รายงาน วิชาวิทยาการค านวณ รหัส ว30118 จัดท าโดย 1. นายนฤสรณ์ เที่ยงพูนวงศ์ เลขที่ 10 2. นางสาวชนิตา ยิ้มยลยศ เลขที่ 29 3. นางสาวศิริขวัญ วังแสงกลาง เลขที่ 30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/11 เสนอ ครูจิรายุ ทองดี รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาเทคโนโลยี รหัส ว30118 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
ก ค ำน ำ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาเทคโนโลยี รหัส ว30118ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5โดยมี จุดประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับภาษาคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง ในการจัดท ารายงานประกอบสื่อการเรียนรู้ในครั้งนี้ ผู้จัดท าขอขอบคุณ ครูจิรายุ ทองดี ผู้ให้ ความรู้ และแนวทางการศึกษาและเพื่อนๆ ที่ให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด คณะผู้จัดท าหวังเป็น อย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะอ านวยประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจและศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติม และพัฒนา ศักยภาพ และบรรลุตามเป้าหมาย นางสาวชนิตา ยิ้มยลยศ ผู้จัดท า
ข สำรบัญ หน้า ค าน า ก สารบัญ ข 1.ภาษาคอมพิวเตอร์ 1 2.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) 5 3.IoT(Internet of Things) 8 บรรณานุกรม 11 ภาคผนวก 13
1 ภำษำคอมพิวเตอร์ ภำษำคอมพิวเตอร์คืออะไร ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์ เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามค าสั่งได้ ในทางคอมพิวเตอร์นั้น ก็ต้องท าการพัฒนาภาษาที่จะ สื่อสารระหว่างมนุษย์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ด้วยเหตุที่เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีเฉพาะวงจรการเปิดและปิดท าให้เครื่องคอมพิวเตอร์สื่อสารโดยใช้เลขฐานสอง เท่านั้น เรียกภาษาที่ใช้เฉพาะเลขฐานสองในคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง (Machine Language) การที่มนุษย์จะเรียนรู้ภาษาเครื่องนั้นยากมากเพราะนอกจากจะต้องศึกษาถึงอุปกรณ์นั้นอีกด้วย ซึ่งจะท าให้การใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องยุ่งยากจึงมีผู้คิดค้นภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้น เพื่อท าหน้าที่ ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับมนุษย์โดยผู้ใช้จะสามารถติดต่อกับเครื่อง คอมพิวเตอร์โดยผ่านทางภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Programming Language)
2 ยุคของภำษำคอมพิวเตอร์ ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งออกได้เป็น 5 ยุค คือ 1.ภำษำเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาเดียวที่เครื่องสามารถปฏิบัติงานตามค าสั่งได้ ทันทีโดยไม่ต้องมีตัวแปลภาษาอื่นใดเข้ามาช่วย ซึ่งเป็นภาษาระดับต ่าที่สุด โดยช่วงก่อนปี ค.ศ. 1952เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถท างานได้ด้วยภาษาเครื่องภาษาเดียวเท่านั้น เนื่องจากยุคนั้นยัง ไม่มีการพัฒนาภาษาระดับอื่น ๆ เข้ามาเพื่อช่วยในการท างาน อีกทั้งค าสั่งของภาษาเครื่องจะใช้ เลขฐานสอง คือ 0 กับ 1แทนข้อมูล และค าสั่งต่าง ๆ ทั้งหมดจะขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่อง คอมพิวเตอร์ หรือหน่วยประมวลผลที่ใช้ นั่นคือแต่ละเครื่องก็จะมีรูปแบบของค าสั่งเฉพาะของ ตนเอง ซึ่งนักค านวณและนักเขียนโปรแกรมในสมัยก่อนต้องจักวิธีที่จะรวมตัวเลขเพื่อแทนค าสั่ง ต่าง ๆ ท าให้การเขียนโปรแกรมยุ่งยากมากไม่เหมาะส าหรับการพัฒนาโปรแกรมทางด้านธุรกิจ 2.