The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ลดาภรณ์ ชูปัน, 2022-03-21 03:22:22

ประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทน

ประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทน

ประกนั สังคมและกองทุนเงนิ ทดแทน

จดั ทำโดย
นำงสำวณชิ ำกร เจริญรักษ์

กองทนุ ประกนั สงั คม
สว่ นใหญท่ กุ คนจะรูจ้ กั และคุ้นเคยกบั กองทนุ ประกนั สังคมมากกว่า เพราะเป็นกองทนุ ท่ีผูป้ ระกนั ตน นายจา้ ง และ
รฐั บาลเป็นคนจ่ายเงินสมทบ โดยกองทุนประกันสงั คมจะให้ความคุม้ ครองผปู้ ระกนั ตนใน 7 กรณี อันไมเ่ นื่องจาก
การทำงาน
• เจ็บปว่ ย
• คลอดบตุ ร
• ทพุ พลภาพ
• เสยี ชีวิต
• สงเคราะหบ์ ุตร
• ชราภาพ
• วา่ งงาน

กองทนุ เงินทดแทน เป็นกองทุนทนี่ ายจา้ งเป็นผ้จู า่ ยเงนิ สมทบเป็นรายปใี ห้กบั สำนักงานประกันสงั คม ซึ่งนายจ้าง
แตล่ ะบริษัทจะจา่ ยเงินสมทบไม่เท่ากันขนึ้ อย่กู บั ความเสย่ี งของธุรกิจ ซ่ึงกองทนุ เงนิ ทดแทนจะใช้ในกรณที ลี่ ูกจ้าง
เจ็บป่วย ประสบอุบัตเิ หตุ ทุพพลภาพ หรอื เสียชวี ติ จากการทำงานใหน้ ายจา้ งเท่าน้ัน!
ตวั อย่างเช่น พนกั งานเกดิ อบุ ัตเิ หตตุ กจากท่ีสูงขณะกำลงั จัดเรียงสนิ ค้าใหก้ บั นายจ้างจนขาหกั ในกรณนี ้ีทางกองทนุ
เงินทดแทนจะเป็นฝ่ายจา่ ยค่ารกั ษาพยาบาลและคา่ ชดเชยใหก้ บั พนักงาน
เข้าใจง่ายๆ คอื กองทนุ เงนิ ทดแทนเปน็ สว่ นที่นายจา้ งจา่ ยเงนิ สมทบและใหค้ วามคุ้มครองเฉพาะจากการทำงาน
เท่าน้นั แต่ก็ไมใ่ ช่วา่ นายจ้างทุกกิจการจะต้องจา่ ยเงินสมทบใหก้ องทนุ เงินทดแทนเพราะกิจการทไ่ี ด้รับการยกเวน้
ดงั น้ี
• ราชการสว่ นกลาง, ราชการส่วนภมู ภิ าคและราชการส่วนทอ้ งถน่ิ เฉพาะข้าราชการหรือลูกจา้ งประจำ
• รฐั วสิ าหกิจตามกฎหมายวา่ ดว้ ยแรงงานรฐั วสิ าหกิจสมั พนั ธ์
• รัฐบาลต่างประเทศ หรอื องคก์ ารระหว่างประเทศ สำหรับลกู จ้างซง่ึ มิใชเ่ ป็นการจ้างงานในประเทศ
• ลกู จ้างอน่ื ตามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง

ผ้ปู ระกันตน คอื ลกู จา้ งทมี่ ีอายุไม่ต่ำกวา่ 15 ปีบริบรู ณ์ และไม่เกนิ 60 ปบี ริบรู ณ์ในวนั เขา้ ทำงาน และทำงานอยู่
ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้างต้งั แต่ 1 คนขน้ึ ไป

