทั ประกนั ตดิ ต่อรบั เอกสารจากหน่วยงาน HR Shared Service ตามรอบระยะเวลาทีก่ าหนด
บรษิ ทั ประกนั ตรวจสอบเอกสารและดาเนนิ การพิจารณาการเรียกรอ้ งสินไหมชดเชยค่ารกั ษาพยาบาล
บรษิ ทั ประกันแจง้ ผลการพิจารณาสินไหม พร้อมดาเนินการจ่ายสนิ ไหมค่ารักษาพยาบาลใหก้ ับพนกั งาน
โดยวธิ ีโอนเงินตามเลขทบี่ ัญชีธนาคารท่ีพนักงานแจ้งเป็นหลักฐาน
สิทธิ และสวสั ดิการทีพ่ นักงานควรทราบ 7
ประกนั ชวี ติ และประกันอบุ ตั ิเหตกุ ลุ่ม
การขอเบกิ เงนิ ประกันชีวิตและประกนั อุบตั เิ หตุ กรณพี นกั งานเสียชวี ิต
1. บุคคลในครอบครัวหรือญาติของพนักงานแจง้ รายละเอยี ดการเสยี ชวี ติ ต่อหน่วยงานบุคคลสายธรุ กิจ /
บรษิ ทั ตน้ สงั กัดหรือหน่วยงานต้นสงั กดั ของพนกั งาน
2. หนว่ ยงานบุคคลบรษิ ัทตน้ สงั กัด นาเอกสารการเรียกรอ้ งสินไหมมรณกรรม ใหบ้ คุ คลในครอบครัวหรอื
ญาตหิ รือผู้รบั ผลประโยชน์ เพ่ือกรอกรายละเอียดพรอ้ มแนบหลักฐานตามที่ระบใุ นแบบฟอรม์
3. หนว่ ยงานบุคคลบริษทั ต้นสงั กดั ตรวจสอบเอกสารและกรอกแบบฟอร์มนาสง่ การเรยี กร้องสนิ ไหม
มรณกรรมนาสง่ หนว่ ยงานบุคคลสายธรุ กิจ
4. หน่วยงานบุคคลสายธุรกจิ ตรวจสอบเอกสารและนาส่งบริษัทประกนั โดยรวบรวมเอกสารสง่ ผา่ น
หน่วยงาน HR Shared Service
5. บรษิ ทั ประกัน ติดตอ่ รบั เอกสารจากหนว่ ยงาน HR Shared Service ตามรอบระยะเวลาท่ีกาหนด
6. บรษิ ทั ประกันตรวจสอบเอกสารหลักฐานและดาเนินการพจิ ารณาการเรียกร้องสนิ ไหมมรณกรรม
7. บริษทั ประกันแจ้งผลการพจิ ารณาสนิ ไหม พร้อมดาเนินการจ่ายสนิ ไหมมรณกรรมให้กบั ผรู้ บั ประโยชน์
โดยส่งเช็คผ่านหน่วยงานบุคคลสายธรุ กิจ
8. หนว่ ยงานบคุ คลสายธุรกจิ จดั สง่ เช็คค่าสนิ ไหมมรณกรรม ให้หนว่ ยงานบคุ คลบริษัทต้นสังกัด เพือ่ จัดส่ง
เช็คให้กับผู้รับประโยชน์
สิทธิ และสวสั ดิการที่พนกั งานควรทราบ 8
การเบกิ ค่ารกั ษาพยาบาลกรณีเจบ็ ป่วย
บริษทั ฯ มีนโยบายให้ความสาคัญกับสุขภาพพลานามัยทดี่ ขี องพนักงาน จงึ ไดจ้ ดั สวัสดิการรกั ษาพยาบาล เพ่ือ