ภำษำระดับต่ำ (Low level language) เนื่องจากภาษาเครื่องเป็นภาษาที่ยากแก่การท าความ เข้าใจและยากในการประยุกต์ใช่งาน ท าให้ผู้มีพัฒนารหัสและสัญลักษณ์มาแทนตัวเลข 0 กับ 1 โดยใช้อักขระในภาษาอังกฤษมามีส่วนร่วมในการสั่งงาน จึงท าให้มีการสั่งงานได้ง่ายยิ่งขึ้นแต่ก็ ยังคงยากส าหรับผู้เริ่มต้นศึกษาโปรแกรม ซึ่งได้แก่ ภาษาแอสเซมบลี ( Assembly language ) เกิดขึ้นปี ค.ศ. 1952โดยภาษาแอสเซมบลีใช้รหัสเป็นค าแทนค าสั่งภาษาเครื่อง ท าให้นักเขียน โปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ถึงแม้ว่าการเขียนโปรแกรมจะยังไม่สะดวกเท่ากับการ เขียนโปรแกรมภาษาอื่นๆ ในสมัยนี้ แต่ท้าเปรียบเทียบใยสมัยนั้นถือว่าเป็นการพัฒนาไปสู่ยุคของ
3 การเขียนโปรแกรมแบบใหม่ ถือใช้สัญลักษณ์แทนเลข 0และ 1ของภาษาเครื่อง แม้ว่าจะเป็น ภาษาที่ใกล้เคียงภาษาเครื่องแต่ละโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีต้องใช้ แอสเซมบลี ( Assembly ) แปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง เพื่อให้คอมพิวเตอร์ท างานตามต้องการอีกทอดหนึ่ง 3.ภำษำระดับสูง (High level Language) เริ่มถือก าเนิดขึ้นในปี ค.ศ. 1960โดยภาษาระดับสูงจะ ใช้ค าในภาษาอังกฤษแทนค าสั่งต่างๆ รวมทั้งสามารถใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ไดด้วยท าให้ นักเขียนโปรแกรมสามารถใช้เวลามุ่งไปในการศึกษาเท่านั้น ไม่ต้องเป็นกังวลว่าคอมพิวเตอร์จะ ท างานอย่างไรอีกต่อไป 4.ภำษำระดับสูงมำก (Very High-level Language) เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมได้สั้นกว่า ภาษายุคก่อนๆ โดยภาษายุคที่4 นี้มีคุณสมบัติที่จะแยกภาษายุคก่อนอย่างชัดเจน กล่าวคือภาษา ในยุคก่อนนั้นใช้หลักการของการเขียนโปรแกรม แบบโพรซีเยอร์ (Procedure Language) ซึ่ง ในขณะภาษายุคที่ 4จะเป็นแบบ ไม่ใช่โพรซีเยอร์ (Non-Procedure Language) ผู้เขียนโปรแกรม เพียงแต่ก าหนดว่าต้องการให้โปรแกรมท าอะไรบ้างก็สามารถเขียนโปรแกรมได้ทันที โดยไม่ต้อง ทราบว่าท าได้อย่างไร ท าให้การเขียนโปรแกรมสามารถท าได้ง่ายและรวดเร็วและภาษายุคที่ 4 นี้ยัง มีภาษาที่ใช้ส าหรับเรียกข้อมูลจากฐานข้อมูลได้ เรียกว่า ภาษาเรียกค้นข้อมูล (Query language) โดยปกติแล้วการเก็บข้อมูล การแสดงรายการจากฐานข้อมูลต้อง จะมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า แต่ บางครั้งอาจมีการเรียกข้อมูลพิเศษทีไม่ได้มีการวางแผนไว้ถ้าผู้ใช้เรียนภาษาเรียกค้นข้อมูลก็ต้องดู รายงานต่าง ๆ นอกเหนือจากที่ได้มีการวางแผนไว้ได้โดยใช้เวลาไม่มากนัก ภาษาเรียกค้นข้อมูลที่ เป็นมาตรฐาน เรียกว่า Query Bu Example หรือ QBE ที่ได้รับความนิยมในการใช้งานมากเช่นกัน 5.ภำษำธรรมชำติ (Nature language) หมายถึง ธรรมของมนุษย์ คือ ไม่ต้องสนใจถึงค าสั่งหรือ ล าดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์ที่ต้องการลงในคอมพิวเตอร์เป็นค าหรือประโยคตามที่ ผู้ใช้เข้าใจซึ่งจะท าให้มีรูปแบบของค าสั่งหรือประโยคที่แตกต่างกันออกไปได้มากมาย เพราะผู้ใช้ แต่ละคนอาจจะใช้ประโยคต่างกัน ใช้ค าศัพท์ต่างกัน หรือแม้กระทั้งบางคนอาจจะใช้ค าศัพท์แสลง
4 ก็ได้ คอมพิวเตอร์จะถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้อง ภาษาธรรมชาตจะใช้ ระบบฐานความรู้ (Knowledge Base System) ช่วยในการแปลความหมายของค าสั่งต่าง ๆ ประโยชน์ของภำษำคอมพิวเตอร์ -เป็นค าสั่งควบคุมการท างาน มีพัฒนาการของการสร้างรหัสค าสั่งจนมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน -สามารถเข้าใจภาษาของคอมพิวเตอร์ได้มากขึ้น -ใช้ควบคุมการท างานในระบบคอมพิวเตอร์ -เป็นพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ
5 เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร (ICT) ควำมหมำยและควำมส ำคัญของ ICT ICT หมายถึง เทคโนโลยีที่ช่วยในการรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ จัดหมวดหมู่ เรียงล าดับ สรุป ค านวณ จัดเก็บ ค้นคืน จัดท าส าเนาและแพร่กระจายหรือสื่อสาร ข้อมูล ท าให้ข้อมูลกลายเป็น สารสนเทศที่ดี มีความถูกต้อง ตรงตามความต้องการ และเกิดคุณค่าต่อผู้ใช้ ICT จะมีความส าคัญ ก็ต่อเมื่อ – ถูกใช้เป็นเครื่องมือแก้ปัญหาและพัฒนาความคิดวิเคราะห์ – ใช้ในการสร้างกลยุทธ์ เพื่อไขปัญหาที่ซับซ้อนและพัฒนาความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ส าหรับเรื่องที่ สนใจ หลักกำรท ำงำนของคอมพิวเตอร์ หลักการท างานเบื้องต้นของระบบคอมพิวเตอร์ เริ่มจากผู้ใช้ท าการกรอกข้อมูลหรือค าสั่งผ่าน ทางอุปกรณ์รับข้อมูล(Input Devices) ซึ่งข้อมูลหรือค าสั่งต่าง ๆ ที่รับเข้ามาจะถูกน าไปเก็บไว้ที่ หน่วยความจ าหลัก (Memory) จากนั้นก็จะถูกน าไปประมวลผลโดยหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing) แล้วน าผลที่ได้จากการประมวลผลมาเก็บไว้ในหน่วยความจ าแรม พร้อมทั้ง แสดงออกทางอุปกรณ์แสดงผล (Output Devices) ดังนั้นระบบคอมพิวเตอร์จึงประกอบด้วย 4 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ ส่วนอุปกรณ์รับข้อมูล ส่วนประมวลผลกลาง หน่วยความจ า และอุปกรณ์ แสดงผล คอมพิวเตอร์มีหลักการท างานอยู่ 4ขั้นตอน คือ 1. รับข้อมูล คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลและค าสั่งผ่านอุปกรณ์น าเข้าข้อมูลและค าสั่ง คือ คีย์บอร์ด เมาส์ และสแกนเนอร์ เป็นต้น
6 2. ประมวลผลข้อมูล หรือ CPU (Central Processing Unit) ใช้ค านวณและประมวณผลค าสั่งต่าง ๆ ตามโปรแกรมที่ก าหนด 3. จัดเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์จะเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูล เพื่อให้สามารถน ามาใช้ใหม่ ได้ในอนาคต เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นดิสก์ แผ่นซีดีและอุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดพอร์ตยูเอสบีไดร์ ซึ่ง หน่วยเก็บข้อมูลนี้สามารถ แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ 3.1 หน่วยความจ าหลัก สามารถแบ่งตามลักษณะการเก็บข้อมูลได้ดังนี้คือ (3.1.1) หน่วยความจ าแบบลบเลือนได้ คือ หากเกิดไฟดับระหว่างใช้งาน ข้อมูลจะหาย เรียกว่า แรม (RAM) (3.1.2) หน่วยความจ าแบบลบเลือนไม่ได้ คือ หน่วยความจ าถาวร แม้ไฟจะดับข้อมูลก็จะยังอยู่ เหมือนเดิม เรียกว่า รอม (ROM) 3.2 หน่วยความจ าส ารอง คือ หน่วยความจ าที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น ได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ แผ่นดิสก์ แผ่นซีดี และอุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดพอร์ต ยูเอสบี 4. แสดงผลข้อมูล เมื่อท าการประมวลผลแล้ว คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ที่ท าหน้าที่ แสดงข้อมูล เช่น หากเป็นรูปภาพกราฟิ กก็จะแสดงผลทางจอภาพ ถ้าเป็นงานเอกสารก็จะแสดงผล ทางเครื่องพิมพ์ หรือหากเป็นในรูปแบบของเสียงก็จะแสดงผลออกทางล าโพง เป็นต้น เทคโนโลยกีำรสื่อสำร เทคโนโลยีการสื่อสาร หมายถึง สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างกัน โดยการ ถ่ายทอด รับรู้ข่าวสารร่วมกัน ผ่านเครื่องมือเหล่านั้น ซึ่งไม่จ าเป็นต้องเป็น เครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักร วัสดุ เพียงอย่างเดียว อาจหมายรวมถึงกระบวนการต่าง ที่เกิดจากการประยุกต์ทาง วิทยาศาสตร์ด้วย
