The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aphiwat0957, 2021-09-08 12:12:53

ilovepdf_merged (7)

ilovepdf_merged (7)

รายงาน
เรื่องการเลย้ี งไกเ่ นอื้

เสนอ
ครุ อาวุธ จมุ ปา

จดั ทาโดย
นายอภวิ ฒั น์ แซ่หาง
เลขที่ 21 ระดบั ชนั้ ปวส. 2/3
สาขาวชิ าสัตวศาสตร์

รายงานฉบับนี้เปน็ ส่วนหน่ึงของวิชา เทคโลยีสารสนเทศเพ่อื การ
จดั การอาชีพ

ภาคเรียนท่ี 1 การศึกษา 2564
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

คานา

รายงานฉบับเป็นเร่ืองเก่ียวกับ การเล้ียงไก่เนื้อ ซี่งเป็นเน่ือหาต่างๆท่ีจะให้ความรู้กับผู้ท่ี
ต้องการศึกษา ประกอบด้อง ยุทธศาสตร์สัตว์ปีกท่ีเล้ียงระบบฟาร์ม จัดทาขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ
ใช้เป็นแนวทางการ บริหารจัดการยุทธศาสตร์สัตว์ปีกท่ีเล้ียงระบบฟาร์มทั้งระบบ ให้เป็นไปอยางมี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ตั้งแต่กระบวนการผลิตจนถึงผู้บริโภค และนาไปสู่การขับเคลื่อน
ปฏิบตั ิ โดยให้ทกุ ภาคสว่ นมีร่วมในกระบวนการ ขัน้ ตอนต่าง ๆ ในการตอบสนองต่อความต้องการของ
เกษตรกรและผู้บริโภคท้ังในและต่างประเทศ ตลอดจนใช้ ประกอบการประสานงานกบหนัวยงานท่ี
เกีย่ วข้องท้ังภายในและภายนอก สานักงานปศุสตั วเ์ ขต 9 ในการ ดาเนนิ งานเปน็ ไปตามทกี่ าหนด

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานฉบับน้ีคงจะเป็นประโยชน์กับผู้ที่สนใจท่ีต้องการจะศึกษา
ไมม่ ากกน็ ้อย

สารบยั หน้า
1
ที่ 3
1. การเลยี้ งไกเ่ นอ้ื 5
2. ขอ้ มลู สาหรับการวางแผนเลี้ยงไก่เน้อื 10
3. อยา่ มองขา้ ม“อาชพี การเลย้ี งไก่ตลาดโตทกุ ปสี ร้างเศรษฐี หน้าใหมไ่ ด้ตลอด
4. 12 ข้ันตอน เลยี้ งไก่เน้ือมาตรฐานบรษิ ทั – ปศุศาสตร์ นวิ ส์

1

การเล้ยี งไก่เน้อื

การเลย้ี งไก่เนื้อ

การเล้ียงไก่เนื้อการจัดเลี้ยงดูไก่เน้ือ ไก่เนื้อในปัจจุบันมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพการใช้อาหารดีมากขึ้นตามลาดับ การจัดการเล้ียงดูมี ส่วนเสริมให้ดีขึ้นด้วย การจัดการ
เลยี้ งดูท่สี าคญั ได้แก่

1. การเตรียมโรงเรือนและอุปกรณ์ มีการเตรียมเช่นเดียวกับสัตว์ปกี ชนิดอื่นๆ ซึ่งฟาร์มเลี้ยง
ไกเ่ นอ้ื ทส่ี มบรู ณค์ วรมี

– โรงเรอื นเลย้ี งไก่เนื้อ

– โรงเรอื นเก็บอาหาร ยา และอปุ กรณ์การเลีย้ ง

– อาคารอาบนา้ สาหรับบุคคลทีจ่ ะเข้าฟารม์

– สานักงาน

– บา้ นพัก

– โรงเรอื นสเปรยย์ าฆ่าเชื้อรถยนตภ์ ายนอกฟารม์

– โรงเก็บวัสดุรองพน้ื

– ระบบน้าภายในฟาร์ม

ภายในโรงเรือนเลี้ยงไก่เนื้อน้ันควรจะสร้างให้มีความกว้าง 10 เมตร และยาวประมาณ 104 เมตร
ภายในนั้นแบ่งเป็นล๊อกขนาด 200 ตารางเมตร และมีท่ีเก็บอาหารประจาโรงขนาด 40 ตารางเมตร
และมีอุปกรณ์ต่าง ๆ สาหรับการเล้ียงพร้อมโรงเรือนและอุปกรณ์ควรทาความสะอาดและฆ่าเช้ือด้วย
ยาฆ่าเชื้อก่อน ต่อมาจะทาการปูด้วยวัสดุรองพื้น และจัดอุปกรณ์เข้าโรงเรือน จากน้ันใช้ยาฆ่าเชื้อฉีด
พ่นเปน็ ฝอยอกี ครั้ง