เปน็ การชว่ ยเหลือแก่พนกั งานทกุ คน ในกรณีทเ่ี จบ็ ป่วย และมีความจาเป็นตอ้ งรับการรกั ษาในโรงพยาบาล หรอื
สถานพยาบาลภายนอก โดยบรษิ ทั ฯ ชว่ ยเหลอื คา่ ใชจ้ ่ายให้กับพนกั งานที่เจ็บปว่ ยตามความจาเป็น ในอตั ราท่ี
เหมาะสมกบั สภาวการณ์ปัจจุบนั
พนักงานทั่วไป ระดับ JL2-JL8
กรณีผ้ปู ่วยนอก (OPD)
สามารถเบิกได้ วงเงินไม่เกนิ 14,250 บาทต่อปี
กรณีผปู้ ว่ ยใน (IPD)
1. ค่ารกั ษาพยาบาลทว่ั ไป เบกิ ได้วงเงนิ ไม่เกนิ 60,000 บาทตอ่ คร้งั ปีละไม่เกิน 300,000 บาท
2. คา่ หอ้ งรวมค่าอาหารเบกิ ได้ตามจรงิ ไมเ่ กนิ 3,500 บาทตอ่ วนั สูงสดุ เบิกไดไ้ มเ่ กนิ 31 วนั
ตอ่ การเข้ารักษาพยาบาล 1 ครัง้
พนักงานปฏบิ ตั กิ าร ระดับ JL1
กรณผี ปู้ ่วยนอก (OPD)
สามารถเบกิ ได้ ไมเ่ กนิ 300 บาทต่อครั้ง สงู สดุ 15 คร้ังตอ่ ปี
กรณผี ู้ป่วยใน (IPD)
1. ค่ารักษาพยาบาลทั่วไป เบกิ ได้วงเงนิ ไม่เกนิ 20,000 บาทตอ่ ครง้ั ปีละไมเ่ กิน 150,000 บาท
2. ค่าห้องรวมคา่ อาหารเบิกได้ตามจริง ไมเ่ กิน 1,000 บาทต่อวัน สงู สดุ เบิกได้ไม่เกนิ 31 วนั
ตอ่ การเข้ารักษาพยาบาล 1 คร้ัง
สิทธิ และสวสั ดิการท่พี นกั งานควรทราบ 9
การเบกิ ค่ารักษาพยาบาลกรณีเจบ็ ป่วย
ขอ้ กาหนดการใชส้ ทิ ธิเบิกคา่ รักษาพยาบาล
พนกั งานทวั่ ไป ระดับ JL2-JL8 : มสี ิทธิเบิกค่ารกั ษาพยาบาลได้ทงั้ กรณผี ู้ปว่ ยใน (IPD) และ
ผ้ปู ่วยนอก (OPD)
พนกั งานปฏิบัติการระดับ JL1 :
1. ให้ใชส้ ิทธิจากกองทนุ ประกนั สงั คมกอ่ นเป็นอันดับแรก
2. ค่ารักษาพยาบาลสว่ นเกินจากสิทธปิ ระกนั สังคม สามารถนาสว่ นเกนิ มาเบกิ ได้ตาม
หลกั เกณฑ์
3. คา่ รกั ษาพยาบาลสว่ นท่ีประกนั สงั คมไม่คุ้มครอง หรือกรณที ี่ยังไม่มีสิทธิการ
รักษาพยาบาลประกนั สังคม ให้สามารถใชส้ ิทธิการเบิกจากบรษิ ทั ฯ ได้
กรณกี ารประสบอบุ ัตเิ หตุท่ีไมใ่ ช่สาเหตเุ นื่องมาจากการปฏบิ ัติงาน
ให้พนกั งานใช้สทิ ธปิ ระกนั อุบตั เิ หตกุ ลุม่ ตามท่ไี ด้แจ้งไว้ในหวั ข้อกอ่ นหนา้
สิทธิ และสวัสดกิ ารทีพ่ นกั งานควรทราบ 10
เงินช่วยเหลอื กรณีมรณกรรม
บริษทั มีนโยบายใหค้ วามสาคัญกับพนักงานและครอบครัว จึงจัดใหม้ ีสวสั ดกิ ารเงนิ ช่วยเหลอื กรณีพนกั งาน