เงนิ สมทบ คือ เงินทนี่ ายจ้าง ลูกจา้ ง ตอ้ งนำสง่ เขา้ กองทุนประกันสงั คมทุกเดอื น โดยคำนวณจากค่าจา้ งท่ลี ูกจา้ ง
ได้รบั ในอัตราร้อยละ 5 ซ่งึ ฐานค่าจ้างทจ่ี ะนำมาคำนวณตำ่ สดุ เดอื นละ 1,650 บาท และสูงสดุ ไมเ่ กินเดอื นละ 15
,000 บาท (เงนิ สมทบข้นั ตำ่ เดือนละ 83 บาท และไม่เกินเดอื นละ 750 บาท) ทั้งน้รี ฐั บาลจะออกเงนิ สมทบเขา้
กองทุนอีกส่วนหนง่ึ

ผู้ทม่ี ีสิทธใิ ชบ้ ริการ
• พนกั งานมหาวิทยาลัย
• พนกั งานวิสามัญ

สิทธิประโยชน์และความคุ้มครอง
• กรณปี ระสบอันตรายหรือเจบ็ ป่วยฉกุ เฉินที่ไม่เกีย่ วกบั การทำงาน
• กรณีคลอดบุตร
• กรณีทุพพลภาพ
• กรณีตาย
• กรณีสงเคราะหบ์ ุตร
• กรณีชราภาพ
• กรณวี า่ งงาน

1. กองทนุ เงนิ ทดแทน คืออะไร? กองทนุ เงินทดแทน คือกองทนุ ท่ีจา่ ยเงินทดแทนใหแ้ ก่ลูกจ้างแทนนายจ้าง เมื่อ
ลกู จา้ งประสบ อนั ตราย เจบ็ ปว่ ย ถงึ แก่ความตาย หรือสูญหาย เน่อื งจากการทำงานใหแ้ ก่นายจ้าง โดยไม่คำนึงถึง
วัน เวลา และสถานที่ แต่จะดูสาเหตทุ ที่ ำให้ประสบอนั ตรายหรือเจ็บป่วย

2. เงินสมทบ คืออะไร เงินสมทบ คือ เงินที่นายจา้ งจา่ ยเขา้ กองทุนเงินทดแทนแตเ่ พยี งฝ่ายเดียว จะเรียกเกบ็ จาก
นายจ้าง เป็นรายปี โดยประเมินจำนวนเงินทีน่ ายจา้ งจ่ายให้ลกู จ้างทั้งปีรวมกัน (คนละไม่เกิน 240,000 บาทต่อป)ี
คณู กบั อตั ราเงนิ สมทบของประเภทกจิ การระหว่างอตั รา 0.2-1.0% โดยนายจา้ งแตล่ ะประเภทจะจา่ ย ในอตั ราเงิน
สมทบหลกั ท่ีไมเ่ ท่ากนั ทงั้ นี้ ข้ึนอยูก่ บั การเสยี่ งภยั ตามรหัสประเภทกิจการของนายจา้ งน้ัน

3. เงนิ สมทบตามค่าประสบการณ์ เพ่ือใหน้ ายจ้างให้ความสนใจในการจดั สถานทีท่ างานทีป่ ลอดภยั รวมท้ังอุปกรณ์
ปอ้ งกันใหแ้ กล่ ูกจา้ ง ให้ทำงานไดอ้ ยา่ งปลอดภัยหลังจากนายจา้ งต้องจ่ายเงินสมทบตามอตั ราหลกั 4 ปตี ดิ ต่อกัน
แลว้ จะมีการ ค านวณอัตราส่วนการสญู เสียเพื่อลดหรือต้องจา่ ยเงนิ เพมิ่ ข้นึ จากอัตราเงนิ สมทบหลักท่นี ายจ้างตอ้ ง
จ่าย ในคร้งั แรกท่ขี น้ึ ทะเบยี นโดยจะเริม่ จา่ ยเงินตามอตั ราประสบการณต์ ้ังแต่ปีที่ 5 เป็นต้นไป

