The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

566592700-เฉลย-มมฐ-วิทยาศาสตร-ป-1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nikomi Naamah, 2024-02-15 22:50:07

566592700-เฉลย-มมฐ-วิทยาศาสตร-ป-1

566592700-เฉลย-มมฐ-วิทยาศาสตร-ป-1

สื่อการเรียนรู รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ป.1 ชื่อ … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … .. ชั้น … … … … … … … … … … … … … .. เลขที่ … … … … … … … … … … … … … .. ¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ดร.พลอยทราย โอฮามา นางสาวมินตรา สิงหนาค ¼ÙŒµÃǨ ผศ. ดร.กรัณยพล วิวรรธมงคล ดร.เพ็ญพักตร ภูศิลป นางวชิราภรณ ปถวี ºÃóҸԡÒà นายวันเฉลิม กลิ่นศรีสุข นางสาวปทิตตา ขําทัพ µÒÁÁҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅеÑǪÕéÇÑ´ ¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÇÔ·ÂÒÈÒʵÏáÅÐà·¤â¹âÅÂÕ (©ºÑº»ÃѺ»Ãا ¾.È. 2560) µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª 2551 ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè 1 ชุด แม่บทมาตรฐาน Active Learning K E Y พิมพครั้งที่ 2 สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา 1148032


µÑÇàÃÒáÅСÒôÙáÅÃÑ¡ÉÒ à»‡ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ • บอกชื่อ บรรยายลักษณะ และบอกหนาที่ของสวนตาง ๆ ของรางกายมนุษยได • บรรยายการทําหนาที่รวมกันของสวนตาง ๆ ของรางกายได • บอกวิธีการดูแลรักษาอวัยวะอยางถูกตอง ใหปลอดภัย และรักษาความสะอาดได àÃ×èͧ·Õè 1 ชวนอานชวนคิด à¸Í¤ÇÃ͋ҹ˹ѧÊ×Í㹺ÃÔàdz ·ÕèÁÕáʧÊÇ‹Ò§à¾Õ§¾Í¹Ð ¤¹àÃÒÁÕµÒäÇŒÁͧ´ÙÊÔ觵‹Ò§ æ ¹Ð ศัพทนารู human ('ฮิวมึน) คน body ('บ็อดดิ) รางกาย hand (แฮ็นด) มือ เพื่อน ๆ รูหรือไมวา อวัยวะตาง ๆ ของเรา มีหนาที่อะไร ¶ŒÒ©Ñ¹àÍÒÁ×Í»´µÒ ©Ñ¹¨ÐÁͧäÁ‹àËç¹ÍÐäÃàÅÂ㪋äËÁ K E Y ตัวเรา สัตว์ และพืช 21 1 ÍÇÑÂÇÐáÅÐ˹ŒÒ·Õè¢Í§ ÍÇÑÂÇÐ รางกายของเรานั้นมีสวน ประกอบตาง ๆ เชนเดียวกับพอแม และเพื่อน ๆ ของเรา สวนตาง ๆ ของรางกายนี้ เรียกวา อวัยวะ ซึ่งอวัยวะแตละสวนจะมีลักษณะ หนาที่ และความสําคัญแตกตาง กันไป ¹Ñ¡àÃÕ¹ÃÙŒ¨Ñ¡อวัยวะสวนใด ¢Í§Ã‹Ò§¡ÒºŒÒ§ ขีด ✓ ใน ภาพที่เปนอวัยวะของคน กิจกรรม ลองทําดู ตา เทา ขาและเทา หู ปก จมูก หู มือ 1 5 2 6 3 7 4 8 K E Y ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 22 จุดประสงค : สังเกตและบอกชื่ออวัยวะภายนอกได ตั้งคําถาม : อวัยวะภายนอกของเราเหมือนกับเพื่อนหรือไม คาดคะเนคําตอบ : ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ÍØ»¡Ã³Ÿ µé ͧãªé 1กิจกรรมพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรที่ ÊÓÃǨËҧ¡Ò¢ͧàÃÒ การสังเกต การลงความเห็นจากขอมูล การจัดกระทําและการสื่อความหมาย ขอมูล ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรที่ใช ¢Ñ鹵͹¡Ò÷íÒ 1. ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน (เพศเดียวกัน) 2. ผลัดกันสํารวจรางกายของตนเองและเพื่อนวา มีอวัยวะภายนอกอะไรบาง 3. วาดภาพตนเองและเพื่อน พรอมระบายสีใหสวยงาม จากนั้นรวมกันเปรียบเทียบ อวัยวะภายนอกของตนเองกับเพื่อน 4. รวมกันอภิปรายและสรุปผลเกี่ยวกับอวัยวะภายนอกของรางกาย 1. ดินสอ 1 แทง 2. สีไม 1 กลอง 1. อวัยวะของเรา รางกายของคนเราประกอบดวย อวัยวะตาง ๆ หลายสวน ซึ่งอวัยวะแตละสวนมีหนาที่ตางกัน อวัยวะของคนเราที่มองเห็นได เรียกวา อวัยวะภายนอกอวัยวะภายนอกรางกาย ÁÕÍÐäúŒÒ§ K E Y อวัยวะภายนอกของเรามี ตา หู จมูก ปาก แขนและมือ ขาและเทา ซึ่งมีเหมือนกับเพื่อน ตัวเรา สัตว์ และพืช 23 1. ระบุชื่อพืชและสัตวที่อาศัยอยูบริเวณตาง ๆ ที่ไดจากการสํารวจ (มฐ. ว 1.1 ป.1/1) 2. บอกสภาพแวดลอมที่เหมาะสมในบริเวณที่พืชและสัตวอาศัยอยูในบริเวณ ที่สํารวจ (มฐ. ว 1.1 ป.1/2) 3. ระบุชื่อ บรรยายลักษณะ และบอกหนาที่ของสวนตาง ๆ ของรางกายมนุษย สัตว และพืช รวมทั้งบรรยายการทําหนาที่รวมกันของสวนตาง ๆ ของรางกาย มนุษยในการทํากิจกรรมตาง ๆ จากขอมูลที่รวบรวมได (มฐ. ว 1.2 ป.1/1) 4. ตระหนักถึงความสําคัญของสวนตาง ๆ ของรางกายตนเอง โดยการดูแลสวนตาง ๆ อยางถูกตอง ใหปลอดภัย และรักษาความสะอาดอยูเสมอ (มฐ. ว 1.2 ป.1/2) µÑǪÕéÇÑ´ ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè 2 µÑÇàÃÒ ÊѵǏ áÅоת à¾×è͹ æ ¤Ô´Ç‹Ò ¤¹áÅÐÊѵǏÁÕÍÇÑÂÇÐʋǹ㴠·Õè·íÒ˹ŒÒ·ÕèàËÁ×͹¡Ñ¹ºŒÒ§ ã¹ÀÒ¾ÁÕÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ ã´ºŒÒ§ K E Y คําแนะนําในการใช้สื่ อ Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ áÁ‹º·Áҵðҹ Active Learning ÇÔ·ÂÒÈÒʵÏ ».1 เลมนี้ จัดทําขึ้นสําหรับใชประกอบการเรียนการสอนในชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ซึ่งดําเนินการจัดทําใหสอดคลอง กับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกประการ ภายในเลม นําเสนอรูปแบบการเรียนการสอนเปนหนวยการเรียนรูครบถวนตามมาตรฐานและ ตัวชี้วัดชั้นป โดยมุงหวังใหผูเรียนไดเรียนรูวิทยาศาสตรที่เนนการเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการคนควาและสรางองคความรูโดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรูและการแกปญหาที่ หลากหลาย ซึ่งผูเรียนตองมีสวนรวมในการเรียนรูทุกขั้นตอน และลงมือปฏิบัติกิจกรรมอยางหลากหลาย จนกระทั่งผูเรียนเกิดความรูความเขาใจและสามารถประยุกตใชความรูและฝกทักษะแหงศตวรรษที่ 21 เพื่อการสรางสรรคผลงานได ã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç ์¹Í͡ẺãËŒàËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÑ ¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ â´Â㪌ÀÒÉÒ·ÕèࢌÒ㨧‹Ò ÁÕÀÒ¾ á¼¹ÀÙÁÔ µÒÃÒ§¢ŒÍÁÙÅ ÁÒ»ÃСͺ 㹡ÒùíÒàʹÍÊÒÃе‹Ò§ æ «Ö觨Ъ‹ÇÂãËŒ ¼ÙŒàÃÕ¹à¡Ô´¤ÇÒÁʹã¨áÅÐÊÒÁÒöàÃÕ¹ÃÙŒ ä´Œ§‹Ò¢Öé¹ «Öè§ÁÕͧ¤»ÃСͺµ‹Ò§ æ ã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç ´Ñ§¹Õé มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดที่สอดคลองกับเนื้อหา ในหนวยการเรียนรู คําถามกระตุนประจําหนวย คําถามกระตุนใหผูเรียนฝกทักษะการคิด กอนเขาสูเรื่องที่เรียน เปาหมายการเรียนรู เปนเปาหมายการเรียนรูใน เรื่องที่เรียน ซึ่งผูเรียนตอง บรรลุเมื่อเรียนจบเรื่องนี้ ชวนอานชวนคิด กระตุนความสนใจเพื่อนํา สูการเรียนการสอน โดยใช ขอความและภาพเรื่องราว พรอมคําถามประกอบ คําศัพททางวิทยาศาสตร คําศัพทสําคัญทางวิทยาศาสตร ประจําเรื่อง เพื่อใหผูเรียนฝก การอานการเขียน กิจกรรมลองทําดู กิจกรรมตรวจสอบความรู กอนเรียนหรือนําสูการเรียน กิจกรรมพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร กิจกรรมที่เนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ โดยใช กระบวนการสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร K E Y


