The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานกิจกรรมการนิเทศการเรียนการสอน ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดท่าตำหนัก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krufnaka1614, 2021-05-10 05:05:40

รายงานกิจกรรมการนิเทศการเรียนการสอน ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดท่าตำหนัก

รายงานกิจกรรมการนิเทศการเรียนการสอน ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดท่าตำหนัก

1

รายงานผลการดาเนินงาน

กิจกรรมการนิเทศการเรยี นการสอน
ปกี ารศึกษา 2563

โรงเรียนวัดทา่ ตาหนัก (เทพวทิ ยเสถยี ร)
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

2

บทที่ 1
บทนำ

ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2562 มุ่งเน้นเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ดังนนั้ ภารกจิ สาคัญ

ของการดาเนินงานของโรงเรียน คือการพัฒนาครูและนักเรียนให้มีคุณภาพตามจุดมุ่งหมายของพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2562 คือ มุ่งเนน้ ให้ผ้เู รยี นเปน็ คนดี คนเก่ง และมีความสขุ บนพนื้ ฐานของความเป็นไทย
ซึ่งครูเป็นบุคคลสาคัญที่จะต้องปฏิบัติภารกิจดังกล่าว ดังนั้นครูจึงจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้มีความรู้
ความเข้าใจ และทักษะในการปฏิบัติงาน การพัฒนาครูโดยการนิเทศภายในโรงเรียน มีความสาคัญต่อการพัฒนา
คุณภาพครู และผู้เรียนให้มีคุณภาพ ช่วยให้ครูมีการพัฒนาตนเองในด้านการจัดการเรียนการสอนและพัฒนา
คณุ ภาพผเู้ รยี นให้มีคุณภาพมากยิ่งข้นึ สันต์ ธรรมบารุง (2598. หน้า 10) กล่าววา่ การนเิ ทศการสอนจะเป็นสว่ น
หน่ึงของการนเิ ทศการศึกษา คือ มุ่งในด้านการปรับปรุงการเรียนการสอนโดยตรง ซึ่งปัจจบุ ันนกั การศึกษาและผู้ที่
เกยี่ วข้องกับการจดั การศึกษา ได้ใหค้ วามสนใจท่จี ะใชก้ ารนิเทศการสอนเพื่อพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอน

นิพนธ์ ไทยพานิช (2559. หน้า 19) กล่าวว่า แนวโน้มและความต้องการของการนิเทศการศึกษา
ในเมืองไทยในอนาคตนนั้ จะหันมาให้ความสนใจการนิเทศการสอนมากข้ึนทงั้ ในและนอกห้องเรยี น

การนิเทศการสอนเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการเรียนการสอน เน้ือหาท่ีใช้จัดกิจกรรมต้องสอดคล้องกับ
หลักสูตรสถานศึกษา เน่ืองจากครูมีปัญหาในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ขาด
ความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาตนเองด้านการจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก (Active Learning) มีการจัดกิจกรรมที่เน้นให้
นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน ดังนั้นการนิเทศการสอนจึงเป็นส่ิงที่ช่วย
ให้ครูผู้สอนได้มีการปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนนการสอน จากข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ทาให้ครูผู้สอนมี
ความรแู้ ละความเขา้ ใจมากยิง่ ข้นึ เพอ่ื ปรบั ปรุงการเรยี นการสอนให้มีคุณภาพมากยิ่งขึน้

วตั ถปุ ระสงคข์ องกำรนิเทศภำยในโรงเรยี น
1. เพอื่ พฒั นาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและการจัดกิจกรรมการเรียนเชิงรุก (Active Learning)
2. เพื่อพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ของผู้เรยี น
3. เพอื่ พฒั นาคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผูเ้ รียน
4. เพอ่ื พัฒนาส่ืออุปกรณใ์ ห้มีประสทิ ธิภาพสงู ขึ้นในทกุ ห้องเรียน
5. เพ่อื พัฒนาการยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของผ้เู รยี น
6. เพอ่ื พัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา

เปำ้ หมำยกำรดำเนินกำรนเิ ทศภำยในโรงเรยี น
1. ครมู ีประสิทธภิ าพการปฏิบัติงานและการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ของครู ร้อยละ 95
2. นักเรียนมีพฤติกรรมการเรยี นร้ดู ขี ้ึน รอ้ ยละ 80
3. นักเรยี นมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผเู้ รยี น ร้อยละ 80
4. นักเรียนมีการอยรู่ ว่ มกบั ผู้อื่นอยา่ งมคี วามสุข รอ้ ยละ 80
5. นักเรียนมีความก้าวหนา้ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของผู้เรียน ร้อยละ 80

3

บทท่ี 2
กำรดำเนินกำร

แนวทำงกำรนิเทศภำยในโรงเรยี น

การนิเทศภายในโรงเรียนจะบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ หากผู้บริหารโรงเรียนได้มีการ

เตรยี มการก่อนการนิเทศ และดาเนินการตามกระบวนการนเิ ทศภายในโรงเรียน

กำรเตรยี มกำรนเิ ทศภำยในโรงเรียน

1. สร้างความเข้าใจร่วมกัน หากครูมีความเข้าใจถูกต้อง ตรงกันเกี่ยวกับการนิเทศภายในโรงเรียน จะทา

ให้ครูคลายความวิตกกังวลและพร้อมท่ีจะให้ความร่วมมือกับผูน้ ิเทศ โดยมีเรือ่ งท่ีต้องสรา้ งความเข้าใจกับครูทกุ คน

มดี งั นี้

1.1 ความหมายของการนเิ ทศภายในโรงเรียน

1.2 ความสาคญั และความจาเปน็ ของการจดั การนิเทศภายในโรงเรยี น

1.3 จดุ มุ่งหมายของการนเิ ทศภายในโรงเรยี น

1.4 เป้าหมายและตวั บง่ ชคี้ วามสาเรจ็ ของการนเิ ทศภายในโรงเรยี น

1.5 กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน

2. แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน โดยให้บุคลากรในหน่วยงานมีส่วนร่วมในการเสนอรายช่ือผู้นิเทศ