4. กจิ การใดบา้ ง ที่ไดร้ บั การยกเว้นโดยไมต่ ้องจ่ายเงนิ สบทบ? - ราชการส่วนกลาง/สว่ นภมู ภิ าค/ส่วนท้องถิ่น -
รัฐวิสาหกจิ - นายจ้าง ซ่งึ ประกอบธุรกจิ โรงเรียนเอกชนตามกฎหมาย ว่าวดว้ ยโรงเรยี นเอกชน – นายจา้ งที่ดำเนนิ
กจิ การที่มิได้มวี ัตถุประสงค์เพ่ือแสวงหากำไรทางเศรษฐกิจ – นายจ้างอ่นื ตามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง

5. กำหนดเวลายื่นแบบขน้ึ ทะเบยี น นายจ้าง มหี น้าทย่ี ่นื แบบขึ้นทะเบยี นกองทุนเงินทดแทน ภายใน 30 วนั นับ
แตว่ ันทม่ี ีลกู จา้ งต้ังแต่ 1คน

6. สถานที่ย่นื แบบข้ึนทะเบยี น ก าหนด ให้นายจ้างยืน่ แบบข้นึ ทะเบยี นได้ ณ ทอ้ งทีท่ ่สี ถานประกอบการต้งั อยู่

7. เอกสารท่ีต้องนำมาในวนั ย่ืนขึ้นทะเบยี น
* แบบข้นึ ทะเบียน (แบบ สปส.1-01) ใชช้ ดุ เดยี วกบั การขน้ึ ทะเบยี นกองทุนประกันสังคม
* สำเนาหนังสือรบั รองการจดทะเบียนนิตบิ ุคคล หรือสำเนาใบทะเบียนพาณชิ ย์
* สำเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิม (แบบ ภ.พ.20) หรือ สำเนาใบอนุญาตประกอบกจิ การโรงงาน (แบบ ร.ง.4)
* แผนท่ตี ั้งของสถานประกอบการ หรอื โรงงานของนายจา้ ง
* สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาทะเบียนบา้ นเจา้ ของกิจการและผรู้ ับมอบอำนาจ
* หนงั สอื มอบอำนาจ (ถา้ ม)ี -/

8. หากนายจา้ งมีสำนกั งานหลายสาขา จะย่ืนแบบขึ้นทะเบียนได้ที่ไหน? นายจ้าง ที่มสี ำนักงานสาขา หรือมีลกู จา้ ง
ทำงานในหลายจังหวดั จะต้องยน่ื แบบข้นึ ทะเบยี น และจา่ ยเงินสมทบกองทนุ เงินทดแทนรวมกนั เพียงแหง่ เดยี ว ณ
เขตท้องทซ่ี ึ่งเป็นสถานท่ีตั้งของสำนักงานใหญ่ โดยแจ้งรายละเอียดสถานทต่ี ง้ั และจำนวนลกู จา้ งของสาขาไว้ด้วย

9. ส่งิ ทนี่ ายจ้างไดร้ บั ภายหลังการข้ึนทะเบยี น
- เลขท่ีบญั ชซี ึ่งจะเป็นเลขเดียวกบั กองทุนประกันสงั คมเพ่ือใช้อา้ งอิงในการตดิ ต่อ
- ใบประเมนิ เงินสมทบ เพ่ือแจง้ ใหน้ ายจ้างทราบถึงจำนวนเงินสมทบท่จี ะตอ้ งจ่ายเข้ากองทนุ พร้อมทั้งกำหนดวันที่
ซึง่ นายจ้างจะต้องนำเงินมาจ่าย
- หนังสือสำคญั แสดงการข้ึนทะเบียน

