The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by eesd obec, 2019-12-09 02:45:22

ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน

ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน

กลุ่มชุดดนิ ในพื้นท่ลี ุ่ม ประกอบดว้ ย ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

 กลุ่มชุดดินท่ี 1 เป็นกลุ่มของดินเหนียวจัด ลึก สีด�ำหรือสีน�้ำตาล มักมีรอยแตก ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ
ระแหงกวา้ งและลึกในชว่ งฤดแู ลง้ ความอดุ มสมบูรณ์ปานกลางถึงสงู
ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ
 กลมุ่ ชุดดนิ ที่ 2 เป็นกล่มุ ดนิ เหนยี ว ลึก สีเทา มีปฏกิ ิรยิ าดินเป็นกรดจัด และส่วนใหญ่
มีช้นั ดินกรดก�ำมะถนั อยู่ลึกมากกวา่ 100 เซนติเมตร จากผวิ ดิน ดินมคี วามอุดมสมบรู ณป์ านกลาง

 กลุ่มชุดดินท่ี 3 เป็นกลุ่มของดินเหนียว ลึก สีด�ำหรือเทาเข้ม ส่วนใหญ่เกิดจาก
ตะกอนนำ�้ กรอ่ ย และอาจพบชั้นดินเลนเคม็ อยตู่ อนลา่ ง ดินอุดมสมบรู ณป์ านกลางถึงสงู

 กลุ่มชุดดินที่ 4 5 และ 7 เป็นกลุ่มของดินเหนียว ลึก สีเทาหรือน้�ำตาลปนเทา
เกดิ จากตะกอนน้ำ� พา มปี ฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กลางหรือเป็นดา่ ง ความอดุ มสมบูรณป์ านกลาง

 กลุ่มชุดดินท่ี 6 เป็นกลุ่มดินเหนียว ลึก เกิดจากตะกอนน�้ำพาและมีปฏิกิริยาดิน
เปน็ กรดถึงเป็นกรดจัด ความอดุ มสมบูรณ์ต�่ำ

 กลุ่มชุดดนิ ท่ี 8 เป็นกลมุ่ ของชดุ ดนิ ทถ่ี กู ดัดแปลงโดยการยกร่อง น�ำดนิ ในรอ่ งมา
ถมให้สูง แล้วปรับปรุงดินเพอ่ื ใชป้ ลกู พืชไรห่ รอื ไมผ้ ล ความอดุ มสมบรู ณส์ ูง

 กลุ่มชุดดินท่ี 9 และ 10 เป็นกลุ่มท่ีเป็นดินเปร้ียวจัดท่ีพบช้ันดินกรดก�ำมะถัน
ในระดบั ตนื้ โดยในกลมุ่ ชดุ ดนิ ท่ี 9 จะเปน็ ทงั้ ดนิ เปรย้ี วจดั และดนิ เคม็ ดว้ ย ความอดุ มสมบรู ณป์ านกลาง

 กลุ่มชุดดินที่ 11 และ 14 เป็นกลุ่มของดินเปรี้ยวจัดที่พบชั้นดินกรดก�ำมะถัน
ในระดับลึกปานกลาง โดยท่ีดินในกลุ่มชุดดินท่ี 14 จะมีชั้นดินเลนที่มีศักยภาพในการก่อให้เกิด
ดนิ เปร้ยี วจดั อยใู่ นตอนลา่ งดว้ ย ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง

 กลุ่มชดุ ดนิ ที่ 12 และ 13 เปน็ กลุม่ ของดนิ เคม็ ชายทะเล ที่ยังคงมนี ้�ำทะเลท่วมถงึ
เปน็ ประจำ� โดยทด่ี นิ ในกลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 13 เปน็ ดนิ เลนเคม็ ทมี่ ศี กั ยภาพในการกอ่ ใหเ้ กดิ กรดกำ� มะถนั ใน
ดินด้วย ความอุดมสมบูรณ์สูง

 กลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 15 และ 16 เปน็ กลมุ่ ดนิ ทม่ี เี นอ้ื ดนิ เปน็ ทรายแปง้ ลกึ เกดิ จากตะกอน
น�้ำพา โดยท่ดี นิ ในกลุ่มชุดดนิ ที่ 15 มีปฏกิ ิรยิ าดินเปน็ กลางถงึ เปน็ ด่าง ในกลมุ่ ชดุ ดนิ ท่ี 16 มีปฏิกริ ิยา
ดินเป็นกรดถึงเป็นกรดจดั ความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงต�่ำ

 กลุ่มชุดดินที่ 17 18 19 และ 22 เปน็ กล่มุ ของพวกทม่ี ีเน้อื ดนิ ร่วน และดินรว่ นปน
ทรายลกึ เกดิ จากตะกอนน้ำ� พา ซง่ึ แบ่งแยกจากกันได้โดยใชค้ ่าปฏิกริ ยิ าดนิ (pH) ท่แี ตกต่างกัน อยใู่ น
ชว่ งที่เป็นกรดจดั ถึงเป็นด่างเลก็ น้อย ความอดุ มสมบรู ณ์ต่�ำ

ความรู้เรอื่ งดินส�ำหรบั เยาวชน 45

 กลุ่มชุดดนิ ที่ 20 เปน็ กลุ่มของดินท่ีเป็นดนิ เคม็ และดินทพ่ี บคราบเกลือบนผวิ ดิน
ท่ีมีผลกระทบต่อการเจรญิ เตบิ โตของพชื ความอดุ มสมบูรณต์ ่�ำ

 กลุ่มชุดดินที่ 21 เป็นกลุ่มของพวกดินร่วน ลึก ที่พบอยู่บริเวณส่วนต�่ำของ
สันดินรมิ น้�ำ ความอดุ มสมบรู ณป์ านกลาง

 กลุ่มชุดดินท่ี 23 และ 24 เป็นกลุ่มของพวกท่ีเป็นดินทราย กลุ่มชุดดินที่ 23
เกิดจากตะกอนทรายชายทะเล แตก่ ลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 24 เกิดจากตะกอนทรายน้�ำพา ความอุดมสมบรู ณ์ต�่ำ

 กลุ่มชุดดินท่ี 25 เป็นกลุ่มของพวกดินต้ืนในที่ลุ่ม ที่พบชั้นกรวด ลูกรังหนาแน่น
ช้ันศลิ าแลงหรือชน้ั หนิ พื้น ภายใน 50 เซนตเิ มตร จากผวิ หน้าดนิ ความอุดมสมบรู ณ์ตำ�่

 กลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 57 และ 58 เปน็ กลมุ่ ของดนิ อนิ ทรยี ์ ซง่ึ มชี นั้ วสั ดอุ นิ ทรยี ห์ นามากกวา่
40 เซนตเิ มตร จนถงึ หนากวา่ 100 เซนตเิ มตร และมศี กั ยภาพเปน็ ดนิ เปรย้ี วหรอื ดนิ กรดกำ� มะถนั ดว้ ย
ในกลุ่มชดุ ดินที่ 57

 กลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 59 เปน็ กลมุ่ ดนิ ตะกอนนำ�้ พา บรเิ วณทรี่ าบระหวา่ งเนนิ เขาและหบุ เขา
เปน็ ดนิ ลกึ แตม่ ักมีเศษกรวด หินปะปน ความอุดมสมบรู ณ์ตำ�่

2. กลมุ่ ชดุ ดนิ ในพนื้ ทด่ี อน

ดินบนพื้นท่ีดอน หมายถึง ดินที่ไม่มีน้�ำแช่ขัง
พบบรเิ วณทเ่ี ปน็ เนนิ มกี ารระบายนำ้� คอ่ นขา้ งดถี งึ ดี สภาพพนื้ ท่ี
อาจเป็นท่ีราบเรียบ เป็นลูกคลื่น หรือเนินเขา ใช้ปลูกพืชไร่
ไม้ผล และไม้ยืนต้น ซึง่ ตอ้ งการน�ำ้ นอ้ ย ไม่มีน้�ำแชข่ งั แบง่ ออก
เปน็ 3 กลมุ่ ย่อย คือ