เพื่อชว่ ยแกป้ ญั หาการไม่ยอมรบั ผ้นู เิ ทศได้ระดบั หน่ึง โดยคณะกรรมการประกอบด้วย

ผบู้ ริหารโรงเรียน ประธาน

หัวหน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้ กรรมการ

ครูวิชาการโรงเรยี น หรือผทู้ ีไ่ ด้รบั การคดั เลือกจากคณะครู กรรมการและเลขานุการ

3. ทาความเข้าใจรว่ มกันเกีย่ วกบั บทบาทและหน้าที่ของผ้นู ิเทศ และผู้เข้ารับการนิเทศรวมทัง้ ผูท้ ี่เก่ียวขอ้ ง

จะทาให้ผู้นิเทศสามารถปฏิบัติตนด้วยความสบายใจ ไม่อึดอัด ขณะเดียวกันก็ช่วยขจัดความรู้สึกขัดแย้งของ

ผรู้ ับการนเิ ทศที่มตี ่อผนู้ เิ ทศได้ด้วย

3.1 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการนเิ ทศภายในโรงเรียน

3.1.1 กาหนดเป้าหมายของการนิเทศภายในโรงเรียน เช่น ส่งเสริมการปฏิบัติงานและ

ความร่วมมือในการทางานเป็นหมู่คณะโดยใช้กระบวนการกลุ่มในการปฏิบัติงาน ส่งเสริมให้ครูรักงานวิชาการ

ทางานวิชาการอย่างสม่าเสมอเคารพในหลักการและเหตุผลของการปรับปรุงคุณภาพของงาน ช่วยเหลือให้ครู

ปฏิบัติงานด้วยความสะดวก มีโอกาสเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะต่าง ๆ ที่เป็นประโยชในการปฏิบัติงานในหน้าท่ีอย่าง

มีประสทิ ธภิ าพ

3.1.2 ส่งเสริมให้ครูมีความความเข้าใจ เก่ียวกับการนิเทศภายในโรงเรียน และเรื่อง

อื่น ๆ ทเี่ ป็นประโยชน์ในการปฏบิ ตั งิ านในหนา้ ท่ขี องครู

3.1.3 กระตุ้นให้ครูเกิดการพัฒนาตนเองอย่างเสมอ เช่น แจ้งข่าวสารความเคลื่อนไหว

ทางวิชาการ การไปเย่ียมชมนิทรรศการของหน่วยงานต่าง ๆ ส่งเสริมให้อ่านวารสารทางวิชาการและการเขียน

บทความ

3.1.4 ร่วมมือกับคณะครดู าเนินงานตามขนั้ ตอนของกระบวนการนเิ ทศ

3.1.5 สร้างขวัญและกาลงั ใจใหแ้ ก่ผูป้ ฏบิ ัติงาน ด้วยวิธกี ารตา่ ง ๆ เชน่ ยกย่องชมเชยใน

ทีป่ ระชุม นาผลสาเร็จของการปฏิบัติงานมาแสดงให้ปรากฏแก่บุคคลอื่น แต่งต้ังเป็นคณะกรรมการตามความถนัด

และเปดิ โอกาสให้แสดงความสามารถอย่างเตม็ ท่ี

3.1.6 ติดตามประเมนิ ผลและพัฒนาการดาเนินการนิเทศภายใน

4

3.2 บทบาทหนา้ ทขี่ องผู้รับการนเิ ทศ
3.2.1 ยอมรับบทบาทหน้าที่ของผู้นิเทศโดยรับฟังความคิดเห็นข้อเสนอแนะและให้

ความรว่ มมอื
3.2.2 รว่ มมอื กบั ผนู้ เิ ทศในการวเิ คราะห์ปญั หาและกาหนดแนวทางการแก้ปญั หา
3.2.3 ปฏบิ ัตงิ านตามท่ีได้รับการมอบหมายด้วยความจรงิ ใจ และใช้แนวทางที่ได้รับการ

นิเทศในการแกป้ ญั หาหรือพฒั นางาน
4. ซักซ้อมความเข้าใจเก่ียวกับการปฏิบัติการนิเทศให้แก่คณะกรรมการดาเนินการนิเทศภายใน เพ่ือ

ป้องกันข้อผิดพลาดและความขัดแย้งในการนิเทศ ตลอดจนป้องกันมิให้ผู้รับการนิเทศเกิดความสับสนและอาจไม่
ศรทั ธาผู้นเิ ทศและการนิเทศภายใน

เรื่องทคี่ ณะกรรมกำรดำเนินกำรนิเทศภำยในโรงเรยี นควรทำควำมเขำ้ ใจก่อนเริ่มกำรนเิ ทศ
1. การนิเทศภายในระยะแรก ควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพราะ

เป็นเรอ่ื งละเอยี ดอ่อนและเกิดความขดั แยง้ ได้ง่าย ควรเลือกกจิ กรรมทผี่ ู้นิเทศกับผู้รบั การนเิ ทศไมต่ อ้ งเผชญิ หนา้ กัน
โดยตรง เช่น การฟังคาบรรยาย การมอบหมายให้ศึกษาเอกสารมาเล่าส่กู ันฟัง การชมวดี ีทัศน์ การพาไปดูตวั อย่าง
การสอนทดี่ ี ฯลฯ เมื่อครูมคี วามคุน้ เคยกบั การนิเทศ และมคี วามพรอ้ ม จงึ ใชก้ ิจกรรมการสงั เกตการสอน

2. การสร้างบรรยากาศ ความเป็นมิตร และความไว้วางใจใช้กิจกรรมทางสังคมหรือกลุ่มสัมพันธ์เข้า
ดาเนินการ ความสามัคคใี นหม่คู ณะ เป็นปัจจยั สาคญั ทีจ่ ะชว่ ยใหก้ ารนเิ ทศภายในโรงเรยี นประสบความสาเร็จ

3. การตดั สินใจ เลือกใชก้ จิ กรรมการนิเทศมาแก้ไขปัญหา และพฒั นางานข้นึ อยูก่ บั ปญั หา และสาเหตขุ อง
ปญั หา ซง่ึ ต้องร่วมกนั พจิ ารณาอยา่ งรอบคอบ