10. นายจา้ งตอ้ งจ่ายเงนิ สมทบประจำปีเม่ือใด? กองทุนเงินทดแทน จะเรยี กเก็บเงินสมทบจากนายจา้ งเปน็ รายปี
(ปีละ 1 ครง้ั ) โดยในปีแรก นายจ้างจะต้องจา่ ยเงนิ สมทบ ภายใน 30 วัน นับแตว่ นั ทีม่ ลี กู จา้ งตั้งแต่ 1 คน สำหรับ
ปีต่อๆ ไป จา่ ยภายใน เดือนมกราคมของทกุ ปี เงินสมทบท่ีเรยี กเก็บต้นปี คิดมาจากจำนวนเงนิ ค่าจ้างที่ประมาณ
การไว้ลว่ งหน้า ซ่ึงอาจไมเ่ ทา่ กบั ค่าจา้ งจริงท่ีจะเกิดขึ้น เนื่องจากในระหวา่ งปนี ายจ้างอาจมีการเพิ่มหรือลดจำนวน
ลูกจา้ ง ปรับอตั ราค่าจา้ ง เป็นตน้ ดังนนั้ ในเดือนกุมภาพนั ธ์ของทุกปี นายจา้ งต้องแจง้ จำนวนคา่ จา้ งรวมท้ังปขี องปี
ท่ี ผา่ นมาไปยังส านักงานประกันสงั คมอีกคร้งั หนึ่ง เพ่ือจะได้น าไปเปรียบเทียบกับเงนิ สมทบท่ีเก็บไวเ้ มื่อตน้ ปี
หากจำนวนคา่ จ้างจรงิ ของปีท่ีผา่ นมาสงู กวา่ ค่าจ้างที่ประมาณไว้ เป็นเหตใุ หเ้ งนิ สมทบทเ่ี ก็บไวเ้ มอ่ื ปีทีผ่ ่านมา น้อย
กว่า กจ็ ะเรียกเก็บเพิ่มภายใน 31 มนี าคม หากจำนวนเงนิ ค่าจ้างรวมทัง้ ปตี ่ำกว่าเดมิ ทำให้เงินสมทบ ที่เรยี กเก็บสูง
กว่าความเป็นจริง เมื่อตรวจบัญชขี องนายจา้ งแล้ว หากคา่ จ้างต่ำกว่าที่ประเมินไวจ้ ะได้รบั เงนิ สมทบสว่ นที่จ่ายเกนิ
คนื

11. การรายงานค่าจ้าง นายจ้าง ต้องรายงานคา่ จ้างภายในเดือนกุมภาพันธข์ องทุกปกี ารไมร่ ายงานค่าจ้างภายในก
าหนด อาจมผี ลท าให้นายจา้ งต้องช าระเงนิ เพ่ิม หากเงินท่ีเรียกเกบ็ ในปีท่ผี ่านมาต่อไป นายจ้างรายใดไมจ่ า่ ยเงนิ
สมทบภายในก าหนดเวลา หรอื จ่ายเงนิ สมทบไม่ครบจำนวน ตอ้ งเสยี เงินเพิ่มอกี 3.0% ต่อเดือนของเงิน สมทบทีท่ ่ี
ต้องจา่ ย

12. เมอื่ ใดท่ีลกู จ้างมีสทิ ธไิ ดร้ ับการคุ้มครอง? สิทธิเกิดขน้ึ ทันทีนบั ตัง้ แตว่ ันแรกทเ่ี ขา้ ท างานให้นายจา้ งง

13. การประสบอันตรายเนือ่ งจากการท างาน หมายความว่าอยา่ งไร? หมายความว่า การทล่ี กู จา้ งไดร้ บั อนั ตราย
แก่กายหรือผลกระทบแกจ่ ิตใจหรอื ถงึ แกค่ วามตาย เนื่องจากการท างานหรอื ป้องกันรักษาประโยชน์ใหน้ ายจ้าง
หรอื ท าตามค าส่ังของนายจา้ ง

14. การเจบ็ ป่วยด้วยโรคเนอ่ื งจากการทำงาน หมายความว่าอยา่ งไร? สาเหตขุ องการเจ็บปว่ ยเกดิ ข้นึ ตามลักษณะ
หรอื สภาพของงานซึ่งส านักงานประกนั สงั คมประสาน ความรว่ มมอื กบั กระทรวงสาธารณสุขจดั ตั้งคลินิกโรคจาก
การท างาน โดยมีแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ เป็นผตู้ รวจวินิจฉยั โรค หากลูกจ้างสงสยั โปรดติดต่อได้ท่สี านกั งาน
ประกนั สังคมกรุงเทพมหานครพ้นื ท/่ี จังหวัด/สาขาทุกแห่ง