เรามีตา 2 ตา ไวมองดูสิ่งตาง ๆ เรามีหนังตาและขนตาไวปองกันอันตราย ใหกับตา ขนตา รูหู หนังตา ใบหู เรามีหู 2 ขาง ไวฟงเสียงตาง ๆ หูประกอบดวย ใบหูและรูหู ซึ่งเปนทาง ผานของเสียง ทําใหเราไดยินเสียง หู ตา เรามีจมูก 1 จมูก และจมูกมีรู 2 รู ไวหายใจและดมกลิ่นตาง ๆ เรามีปาก 1 ปาก ไวสําหรับพูด และกินอาหาร ปากของเราประกอบดวย ชองปากและริมฝปาก ซึ่งภายในปาก มีฟนไวใชเคี้ยวอาหาร และมีลิ้นไว รับรสชาติของอาหาร ชองปาก ริมฝปาก ฟน ลิ้น จมูก ปาก จากการทํากิจกรรม ทําใหเรา ทราบวา รางกายของคนเรามีอวัยวะ ภายนอกหลายสวนประกอบกัน และ อวัยวะแตละสวนทําหนาที่แตกตางกัน ดังนี้ K E Y ตัวเรา สัตว์ และพืช 29 เกร็ดวิทย- นารู ฟนนํ้านม ซี่แรกของทารกจะขึ้นเมื่ออายุประมาณ 6 เดือน และขึ้นครบ 20 ซี่ เมื่ออายุประมาณ 2 ขวบครึ่ง หลังจากนั้น เมื่ออายุถึง 6 ป ฟนนํ้านมก็จะเริ่มหลุดหรือหัก แลวจะมี ฟนแทขึ้นมาแทนที่ เรามีแขนและมือ 2 ขาง มือ แตละขางมีนิ้วมือ 5 นิ้ว เรามีแขนไวชวย ในการเคลื่อนไหวรางกายและมีมือไว หยิบจับสิ่งของตาง ๆ แขนและมือจึง ทํางานรวมกัน แขนและมือ เรามีขาและเทา 2 ขาง เทา แตละขางมีนิ้วเทา 5 นิ้ว เรามีขาไว ชวยใหรางกายเคลื่อนที่ และมีเทาไวรับ นํ้าหนักตัว ขาและเทาจึงทํางานรวมกัน ขาและเทา นิ้วมือ ทอนแขน มือ เทา นิ้วเทา K E Y 30 แบบฝก พัฒนาการเรียนรูท่ี 3 1 สํารวจตนเองเกี่ยวกับการดูแลรักษาอวัยวะตาง ๆ โดยขีด ✓ ลงใน ตาราง พฤติกรรม การปฏิบัติ ทําเปนประจํา ทําเปนบางครั้ง ไมเคยทํา 1. ใชไมแคะหู 2. สั่งนํ้ามูกแรง ๆ 3. ไวเล็บมือยาว 4. ดูโทรทัศนใกล ๆ 5. ใชฟนฉีกถุงขนม 6. ฟงเพลงเสียงดัง ๆ 7. ใชมือขยี้ตาเมื่อผงเขาตา 8. ไมแปรงฟนกอนเขานอน 9. อานหนังสือในที่ ที่มีแสงสวางนอย 10. ไมสวมรองเทาขณะ เดินออกนอกบาน นักเรียนมีการกระทําที่ตองปรับปรุงหรือไม มี .......................................ขอ ไมมี จากการทํากิจกรรม ฉันดูแลรักษาอวัยวะได ดี พอใช ควรปรับปรุง K E Y (ผลขึ้นอยูกับการส�รวจของนักเรียน) ตัวเรา สัตว์ และพืช 41 กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิด »ÃШíÒàÃ×èͧ·Õè 1 1 เติมชื่ออวัยวะที่หายไปลงในชองวาง 2 ดูภาพ แลวตอบคําถาม นักเรียนคิดวา เด็กในภาพจะตีโดนแตงโมหรือไม เพราะเหตุใด ไมโดน เพราะ ......................................................................................................................................................................................................... โดน เพราะ .................................................................................................................................................................................................................... จากภาพตองใชอวัยวะทํางานรวมกันอยางไร……………………………………………………………………………. ........................................................................................................................................................................................................................................... ……………………………………… ……………………………………… ……………………………………… ……………………………………… ……………………………………… ……………………………………… K E Y มองไมเห็น ไดยินเสียงของเพื่อนที่บอกทาง ใชหูฟงเสียงของเพื่อน ใชแขนและมือยกไมและจับไมตีแตงโม ใชขาและเทาในการเคลื่อนที่ ✓ ✓ หมายเหตุ : นักเรียนอาจตอบวาไมโดนหรือโดนก็ได ใหครูพิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน ตา หู ปาก จมูก แขนและมือ ขาและเทา 44 4 อานขอความตอไปนี้ แลวตอบคําถาม กิจกรรมพัฒนาทักษะ แหงศตวรรษที่ 21 “โรคตาแดง เปนโรคติดตอทางตา มักระบาด ในฤดูฝน เราสามารถปองกันไดโดยไมคลุกคลีกับ ผูปวยที่เปนโรคตาแดง ไมใชมือที่สกปรกขยี้ตา และลางมือใหสะอาดอยูเสมอ” อาน วิเคราะห เขียน 1. โรคตาแดง เกี่ยวของกับอวัยวะใด ............................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. เราควรทําอยางไร จึงจะไมเปนโรคตาแดง ............................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. เพราะเหตุใด การลางมือจึงเปนการปองกันโรคตาแดงได ............................................................................................................................................................................................................................................................................. ทักษะศตวรรษที่ 21 พฤติกรรมบงชี้ ระดับคุณภาพ 3 2 1 ทักษะชีวิตและการทํางาน กําหนดเปาหมายงานกลุมได ทํางานรวมกับผูอื่น และยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม ออกแบบผลงานอยางสรางสรรค ทักษะดานสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เลือกใชวิธีสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 - 4 คน แลวปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ 1. ใหแตละกลุมชวยกันระดมความคิดเกี่ยวกับวิธีการดูแลรักษาอวัยวะ แตละสวนที่ถูกตอง จากนั้นวาดภาพอวัยวะสวนตาง ๆ พรอมบอกชื่ออวัยวะ และวิธีการดูแลรักษาอวัยวะ ลงในกระดาษ A4 แลวระบายสีใหสวยงาม 2. นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน แลวนําผลงานไปติดที่บอรดในหองเรียน K E Y ตา ไมคลุกคลีกับผูปวยที่เปนโรคตาแดง ไมใชมือที่สกปรกขยี้ตา และลางมือใหสะอาด เพราะถาเราใชมือที่สกปรกจับตา เชื้อโรคที่ติดอยูก็จะเขาสูดวงตาของเราได 46 1 ดูภาพ แลวตอบคําถาม 1. จากภาพ คนกําลัง ………………………………………………. เขาตองใชอวัยวะในการทํากิจกรรม ไดแก ……………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… การทํากิจกรรมนี้ ใช ไม ใช การทํางานรวมกันของอวัยวะ ดังนี้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. จากภาพ คนกําลัง …………………………………………………. เขาตองใชอวัยวะในการทํากิจกรรม ไดแก ……………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… การทํากิจกรรมนี้ ใช ไม ใช การทํางานรวมกันของอวัยวะ ดังนี้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 1 ดูภาพ แลวตอบคําถาม แบบวัดผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัด »ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè 2 ตอนที่ 1 60 คะแนน ไดคะแนน คะแนนเต็ม ......................... 