กิจกรรมกำรนิเทศ
โรงเรียนวัดท่าตาหนัก (เทพวิทยเสถียร) ได้จัดให้มกี จิ กรรมนิเทศที่หลากหลายทเ่ี ป็นทางการ และไม่เป็น

ทางการ (การปรกึ ษาหารือ แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ สนทนา) ซึง่ ในปกี ารศกึ ษา 2563 ไดจ้ ดั กจิ กรรมนเิ ทศดังน้ี
1. การเยยี่ มชั้นเรยี นและการสงั เกตการสอน
2. การศึกษาดูงาน
3. การประชมุ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้

ผนู้ เิ ทศ
1. ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา
2. คณะกรรมการนิเทศโรงเรียน
3. คณะกรรมการนเิ ทศจากสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา
4. การประเมินตนเองของครู
5. การประเมินโดยผปู้ กครอง นกั เรียน ขุมชน

กิจกรรมกำรนิเทศ กำรประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อสรา้ งความเข้าใจอันดีระหว่างครูผสู้ อนด้วยกนั และผู้บริหารสถานศกึ ษา
2. เพอ่ื ส่งเสริมให้ครูมกี ารปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียนการสอนอยา่ งต่อเน่อื ง
เป้ำหมำย
ประชุมทงั้ แบบเป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการอย่างนอ้ ยเดือนละ 1 ครง้ั

5

ขั้นตอนกำรดำเนนิ งำน
1. ประชมุ ชแ้ี จง
2. กาหนดปฏทิ นิ การประชุม
3. ดาเนนิ การตามปฏิทินท่ีกาหนด
4. สรปุ รายงานผล

เวลำดำเนินกำร เดอื นกรกฎาคม พ.ศ 2563 ถงึ เดอื นเมษายน พ.ศ.2564
สอ่ื - เครือ่ งมือนเิ ทศ

1. สมดุ บนั ทึกการประชุม
2. แบบสอบถาม
3. เอกสารรายงานผล
กำรวัดและประเมนิ ผล
1. สังเกต
2. สอบถาม
3. ตรวจบนั ทกึ การประชุม

ผู้ปฏบิ ัติ
1. ครูทกุ คน
2. คณะกรรมการนเิ ทศภายในโรงเรยี น
3. ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา

กิจกรรมกำรนเิ ทศ กำรอบรม/ศกึ ษำดงู ำน
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อพฒั นาครทู กุ คนให้ไดเ้ รียนรู้จากประสบการณ์ตรง การแลกเปล่ยี นประสบการณ์
2. เพ่อื ใหค้ รูได้นาประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ปรบั ปรงุ พัฒนาการจดั การเรียนการสอนของตนเอง
เป้ำหมำย
ครู บุคลากร ทุกคนไดไ้ ปอบรม/ศกึ ษาดูงาน ปีการศึกษาละ 1 คร้งั
ขน้ั ตอนกำรดำเนนิ งำน
1. ประชมุ ช้แี จง
2. จดั เตรียมเนอื้ หากรอบการศกึ ษาดงู านและมอบหมายภารกจิ
3. ประสานสถานศึกษา หรือแหลง่ เรียนรู้ กาหนด วัน เวลา
3. ดาเนนิ การตามปฏิทินที่กาหนด
4. สรุปรายงานผล
เวลำดำเนินกำร
ตลอดปกี ารศกึ ษา

สอ่ื - เครอ่ื งมือนิเทศ
1. แบบสอบถาม
2. เอกสารรายงานผล

6

กำรวัดและประเมินผล
1. สังเกต
2. สอบถาม
3. ตรวจบันทกึ การประชุม

ผปู้ ฏิบตั ิ
ครู และบุคลากรทกุ คน ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา

กจิ กรรมกำรนเิ ทศ กจิ กรรมนิเทศเยี่ยมช้นั เรยี น และสังเกตกำรสอน
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอื่ พฒั นาครู ใหส้ ามารถจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในสาระทตี่ นเองจัดกจิ กรรมการเรียน

การสอนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
2. เพือ่ ส่งเสริมให้ครูมกี ารปรับปรงุ พัฒนางานอย่างต่อเน่อื ง
3. เพ่อื พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียนใหส้ ูงขึน้

เปำ้ หมำย
สังเกตการสอนของครูทกุ คนอย่างน้อย ภาคเรยี นละ 2 คร้ัง

ขัน้ ตอนกำรดำเนินงำน
1. ประชุมชี้แจง
2. กาหนดปฏทิ ินการนเิ ทศเยี่ยมชั้นเรยี น
3. ดาเนนิ การตามปฏิทินท่ีกาหนด
4. สรปุ รายงานผล

เวลำดำเนินกำร
ตลอดปกี ารศกึ ษา

สอื่ - เคร่อื งมือนิเทศ
1. บนั ทึกการนเิ ทศ
2. บนั ทึกการจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้

กำรวัดและประเมนิ ผล
1. แบบประเมินผล
2. รายงานผล

ผู้ปฏิบัติ
1. ครทู ุกคน
2. คณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรยี น
3. ผู้บริหารสถานศึกษา

7

บทท่ี 3
ผลกำรดำเนินงำน

จากการดาเนินงานโครงการนิเทศการสอน ประจาปีการศึกษา 2563 ตามแผนงานที่ได้วางไว้
มีผลการดาเนินงานดังนี้

1. ครูผ้สู อนทุกคน ได้รับการนเิ ทศตดิ ตามการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ภาคเรียนละ 2 ครง้ั
ซึง่ ผู้นิเทศจะดาเนินนิเทศการสอนของครูผูส้ อนตามตารางการนเิ ทศที่กาหนดไว้ สรปุ ผลการนิเทศไดด้ งั น้ี

1.1 จากการนิเทศการจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 1 – ชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 6 มีจานวนผู้ได้รับการนิเทศ จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปผลการนิเทศ ตาม
ระดับ ดงั นี้

5 หมายถงึ ระดบั มากทส่ี ุด 4 หมายถงึ ระดับ มาก 3 หมายถึง ปานกลาง
2 หมายถงึ ระดับน้อย 1 หมายถึง ระดับนอ้ ยทส่ี ดุ