15. สญู หาย หมายความว่าอย่างไร? การที่ลกู จ้างหายไปในระหว่างการท างานหรอื ปฏิบัติตามค าสั่งของนายจา้ ง
ซงึ่ มเี หตุอันควรเชื่อวา่ ลูกจา้ งถึงแก่ความตายเพราะประสบเหตุอันตรายท่เี กิดขน้ึ ในระหว่างการท างานหรือปฏบิ ัติ
ตามค าสัง่ ของ นายจ้างนน้ั รวมตลอดถงึ การทลี่ กู จ้างหายไปในระหว่างเดนิ ทางโดยพาหนะทางบก อากาศ หรือ
ทางน้ า เพื่อไปท างานใหน้ ายจา้ ง ซ่ึงมีเหตุอันควรเชือ่ วา่ พาหนะน้ันได้ประสบเหตุอนั ตรายและลูกจา้ งถงึ แก่ความ
ตาย ท้งั น้ี เปน็ ระยะเวลาไมน่ ้อยกวา่ 180 วนั นบั แตว่ ันทีเ่ กิดเหตุ

16. เมื่อลูกจา้ งประสบอนั ตรายหรือเจบ็ ปว่ ยเน่ืองจากการท างาน จะไดร้ ับอะไรบ้าง? ไดร้ ับเงินทดแทน ซงึ่
ประกอบดว้ ย คา่ รกั ษาพยาบาล ค่าทดแทนรายเดือน ค่าฟ้ืนฟสู มรรถภาพ ในการทำงาน และค่าทำศพ

17. คา่ รกั ษาพยาบาล ไดร้ บั เงินเทา่ ใด? มีสิทธิได้รบั คา่ รักษาพยาบาลเทา่ ท่ีจ่ายจรงิ ไม่เกิน 50,000 บาทต่อการ
ประสบอนั ตราย 1 คร้งั หากมีอาการเจบ็ ปว่ ยรนุ แรงหรือเร้ือรงั จา่ ยเพม่ิ อกี 100,000 บาท ไมเ่ กนิ 300,000 บาท
หากไมเ่ พียงพอ สามารถเบิกได้ไมเ่ กนิ 1,000,000 บาท โดยคณะกรรมการการแพทย์พจิ ารณาและคณะกรรมการ
กองทุน เงนิ ทดแทนเห็นชอบ

18. กรณแี พทยใ์ ห้หยุดพักรักษาตวั จะไดร้ บั สิทธอิ ะไรบ้าง? ไดร้ บั คา่ รักษาพยาบาล ค่าทดแทนจ านวน 60%
ของค่าจ้างรายเดือน หากต้องหยดุ พักรักษาตวั ตดิ ต่อกัน 3 วนั ข้ึนไป แตไ่ มเ่ กนิ 1 ปี

19. กรณสี ูญเสยี อวยั วะ จะได้รับอะไรบ้าง? ไดร้ ับ คา่ รกั ษาพยาบาล ค่าทดแทน จ านวน 60% ของคา่ จ้างราย
เดือนในการหยดุ พักรกั ษาตวั และค่าทดแทน 60% ของค่าจ้างรายเดือน ตามการสูญเสียอวัยวะ แต่ไมเ่ กิน 10 ปี
ทัง้ นี้ การประเมนิ การ สญู เสียอวยั วะ ลูกจ้างต้องได้รับการรักษาพยาบาลทางการแพทยจ์ นส้ินสุดการรกั ษา และ
อวัยวะคงที่ไม่มี การเปลี่ยนแปลง หรือเม่อื พ้นก าหนดระยะเวลาหนงึ่ ปนี ับแต่วันท่ีลกู จา้ งประสบอันตราย หาก
ลกู จ้างจ าเป็นต้องได้รบั การฟ้ืนฟูจะไดร้ บั ค่าฟนื้ ฟูสามารถเบิกคา่ ใชจ้ ่าย ดังน้ี * ค่าใชจ้ า่ ยในการฟืน้ ฟดู ้าน
การแพทย์และอาชีพ เทา่ ที่จา่ ยจรงิ ไม่เกนิ 24,000 บาท * ค่าใชจ้ ่ายในการผา่ ตัดเพื่อประโยชน์ในการฟื้นฟู
สมรรถภาพการท างานไมเ่ กนิ 40,000 บาท