90 K E Y ปนจักรยาน รําไทย ตา แขนและมือ ขาและเทา ตา หู แขนและมือ ขาและเทา ใชตามองทาง ใชแขนและมือจับและบังคับทิศทางของแฮนดจักรยาน ใชขาและเทา ปนจักรยานและยืนทรงตัวขณะจอดจักรยาน ✓ ✓ ใชตามองรอบตัว ใชหูฟงเสียงดนตรี ใชแขนและมือทําทารํา ใชขาและเทาทรงตัว 86 1. มฐ./ตัวชี้วัด ว 1.2 ขอ 1 ไดคะแนน คะแนนเต็ม ......................... 10 คําชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มี 2 ชุด ชุดละ 30 ขอ เปนแบบเลือกตอบมี 3 ตัวเลือก 2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว แลววง ลอมรอบตัวอักษร หนาตัวเลือกที่ตองการ ชุดที่ 1 30 คะแนน 1. อวัยวะในขอใดที่อยูบนใบหนา ก. มือ ข. ปาก ค. ปอด 2. ขอใดเปนอวัยวะภายนอกทั้งหมด ก. ตา หู หัวใจ ข. จมูก ปาก ตา ค. สมอง มือ เทา 3. ลิ้นทําหนาที่อะไร ก. บดอาหารใหเปนชิ้นเล็ก ๆ ข. รับรสชาติอาหาร ค. สูบฉีดเลือด 4. ขณะดูโทรทัศน เราใชอวัยวะใดทํางาน รวมกันบาง ก. ใชตา จมูก และหู ข. ใชหู จมูก และมือ ค. ใชจมูก มือ และปาก 5. “การมองดู ดมกลิ่น ฟงเสียง ชิมรส สัมผัส” เราตองใชอวัยวะใดบางในการ ทํากิจกรรมเหลานั้น ก. ตา จมูก หู มือ และเทา ข. ตา จมูก หู ลิ้น และมือ ค. ตา ลิ้น หู ขา และมือ 6. ขอใดกลาวไดถูกตอง ก. เมื่อเรานอนหลับอวัยวะทุกอยาง จะหยุดทํางาน ข. เราใชอวัยวะมากกวา 1 อยาง ในการเตะฟุตบอล ค. เราใชขาในการเดิน ดังนั้น ถึงจะ ปดตา เราก็สามารถเดินไดตรงทาง 7. ถานักเรียนรูสึกเคืองตา ควรปฏิบัติ อยางไร ก. หยิบยาหยอดตาของแมมา หยอดตา ข. ลางตาดวยนํ้าสะอาด ค. ใชมือขยี้ตาทันที ชื่อ … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … … .. ชั้น … … … … … … … … … … … … … .. เลขที่ … … … … … … … … … … … … … ขอสอบเนนการคิด วิชา วิทยาศาสตร ป.1 K E Y 179


ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เปนทักษะที่นักวิทยาศาสตร นํามาใชเพื่อการศึกษา สืบเสาะหาความรู และการแกปญหาตาง ๆ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแบงออกเปน 2 ขั้น ดังนี้ 1. การสังเกต เปนการใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่ง หรือใชหลายอยางรวมกัน ไดแก ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย เพื่อคนหาและบอก รายละเอียดของสิ่งตาง ๆ ที่สังเกต โดยไมใส ความคิดเห็นของผูสังเกตลงไป 2. การจําแนกประเภท เปนการแบงพวก การจัดกลุม หรือเรียงลําดับ วัตถุหรือสิ่งตาง ๆ โดยใชความเหมือนกัน ความแตกตางกัน หรือความสัมพันธอยางใด อยางหนึ่งมาเปนเกณฑในการจําแนกวัตถุ หรือสิ่งตาง ๆ ออกจากกัน 3. การวัด เปนการเลือกใชเครื่องมือและการใชเครื่อง มือตาง ๆ เพื่อวัดหาปริมาณของสิ่งตาง ๆ ออกมาเปนตัวเลขไดถูกตองและเหมาะสม กับสิ่งที่ตองการวัด รวมทั้งบอกหรือระบุ หนวยของตัวเลขที่ทําการวัดได 4. การใชจํานวน เปนการนําคาที่ไดจากการสังเกตเชิงปริมาณ การวัด การทดลอง หรือการสืบคนจากแหลง อื่น ๆ มาทําใหเกิดคาใหม