2. การนาลูกไก่เข้าเล้ียงและการเลี้ยงดู ก่อนนาลูกไก่เข้าเล้ียงจะต้องตรวจความพร้อมอีก
คร้งั และนาลกู ไกล่ งปล่อย ปกตพิ น้ื ที่ 1 ล๊อกขนาด 200 ตารางเมตร จะปลอ่ ยลูกไก่ 1600-2000ตัว

เรอ่ื ง การเล้ยี งไกเ่ นอ้ื โดย นาย อภิวัฒน์ แซห่ าง

2

3. การให้น้าและอาหาร เป็นงานปกติท่ีต้องทาประจาวัน ไก่เนื้อควรให้อาหารบ่อยๆ เพ่ือ
กระตนุ้ ใหไ้ กก่ ินอาหารไดม้ ากข้นึ การใช้ถังอาหารแบบแขวน ควรเข้าไปเขยา่ บ่อยๆ เช่นกนั สาหรับนา้
ควรมีให้กนิ ตลอดเวลา และควรลา้ งภาชนะให้นา้ อย่างนอ้ ยวนั ละ 1 ครั้ง

4. การให้แสงสว่างสาหรับไกเ่ นือ้ ไก่เนื้อต้องการแสงสว่างเพื่อให้สามารถกินอาหารได้ตลอด
วันและตลอดคืน ดังนน้ั จึงตอ้ งให้แสงสว่างอยา่ งเพียงพอ

5. การกกไก่เนื้อ เป็นการจัดการที่สาคัญอีกอย่างหน่ึง จาเปน็ เพื่อให้ลูกไก่ค่อย ๆ ปรับตัวกับ
สภาพแวดล้อม

6. การให้วัคซีน ได้แก่ วัคซีนป้องกันโรค นิวคลาสเซิล ฝีดาษ และ หลอดลมอักเสบ ซึ่งจะให้
ตามโปรแกรมวัคซนี สาหรบั ไกเ่ น้ือ

7. การจับไก่เพ่ือจาหน่าย เป็นข้ันตอนสุดท้ายของการเลี้ยงไก่เน้ือการจับไก่จาหน่ายควรทา
ชว่ งอากาศเยน็ หรือช่วงเวลากลางคนื

8. การควบคมุ โรคในไก่เน้อื อาศัยหลาย ๆ อย่าง ประกอบกนั ดงั นี้
– การจดั การโดยใชห้ ลกั การ
– Isolation การเลือกพ้ืนทหี่ า่ งจากชุมชน
– Protection การป้องกันพาหะนาโรค
– All -in all-out system
– Idle period การพักเลา้
– Sanitation การสุขาภิบาล ไดแ้ ก่ การล้าง การฆ่าเชื้อ การเข้าเล้าต้องจุมเท้าก่อน

หรือการอาบน้าเปลี่ยนเส้อื ผ้ากอ่ นเขา้ เลา้ และการฆา่ เช้อื ภายนอก
– Health Promotion ส่งเสริมส่ิงแวดล้อมให้ดี เช่น การระบายอากาศ การกก น้า

และอาหาร
– การทาวคั ซนี (vaccination program)
– การกาจัดโรค( disease elimination) – คดั เลอื กลกู ไกท่ นี่ ามาเลี้ยงควรปราศจาก

เช้ือ
– ปอ้ งกันความเครียดตา่ ง ๆ
– รบี ใหก้ ารรกั ษา
– คดั ไกป่ ่วยออก ทาลายซากไก่ท่ีตาย

เร่อื ง การเล้ียงไกเ่ นอ้ื โดย นาย อภิวัฒน์ แซห่ าง

3

ขอ้ มูลสาหรับการวางแผนเล้ียงไกเ่ นอ้ื
1. วัสดุสาหรับโรงเรอื นเลย้ี งไกเ่ นื้อมาตรฐาน ขนาดโรงเรือน 10 * 104 เมตร ใชว้ ัสดุดงั น้ี
– สงั กะสี 11,500 ฟตุ
– ไม้ 1.50*4 จานวน 250 ลบ. ฟตุ
– ไม้ 1.50*3 จานวน 150 ลบ. ฟตุ
– โครงเหล็กหลังคา 27 โครง
– ปนู 600 ถุง
– ตาข่าย 1500 เมตร
– ตอม่อ 54 ต้น
– อฐิ บลอ๊ ก 1000 กอ้ น
2. อุปกรณ์
– เครือ่ งกกฝาชี 1 อัน ตอ่ ไก่ 500-600 ตวั
– ถาดอาหาร 1 อัน ต่อไก่ 100 ตัว ชว่ ง 0-7 วนั หรือ ชว่ ง 0-3 วัน
– รางอาหาร 24 ฟตุ 3 อนั ต่อไก่ 100 ตวั ชว่ ง 4-10 วนั
– ถงั อาหารแบบแขวน 3 อนั ตอ่ ไก่ 100 ตัว ช่วงวนั ที่ 10 ขึน้ ไป
– ถงั นา้ ขนาด 1 แกลอน 0-7 วนั ใช้ 1 ถงั /100 ตัว 8-21 วัน ใช้ 2 ถงั /100 ตัว , 21
วันข้ึนไป ใช้ 3 ถัง/100 ตัว
3. อัตราการใช้พ้ืนที่เลี้ยง ข้ึนกับอุณหภูมิอากาศ เช่น ฤดรู ้อน 32 องศาเซลเซียส ควรปล่อย