20. กรณีทุพพลภาพ จะไดร้ บั อะไรบ้าง? ไดร้ ับ ค่ารกั ษาพยาบาล ค่าทดแทนจ านวน 60% ของค่าจ้างรายเดือน
ในกรณีไม่สามารถท างาน ได้เกนิ 3 วันขนึ้ ไป แต่ไม่เกิน 1 ปี ฯลฯ และค่าทดแทน 60% ของคา่ จา้ งรายเดือน กรณี
ทุพพลภาพเปน็ เวลา ไม่เกนิ 15 ปี และมีสิทธไิ ด้รบั การฟ้นื ฟูสมรรถภาพตามหลักเกณฑท์ ี่ศูนย์ฟ้ืนฟูสมรรถภาพ
คนงานกาหนด

21. กรณีถึงแกค่ วามตายหรอื สญู หาย จะได้รบั อะไรบ้าง ได้รบั ค่าทำศพ เป็นเงิน 100 เท่าของอตั ราสงู สดุ ของ
คา่ จา้ งข้ันต่ ารายวัน และคา่ ทดแทน 60% ของค่าจา้ งรายเดือน เปน็ เวลา 8 ปี
22. คา่ ทดแทน จะไดร้ บั เมื่อใดและจำนวนเท่าใด เมื่อ มีการหยดุ งาน สญู เสยี อวยั วะ ทุพพลภาพ ตาย หรือสูญหาย
จะได้รับคา่ ทดแทนในอัตรา 60% ของค่าจ้างรายเดือน และตอ้ งไม่ต่ำกว่าคา่ จ้างรายวนั ข้ันต่ำของแต่ละทอ้ งท่แี ละ
ไม่เกิน 12,000 บาทต่อเดือน

23. ถ้าลกู จา้ งตายหรือสูญหาย ใครเป็นผ้มู สี ิทธิได้รบั เงินทดแทน? ผ้มู สี ิทธไิ ดร้ บั เงนิ ทดแทน ไดแ้ ก่
-บดิ า/มารดา ทัง้ นี้ บดิ าจะต้องจดทะเบียนสมรสกบั มารดา
-สามี/ภรรยา จะตอ้ งจดทะเบียนสมรสกัน
-บตุ รทมี่ อี ายตุ ่ำกว่า 18 ปี เว้นแต่ เมอ่ื มอี ายุครบ 18 ปี และยังศึกษาอยใู่ นระดับท่ีไม่สูงกว่า ปรญิ ญาตรี ให้ไดร้ ับ
สว่ นแบ่งต่อไปตลอดระยะเวลาศกึ ษาอยู่
-บตุ รท่ีมอี ายุตั้งแต่สบิ แปดปแี ละทุพพลภาพหรือจิตฟั่นเฟือนไมส่ มประกอบซึ่งอยใู่ นอปุ การะของ ลกู จา้ งก่อน
ลกู จ้างถงึ แกค่ วามตายหรือสูญหาย
-บุตรซ่งึ เกดิ ภายใน 310 วัน นบั แต่วนั ทลี่ ูกจา้ งถึงแก่ความตาย หรือวันท่เี กดิ เหตุสญู หาย มสี ิทธิ รับเงินทดแทนนับ
แตว่ ันคลอด
-หากไม่มีบคุ คลดังกล่าวขา้ งต้นใหผ้ อู้ ย่ใู นความอปุ การะของลกู จ้างซ่งึ เดือดรอ้ นเพราะขาด อปุ การะ เปน็ ผ้มู ีสิทธิ