ตารางสรปุ ผลการนเิ ทศ ปีการศึกษา 2563 ผลการนิเทศ 1 หมายเหตุ
-
รายการพิจารณา 54 3 2 -
- -
1.ขนั้ ทบทวนความรู้เดิม 7 15 - - -
2.ข้ันเสนอความรู้ใหม่ - -
3.ขน้ั แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 22 - - - -
4.ขั้นแสดงความร/ู้ ผลงาน -
5.ขน้ั นาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ 12 8 2 - -

รวม 14 5 3 - -
เฉลยี่
รอ้ ยละ 11 9 2 -

66 37 7

300 168.18 31.81

60.00 33.64 6.36

จากการดาเนินงานโครงการนิเทศการสอน มีผู้รับการนิเทศ จานวน 22 คน คณะครูได้
ดาเนนิ กจิ กรรมการเรียนการสอนสรปุ ได้ ดังน้ี ขั้นตอนท่ีผรู้ บั นิเทศปฏิบัติได้มากที่สุดเป็นอันดับแรก คือ ข้ันเสนอ
ความรู้ใหม่ ระดับ 5 มากที่สุด จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ข้นั ตอนท่ีผู้รับนิเทศปฏิบัติไดม้ ากท่ีสุด
รองลงมา คือ ข้ันทบทวนความรู้เดิม ระดับ 5 มากทีส่ ดุ จานวน 7 คน คิดเปน็ ร้อยละ 31.82 ระดับ 4 มาก
จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 68.18 ข้ันตอนที่ผู้รับนิเทศปฏิบัติได้น้อยท่ีสุด คือ ขั้นประยุกต์ใช้ ระดับ 5
มากที่สุด จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ระดับ 4 มาก จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 40.91
ระดับ 3 ปานกลาง จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 9.09 ข้ันตอนที่ผู้รับนิเทศปฏิบัติได้น้อยที่สุดรองลงมา
คอื ขั้นแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ระดับ 5 มากท่สี ุด จานวน 12 คน คดิ เป็นร้อยละ 54.55 ระดบั 4 มาก จานวน
8 คน คดิ เป็นร้อยละ 36.36 ระดับ 3 ปานกลาง จานวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.09

สรุปได้ว่า การดาเนินงานโครงการนิเทศการสอน ครูร้อยละ 100 ได้รับการนิเทศ และครู
ผรู้ ับการนเิ ทศปฏิบตั ติ ามขนั้ ตอนการนเิ ทศอย่ใู นระดบั ดีถงึ ดีมาก รอ้ ยละ 93.64

8

1.2 การตรวจเย่ียมชั้นเรียน ผู้นเิ ทศมกี ารเข้าตรวจเยี่ยมช้ันเรียน ภาคเรียนละ 2 ครัง้ ของ
คณะครู 22 คน โดยสรปุ การตรวจเยี่ยมช้นั เรยี นได้ดงั นี้

การเย่ยี มชั้นเรียน
๕ = ปฏิบัติไดร้ ะดบั ดีมาก ๔ = ปฏิบัตไิ ด้ระดับดี ๓ = ปฏบิ ตั ิได้ระดับปานกลาง
๒ = ปฏบิ ัตไิ ด้ระดบั พอใช้ ๑ = ควรปรบั ปรงุ แกไ้ ข

ก. สภำพหอ้ งเรียน

ระดบั การปฏบิ ตั ิ

ที่ รายการ 5 4 3 2 1 หมายเหตุ

1 หอ้ งเรยี นสะอาด เรียบรอ้ ย 20 2

90.91 9.09

2 การจัดบรรยากาศในห้องเรยี นเปน็ บรรยากาศทางวิชาการ 19 3

86.36 13.64

๓ มปี า้ ยแสดงข้อมูลสถติ ิของหอ้ งเรียนท่เี ป็นปจั จุบัน 22

100

๔ มีสญั ลักษณ์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ 22

100

๕ มีการจดั มุมวิชาการ หรอื มุมประสบการณ์ทางการเรยี นรู้ 18 4

81.82 18.18

รวม 101 9

ค่าเฉล่ีย 91.82 8.18

ข. พฤติกรรมของครู

ระดบั การปฏบิ ัติ

ท่ี รายการ 5 4 3 2 1 หมายเหตุ

1 มกี ารเตรียมการสอน และบันทึกการสอน 19 3

86.36 13.64

2 มีสอ่ื อปุ กรณก์ ารสอน และมรี อ่ งรอยการใช้ 20 2

90.91 9.09

3 ควบคมุ ดูแลการจัดห้องเรยี นใหม้ บี รรยากาศแหง่ การเรยี นรู้ 22

100

4 พดู ดว้ ยน้าเสยี งน่าฟงั และเร้าความสนใจของนกั เรยี น 18 4

81.82 18.18

5 แต่งกายเหมาะสมกบั สภาพความเป็นครู 22

100

รวม 101 9

คา่ เฉล่ยี 91.82 8.18

9

ค. พฤตกิ รรมของนักเรยี น ระดบั การปฏบิ ตั ิ 1 หมายเหตุ
5 432
ท่ี รายการ 416 32
1 กล้าพูดกลา้ คุยกับคนแปลกหนา้ และกลา้ ซักถาม
448
ครูผูส้ อน 448
2 กระตือรอื รน้ ทีจ่ ะเรยี นรู้ 432 16
3 มีความสนุกสนาน ร่าเริง แจ่มใส 448
4 สนใจปฏบิ ตั กิ ิจกรรมท่ีได้รบั มอบหมาย 426 22
5 แตง่ กายสะอาด เรยี บร้อย 2618 70
6 มรี ะเบยี บวินัยดี และมมี ารยาทเรียบรอ้ ย
97.40 2.60
รวม
ค่าเฉล่ยี 93.68 6.32
รวมเฉลี่ยทุกดา้ น

จากตารางสรุปการตรวจเยี่ยมช้ันเรยี น ปีการศกึ ษา 2563 ของฝ่ายบริหารสถานศึกษา /ผู้ได้รับ
มอบหมายให้เป็นผู้นิเทศ และตรวจเย่ียมช้ันเรียน รวมคณะครูที่ได้รับการตรวจเย่ียมทั้งหมด 22 คนมี
รายละเอียด ดงั นี้