ลกู ไก่ 7.5-8 ตวั /ตร.ม. ฤดฝู น 25 องศาเซลเซียส ควรปลอ่ ยลูกไก่ 8.0-8.5 ตัว/ตร.ม. ฤดหู นาว ต่ากว่า
25 องศาเซลเซยี ส ควรปล่อยลกู ไก่ 9.5-10 ตวั /ตร.ม

เรื่อง การเลยี้ งไก่เนอ้ื โดย นาย อภวิ ัฒน์ แซห่ าง

4

4. ความต้องการอาหารของไก่เน้ือ
อายุ (สปั ดาห)์ /ปรมิ าณอาหารที่กนิ ( กรมั /ตัว)
1 /185
2 /553
3 /1019
4/ 1983
5/ 2433
6 /3347
การเตรียมอาหารสาหรบั ไกเ่ นอ้ื 1000 ตัว
ชว่ ง 1-28 วัน ใช้อาหาร 38 ถุง
ช่วง 29-42 วนั ใชอ้ าหาร 66 ถุง
5. ความตอ้ งการน้าของไก่เน้อื
อายุ (สปั ดาห์)/ ปรมิ าณที่กนิ (กรัม/ตัว/วัน)
1/ 19
2/ 38
3/ 57
4/ 76
5 /95
6/ 114

เร่อื ง การเลี้ยงไก่เนอื้ โดย นาย อภิวัฒน์ แซห่ าง

5

6. น้าหนกั ตวั อตั ราการเจรญิ เตบิ โตและอตั ราแลกเนอ้ื (นา้ หนัก ลกู ไก่เร่ิมเลี้ยง 44 กรัม)
ช่วงอายุ (wk) /นา้ หนกั ตวั /อตั ราการเจริญเติบโต/ อัตราแลกเนอ้ื
0-1/ 164 /17.24 /1.57
0-2 /397/ 25.20 /1.57
0-3 /718/ 32.11 /1.51
0-4 /1065/ 36.16 /1.65
0-5 /1448/ 40.13/ 1.73
0-6/ 1828 /42.48 /1.88

อย่ามองขา้ ม “อาชีพการเล้ยี งไก่ ”ตลาดโตทุกปี สร้าง “เศรษฐี” หน้าใหมไ่ ดต้ ลอด
1. ไก่ ” นับเป็นสัตว์เศรษฐกิจท่ีสาคัญของประเทศไทย การผลิตไก่เน้ือของไทยมีอัตราเติบโต

อย่างต่อเนื่อง จากปริมาณความต้องการบริโภคไก่ท่ีเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ืองท้ังในและต่างประเทศ
เนื่องจากมีการขยายตลาดส่งออกเป็นหลัก ประกอบกับการเติบโตของตลาดในประเทศ และต้นทุน
การผลติ ที่ลดต่าลงตามราคาวัตถดุ บิ อาหารสัตว์ เป็นต้น

2. ไก่เน้อื
2.1“ไก่เนื้อ” หรือ “ ไก่กระทง ” เป็นสายพันธ์ุไก่เชิงพาณิชย์ ที่เน้นผลิตในปริมาณ

มากเพื่อให้ได้ผลกาไรสูงสุด แต่มีต้นทุนต่าสุด ไก่เน้ือส่วนใหญ่ถูกนาเข้าสายพันธุ์มาจาก
บริษัทเอกชนผู้จาหน่ายสายพันธุ์สัตว์ในซีกโลกตะวันตก เช่น สหรัฐอเมริกา ฯลฯ ที่ประสบ
ความสาเร็จในการพฒั นาสายพันธ์ไุ ก่เน้ือท่ีโตเร็ว กินอาหารได้มาก ใชร้ ะยะเวลาการเลี้ยงส้ัน
เพียงไม่กี่สัปดาห์ก็จับไก่ออกขายได้แล้ว ราคาไก่เนื้อไม่สูงนัก ผู้เลี้ยงก็อยู่ได้ เพราะว่าต้นทุน
การผลิตตา่