24.นายจา้ งต้องปฏิบตั อิ ยา่ งไรบ้างเมอ่ื ลูกจ้างประสบอนั ตราย? จัดให้ลกู จา้ งไดร้ บั การรกั ษาพยาบาลทันทีใน
สถานพยาบาลใดก็ได้ โดยส ารองจ่ายค่ารักษาพยาบาล ไปกอ่ น หรอื ใช้แบบ กท.44 ส่งตัวลูกจ้างเขา้ รบั การรักษา
หากสถานพยาบาลนนั้ เป็นสถานพยาบาลในความ ตกลงของกองทนุ เงินทดแทน โดยนายจ้างต้องแจ้งการประสบ

อนั ตรายตามแบบ กท.16 และส าเนาแบบ สง่ ตวั ลูกจา้ งเข้ารกั ษาพยาบาล (กท.44) ต่อส านักงานประกันสงั คมท่ี
ลูกจา้ งประจ าท างานอยู่ ภายใน 15 วนั นับแต่วันทีท่ ราบการประสบอนั ตรายของลูกจ้าง

25. ลูกจา้ งหรือผู้มีสิทธติ ้องย่ืนคำร้องขอรบั เงนิ ทดแทนภายในก่วี นั ภายใน 180 วัน นับแตว่ นั ทป่ี ระสบอนั ตราย
เจ็บปว่ ยหรือสญู หาย

26. ลกู จ้างจะเข้ารับการรักษาที่ใดไดบ้ ้าง? สถานพยาบาลทกุ แห่งทม่ี แี พทยแ์ ผนปจั จุบนั ช้นั 1 เป็นผู้ทำการรกั ษา
และขอใบรับรองแพทย์ ทุกคร้ัง
27. การแจง้ การประสบอันตราย ทำโดยวิธใี ดบา้ ง? * นายจา้ งหรอื ผูร้ บั มอบอำนาจ แจ้งตามแบบ กท.16 โดยย่ืน
เร่ือง ณ สำนักงานประกันสงั คม หรอื สง่ ทางไปรษณีย์ * การแจ้งการประสบอนั ตราย นายจ้างและลกู จ้างต้องแสดง
เอกสารใบรบั รองแพทย์ ประวตั กิ าร รกั ษาพยาบาล และหลักฐานการปฏบิ ตั งิ านประกอบการพิจารณา เช่น การลง
เวลาทำงาน รวมทง้ั ให้ ข้อเทจ็ จริง จะทำให้พนักงานเจา้ หนา้ ทีว่ ินจิ ฉยั เรอ่ื งไดร้ วดเรว็

28. จะเบิกค่ารกั ษาพยาบาลได้อยา่ งไร? กรณีนายจา้ งหรือลูกจ้างจา่ ยค่ารักษาพยาบาลไปก่อนให้นำใบเสร็จรับเงิน
มาเบกิ คนื ไดภ้ ายใน 90 วัน นับแตว่ ันที่จ่ายแตถ่ ้าท าการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลทีท่ ำความตกลงกับ
กองทนุ เงนิ ทดแทน สถานพยาบาลนัน้ จะเรียกเกบ็ เงินจากกองทนุ โดยตรงและขอใหน้ ายจา้ งตรวจสอบคา่
รกั ษาพยาบาลจาก สถานพยาบาลทกุ ครงั้ ทส่ี ง่ ตัวลกู จา้ งเขา้ รกั ษาพยาบาล ซึง่ การจา่ ยค่ารกั ษาพยาบาลจะจา่ ยตาม
ราคา ประกาศของสถานพยาบาลทีป่ ระกาศใหป้ ระชาชนทราบ ทงั้ นไี้ มเ่ กนิ จากท่ีกฎกระทรวงกำหนด

29. เม่อื มารบั เงินใช้หลักฐานอะไรบ้าง? บัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรอ่นื ที่ทางราชการออกใหซ้ ่งึ มรี ูปถา่ ย
หากไม่ไดม้ ารับด้วยตนเอง จะต้องมีใบมอบฉันทะพร้อมท้งั บัตรประจำตัวประชาชนของผมู้ อบและผรู้ ับมอบมา
แสดง


Click to View FlipBook Version