ก. สภำพห้องเรียน
1. ห้องเรียนสะอาด เรียบรอ้ ย ระดบั ดีมาก มีจานวน 20 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 90.91 ระดับ
ดี มจี านวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.09
2. การจัดบรรยากาศในห้องเรียนเป็นบรรยากาศทางวิชาการ ระดับดีมาก มีจานวน 19 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 86.36 ระดบั ดี มีจานวน 3 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 13.64
3. มีป้ายแสดงข้อมูลสถิติของห้องเรียนที่เป็นปัจจุบัน ระดับดีมาก มีจานวน 22 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 100
4. มีสัญลกั ษณช์ าติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ระดับมาก มจี านวน 22 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
5. มีการจัดมุมวิชาการ หรือมุมประสบการณ์ทางการเรียนรู้ ระดับมาก มีจานวน 18 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 81.82 ระดับดี มีจานวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18.18

ข. พฤติกรรมของครูผสู้ อน
1. มีการเตรียมการสอน และบันทึกการสอน ระดับดีมาก จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ
86.36 ระดับดี จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 13.64
2. มีส่ือ อุปกรณ์การสอน และมีร่องรอยการใช้ ระดับดีมาก จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ
90.91 ระดบั ดี จานวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.09
3. ควบคุมดูแลการจัดห้องเรียนให้มีบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ ระดับดีมาก จานวน 22 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100
4. พูดดว้ ยนา้ เสยี งน่าฟังและเร้าความสนใจของนักเรียน ระดับดมี าก จานวน 18 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 81.82 ระดบั ดี จานวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 18.18

10

ค. พฤติกรรมของนกั เรยี น
1. กล้าพดู กลา้ คยุ กับคนแปลกหน้าและกล้าซักถามครผู สู้ อน ระดบั ดีมาก มีจานวน 416 คน
คิดเป็นร้อยละ 92.86 ระดบั ดี จานวน 32 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.14
2. กระตอื รือรน้ ทีจ่ ะเรยี นรู้ ระดบั ดมี าก มจี านวน 448 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100
3. มคี วามสนกุ สนาน ร่าเริง แจ่มใส ระดบั ดมี าก มีจานวน 448 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100
4. สนใจปฏิบัติกิจกรรมทไ่ี ด้รับมอบหมาย ระดับดีมาก มีจานวน 432 คน คิดเป็นร้อยละ
96.43 ระดับดี จานวน 16 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.57
5. แตง่ กายสะอาด เรยี บรอ้ ย ระดับดีมาก มจี านวน 448 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
6. มีระเบียบวินัยดี และมีมารยาทเรียบร้อย ระดับดีมาก มีจานวน 426 คน คดิ เป็นร้อยละ
95.09 ระดบั ดี จานวน 22 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.91
สรุปได้ว่า การตรวจเย่ียมช้ันเรียน ปีการศึกษา 2563 ของฝ่ายบริหารสถานศึกษา /ผู้ได้รับ
มอบหมายให้เป็นผู้นิเทศและตรวจเย่ียมชั้นเรียน รวมคณะครูที่ได้รับการตรวจเย่ียมท้ังหมด 22 คน มีผลการ
ตรวจเยย่ี มชนั้ เรยี นโดยรวม อยู่ในระดบั ดถี งึ ระดับดีมาก รอ้ ยละ 100

2. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการดาเนนิ งาน โครงการนเิ ทศการสอน โดยสอบถาม
ความพึงพอใจของคณะครู จานวน 22 คน สรุปได้ดงั นี้

11

ตารางสรปุ ความพงึ พอใจของผู้รว่ มโครงการนิเทศการสอน ปีการศึกษา 2563

ที่ หัวข้อที่ประเมนิ 5 43 2 1

1. มกี ารประชาสัมพันธ์ใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ งเพื่อรบั ทราบการนเิ ทศ 17 5

2. มีการกาหนดผนู้ ิเทศและผูร้ บั การนิเทศชัดเจน 18 4

3. ความเหมาะสมของกิจกรรมนิเทศ 17 5
16 6
- การประชุมเตรียมความพร้อมเปิดภาคเรียน 17 4 1
- การใหค้ าปรึกษา 20 2
- การประชุมทางวิชาการ 16 6
- การเยยี่ มหอ้ งเรียน
- การสอนซ่อมเสริม

4. มีการกาหนดบทบาทหน้าทข่ี องผู้เกี่ยวข้องกับการนเิ ทศไว้ 17 4 1

อย่างชดั เจน

5. มีเอกสารการนเิ ทศไว้เพียงพอ 18 4

6. มีการนิเทศติดตามผลการนเิ ทศอย่างต่อเน่ือง 17 5

7. บรรยากาศการนเิ ทศ 19 3

8. ระยะเวลาในการดาเนนิ การ 18 4

9. มีการสรุปรายงานผลการนิเทศและความก้าวหน้า 17 5

10. ความพึงพอใจตอ่ การนเิ ทศของโรงเรียนวดั ทา่ ตาหนกั (เทพ 18 4

วทิ ยเสถียร)

รวม 245 61 2
เฉล่ยี 17.5 4.36 0.14
คิดเป็นร้อยละ 79.55 19.81 0.65

จากการประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องกับการนิเทศการจัดการเรียนการสอน ของคณะ
ครูโรงเรียนวัดท่าตาหนัก (เทพวิทยเสถียร) ปีการศึกษา 2563 จานวน 22 คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครู
หลังจากปฏิบัติกิจกรรมการนิเทศ สรุปได้ว่า ผู้ร่วมโครงการนิเทศการสอน มีความพึงพอใจในระดับดี คิดเป็น
ร้อยละ 99.35 โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้ หัวข้อท่พี ึงพอใจมากที่สุด คือ หัวข้อ การเยี่ยมชั้นเรียน ระดับ 5 ดีมาก
เลือก 20 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 90.91 ระดับ 5 ดี เลือก 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 9.09 หวั ข้อท่ีพึงพอใจมาก
ท่ีสุดรองลงมา คือ บรรยากาศการนิเทศ ระดับ 5 ดีมาก เลือก 19 คน คิดเป็นร้อยละ 86.36 ระดับ 4 ดี
เลือก 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 13.64 ส่วนหัวขอ้ ทพี่ งึ พอใจน้อยที่สดุ คอื การให้คาปรึกษาและการสอนซ่อมเสริม
ระดับ 5 ดีมาก เลือก 16 คน คิดเป็นร้อยละ 72.72 ระดับ 4 ดี เลือก 6 คน คิดเป็นร้อยละ 27.27
และหัวข้อที่พึงพอใจนอ้ ยที่สดุ รองลงมา คือ มีการประชาสัมพนั ธ์ให้ผู้เกยี่ วข้องเพ่ือรับทราบการนเิ ทศ การประชุม