2.2 ปจั จุบัน ไก่เน้ือ 1 ตัว ระยะเวลาการเลี้ยง 30-35 วนั เลี้ยงด้วยอาหารไก่กระทง
อย่างเต็มท่ี เม่ือครบกาหนดสามารถจับไก่ออกขาย จะได้น้าหนักตัวเฉลี่ยตัวละประมาณ
1.8-2 ก.ก. โดยอัตราการเปล่ียนอาหารเป็นเน้ือ (FCR )จะอยู่ท่ีประมาณ 1.65-1.8 ก.ก.
เน่ืองจาก ไก่เน้ือที่นามาปรุงอาหาร ยังเติบโตได้ไม่เต็มที่ เน้ือหนังยังอ่อนนุ่ม และเลี้ยงขังใน
โรงเรือนแบบปดิ โดยไม่มีการออกกาลังกาย ไก่เนื้อส่วนใหญ่จึงมีปริมาณไขมันสูงตามไปด้วย
รสชาตไิ มค่ อ่ ยอร่อยนกั

เรือ่ ง การเลีย้ งไก่เนอื้ โดย นาย อภวิ ฒั น์ แซห่ าง

6

2.3 ผลผลิตไก่เนื้อส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 90 มาจากผู้ประกอบการรายใหญ่ที่ดาเนิน
ธุรกจิ ครบวงจร สว่ นรอ้ ยละ 10 เป็นผลผลิตจากฟารม์ เล้ียงไก่ของเกษตรกรรายยอ่ ย และจาก
การปรับปรุงโครงสร้างการผลิตไปสู่ระบบฟาร์มที่มีการควบคุมดูแลตามมาตรฐานสากลอย่าง
ต่อเนื่อง ประกอบกับมาตรการคุมเข้มเพ่ือป้องกันโรคระบาดในฟาร์มเล้ียงไก่ หลังเกิดวิกฤต
โรคหวัดนกในปี 2547 ส่งผลให้ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลิตไก่เน้ือเป็นอันดับต้นๆของ
โลก โดยไมไ่ ดร้ ับผลกระทบจากการระบาดของโรคไข้หวดั นกในปจั จุบนั

2.4 ทุกวันน้ีอุตสาหกรรมการเล้ียงไก่เนื้อ ส่วนใหญ่ ใช้เงินลงทุนสูง อยู่ในความดแู ล
ของบริษัทเอกชนขนาดใหญ่ เพียงไม่ก่ีราย ทั้งบริษัทจะโดยส่งเสริมให้เกษตรกรเล้ียงไก่เน้ือ
ใน“ระบบเกษตรพันธสัญญา” หรือ “Contract Farming” โดยจัดหาปัจจัยการผลิต เช่น
พันธุ์ไก่ อาหารสัตว์ ยาสัตว์ของบริษัทมาใช้ในฟาร์มเกษตรกร เมื่อครบกาหนดจะรับซ้ือ
ผลผลติ คืนในราคาประกนั

2.5 เกษตรกรที่ทาเกษตรพันธะสัญญาส่วนใหญ่มีรายได้ดีกว่าเดิม และไม่มีความ
เส่ียงทางด้านตลาดเพราะมีตลาดรองรับซื้อผลผลิตแน่นอน สามารถขายได้ในราคาท่ีชัดเจน
นอกจากนี้ บริษัทยังช่วยสนับสนุนข้อมูล ข่าวสารการตลาด เพ่ิมพูนเทคโนโลยีการผลิตอย่าง
ต่อเน่ือง ทาให้เกษตรกรที่เล้ียงไก่เน้ือในระบบเกษตรพันธสัญญาสามารถปรับตัวสอดคล้อง
กบั กระแสโลกาภวิ ัตน์และการผนั ผวนของราคาและผลผลิตภาคเกษตร
3. ไกพ่ น้ื เมอื ง

3.1“ ไก่พื้นเมือง”หรือ “ ไก่พน้ื บ้าน ”เป็นสัตว์เศรษฐกิจสาคัญในชมุ ชนและท้องถ่ิน
และเป็นแหล่งอาหารที่สร้างความม่ันคงทางอาหารให้คนไทยมาตลอด โดยเลี้ยงเพื่อป้อน
ตลาดไก่เนื้อและไข่ไก่ โดยไก่พื้นเมืองที่นิยมเล้ียงกันมากและเป็นที่ต้องการของตลาด ได้แก่
ไกท่ ีม่ ผี วิ หนังสเี หลอื งและสีขนดา เปน็ ต้น

