The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยในชั้นเรียนประถมศึกษาปีที่5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 132ปนัดดา มาละอินทร์, 2024-02-27 03:16:41

วิจัยในชั้นเรียน

วิจัยในชั้นเรียนประถมศึกษาปีที่5

Keywords: วิจัย

พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์. (2559). วิธีปฏิบัติการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ แนวคิดวิธีและ เทคนิคการสอนของครู. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ที่บริษัทเดอะมาสเตอร์กรุ๊ปแมเนจเม้นท์ จำกัด. มาลี จุฑา. (2559). ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory of Learning) De Cecco & Crawford. Skills exercises in education. มหาสารคาม : ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม. วราภรณ์ แตงมีแสง. (2559). การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้แบบฝึกทักษะในวิชาการบริหารการศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชา ดนตรีศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารินทร์ รัศมีพรหม. (2560). ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory of Learning) De Cecco & Crawford Edition 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา ดนตรีศึกษา. บัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น. ธนินทร เลี่ยมแก้ว. (2560). การใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ (Using Theory of Learning) Mos Mickey & Stainley. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา ดนตรีศึกษา. บัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อดิศร ศิริพงษ์. (2561). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยใช้ แบบฝึกทักษะ สำหรับวิชาดนตรีในระดับประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. นภดล จันทร์เพ็ญ. การใช้หลักสูตรแกนกลางเพื่อการสอนดนตรีด้วยแบบฝึกทักษะ. กรุงเทพฯ : แสงศิลป์การพิมพ์, 2561. ประเทิน มหาขัน. การสอนแบบ Active Learning เบื้องต้นและการสร้างเอกสารประกอบการเรียน วิชาดนตรี. พระนครศรีอยุธยา : โอเดียนสโตร์, 2562. Entwistle, Harold. (2018). Classroom Child-Centred Education. Methuen & Co. Ltd.


ภาคผนวก


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วิชาดนตรีพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่องโน้ตดนตรีไทย-สากล เวลา 4 ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การอ่านและเขียนตัวโน้ต เป็นทักษะพื้นฐานสำคัญในการฝึกขับร้องและบรรเลงเครื่องดนตรี ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี้วัด ศ 2.1 ป.5/3 อ่าน เขียนโน้ตดนตรีไทยและสากล 5 ระดับเสียง 2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ - อ่าน เขียนโน้ตเพลงไทยและเพลงสากลได้ สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 1) ทักษะการระบุ 2) ทักษะการเชื่อมโยง 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคคู่คิดสี่สหาย ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน


1. ครูอธิบายเกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางดนตรีให้นักเรียนฟัง 2. ครูให้นักเรียนดูตัวโน้ตเพลงไทยและตัวโน้ต เพลงสากล แล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบคำถาม เช่น - ตัวโน้ตในภาพเกี่ยวข้องกับดนตรีประเภทใด - นักเรียนรู้จักตัวโน้ตใดในภาพบ้าง 3. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด สัญลักษณ์ทางดนตรีมีความสำคัญอย่างไร (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน) ขั้นสอน 1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความ สามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลาง ค่อนข้างอ่อน และอ่อน แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มจับคู่กันเป็น 2 คู่ 2. ครูให้นักเรียนแต่ละคู่ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ตัวโน้ต จากหนังสือเรียนหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ตามหัวข้อที่กำหนดให้ ดังนี้ - คู่ที่ 1 ศึกษาความรู้เรื่อง โน้ตเพลงไทย - คู่ที่ 2 ศึกษาความรู้เรื่อง โน้ตเพลงสากล 3. ครูเขียนตัวโน้ตเพลงไทย และตัวโน้ตเพลงสากล บนกระดาน แล้วอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ตัวโน้ตเพลงไทยและ ตัวโน้ตเพลงสากลมีชื่อเรียกทางดนตรีว่าอย่างไร 4. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด 5. สมาชิกแต่ละคู่ช่วยกันทำใบงานที่ 3.1 เรื่อง ตัวโน้ต โดยแบ่งหน้าที่กันทำใบงาน คู่ละ 1 ตอน กับสมาชิกอีก คู่หนึ่งในกลุ่ม โดยให้เพื่อนที่เรียนอ่อนได้เลือกหัวข้อก่อน หรือเลือกหัวข้อที่สนใจก่อน 6. สมาชิกแต่ละคู่ช่วยกันสืบค้นคำตอบที่คู่ตนเองรับผิดชอบแล้วนำมาอภิปรายให้สมาชิกอีกคู่หนึ่งภายในกลุ่มฟัง จนได้คำตอบที่สมบูรณ์ และมีความเข้าใจที่ตรงกันทุกคน 7. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำตอบในใบงานที่ 3.1 ตัวโน้ตเพลงไทย และตัวโน้ตเพลงสากล มีความแตกต่างกันอย่างไร (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน) ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ตัวโน้ตเพลงไทยและตัวโน้ตเพลงสากล การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการ เรียนรู้ที่ 3 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการ เรียนรู้ที่ 3 (ประเมินตามสภาพจริง)