7 การสื่อสารมีการพัฒนามาเรื่อย ๆ จากภูมิปัญญาท้องถิ่น สู่เทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบันซึ่งมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และแนวโน้มในการพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารจะขยายออกไปเรื่อยๆ เป็นเครือข่ายการสื่อสารไร้สาย เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) คือเทคโนโลยีดิจิตัล (Digital Technology)ประเภทหนึ่งซึ่งได้พัฒนาตัวเพื่อเอื้อต่อการจัดการ “การสื่อสาร(Communication)” หรือ “การขนส่งข่าวสาร(Transfer of Information)” เทคโนโลยีการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นทางด้าน ภาพ (Image) เสียง (Voice) หรือ ทางด้านข้อมูล (Data) ได้รับการพัฒนาจนมนุษย์ สามารถ เชื่อมโยงติดต่อกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และเป็นเครือข่ายที่ติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก เป็นยุค ของสารสนเทศ (Information Age) และเป็นสังคมสาร- สนเทศ (Information Society) ที่นับวันจะ มีอัตราการเติบโตขึ้นทุกที่ทั้งในด้านขนาดและปริมาณข่าวสารที่ไหลเวียนอยู่ในสังคม หมายถึง เทคโนโลยีในการสื่อสารยุคใหม่ 4 กลุ่ม ได้แก่ 1. เทคโนโลยีการแพร่ภาพและเสียง (Broadcast and Motion Picture Technology) 2. เทคโนโลยีการพิมพ์ (Print and Publishing Technology) 3. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology) 4. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication Technology)
8 IoT (Internet of Things) IoTคืออะไร Internet of Things (IoT) คือ การที่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ สามารถเชื่อมโยงหรือส่งข้อมูล ถึงกันได้ด้วยอินเทอร์เน็ต โดยไม่ต้องป้อนข้อมูล การเชื่อมโยงนี้ง่ายจนท าให้เราสามารถสั่งการ ควบคุมการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ไปจนถึงการ เชื่อมโยงการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้ากับการใช้งาน อื่นๆ จนเกิดเป็นบรรดา Smart ต่างๆ ได้แก่ Smart Device, Smart Grid, Smart Home, Smart Network, Smart Intelligent Transportation ทั้งหลายที่เราเคยได้ยินนั่นเอง ซึ่งแตกต่างจากใน อดีตที่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเพียงสื่อกลางในการส่งและแสดงข้อมูลเท่านั้น กล่าวได้ว่า Internet of Things นี้ได้แก่การเชื่อมโยงของอุปกรณ์อัจฉริยะทั้งหลายผ่าน อินเทอร์เน็ตที่เรานึกออก เช่น แอปพลิเคชัน แว่นตากูเกิ้ลกลาส รองเท้าวิ่งที่สามารถเชื่อมต่อข้อมูล การวิ่ง ทั้งความเร็ว ระยะทาง สถานที่ และสถิติได้
9 หลักกำรท ำงำนของIoT คือการที่มีอุปกรณ์และวัตถุที่มีอยู่ภายในเครื่องจับสัญญาณ (Sensor) จะท าการเชื่อมต่อกับ แพลตฟอร์ม Internet of Things ซึ่งรวบรวมข้อมูลจากอุปกรณ์ต่างๆ และใช้การวิเคราะห์ เพื่อ แบ่งปันข้อมูลที่ดีที่สุดกับแอปพลิเคชันที่สร้างขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการที่เฉพาะเจาะจง โดยระบบ IoT มีองค์ประกอบสามส่วน ได้แก่ 1.อุปกรณ์อัจฉริยะ นี่คืออุปกรณ์ต่างๆ เช่น โทรทัศน์ กล้องรักษาความปลอดภัยหรืออุปกรณ์ออกก าลังกายที่มี ความสามารถในการประมวลผล ซึ่งรวบรวมข้อมูลจากสภาพแวดล้อม ข้อมูลที่ได้รับจากผู้ใช้ หรือ รูปแบบการใช้งานและสื่อสารข้อมูลดังกล่าวผ่านอินเทอร์เน็ตไปยังและจากแอปพลิเคชัน IoT 2.