ไก่เก้าชั่ง ไกเ่ ขยี วพาลี

3.2 การเลี้ยงไก่เนื้อพ้ืนเมืองแบบปล่อยอิสระตามธรรมชาติ ใช้ระยะเวลาการเล้ียง
นานกว่าการผลิตไก่เน้ือประมาณ 2 เท่า แถมกินอาหารมากกว่าไก่เน้ือ แต่เปล่ียนเป็นเนื้อได้
น้อยกว่า อย่างไรก็ตาม เนื้อไก่พื้นบ้านกลับมีรสชาติอร่อยกว่าและมีคุณประโยชน์ทาง
โภชนาการสูงกว่าไก่เน้ือที่ผลิตในเชิงพาณิชย์เสียอีก ท่ีสาคัญ ราคาไก่บ้านไทยสูงกว่าไก่เนื้อ

เร่ือง การเลี้ยงไกเ่ นอ้ื โดย นาย อภวิ ฒั น์ แซห่ าง

7

แต่ผู้บริโภคก็ยินดีจ่ายเพ่ิมขึ้นเพ่ือให้ได้สินค้าท่ีมีคุณภาพดีกว่า ในแง่ของรสชาติอร่อย และ
เนื้อสัมผัสทเ่ี หนยี วนุ่ม แตม่ ีคอเลสเตอรอลต่ากวา่ ไกเ่ นื้อ

3.3 ทกุ วนั นี้ “ ไก่พืน้ เมือง” กลายเป็นอาชีพทางเลอื กของเกษตรกรรายยอ่ ย เพราะ
ใชเ้ งินทุนน้อย ดูแลจัดการง่าย ทนทานตอ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และทนตอ่ การ
เป็นโรคไดด้ ี ความนยิ มของไกพ่ ืน้ บ้านนั้นแยกออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การบริโภคเน้ือไก่
บา้ น การเล้ียงในลักษณะไกส่ วยงาม และการเลย้ี งไว้เพ่ือกีฬาชนไก่

3.4 การเล้ยี งแบบปลอ่ ยตามธรรมชาติ คอื ลกั ษณะเดน่ ของการเลี้ยงไกพ่ น้ื บา้ น ซ่งึ
สอดคลอ้ งกบั กระแสการอนุรกั ษธ์ รรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทาให้ธุรกิจไกพ่ ้นื บ้านเปน็ ธรุ กจิ ทีม่ ี
อนาคตสดใส ไก่พนื้ บา้ นในประเทศไทยจาแนกไดเ้ ปน็ 4 พันธใ์ุ หญๆ่ คือ ไกอ่ หู รอื ไกช่ น ไกแ่ จ้
ไก่ตะเภา และไก่ลูกผสมหรือไกก่ ลายพนั ธ์ุ ไก่พื้นเมอื งไทยยงั มคี ณุ ลักษณะเดน่ โดยเฉพาะเน้ือ
แนน่ และรสชาติอร่อย จึงเป็นท่นี ยิ มบรโิ ภค

ไกช่ ้ีฟา้ ไกเ่ บตง

3.4 ไก่พื้นบา้ นที่เล้ยี งกนั อยูใ่ นปจั จุบนั มคี วามแตกต่างกนั ออกไปในเรื่องของพันธ์ุ
และสายพนั ธุ์ตามสภาพทอ้ งที่ต่างๆ ยกตัวอยา่ งเช่น ไกแ่ มฮ่ ่องสอน ไกแ่ มฟ่ า้ หลวง ไก่ชฟ้ี ้า
(ภาคเหนอื ) ไกค่ อลอ่ น ไก่เบตง (ภาคใต้) ไก่เหลืองหางขาว หรอื ไกช่ นนเรศวร (ภาคเหนอื
ตอนล่าง พิษณโุ ลก) ไกป่ ระดู่หางดา หรอื ไก่พอ่ ขนุ ( สโุ ขทยั ) ไกเ่ ขียวหางดา หรอื ไก่พระยา
พชิ ยั (อุตรดติ ถ)์

3.5 ระยะหลังเกษตรกรหันมาเลยี้ งไกพ่ ้นื เมอื งกนั เพิม่ มากขน้ึ ได้แก่ ไก่พนั ธุป์ ระดู่หาง
ดา ไกพ่ ันธ์ุเหลืองหางขาว ไกพ่ นั ธแ์ุ ดง ไก่พันธชุ์ ี และไก่พื้นเมืองลกู ผสม ฯลฯ เพราะแรงจูงใจ
จากการขายไกพ่ ้นื เมืองได้ราคาสงู กวา่ ไก่เนอื้ แถมเน้ือไกพ่ น้ื เมอื งก็มีรสชาตอิ รอ่ ย จึงมีคนไทย
หนั มาบรโิ ภคไกพ่ ้นื เมืองมากขน้ึ ทกุ ปี สร้างรายได้สะพัดไมต่ า่ กวา่ ปลี ะ 34,936 ลา้ นบาท