ตรวจใบงานที่ 3.1 ใบงานที่ 3.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่นใน การทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน ดนตรี-นาฏศิลป์ ป.5 2) บทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ดนตรี-นาฏศิลป์ ป.5 บริษัท เพลย์เอเบิล จำกัด 3) เอกสารประกอบการสอน 4) ใบงานที่ 3.1 เรื่อง ตัวโน้ต 8.2 แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุด - อินเทอร์เน็ต


เอกสารประกอบการสอน ด ใช้แทนเสียง โด ร ใช้แทนเสียง เร ม ใช้แทนเสียง มี ฟ ใช้แทนเสียง ฟา ซ ใช้แทนเสียง ซอล ล ใช้แทนเสียง ลา ท ใช้แทนเสียง ที ตัวโน้ตเพลงไทย โน้ตตัวกลม โน้ตตัวขาว โน้ตตัวดำ โน้ตตัวเขบ็ต 1 ชั้น โน้ตตัวเขบ็ต 2 ชั้น ตัวโน้ตเพลงสากล


เอกสารประกอบการสอน เพลงข้ามถนน เนื้อร้อง ชิ้น ศิลปบรรเลง ทำนอง ไม่ทราบนามผู้แต่ง อย่าเหม่อมอง ต้องดูข้างหน้า อีกซ้ายและขวา เมื่อจะข้ามถนน ถ้ายวดยานหลาย ก็ต้องอดใจทน อย่าตัดหน้ารถยนต์ ทุกๆ คนจงระวัง เอย มงแซะ มงแซะ แซะมง ตะลุ่ม ตุ้มมง (ซ้ำ) โน้ตเพลงข้ามถนน – – – – – – – ม – – – – – ซ – ล – – – – – ร – ม – – – – – ซ – ล – – – – – ร – ม – – – ซ – – – ล – ด – ล – ซ – ด – – – ร – ม – ซ – – – – – ร – ม – – – ซ – – – ล – ด – ล – ซ – ด – – – ร – – – ม – ซ – ม – ร – ด – – – ล – ร – ด – – – ม – – – ร – ด – ล – ซ – ล มง แซะ มง แซะ แซะมง ตะลุ่ม ตุ้มมง หมายเหตุ : เพลงข้ามถนน ใช้ทำนองเพลงฟ้อนเงี้ยว


ใบงานที่ 1 ตัวโน้ต ชื่อ ชั้น เลขที่ ตอนที่ 1 คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนโน้ตเพลงไทย แทนเสียงดนตรีที่กำหนด ใช้แทนเสียง โด ใช้แทนเสียง เร ใช้แทนเสียง มี ใช้แทนเสียง ฟา ใช้แทนเสียง ซอล ใช้แทนเสียง ลา ใช้แทนเสียง ที ตอนที่ 2 คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนโน้ตเพลงสากล ตามที่กำหนด มาอย่างละ 5 ตัว 1. โน้ตตัวกลม …………………………………………………………………………………………. 2. โน้ตตัวขาว …………………………………………………………………………………………. 3. โน้ตตัวดำ …………………………………………………………………………………………. 4. โน้ตตัวเขบ็ต 1 ชั้น …………………………………………………………………………………………. 5. โน้ตตัวเขบ็ต 2 ชั้น ………………………………………………………………………………………….


เฉลย ใบงานที่ 1 ตัวโน้ต ชื่อ ชั้น เลขที่ ตอนที่ 1 คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนโน้ตเพลงไทย แทนเสียงดนตรีที่กำหนด ด ใช้แทนเสียง โด ร ใช้แทนเสียง เร ม ใช้แทนเสียง มี ฟ ใช้แทนเสียง ฟา ซ ใช้แทนเสียง ซอล ล ใช้แทนเสียง ลา ท ใช้แทนเสียง ที ตอนที่ 2 คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนโน้ตเพลงสากล ตามที่กำหนด มาอย่างละ 5 ตัว 1. โน้ตตัวกลม 2. โน้ตตัวขาว 3. โน้ตตัวดำ 4. โน้ตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 5. โน้ตตัวเขบ็ต 2 ชั้น


ใบงานที่ 2 การอ่านและเขียนโน้ตเพลงไทย ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนโน้ตเพลงไทยอย่างง่ายๆ 1 เพลง และฝึกอ่านตัวโน้ต โน้ตเพลง