หรอื ครอบครัวของพนกั งานถงึ แกก่ รรม ซึง่ ได้แก่ บดิ า มารดา คู่สมรส และบตุ รโดยชอบดว้ ยกฎหมายของ
พนกั งานท่ถี งึ แก่กรรม เพือ่ เปน็ การแสดงความเสียใจแกพ่ นักงาน หรอื ครอบครวั
เงนิ ช่วยเหลอื งานศพ
บรษิ ัทฯ กาหนดการให้เงินช่วยเหลอื ในการจดั งานศพตามพธิ กี รรมทางศาสนา ดังน้ี
พนักงานทวั่ ไป ทกุ ระดับตาแหน่ง ได้รบั เงนิ ช่วยเหลอื เป็นจานวนเงนิ 10,000 บาท
พนักงานปฏิบัติการ (Operation) ได้รบั เงินชว่ ยเหลอื เป็นจานวนเงิน 5,000 บาท
พวงหรีด
บรษิ ัทฯ จะมอบพวงหรดี ในนามเครอื เบทาโกร และบริษทั /หนว่ ยงานตน้ สงั กดั โดยกาหนดคา่ พวงหรดี ดังนี้
พนักงานทวั่ ไป ทกุ ระดบั ตาแหนง่ ไม่เกินหรีดละ 1,500 บาท จานวน 2 หรดี
(เครือเบทาโกร จานวน 1 หรีด และหนว่ ยงานตน้ สงั กดั อกี 1 หรดี รวมจานวน 2 หรดี )
พนกั งานปฏิบตั ิการ ไม่เกนิ หรีดละ 800 บาท จานวน 1 หรดี
(เครอื เบทาโกรและหนว่ ยงานต้นสังกัดรวมกัน 1 หรีด)
เงอ่ื นไขอืน่ ๆ
กรณกี ารจดั งานศพตามพิธกี รรมทางศาสนา หากวิธีปฏิบตั ไิ มม่ ีการวางพวงหรีด บรษิ ทั จะให้เฉพาะเงิน
ช่วยเหลอื งานศพ
กรณผี ู้บริหาร ระดับ VP ข้ึนไป ตอ้ งการสงั่ พวงหรีดเพอ่ื แสดงความเสียใจใหก้ บั พนักงานทรี่ ู้จักในเครอื ฯ ให้
ระบุชอื่ ผูบ้ รหิ ารในพวงหรดี และอนุมัติให้เบกิ ได้ จานวน 1 หรีด เปน็ จานวนเงินไม่เกนิ 1,500 บาท
เงินชว่ ยเหลืองานศพ และค่าพวงหรีด ตามสทิ ธส์ิ วสั ดิการของพนักงาน ใหบ้ นั ทึกคา่ ใชจ้ า่ ยทหี่ น่วยงานของ
พนักงาน
ค่าพวงหรดี ของผ้บู รหิ าร เพื่อแสดงความเสยี ใจใหก้ บั พนกั งานทีร่ ู้จักในเครอื เบทาโกร ให้บนั ทึกค่าใช้จ่ายท่ี
หนว่ ยงานของผบู้ ริหาร
สทิ ธิ และสวัสดกิ ารท่ีพนกั งานควรทราบ 11
เงินช่วยเหลอื กรณมี รณกรรม
เงื่อนไขอนื่ ๆ
กรณคี ่สู มรส ซงึ่ ไมไ่ ด้จดทะเบยี นสมรส แต่ได้อยูก่ นิ กนั ฉนั ทส์ ามภี รรยาโดยเปดิ เผย ถงึ แกก่ รรม ให้
ผู้บังคับบัญชาของพนกั งาน และหน่วยงานบุคคลต้นสังกัดตรวจสอบขอ้ มูลและเปน็ พยานรบั รองความถกู ต้อง
ทัง้ น้ี สวัสดิการเงินช่วยเหลอื กรณมี รณกรรมสาหรับคสู่ มรส ทั้งท่ีไดจ้ ดทะเบียนสมรส และไมไ่ ดจ้ ดทะเบยี น
สมรส บรษิ ทั จะจ่ายให้เพยี งคร้ังเดียว ตลอดระยะเวลาที่พนกั งานปฏบิ ตั งิ านกบั บรษิ ทั
กรณีครอบครวั ของพนักงานถงึ แกก่ รรม ซง่ึ บคุ คลในครอบครวั มากกว่า 1 คน ทางานด้วยกันในเครอื เบทาโกร
ใหไ้ ด้รับเงนิ ชว่ ยเหลือและค่าพวงหรดี ดังน้ี
1. เงนิ ชว่ ยเหลืองานศพ : ให้ตามจานวนสิทธขิ องพนักงานแตล่ ะคน
2. พวงหรีด :
• กรณรี ะดบั พนกั งานทว่ั ไป : ให้ในนามเครือเบทาโกร 1 หรดี และหน่วยงานท่ีพนักงานแตล่ ะ
คนสังกัด อีกคนละ 1 หรดี เว้นแต่พนักงานสงั กัดหนว่ ยงานเดียวกนั ใหไ้ ดร้ บั พวงหรดี ในนาม
ตน้ สังกัดเดียวกันเพยี ง 1 หรดี เท่านัน้
• กรณพี นกั งานปฏบิ ัตกิ าร : ให้ในนามเครือเบทาโกรและต้นสงั กัดต่างหน่วยงาน คนละ 1 หรีด
การดาเนนิ การ
1. พนกั งาน บคุ คลในครอบครัว หรอื ผูบ้ งั คบั บญั ชาของพนกั งาน (แล้วแต่กรณี) แจง้ รายละเอียดการ
เสยี ชวี ติ ใหห้ นว่ ยงานบคุ คลต้นสังกัดทนั ที โดยแจ้ง ช่ือ-สกลุ วนั ทีถ่ ึงแกก่ รรม สถานทตี่ ั้งบาเพญ็ กศุ ล
กาหนดการ และวนั ท่ีบริษัทสะดวกเปน็ เจา้ ภาพ
2. หน่วยงานบคุ คลตน้ สังกัด จดั ทาประกาศให้พนกั งานทกุ คนทราบทันทีทไ่ี ดก้ าหนดการการเปน็
เจ้าภาพเรียบร้อยแลว้ (กรณีพนกั งานทว่ั ไป
3. ใหแ้ จง้ ประกาศงานศพโดย Email Everyone , กรณีพนักงานปฏบิ ตั ิการ ให้แจ้งประกาศงานศพ
ตามที่แตล่ ะบรษิ ัทกาหนด) พรอ้ มจดั สง่ั พวงหรีดเพ่อื เคารพศพตามพธิ กี รรมทางศาสนา
4. หน่วยงานบคุ คลตน้ สังกัด ทาเบิกจ่ายเงินชว่ ยเหลอื ฯ จากฝ่ายบัญชี โดยแนบเอกสาร ประกาศงานศพ
ของบรษิ ทั และนาเงนิ ชว่ ยเหลือฯ ไปมอบใหพ้ นักงานหรอื บคุ คลในครอบครวั ในวันที่บรษิ ทั เป็น
เจา้ ภาพ
สทิ ธิ และสวัสดิการทีพ่ นกั งานควรทราบ 12
เงินชว่ ยเหลือกรณีมรณกรรม
เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ งในการขอเบกิ สวสั ดกิ าร
1. ใบเสร็จรับเงิน โดยพนักงานหรอื ครอบครัวพนกั งานเซ็นช่อื รับเงินเพอื่ เปน็ หลักฐานการรับมอบเงนิ ช่วยเหลือฯ