3.6 กฬี า “ ชนไก่” เปน็ กิจกรรมสันทนาการที่สรา้ งความสนกุ สนานในแตล่ ะคร้งั แล้ว
ยงั ชว่ ยสรา้ งมูลคา่ เพ่ิม “ไกเ่ กง่ ” ไดอ้ ยา่ งมหาศาล ไมต่ า่ กว่า 10-100เทา่ ตวั กนั ทีเดยี ว คาดวา่
มจี านวนไกช่ นในประเทศประมาณ 16-17 ลา้ นตวั ซงึ่ ถือว่าน้อยมาก เมอื่ เทียบกบั ปริมาณ
ความตอ้ งการของตลาด ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ

เรื่อง การเลยี้ งไก่เนอื้ โดย นาย อภวิ ัฒน์ แซห่ าง

8

3.7 “ไก่ย่าง” เป็นอาหารเมนูหลักของชาวอีสาน ท่ีแปรรูปมาจากไก่พื้นเมือง เช่น
“ไก่เนื้อโคราช” ท่ีมีลักษณะเด่นคือ เล้ียงง่าย ทนโรค ทนแล้ง โตไว ใช้เวลาเล้ียงแค่ 2 เดือน
จะไดไ้ ก่เน้ือตัวละ 1.2 กก.ออกขายได้แล้ว ไก่เน้ือโคราช มีคุณสมบัติด้านรสสัมผัสของเน้ืออยู่
ระหว่างกลางของไก่เนื้อกับไก่พ้ืนเมืองไม่นุ่มเละเหมือนไก่เน้ือ ไม่เหนียวแข็งเหมือนไก่
พ้ืนเมือง

ไกย่ ่างทา่ ช้าง ไกส่ ายพนั ธุโ์ คราช

3.8 เมื่อนาไปปรุงอาหาร “ ไก่เนื้อโคราช ”จะให้รสสมั ผัสเหนียวน่มุ ชมุ่ ฉ่า ติดสปรงิ
อร่อยแบบไก่ไทย โตเต็มวัยเหมือนไก่ฝร่ัง จัดอยู่ในกลุ่มเน้ือไก่เพ่ือสุขภาพ เพราะมีโปรตีนสูง
มีคอลลาเจนสูงกวา่ ไกเ่ น้ือ 2 เท่า แตม่ ีไขมันและคอเลสเตอรอลตา่ มีกรดไขมันโอเมก้า-3 ที่มี
ประโยชนต์ ่อร่างกาย ทาให้ “ ไกเ่ นอ้ื โคราช ”ตอบโจทย์สาหรบั คนทร่ี กั สขุ ภาพไดด้ ี

3.9 ท่ีผ่านมา กรมปศุสัตว์ประสบความสาเร็จในการพัฒนาสายพันธุ์ไก่พ้ืนเมือง 4
สายพันธ์ุ ไดแ้ ก่ ไก่ประดู่หางดาเชียงใหม่ ไก่เหลืองหางขาวกบินทร์ ไก่แดงสุราษฎร์ และ ไก่ชี
ท่าพระ โดยการสนับสนุนทุนวิจัยจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ( สกว). ต้ังแต่ปี
2545- 2550

3.10 ซ่ึงผลงานวจิ ัยดงั กล่าว ทาให้เมืองไทยไดไ้ ก่พ้ืนเมืองพันธ์ุแท้ท่ีมีลักษณะประจา
พันธุ์ที่แน่นอน เหมาะสาหรบั การเล้ียงเชิงพาณชิ ย์ หากมีวางแผนการเลี้ยงและการจัดการทีด่ ี
จะใหผ้ ลผลิตสงู กว่าไก่พนื้ เมืองทวั่ ไป เพราะมกี ารเจริญเตบิ โตท่ีรวดเรว็ กวา่ ที่สาคัญเกษตรกร
สามารถเพิ่มมูลค่าสินค้าได้ โดยเปิดเป็นโรงฆ่าและลงทุนเปิดร้านค้าจาหน่ายเนื้อไก่สด ซ่ึงจะ
เป็นการพฒั นาอาชีพที่ครบวงจรและยง่ั ยืน

เร่ือง การเล้ยี งไก่เนอื้ โดย นาย อภิวัฒน์ แซห่ าง

9

3.11 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เล็งเหน็ ความสาคัญของตลาด “ ไกพ่ ้นื เมอื ง ” จึง
มอบหมายให้สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) และกรมปศุสัตว์
จัดสร้างมาตรฐานสินค้าเกษตรเรื่อง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสาหรับฟาร์มไก่พ้ืนเมือง
เพื่อเป็นแนวทางให้เกษตรกรรายย่อยสามารถปฏิบัติและพัฒนาฟาร์มเล้ียงไก่พื้นเมืองเข้าสู่
ระบบมาตรฐาน และพัฒนาคณุ ภาพเน้ือไก่พน้ื เมอื งให้สะอาดและปลอดภัย เปน็ ทีย่ อมรับของ
ผู้บริโภคในวงกว้าง รวมท้ังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาดสัตว์ปกี ส่งเสริมให้เกษตรกรผู้
เล้ยี งไกพ่ ้นื เมืองไดผ้ ลผลิตคุณภาพสูงข้นึ และมีรายได้เพมิ่ ขึน้ ในอนาคต