แบบทดสอบ ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ตัวโน้ตนี้เป็นระดับเสียงใด ก. เร ข. ที ค. โด ง. ซอล 2. ข้อใดไม่ใช่เครื่องหมายกำหนดจังหวะ ก. 1 2 1 ข. 2 4 ค. 3 4 ง. 4 4 3. เครื่องหมายกำหนดจังหวะ จะเขียนไว้ในส่วนใด ก. ตอนท้าย ข. ตอนกลาง ค. ตอนเริ่มต้น ง. ตอนใดก็ได้ 4. ตัว มีความยาวของเสียงครึ่งหนึ่งของตัวใด ก. ข. ค. ง. 5. ตัวโน้ตใดมีอัตราความยาวของเสียงมากที่สุด ก. ข. ค. ง. 6. ข้อใดคือประโยชน์ของบันไดเสียง ก. ใช้ฝึกเลียนแบบศิลปิน ข. ใช้ฝึกเล่นเครื่องดนตรี ค. ใช้ในการสลับเสียงกันไปมา ง. ใช้ในการหลบเสียง 7. เสียงโน้ตดนตรีไทยมีกี่ระดับเสียง ก. 10 ระดับเสียง ข. 8 ระดับเสียง ค. 7 ระดับเสียง ง. 5 ระดับเสียง 8. เพลงใดมักนิยมใช้บันได 5 เสียง ก. เพลงพื้นเมือง ข. เพลงชาติ ค. เพลงมหาฤกษ์ ง. เพลงมหาชัย 9. 4 4 ใช้ในห้องเพลงหนึ่งมีกี่อัตราจังหวะ ก. ห้องเพลงหนึ่งมี 3 จังหวะ ข. ห้องเพลงหนึ่งมี 4 จังหวะ ค. ห้องเพลงหนึ่งมี 8 จังหวะ ง. ห้องเพลงหนึ่งมี 16 จังหวะ 10. เสียง ร ในดนตรีไทย คือโน้ตตัวใดในดนตรีสากล ก. ข. ค. ง. ง. เฉลย 1. ง 2. ก 3. ค 4. ข 5. ก 6. ข 7. ค 8. ก 9. ข 10. ค


แบบประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน ประกอบหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แผนการเรียนรู้ที่ 1 คำชี้แจง ครูสังเกตพฤติกรรมการเรียน และการปฏิบัติงานของนักเรียน แล้วขีด / ให้คะแนนลงในช่อง ที่ตรงกับ พฤติกรรมของนักเรียน เลขที่ คุณลักษณะที่ประเมิน ความสนใจ และ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ความ ซื่อสัตย์ ความมี ระเบียบ ความรับผิด ชอบ ต่องาน การตรงต่อ เวลาในการ ทำงาน สรุปผล การประเมิน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 15 ผ่าน/ไม่ ผ่าน 1 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 2 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 3 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 13 ผ่าน 4 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 5 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 13 ผ่าน 6 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 7 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 8 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 9 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 10 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 11 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 12 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 13 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 14 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 15 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 16 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 17 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 13 ผ่าน 18 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 19 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 20 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 21 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน


22 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 23 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 24 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 25 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 26 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 27 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 28 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 29 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 30 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 31 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 32 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 33 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 34 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 35 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 36 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน 37 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 38 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน 39 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 13 ผ่าน 40 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน เกณฑ์การประเมิน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์ประเมินต้องได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป ถือว่าผ่าน ลงชื่อ ผู้ประเมิน (…………........…………………………………..)


แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนนที่กำหนด ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1 การแสดงความคิดเห็น 2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 3 การทำงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4 ความมีน้ำใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม


แบบแสดงความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิที่มีต่อแบบทดสอบการประเมินผลตามจุดประสงค์ คำชี้แจง ขอให้ท่านผู้เชี่ยวชาญได้กรุณาแสดงความคิดเห็นของท่านที่มีต่อแบบทดสอบการประเมินผลตาม จุดประสงค์โดยใส่เครื่องหมาย ( ✓) ลงในช่องความคิดเห็นของท่านพร้อมเขียนข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ใน การนำไปพิจารณาปรับปรุงต่อไป รายการขอความคิดเห็น ความคิดเห็น เหมาะสม ข้อเสนอแนะ 1 ไม่แน่ใจ 0 ไม่ เหมาะสม -1 1. ความสอดคล้องเหมาะสมกับหลักสูตร 2. ความสอดคล้องเหมาะสมกับธรรมชาติวิชา 3. ความสอดคล้องเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 4. ความสอดคล้องเหมาะสมกับสภาพปัจจุบันและ ปัญหา 5. ความเหมาะสมต่อกระบวนการพัฒนาผู้เรียน 6. ความเหมาะสมของเนื้อหา 7. ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร 8. ความเหมาะสมของการใช้ภาษา 9. ความเหมาะสมกับความสนใจของนักเรียน 10.ความเหมาะสมของรูปแบบ ขอแสดงความขอบคุณอย่างยิ่ง ............................................ (..............................................)


ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของข้อสอบกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/วัตถุประสงค์ ตารางที่ 3 การหาค่าดัชนีความสอดคล้องของวัตถุประสงค์ (Index of Item Objective Congruence : IOC) รายการขอความคิดเห็น ประมาณค่าความคิดเห็น ของผู้ทรงคุณวุฒิคนที่ ค่า IOC แปลผล 1 2 3 1. ความสอดคล้องเหมาะสมกับหลักสูตร 2. ความสอดคล้องเหมาะสมกับธรรมชาติวิชา 3. ความสอดคล้องเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 4. ความสอดคล้องเหมาะสมกับสภาพปัจจุบันและปัญหา 5. ความเหมาะสมต่อกระบวนการพัฒนาผู้เรียน 6. ความเหมาะสมของเนื้อหา 7. ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร 8. ความเหมาะสมของการใช้ภาษา 9. ความเหมาะสมกับความสนใจของนักเรียน 10. ความเหมาะสมของรูปแบบ สรุปผล ค่าดัชนีความสอดคล้องที่ยอมรับได้มีค่าตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป สามารถใช้แบบฝึกได้ ค่าดัชนีความสอดคล้องที่ยอมรับได้มีค่าน้อยกว่า 0.50 ลงมา ไม่สามารถใช้แบบฝึกได้ ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. .......................................................


แบบบันทึกคะแนนการตรวจแบบฝึกทักษะ คนที่ ชุดแบบฝึกทักษะที่ 1 รวม ระดับ คุณภาพ สรุปผลการประเมิน ความ ถูกต้อง ความตรง ต่อเวลา ความ เชื่อมโยง ทักษะ ประจำบท ความคิ ด สร้างสรรค์ ผ่าน ไม่ผ่าน 2 2 2 2 2 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27


28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 รวม เฉลี่ย ร้อยละ ลงชื่อ .............................................. ผู้สอน (......................................................) วันที่ ......................................................


แบบรวมคะแนนการตรวจแบบฝึกทักษะ คนที่ ชุดแบบฝึกทักษะที่ 1-5 รวม เฉลี่ย ร้อยละ แบบฝึก ทักษะที่ 1 แบบฝึก ทักษะที่ 2 แบบฝึก ทักษะที่ 3 แบบฝึก ทักษะที่ 4 แบบฝึก ทักษะที่ 5 10 10 10 10 10 50 50/5 100 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26


27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 รวม


9.บันทึกหลังจัดการเรียนรู้ 9.1 ผลความรู้ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (K) นักเรียนร้อยละ 80 มีความเข้าใจในบทเรียนและสามารถอธิบายเนื้อหาได้อย่างถูกต้อง และสามารถสื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งปฏิบัติกิจกรรมตามเนื้อหาการเรียนรู้ที่กำหนดให้ได้อย่างถูกต้อง เกิดความรู้ความ เข้าใจในแบบฝึกทักษะที่ทำและสามารถทบทวนได้ 9.2 กระบวนการ/สมรรถนะ (P) นักเรียนร้อยละ 88 มีความสามารถในการเรียนรู้บทเรียนและสามาถสร้างแนวคิดจากกระบวนการ สอนมาเป็นความเข้าใจของตนเองได้อย่างดีมีทักษะการคิดวิเคราะห์ที่ดี และสามารถสังเคราะห์ความคิดจากความ เข้าใจของตนเองออกมาได้ สามารถอธิบายได้ตลอดจนนักเรียนสังเคราะห์ความรู้และนำไปใช้ได้ 9.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน (A) นักเรียนร้อยละ 86 มีวินัยในการเรียนรู้ต่อตนเอง มีความรับผิดชอบในการทำงานร่วมกันและงานส่วนตัวที่ได้รับมอบหมายจากครูผู้สอน มีมารยาทให้ห้องเรียน ตั้งใจ เรียน และให้ความเคารพครูผู้สอนขณะทำการเรียนการสอน และมีคุณลักษณะของผู้เรียนที่ดีตามคุณลักษณะที่พึง ประสงค์และให้ความร่วมมือ ลงชื่อ............................................. (...................................................) ครูผู้สอน ลงชื่อ............................................. (...................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระฯ


Click to View FlipBook Version