เตรียมความพร้อมเปิดภาคเรียน การประชุมทางวิชาการ มีการกาหนดบทบาทหน้าท่ีของผู้เกี่ยวข้องกับการนิเทศ

ไว้อย่างชัดเจน มีการนิเทศติดตามผลการนิเทศอย่างต่อเน่ือง และมีการสรุปรายงานผลการนิเทศและ

ความกา้ วหนา้ ระดับ 5 ดีมาก เลอื ก 17 คน คดิ เป็นร้อยละ 77.27 ระดับ 4 ดี เลือก 4 คน คดิ เป็นร้อยละ

18.18 ระดบั 3 เลอื ก 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 4.55

12

สรุปได้ว่า การดาเนินกิจกรรมของโครงการนิเทศการสอน ประจาปีการศึกษา 2563 จากการ
สอบถามความพึงพอใจของผู้เก่ียวข้อง มีความพึงพอใจในระดับดีมาก

3. ครูผู้รับการนิเทศทุกคน นาข้อเสนอแนะที่ได้จากการรับการนิเทศ มาพัฒนา และปรับปรุง
การจัด การเรียนรู้อย่างหลากหลาย โดยครูผู้รับการนิเทศส่วนใหญ่ได้บันทึกการแก้ไขการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนไว้แบบรายงานการปฏบิ ตั ิตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการนิเทศการเรยี นการสอน

อภิปรำยผล
จากการดาเนินการโครงการนิเทศการสอน ปีการศึกษา 2563 สรปุ ไดด้ ังน้ี
1. ครูผู้สอนทกุ คน ได้รบั การนิเทศตดิ ตามการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ภาคเรียนละ 2 ครงั้

ซ่ึงผนู้ ิเทศจะไปนเิ ทศการสอนของครูผสู้ อนตามตารางการนเิ ทศท่ีกาหนดไว้
2. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการดาเนินงาน โครงการนเิ ทศการสอนในระดบั ดีมาก

กำรบรรลุเป้ำหมำย ไม่บรรลุ (ไม่สามารถทาตามเปา้ หมายไดค้ รบ)
 บรรลุ (ทาได้ตามเป้าหมายทุกข้อ)

จุดเดน่ /จดุ ดขี องกำรดำเนนิ กจิ กรรมของโครงกำร
จุดดเี ด่นของการดาเนินโครงการนี้ คือ มีการวางแผนการทางาน ทางานเป็นระบบ กาหนดบทบาทของ

ผเู้ ก่ยี วขอ้ งชัดเจน และโรงเรยี นมีบุคลากรท่ีชานาญการ ทาให้การดาเนนิ งานเปน็ ไปตามเปา้ หมายท่ตี ง้ั ไว้
จุดที่ควรพัฒนาในการดาเนินกิจกรรมของโครงการ คือ ควรติดตามการนาผลการนิเทศไปปรับปรุงการ

จดั การเรียนการสอน เพือ่ การดาเนนิ งานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

ผลทีเ่ กดิ ขึ้นจำกกำรจดั กิจกรรม
1. ผลทเ่ี กิดข้นึ กับนกั เรยี น
- นักเรียนได้เรยี นรู้จากการจดั กิจกรรมไดเ้ หมาะสมกบั วยั จากการทค่ี รูได้รบั คาแนะนาและ

ปรบั ปรงุ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผเู้ รียน ใหไ้ ดร้ ับประสบการณท์ หี่ ลากหลาย เกิดความรู้
ความชานาญ ทัง้ ทางดา้ นความรตู้ ามทฤษฎี และเกิดทักษะการเรียนรู้ตามธรรมชาติวิชาอย่างกว้างขวางมากยิง่ ข้ึน

2. ผลทเ่ี กิดข้ึนกับผู้ปกครอง/ชุมชน
- ผูป้ กครองร่วมให้คาปรึกษาแนะนาบุตรหลานทางดา้ นการเรยี น การดูแลเอาใจใสผ่ ู้เรียน และ
ใหข้ อ้ มูลที่เป็นประโยชนต์ ่อการป้องกนั แก้ไขข้อบกพรอ่ ง และพฒั นาผู้เรยี น ตลอดจนรว่ มแสดงความคิดเหน็
ใหค้ วามรู้และประสบการณ์ ซงึ่ สร้างความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมตามโครงการ
3. ผลที่เกิดข้ึนกับครูและบุคลากรในโรงเรียน คือ ครูผู้สอน เกิดความภาคภูมิใจในผลงานที่ได้
มุ่งม่ัน ส่งเสริม และพัฒนา จนผู้เรียนสามารถเดินตามเส้นทางสานฝันไปสู่ดวงดาว และประสบความสาเร็จตาม
เป้าหมาย

4. ผลท่ีเกิดขึน้ กับโรงเรียน
- ความภาคภูมใิ จในผลงาน รางวลั เกยี รติยศ และช่ือเสยี งทไ่ี ดร้ บั จากการประกวดแข่งขัน

ระดบั เชตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา และระดับประเทศ
- สถานศึกษาเปน็ ทยี่ อมรบั ของชุมชน

13

ปัญหำและอุปสรรค
1. ครูส่วนหนึ่งไมน่ าผลการนิเทศไปปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอน
2. การบนั ทกึ ผลการนิเทศยังน้อยไปจึงนาผลการนิเทศไปปรับปรุงไม่ครบทุกดา้ น

ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการวางแผนงานใหเ้ ป็นระบบ และมีผรู้ ับผดิ ชอบจัดทาเอกสารแนะนาเทคนิคการนเิ ทศ

เพ่มิ เติม และควรจดั ทาเอกสารไว้ลว่ งหนา้
2. ควรมีการติดตามผลการนิเทศอย่างจริงจัง เพื่อให้คาแนะนาในการนาผลการนิเทศไป

ปรบั ปรุงการจดั การเรียนรใู้ ห้มปี ระสิทธิภาพยิ่งขน้ึ

14

ภำคผนวก

15

คาส่งั โรงเรยี นวัดท่าตาหนกั (เทพวทิ ยเสถียร)
ท่ี 49/2563

เรือ่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมการนเิ ทศการสอน ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
............................................................