2.1 ดินในพื้นที่ดอนเขตดินแหง้

เขตดินแห้งเป็นเขตพ้ืนที่ส่วนใหญ่ของประเทศ โดยเฉพาะพ้ืนที่ส่วนใหญ่ของ
ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และภาคกลาง โดยทวั่ ไปมฝี นตกนอ้ ยและตกกระจายไมส่ มำ�่ เสมอ
ปรมิ าณฝนตกเฉล่ียนอ้ ยกวา่ 1,500 มลิ ลเิ มตรตอ่ ปี กลุ่มชดุ ดนิ ท่ีพบได้แก่

 กลุม่ ชดุ ดนิ ที่ 28 เปน็ กลุ่มดินลกึ เน้ือดนิ เหนียวจดั สดี ำ� หรอื สนี �ำ้ ตาลเขม้
มกั มีรอยแตกระแหงกว้างและลกึ ในฤดแู ล้ง ความอดุ มสมบรู ณ์ปานกลางถึงสูง

46 ความรเู้ ร่อื งดนิ สำ� หรบั เยาวชน

 กลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 29 เปน็ กลมุ่ ดนิ ลกึ เนอ้ื ดนิ เหนยี ว สนี ำ้� ตาล สเี หลอื งและสแี ดง ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั
ปฏกิ ริ ยิ าดินเปน็ กรด ความอุดมสมบูรณ์ตำ่�
 กลุ่มชุดดนิ ที่ 30 และ 31 เป็นกล่มุ ดินเหนยี ว ลกึ สนี ้�ำตาล สเี หลือง สีแดง ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ
เป็นกรดเลก็ นอ้ ยถงึ เป็นกลาง ความอดุ มสมบรู ณ์ปานกลาง กลมุ่ ชดุ ดินที่ 30 เปน็ กลุ่มดนิ บนพน้ื ทส่ี ูง
กวา่ ระดับนำ้� ทะเลมากกว่า 500 เมตร ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ
 กลมุ่ ชุดดนิ ที่ 33 และ 38 เปน็ กล่มุ ของดินทม่ี ีเนอ้ื ดินเปน็ ดนิ รว่ น ดนิ ร่วน
ปนทราย หรือดินร่วนปนทรายแป้ง ลึก สีน้�ำตาล เกิดจากตะกอนน้�ำพา ส่วนใหญ่พบบริเวณ
สันดินริมน�้ำและลานตะพัก หรือเนินตะกอนรูปพัด กลุ่มชุดดินที่ 38 เป็นดินท่ีมีอายุไม่มาก มักมี
ชนั้ เน้ือดินสลับ ไมแ่ น่นอน เนือ่ งจากการทับถมของตะกอนเป็นประจ�ำ ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง
 กลุ่มชุดดินท่ี 35 36 37 และ 40 เป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย ลึก
สีน�ำ้ ตาล สเี หลอื ง สีแดง เกดิ จากตะกอนน�้ำพาหรือวตั ถตุ น้ ก�ำเนิดดินเนื้อหยาบ ความอุดมสมบูรณต์ ำ่�
 กลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 41 และ 44 เปน็ กลมุ่ ดนิ ลกึ ทม่ี ชี นั้ ทรายหนาถงึ หนาปานกลาง
เกดิ จากตะกอนน้�ำพาหรอื วัตถตุ น้ กำ� เนิดดนิ เนอ้ื หยาบ ความอดุ มสมบูรณ์ตำ่�
 กล่มุ ชุดดินท่ี 54 และ 55 เปน็ กลมุ่ ของดินลึกปานกลาง กล่มุ ชุดดินที่ 54
จะพบก้อนปูนมาร์ลสะสมในดินล่างมาก เน้ือดินเป็นดินเหนียว ปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงเป็นด่าง
ความอดุ มสมบูรณ์ปานกลางถึงสูง
 กลมุ่ ชุดดนิ ที่ 56 เป็นกล่มุ ของดินลกึ ปานกลาง เนอื้ ดนิ เป็นดนิ รว่ นปนทราย
หรอื ดินรว่ น ปฏกิ ิรยิ าดนิ เป็นกรด ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ�
 กลมุ่ ชดุ ดินที่ 46 48 และ 49 เป็นกลมุ่ ของดินต้ืน ถึงชั้นท่มี เี ศษหิน ลกู รัง
หรอื กอ้ นกรวด หนาแนน่ มาก ปฏกิ ริ ิยาดินเป็นกรด ความอดุ มสมบรู ณต์ ำ่�

ความรเู้ รื่องดินสำ� หรบั เยาวชน 47

 กลมุ่ ชดุ ดนิ ท่ี 47 เปน็ กลมุ่ ของดนิ ตน้ื ถงึ ชน้ั หนิ พนื้ ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรด ความ
อดุ มสมบูรณ์ปานกลาง

 กลุ่มชุดดินท่ี 52 เป็นกลุ่มของดินตื้นถึงช้ันปูนมาร์ล ปฏิกิริยาดินเป็นด่าง
ความอุดมสมบรู ณป์ านกลางถงึ คอ่ นข้างตำ�่

 กลุ่มชุดดินที่ 60 เปน็ กลุม่ ของดนิ ตะกอนที่พบบรเิ วณท่รี าบระหวา่ งเนนิ เขา
และหุบเขา เปน็ ดนิ ลกึ แต่มเี ศษหินและกรวดปะปนอยู่ ความอุดมสมบรู ณ์ต�ำ่

 กลุ่มชุดดินที่ 61 เป็นกลุ่มของดินบริเวณที่ลาดเชิงเขา เป็นดินต้ืนถึง
ลึกปานกลาง แตม่ ีเศษหิน กรวด หรอื ลกู รังปะปน ความอดุ มสมบรู ณต์ ่�ำ

2.2 ดนิ ในพืน้ ทีด่ อนในเขตดนิ ชืน้

เขตดินช้ืน หมายถึง เขตท่ีมีฝน
ตกชุกและกระจายสม�่ำเสมอเกือบท้ังปี โดยทั่วไปมี
ปริมาณฝนตกเฉล่ียมากกว่า 1,500 มิลลิเมตรต่อปี
กลมุ่ ชุดดินทพี่ บ ได้แก่

 กลุม่ ชุดดนิ ที่ 26 เปน็ กลมุ่ ดนิ เหนยี ว ลกึ สีนำ้� ตาล สีเหลอื ง สีแดง เกดิ จาก
ตะกอนนำ้� พาหรอื วตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ทมี่ เี นอ้ื ละเอยี ด ปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรดจดั ความอดุ มสมบรู ณป์ านกลาง
ถึงคอ่ นข้างต�่ำ

 กล่มุ ชุดดนิ ที่ 27 เปน็ พวกดนิ เหนยี วสแี ดง ลึกมาก เกดิ จากวตั ถตุ ้นกำ� เนิดที่
ผุพงั มาจากหนิ ภเู ขาไฟ ปฏิกริ ิยาดนิ เปน็ กรดจัด ความอุดมสมบรู ณ์ปานกลาง

 กลมุ่ ชุดดินที่ 32 เปน็ กลุ่มของดนิ ร่วน ลกึ ทพี่ บอย่บู รเิ วณสันดนิ รมิ น�้ำ หรอื
ลานตะพกั ปฏิกิรยิ าดินเป็นกรด ความอุดมสมบรู ณต์ ำ�่