2. (กรณีครอบครวั พนกั งาน เปน็ ผ้รู บั เงนิ ใหแ้ นบสาเนาบัตรประชาชนของผรู้ บั เงนิ พร้อมรบั รองสาเนาถูกตอ้ ง)
3. สาเนาใบมรณบัตร (รับรองสาเนาถูกต้องโดยพนกั งานหรือครอบครวั พนักงานทีเ่ ป็นผู้รบั เงนิ )
4. ใบเสรจ็ รับเงนิ ค่าพวงหรดี
5. หนงั สอื รบั รองการเป็นค่สู มรส กรณคี ูส่ มรสไมไ่ ด้จดทะเบียนสมรส แตไ่ ด้อยูก่ นิ กนั ฉนั ท์สามีภรรยาโดยเปดิ เผย
โดยผบู้ ังคบั บัญชาต้นสังกดั และหนว่ ยงานบุคคลตน้ สงั กัด ลงนามรับรองความถกู ต้อง
เงินชว่ ยเหลือกรณีสมรส
บรษิ ัทฯ มสี วัสดกิ ารเงนิ ช่วยเหลือกรณสี มรสให้พนกั งาน จานวน 1,000 บาท ต่อราย
กรณคี สู่ มรสทางานอยใู่ นเครือเบทาโกร มสี ิทธไิ ดร้ บั ทง้ั 2 คน
บรษิ ทั ฯ จา่ ยเพียงคร้ังเดยี ว ตลอดระยะเวลาทป่ี ฏบิ ัตงิ าน
แสดงหลกั ฐานการสมรส ส่งให้ HR ต้นสังกดั ภายในระยะเวลา 1 เดือน เช่น การ์ด หรอื ทะเบยี นสมรส
สิทธิ และสวัสดกิ ารท่ีพนกั งานควรทราบ 13
การช่วยเหลอื กรณปี ระสบภัยพิบัติ
บรษิ ทั ได้กาหนดหลักเกณฑแ์ ละวธิ ปี ฏบิ ตั ิ ในการให้ความช่วยเหลอื พนกั งานกรณปี ระสบภัยพบิ ัติ หรืออคั คีภัย
เพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดรอ้ น และเปน็ ขวัญกาลังใจให้พนกั งาน โดยบริษัทฯ จะพจิ ารณาอนมุ ัติการให้
เงินชว่ ยเหลอื เป็นครงั้ ๆ ไป
ภัยพิบตั ิ หมายถึง ภยั ท่ีเกดิ จากภัยธรรมชาติ เชน่ แผน่ ดนิ ไหว น้าท่วม (ที่ไม่ไดเ้ กดิ ข้นึ ตามฤดูกาล) สนึ ามิ
พายุ น้าป่าไหลหลาก ดินถล่ม รวมถงึ การกอ่ วินาศกรรม เช่น การก่อการร้าย สงคราม จราจล เป็นตน้
อัคคีภยั หมายถึง ภยั ที่เกิดจากไฟไหม้ทีเ่ กนิ กวา่ การควบคุมและลกุ ลามตอ่ เนอ่ื ง สร้างความเสียหายให้แก่
ชวี ติ ทรพั ย์สนิ และสภาพแวดล้อม
เงอ่ื นไขการพิจารณา
ท่พี กั อาศยั หรอื ทรัพยส์ นิ ไดร้ บั ความเสยี หาย
ต้องเปน็ ทีพ่ กั ทพ่ี นักงานพักอาศยั อยปู่ ระจาขณะที่ทางานอยู่กับบริษทั โดยมีชอ่ื หรือไม่มชี ่อื ปรากฎใน
ทะเบยี นบ้านก็ได้
กรณไี ม่มีช่ือปรากฎในทะเบียนบ้าน ตอ้ งไดร้ ับการยนื ยนั จากหนว่ ยงานราชการปกครองในทอ้ งถิน่ หรือ