3.12 มาตรฐานฯ ดังกล่าว ครอบคลุมการเล้ียงไก่พื้นเมืองไทยและไก่พ้ืนเมือง
ลูกผสม และมีการกาหนดเกณฑ์การเลี้ยงไก่พ้ืนเมืองแบบเลี้ยงปล่อยอิสระ (Free-range)
ภายนอกโรงเรือนอย่างเพียงพอไม่น้อยกว่าวันละ 8 ช่ัวโมง เพื่อให้ไก่พ้ืนเมืองมีความเป็นอยู่
ตามธรรมชาติ มีต้นไม้เปน็ รม่ เงาให้ไก่ได้พกั ผ่อน มหี ญา้ หรือพชื ทเี่ ปน็ อาหารใหไ้ กจ่ ิกกิน อย่าง
นอ้ ยรอ้ ยละ 40 ของพ้นื ที่

3.13 โดยแปลงปลูกพืชดังกล่าวต้องมีการหมุนเวียนพักแปลง หากพืชอาหารไม่
เพียงพอ สามารถเสริมหญ้าหรือพชื จากภายนอกได้ ซ่งึ รปู แบบการเลีย้ งดังกล่าว แตกต่างจาก
การเลีย้ งไกเ่ นอ้ื และไกไ่ ขเ่ ชงิ พาณชิ ย์ ท่เี ลยี้ งในโรงเรือนแบบปิด

ไก่แมฟ่ ้าหลวง

3.14 เมื่อมาตรฐานฯ ไก่พื้นเมืองถูกประกาศใช้ ช่วยยกระดับอุตสาหกรรมการเล้ียง
ไก่พืน้ เมืองให้เติบโตแบบก้าวกระโดดกันเลยทีเดียว เพราะอุตสาหกรรมการเล้ียงไก่เนื้อ – ไก่
ไข่ มีมาตรฐานฟาร์มครบวงจรหมดแล้ว ท้ัง GAP, GMP และอื่นๆ เหลือแต่ ไก่พ้ืนเมือง
เท่านั้น ท่ีต้องเร่งปรับตัวเข้าสู่มาตรฐานฟาร์มอย่างต่อเน่ือง เพ่ือพัฒนาโอกาสทางการค้าและ
ขยายชอ่ งทางการตลาดโดยเฉพาะกลมุ่ ตลาดโมเดิร์นเทรด และภัตตาคารรา้ นอาหารระดบั พรี
เมี่ยม ท่สี นใจซ้ือเนื้อไกพ่ ืน้ เมอื งเป็นวัตถุดบิ ปรุงอาหารเมนูพิเศษกันมากข้นึ เพราะไก่พืน้ เมือง
มรี สชาติดี เน้ือสัมผสั เหนียวนุ่ม มไี ขมนั ตา่ นามาปรุงอาหารได้อร่อย

3.15 ประเทศไทยมีไกพ่ นื้ เมอื งลกั ษณะดีจานวนมาก ทสี่ ามารถตอ่ ยอดขยายสกู่ าร
เลย้ี งเชิงพาณชิ ยใ์ นอนาคต เพราะอย่ใู นกลุ่มสินคา้ ขายดี มศี กั ยภาพทางการตลาดที่สดใสมาก
เป็นทีต่ อ้ งการของผู้ซอ้ื ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ เพยี งแต่วา่ ตอนน้ีการเล้ียงไกบ่ ้านไทย
ยงั ไมแ่ พร่หลายมากนัก กาลงั การผลิตกบั ความต้องการของตลาดยังไม่สอดคลอ้ งกัน จงึ อยาก
เชญิ ชวนผู้สนใจหันมาลงทนุ เลยี้ งไกพ่ ืน้ บ้าน เพือ่ สรา้ งงานสร้างเงินอยา่ งยัง่ ยืนในอนาคต