โดยการนับจํานวน หรือนําตัวเลขตาง ๆ มาคิดคํานวณ เพื่อระบุ รายละเอียดเชิงปริมาณของสิ่งที่สังเกตได 5. การลงความเห็นจากขอมูล เปนการเพิ่มความคิดเห็นเพื่ออธิบายขอมูล ที่ไดจากการสังเกตอยางมีเหตุผล โดยอาศัย ความรูและประสบการณเดิมมาชวย 6. การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล เปนการนําขอมูลที่ไดมาจากการรวบรวม ขอมูลดวยวิธีการตาง ๆ มาจัดกระทําและ นําเสนอในรูปแบบใหม เพื่อใหผูอื่นเขาใจ ความหมายไดงายขึ้น โดยอาจนําเสนอใน รูปแบบ แผนภาพ แผนผัง ตาราง กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เปนตน 7. การหาความสัมพันธของสเปซกับเวลา - เปนการหาความสัมพันธระหวางพื้นที่ ที่วัตถุตาง ๆ ครอบครอง - เปนการหาความสัมพันธระหวางพื้นที่ ที่วัตถุครอบครองเมื่อเวลาผานไป 8. การพยากรณ เปนการคาดคะเนคําตอบหรือคาดการณสิ่งที่ จะเกิดขึ้นไวลวงหนากอนทําการทดลอง โดย อาศัยปรากฏการณที่เกิดขึ้นซํ้า ๆ หลักการ กฎ หรือทฤษฎีที่มีอยูแลว มาชวยในการ คาดคะเนสิ่งที่กําลังจะเกิดขึ้น 12 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน มี 8 ทักษะ ดังนี้ K E Y เรียนรู้วิทยาศาสตร์ 11


1. การตั้งสมมติฐาน เปนการคิดหาคําตอบลวงหนากอนทําการ ทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู หรือ ประสบการณเดิมเปนพื้นฐาน โดยคําตอบที่ คิดลวงหนานี้ยังไมทราบ ไมมีหลักการ หรือ ไมเปนทฤษฎีมากอน และสมมติฐานที่ตั้งขึ้น อาจถูกหรือผิดก็ได ซึ่งจะทราบไดภายหลัง การทดลองแลว 2. การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ เปนการกําหนดความหมายและขอบเขตของ คําตาง ๆ ที่อยูในสมมติฐานหรืออยูในการ ทดลอง เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกันและ สามารถสังเกตหรือวัดได โดยใหคําอธิบาย เกี่ยวกับการทดลองและบอกวิธีวัดตัวแปรที่ เกี่ยวกับการทดลองนั้น ๆ 3. การกําหนดและควบคุมตัวแปร เปนการกําหนดตัวแปรตน ตัวแปรตาม และ ตัวแปรควบคุมที่ตองควบคุม โดยตองให สอดคลองกับการตั้งสมมติฐานหนึ่งๆ ของ การทดลอง 4. การทดลอง เปนกระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคําตอบ จากสมมติฐานที่ตั้งไว ในการทดลองประกอบ ดวย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการ ทดลอง 5. การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป เปนการแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะ ขอมูลที่มีอยู และสามารถสรุปความสัมพันธ ของขอมูลทั้งหมดได 6. การสรางแบบจําลอง เปนการสรางหรือใชสิ่งที่สรางขึ้นมา เพื่อ เลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณที่ศึกษา หรือที่สนใจ แลวสามารถนําเสนอขอมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพื่อใหผูอื่นเขาใจ ในรูปของแบบจําลองตาง ๆ เชน ชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ รูปภาพ กราฟ ขอความ เปนตน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นผสม มี 6 ทักษะ ดังนี้ การจัดกลุมลูกแกว มีจำนวน 4 ลูก มีจำนวน 6 ลูก สีเขียว สีฟา เกณฑที่ใชคือ สีของลูกแกว ¡ÅØ‹Á¢Í§¼Á¨Ñ´¡ÅØ‹Á ÅÙ¡á¡ŒÇä´Œ´Ñ§¹Õé¤ÃѺ ¡ÅØ‹Á¢Í§àÃÒ㪌·Ñ¡ÉÐ ¡ÒèíÒṡ»ÃÐàÀ· 㹡ÒÃá¡ÊÕÅÙ¡á¡ŒÇ K E Y 12


Click to View FlipBook Version