บุคคลที่รับรองความ เสยี หายได้ เชน่ ผู้ใหเ้ ชา่ หวั หน้างาน หรอื หน่วยงานบุคคลต้นสงั กัด
กรณที ีเ่ ปน็ ที่พักของบดิ า มารดา ค่สู มรส ที่ถูกตอ้ งตามกฎหมาย บรษิ ัทจะใหค้ วามชว่ ยเหลอื เชน่ เดียวกัน
กับพนกั งาน
กรณีท่ีพนกั งานมคี รอบครวั แล้ว บริษทั ฯ จะไม่ได้ใหค้ วามชว่ ยเหลือกรณเี ป็นทพี่ ักของบิดา มารดา
กรณที ี่พนกั งานเปน็ พ่ีน้องครอบครัวเดียวกัน อยใู่ นบริษัทเดยี วกนั หรอื อยตู่ า่ งสังกัดบรษิ ทั ในเครอื ใหไ้ ดร้ ับ
ความชว่ ยเหลอื เปน็ รายบุคคลในสังกัดบริษัทนน้ั ๆ
โดยบริษทั ฯ จะให้ความชว่ ยเหลอื พนักงานเป็นเงนิ จานวนหนึ่ง เพื่อเปน็ ค่าใชจ้ า่ ยในการฟนื้ ฟสู ภาพความ
เสียหายทีเ่ กิดข้ึน โดยพจิ ารณาตามระดบั ความเสียหายของภยั พบิ ตั แิ ละอคั คภี ัย
หลักเกณฑก์ ารพิจารณาให้เงินช่วยเหลือ
บริษัทฯ จะพจิ ารณาระดับความเสยี หายจากปจั จัยความเดือดรอ้ น 2 ปัจจัย คือ มูลค่าความเสียหาย
และระยะเวลาของ ผลกระทบจากเหตุการณ์
คาถามทีพ่ บบ่อย (Q&A) 14
หวั ขอ้ สิทธิ และสวสั ดิการ
Q : จะสามารถเข้าดขู ้อมลู กองทนุ สารองเล้ียงชพี ไดอ้ ย่างไร?
A : สามารถดูไดผ้ ่านล้งิ ค์
https://k-pvdmember.kasikornasset.com/pvdmember/Security/SEC_M_001.aspx
และแอพพลิเคชัน่ K-My PVD ดาวน์โหลดได้จากทั้ง App Store และ Play Store
Q : การเบิกค่ารกั ษาพยาบาล หากเบิกกับประกนั ส่วนตวั ไปแล้ว จะสามารถเบกิ คา่ รักษากับบรษิ ทั ได้อีกหรอื ไม?่
A : กรณีท่ีมกี ารเบกิ คา่ รกั ษาพยาบาลกับบรษิ ทั ประกนั ไปแลว้ จะไม่สามารถเบิกกบั บริษัทอกี ได้
เนอ่ื งจากการเบิกค่ารักษาพยาบาล OPD/IPD จากบรษิ ัท จะต้องใชเ้ อกสารตวั จรงิ ประกอบด้วย
Q : กรณมี รณกรรม หากภรรยา สามี หรอื บุตร ไม่ได้มกี ารรบั รองโดยชอบดว้ ยกฏหมาย (ไม่ไดจ้ ดทะเบยี นสมรส
หรอื มีทะเบียนรบั รองบุตร) จะสามารถเบกิ คา่ ช่วยเหลือได้หรอื ไม่ ?
A : หากไม่มีการรับรองโดยชอบด้วยกฏหมาย พนกั งานสามารถร้องขอการรับรองจากหัวหนา้ งาน และ HR
ต้นสังกดั โดยจะมีแบบฟอร์มกาหนดไวใ้ ห้