เรือ่ ง การเลยี้ งไก่เนอื้ โดย นาย อภิวัฒน์ แซห่ าง

10

12 ข้นั ตอน เล้ียงไก่เนื้อมาตรฐานบรษิ ทั – ปศุศาสตร์ นวิ ส์
ไก่เนื้อในปัจจุบันมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและมีอัตราการเปลี่ยนอาหาร (Feed conversion
ratio : FCR) ดีข้ึนตามลาดับ ดงั นั้นขั้นตอนการเล้ียงและการบริหารจัดการฟาร์มไก่เนื้อให้ไดผ้ ลผลิตดี
และมีคุณภาพ ตามมาตรฐานฟาร์มของบริษัทใหญ่ที่เลี้ยงแบบเข้าออกพร้อมกันทั้งหมด (All in – all
out) มีอะไรบ้าง พอจะสรุปให้เขา้ ใจไดด้ งั น้ี
โดยเร่ิมจากการเข้าสู่การพักโรงเรือน (Down time) หรือที่เราเรียกกันว่า “พักเล้า” อย่างน้อย 7-14
วนั หรืออาจใชร้ ะยะเวลามากกวา่ นัน้ ซึ่งขึ้นอยกู่ บั บริษทั ทเี่ ปน็ คอนแทรคฟารม์ ด้วย
สาหรับวิธีการนี้ส่งผลดีกับผู้บริโภคเป็นอย่างมาก แต่สาหรับผู้เลี้ยงหรือผู้ดูแลฟาร์มอาจต้องเหนื่อย
มากหนอ่ ย…แต่คมุ้

1. จัดการนาวัสดุรองพน้ื เก่า (มลู ไกท่ ผี่ สมแกลบ) ออกจากโรงเรือน
2. ทาความสะอาดฆ่าเชอื้ โรคภายในและภายนอกโรงเรือน อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใชใ้ ห้สะอาด เช่น
อุปกรณ์ให้น้า ให้อาหาร ผ้าม่าน ฯลฯ พร้อมเก็บตัวอย่างไปตรวจวิเคราะห์หาเช้ือโรค เพ่ือ
ป้องกนั และควบคมุ การเกิดโรคระบาด
3. จัดการนาวัสดุรองพื้น (แกลบ) ที่สะอาดเข้าโรงเรือน โดยปูวัสดุรองพ้ืนให้มีความหนา
ประมาณ 3-4 น้ิว (8-10 เซนติเมตร) ข้ันตอนน้ีต้องมีการตรวจวิเคราะห์ความสะอาดของ
แกลบทุกครัง้
4. เกลี่ยแกลบใหเ้ ต็มพน้ื ท่โี รงเรอื น และเตรียมอุปกรณก์ ารเลี้ยงใหพ้ ร้อม รวมถึงการทาใบขอ
อนุญาตลงไกท่ ่ีสานักงานปศุสตั ว์ในพนื้ ทดี่ ้วย
5. เล้ียงไก่ตามโปรแกรมพร้อมติดตามผล 24 ชม. จนครบระยะเวลาการเล้ียงหรือตาม
น้าหนักทบ่ี ริษัทกาหนด ซึง่ จะมนี ้าหนกั ตัง้ แต่ 1.3-2.8 กิโลกรมั หรือเล้ยี ง 28-60 วัน

6. ก่อนจับไก่ออกจากโรงเรือนตอ้ งเก็บตวั อย่างไปตรวจ เพ่ือหาเชื้อไข้หวดั นก (สานักงานปศุ
สัตว์ในพื้นท่ี) รอผลแลปประมาณ 7-10 วัน ก่อนจับ เพื่อนาไปประกอบกับใบอนุญาต
เคลือ่ นยา้ ย
7. มีการตรวจงานฟารม์ (ออดิท) ตามมาตรฐานของบรษิ ัทใหญ่ คดิ เปน็ คะแนน 10%
8. เกบ็ ตวั อย่างมลู ไกต่ รวจหาเชื้อซัลโมเนลลากอ่ น เพ่อื จัดควิ เขา้ โรงเชอื ด
9. สุ่มช่ังน้าหนักหาค่าเฉลี่ยของตัวไก่ก่อนเข้าเชือด เพ่ือการประมาณรถบรรทุกไก่ใหญ่ มีค่า
วิเคราะหค์ วามแม่นยา คิดเปน็ คะแนน 20%
10. ทาใบเคลือ่ นยา้ ยสัตว์ ร.1 และรอใบอนุญาต ร.4 จากสานักงานปศุสตั ว์ในพ้ืนที่
11. จับไก่ออกจากโรงเรือนแล้ว รอผลน้าหนักหน้าโรงงาน สรุปการ์ดหน้าเล้า โดยค่า pi
(ประสิทธิภาพการเล้ียง) มีน้าหนักการนาไปจัดเกรดฟาร์ม อีก 35% และบวกกับคะแนนการ
ตกราวอีก 25% อีก 10% คือ คะแนน bio 2 = การสุ่มตรวจฟาร์มแบบไม่มีการนัดหมาย
ลว่ งหนา้
12. รอสรปุ บัญชี ภายใน 14 วนั หลังจับไก่

เร่อื ง การเลีย้ งไก่เนอ้ื โดย นาย อภวิ ัฒน์ แซห่ าง

คำคม
เกิดเปน็ ไกต่ อ้ งชบ เกดิ เป็นคนตอ้ งสู


Click to View FlipBook Version