เน่ืองด้วยการนิเทศการสอนเป็นกระบวนการหน่ึงในการพัฒนาการเรียนการสอนของครูของโรงเรียนวัดท่า
ตาหนัก (เทพวิทยเสถียร) เพื่อให้เกิดการปรับปรุง และพัฒนาในด้านการจัดการเรียนการสอน ผู้เรียนเกิดคุณภาพไปในทิศทาง

เดยี วกนั จงึ ขอแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อทาหนา้ ท่ีนิเทศการสอน โดยใหเ้ ริม่ นิเทศตามคาสงั่ ที่ไดร้ ับมอบหมาย ดังน้ี
1. คณะกรรมกำรอำนวยกำร มหี นา้ ท่ีให้คาปรึกษา แนะนา ตดั สนิ ใจ ใหก้ ารดาเนินการเป็นไปด้วย ความเรียบร้อย ประกอบดว้ ย

1. นายจตรุ งค์ เชาวนส์ กลุ ผู้อานวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ
2. นางสาวรุ่งเรอื ง สมั ฤทธสิ์ ุขโชค รองผู้อานวยการโรงเรยี น กรรมการ

3. นางสาววลั ยล์ ยิ า สวยสะอาด ครู กรรมการ
กรรมการ
4. นางกมลวรรณ ศรีชาติ ครู กรรมการและเลขานุการ

5. นางสาวชนาภรณ์ ใจซ่ือ ครู

2. คณะกรรมกำรนิเทศกำรสอน มหี น้าที่นิเทศการจดั การเรยี นการสอนของครู

ระดบั ปฐมวยั ผอู้ านวยการโรงเรยี น
1. นายจตรุ งค์ เชาวนส์ กลุ รองผอู้ านวยการโรงเรยี น
2. นางสาวร่งุ เรือง สัมฤทธิ์สขุ โชค ครู
3. นางสาววัลย์ลิยา สวยสะอาด ครู
4. นางกมลวรรณ ศรชี าติ

ระดับประถมศกึ ษา

1. นายจตรุ งค์ เชาวนส์ กลุ ผ้อู านวยการโรงเรยี น
2. นางสาวรงุ่ เรือง สมั ฤทธสิ์ ุขโชค รองผู้อานวยการโรงเรยี น

3. นางสคุ นธา พรมสุวรรณ ครู
4. นางสาวจริญญา โพธิ์อุบล ครู
5. นางสาววลั ย์ลิยา สวยสะอาด ครู
6. นางสุจนิ นั ท์ บรสิ ุทธ์ิ ครู
7. นางสาวทิพยญ์ ดา เจยี มคณุ านนท์ ครู

ให้คณะกรรมการที่ได้รับคาสั่งปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเคร่งครัด และเป็นไปด้วยความเรียบร้อย เกิดประโยชน์ต่อ
นกั เรยี นและโรงเรียนมากทีส่ ดุ

ทัง้ นี้ ต้ังแต่บดั นีเ้ ปน็ ต้นไป

สง่ั ณ วันท่ี 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2563

(นายจตรุ งค์ เชาวน์สกุล)
ผอู้ านวยการโรงเรียนวดั ทา่ ตาหนัก (เทพวทิ ยเสถียร)

16

แบบการเยยี่ มชนั้ เรยี น (CLASSROOM VISTATION) ครัง้ ที่ ๑

ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓
โรงเรยี นวดั ทา่ ตาหนกั (เทพวิทยเสถียร) สพป.นครปฐม เขต ๒

-----------------------------------------------------------

คาช้แี จง แบบการเย่ยี มชัน้ เรยี นน้ี เปน็ แบบเยีย่ มการจัดการเรียนการสอนของครใู นแต่ละรายวิชาทสี่ อน
โดย ผบู้ รหิ ารหรอื ผเู้ ยี่ยมชน้ั เรยี น และบันทึกข้อมูลจากการเย่ียมช้นั เรียนโดยทาเคร่ืองหมายถูก
( ✓ ) ในแบบประเมินทุกข้อ

ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ทว่ั ไป
๑. ผู้รับผิดชอบชนั้ เรียน ...............................................................................................................
๒. กล่มุ สาระการเรยี นรู้/วิชา .......................................................................................................................

เร่ืองทีส่ อน..................................................................................... ระดับชั้น/ห้องทีส่ อน .........../............
วนั ที่............เดอื น...............................พ.ศ. ................... คาบท่ี................เวลา.........................................