แอปพลิเคชัน IoT แอปพลิเคชัน IoT คือชุดของบริการและซอฟต์แวร์ที่ผสานรวมข้อมูลที่ได้รับจากอุปกรณ์ IoT ต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีแมชชีนเลิร์นนิงหรือปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลนี้และตัดสินใจอย่าง ชาญฉลาด จากนั้นจะสื่อสารการตัดสินใจเหล่านี้กลับไปยังอุปกรณ์ IoT และอุปกรณ์ IoT จะ ตอบสนองต่อข้อมูลที่ได้รับอย่างชาญฉลาด 3.ส่วนติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิ ก คุณสามารถจัดการอุปกรณ์ IoT หรือฟลีทอุปกรณ์ได้ผ่านส่วนติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิ ก โดยตัวอย่าง ทั่วไป ได้แก่ แอปพลิเคชันมือถือหรือเว็บไซต์ที่สามารถใช้เพื่อลงทะเบียนและควบคุมอุปกรณ์ อัจฉริยะได้
10 ประโยชนแ์ละควำมเสี่ยง เทคโนโลยี Internet of Things มีประโยชน์ในหลายด้านทั้งเรื่องการเก็บข้อมูลที่แม่นย าและเป็น ปัจจุบัน ช่วยลดต้นทุน แถมยังช่วยเพิ่มผลผลิตของพนักงานหรือผู้ใช้งานได้ แม้ว่าแนวโน้มของ IoT มีแต่จะเพิ่มขึ้นด้วยคุณาประโยชน์ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว แต่ประโยชน์ใดๆนั้นก็มาพร้อมกับความ เสี่ยง เพราะความท้าทายในการรักษาความปลอดภัยของเครือข่ายใหม่ที่เกิดขึ้นนั้น จะผลักดันให้ ผู้เชี่ยวชาญมีการรับมือทางด้านความปลอดภัยมากขึ้น ในทางตรงกันข้ามแฮกเกอร์หรือผู้ไม่หวังดี ก็ท างานหนักเพื่อที่จะเข้าควบคุม โจมตีเครือข่าย หรือเรียกค่าไถ่ในช่องโหว่ที่ IoT มีอยู่ ฉะนั้น ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยทาง IoT จึงจ าเป็นต้องพัฒนามาตรการ และระบบรักษาความ ปลอดภัยไอทีควบคู่กันไป เพื่อให้ธุรกิจและการใช้งาน IoT สามารถขับเคลื่อนต่อไปได้
11 บรรณำนุกรม ภาษาคอมพิวเตอร์.(ม.ป.ป).[ออนไลน์].ได้จาก: https://sites.google.com/a/srisuk.ac.th/computer-science-ssw/kar-kheiyn-porkaermbeuxng-tn/phasa-khxmphiwtexr.[สืบค้นเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2566] ครูโยธิน สิริเอ้ย.ภาษาคอมพิวเตอร์.สืบค้นเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2566จาก https://sites.google.com/a/thoengwit.ac.th/master_site/kar-kheiyn-porkaerm ว่าที่ร้อยตรี สุรเชษฎ์ เพ็ญพร.ความหมายของICT.สืบค้นเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2566จาก https://www.gotoknow.org/posts/430729 ความหมายและความส าคัญในการน า ICT มาใช้ในการเรียนรู้.(ม.ป.ป).[ออนไลน์].ได้จาก: https://shorturl.asia/0kI83.[สืบค้นเมื่อวันที่6 สิงหาคม พ.ศ. 2566] หลักการท างานของคอมพิวเตอร์.(ม.ป.ป).[ออนไลน์].ได้จาก:https://shorturl.asia/HsP9m .[สืบค้นเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2566] 2.3เทคโนโลยีการสื่อสาร.(ม.ป.ป).[ออนไลน์].ได้จาก: https://shorturl.asia/KtcIw.[สืบค้นเมื่อ วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2566]
12 Internet of Things ท างานอย่างไร?.(2562).[ออนไลน์].ได้จาก: https://www.anet.net.th/a/45726 Amazon Web Services, Inc. IoT คืออะไร.สืบค้นเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2566 จาก https://aws.amazon.com/th/what-is/iot/ DevBun.Internet Of Things (IoT) คืออะไร มาหาค าตอบกัน.สืบค้นเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2566 จาก https://shorturl.asia/p37w8
13 ภำคผนวก 1.แนบภาพสถิติเกี่ยวกับผู้เข้าชม(live)หรือการน าเสนอออนไลน์ยอดวิว 100 หรือ ยอดแชร์ 100 https://shorturl.asia/47gUc 2.ยอดผู้เข้าดูเว็บไซต์ของ Admin ยอดแชร์ 100 https://shorturl.asia/BcWHe