ตอนท่ี ๒ การเยีย่ มชน้ั เรยี น ๔ = ปฏบิ ัติได้ระดับดี ๓ = ปฏิบัตไิ ดร้ ะดับปานกลาง
๕ = ปฏบิ ตั ไิ ด้ระดบั ดีมาก ๑ = ควรปรบั ปรงุ แก้ไข
๒ = ปฏิบัตไิ ด้ระดบั พอใช้

ก. สภำพห้องเรยี น ระดบั การปฏิบัติ หมายเหตุ
543 21
ท่ี รายการ
1 ห้องเรียนสะอาด เรียบร้อย
2 การจดั บรรยากาศในห้องเรียนเป็นบรรยากาศทางวชิ าการ
๓ มปี า้ ยแสดงข้อมูลสถติ ิของห้องเรียนท่เี ปน็ ปจั จบุ นั
๔ มีสญั ลกั ษณช์ าติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
๕ มกี ารจดั มุมวชิ าการ หรอื มมุ ประสบการณ์ทางการเรียนรู้

รวม
ค่าเฉล่ยี

ข. พฤติกรรมของครู ระดบั การปฏิบตั ิ หมายเหตุ
54321
ที่ รายการ
1 มกี ารเตรียมการสอน และบันทึกการสอน
2 มีส่อื อปุ กรณก์ ารสอน และมรี ่องรอยการใช้
3 ควบคมุ ดแู ลการจัดหอ้ งเรยี นให้มีบรรยากาศแห่งการเรยี นรู้
4 พดู ด้วยนา้ เสียงนา่ ฟังและเร้าความสนใจของนกั เรยี น
5 แต่งกายเหมาะสมกบั สภาพความเป็นครู

รวม
คา่ เฉล่ีย

17

ค. พฤติกรรมของนกั เรียน ระดบั การปฏิบัติ
5 4 3 2 1 หมายเหตุ
ที่ รายการ
1 กลา้ พูดกล้าคุยกับคนแปลกหน้าและกลา้ ซักถามครูผ้สู อน
2 กระตือรือร้นท่จี ะเรียนรู้
3 มคี วามสนกุ สนาน ร่าเริง แจ่มใส
4 สนใจปฏิบตั ิกจิ กรรมที่ได้รับมอบหมาย
5 แตง่ กายสะอาด เรยี บร้อย
6 มรี ะเบียบวินยั ดี และมีมารยาทเรยี บร้อย

รวม
ค่าเฉลย่ี
รวมเฉลย่ี ทกุ ด้าน

ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ
................................................................................................ .................................................................. ....
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................................... .......................
........................................................................................................... ...........................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................................... ............

(ลงช่อื )...............................................ผ้นู ิเทศ
(นายจตุรงค์ เชาวส์ กุล)

ผอู้ านวยการโรงเรียนวดั ท่าตาหนัก (เทพวิทยเสถยี ร)

เกณฑ์กำรแปลควำมหมำย 4.51 – 5.00 หมายถึง ปฏิบตั ิไดร้ ะดบั ดีมาก
ระดับคะแนน 3.51 – 4.50 หมายถงึ ปฏิบัตไิ ด้ระดับดี
ระดับคะแนน 2.51 – 2.50 หมายถึง ปฏบิ ตั ไิ ดร้ ะดบั ปานกลาง
ระดบั คะแนน 1.51– 2.50 หมายถงึ ปฏบิ ตั ไิ ดร้ ะดบั พอใช้
ระดับคะแนน 1.00– 1.50 หมายถึง ควรปรบั ปรงุ แก้ไข
ระดบั คะแนน

18

บนั ทกึ การนเิ ทศการสอน/การตรวจเย่ียมชั้นเรียน
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี................

โรงเรยี นวัดท่าตาหนกั (เทพวิทยเสถียร) สพป.นครปฐม เขต ๒

วันท.ี่ ..............เดือน................................พ.ศ………….…..

ข้อเสนอแนะ/ความคิดเหน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
............................
..................................................................................................................................................................
....

(ลงชื่อ).................................................ผู้นเิ ทศ
(นายจตรุ งค์ เชาวส์ กลุ )

ผูอ้ านวยการโรงเรยี นวัดท่าตาหนัก (เทพวทิ ยเสถียร)

รับทราบ/ปรับปรงแกไ้ ข/ดาเนินการตามคาแนะนา
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
....................

(ลงชื่อ).............................................ผรู้ ับการนเิ ทศ
(นางสาวกุพชกา นุกาศ)

19

ปฏิทนิ การดาเนินการนิเทศภายในโรงเรยี นวดั ท่าตาหนัก (เทพวทิ ยเสถยี ร)
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2563

กรกฎาคม 2563 **************************************
- ประชุมคณะครูเพ่ือวางแผนเลือกวธิ ีการนิเทศภายในโรงเรียน
สิงหาคม 2563 - จัดทาเครื่องมนี ิเทศภายใน
ถึง เมษายน 2564 - จดั ทาปฏิทนิ การปฏิบตั ิงานนิเทศภายใน
- ปฏบิ ัติกิจกรรมการนเิ ทศตามปฏทิ นิ
พฤศจกิ ายน 2563 - ส.ค. 2563 - ม.ี ค. 2564 สงั เกตการสอน
ธันวาคม 2563 - ส.ค. 2563 , ธ.ค. 2563 ประเมินแผนการจดั การเรยี นรู้
มกราคม 2564 - ส.ค. 2563 , ธ.ค. 2563 ประเมนิ สื่อและแหลง่ เรยี นรู้
เมษายน 2564 - ต.ค. 2563 - ม.ี ค. 2563 ประเมนิ แบบวัดและเคร่ืองมือวัดผล

เย่ยี มชั้นเรยี น
- ส.ค. 2563 - มี.ค. 2564 เย่ียมชน้ั เรยี น
- สรุปผลการนิเทศ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563
- วิเคราะห์และประเมินผลโดยการประชมุ ชี้แจงผลการนิเทศเพื่อปรับปรงุ และวางแผน
การนิเทศภายในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563
- คณะผนู้ ิเทศ ดาเนนิ การนิเทศและตดิ ตามผลภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563
ถึง มีนาคม 2564
- วิเคราะห์และประเมินผลโดยการประชุมชแ้ี จงผลการนิเทศเพื่อปรบั ปรุง และวางแผน
การนิเทศภายในภาคเรียนตอ่ ไป
- สรุปโครงการและประเมนิ ผลโครงการ

หมายเหต การจดั กิจกรรมอาจเปลีย่ นแปลงตามความเหมาะสม

20
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

21
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

22
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

23
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

24
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

25
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มช้ันเรียน (CLASSROOM VISTATION)

26
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

27
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

28
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

29
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

30
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

31
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

32
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

33
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

34
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

35
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

36
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

37
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

38
นเิ ทศการเรยี นการสอนเยยี่ มชนั้ เรียน (CLASSROOM VISTATION)

39

40


Click to View FlipBook Version