 กลุ่มชุดดินท่ี 34 และ 39 เป็นกลุ่มท่ีมีเน้ือดินเป็นดินร่วนหรือดินร่วน
ปนทราย ลึก โดยกลุ่มชดุ ดินท่ี 34 มีเนอื้ ดินรว่ นเหนยี วปนทราย ส่วนกลมุ่ ชดุ ดินที่ 39 มเี น้ือดนิ หยาบ
กวา่ เป็นดินรว่ นปนทราย ปฏกิ ิรยิ าดินเป็นกรดจัด ความอดุ มสมบรู ณต์ ำ่�

 กลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 42 เปน็ กลมุ่ ทมี่ เี นอ้ื ดนิ เปน็ ดนิ ทรายจดั และพบชน้ั ดานอนิ ทรยี ์
ภายในความลกึ 100 เซนตเิ มตร จากผวิ ดนิ ดินเปน็ กรด ความอดุ มสมบรู ณ์ของดินต�่ำมาก

48 ความรเู้ ร่อื งดนิ สำ� หรบั เยาวชน

 กลมุ่ ชดุ ดนิ ที่ 43 เปน็ กลมุ่ ของพวกดนิ ทรายทไี่ มม่ ชี นั้ ดานอนิ ทรยี ์ พบบรเิ วณ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั
ชายหาดหรือสันทรายชายทะเลหรือเชิงเขาของหินเน้ือหยาบ ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็น
ดา่ งปานกลาง ความอุดมสมบรู ณต์ �่ำ ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ
 กลุ่มชุดดินท่ี 50 และ 53 เป็นพวกดินลึกปานกลาง เน้ือดินเป็น
ดินร่วนเหนียวปนทราย และดินร่วนปนดินเหนียวถึงดินเหนียว ปฏิกิริยาดินเป็นกรด ความอุดม ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ
สมบูรณต์ ำ่�
 กลุ่มชดุ ดนิ ท่ี 45 เปน็ กลมุ่ ของดนิ ตื้น พบชน้ั ลกู รัง ก้อนกรวดหรอื เศษหิน
หนาแน่นภายในความลกึ 50 เซนติเมตร จากผิวดิน ปฏกิ ิรยิ าดนิ เปน็ กรด ความอดุ มสมบูรณ์ต่ำ�
 กลุ่มชุดดินที่ 51 เป็นกลุ่มของดินต้ืน ที่พบช้ันหินพื้นภายในความลึก
50 เซนตเิ มตร จากผวิ ดิน ปฏิกริ ิยาดินเปน็ กรด ความอุดมสมบูรณต์ ำ�่

2.3 ดนิ บนพ้นื ที่ลาดชันเชงิ ซ้อนหรอื พ้ืนทภ่ี ูเขา

 กลุ่มชุดดินท่ี 62 เปน็ กลุ่มดินในพน้ื ท่ที ่ีมคี วามลาดชนั สงู บรเิ วณภเู ขาสลับ
ซับซ้อน ความลาดชันของพ้ืนท่ีส่วนใหญ่สูงชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ลักษณะและสมบัติของดิน
ไม่แน่นอนขึน้ อยู่กบั สภาพพืน้ ที่ ชนิดของหิน และพืชพรรณธรรมชาติ พ้นื ท่สี ว่ นใหญย่ งั ไม่ได้ท�ำการ
ส�ำรวจและจัดท�ำแผนที่ดิน และด้วยเหตุท่ีสภาพพื้นที่มีความลาดชันสูงและเป็นแหล่งต้นน้�ำล�ำธาร
การใช้พ้ืนทีเ่ พอ่ื การเกษตร จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อทรัพยากรดนิ ป่าไม้ แหลง่ นำ�้ สตั ว์ปา่ และ
สภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ จงึ ไมแ่ นะนำ� ใหใ้ ชพ้ น้ื ทที่ างการเกษตร โดยไดจ้ ำ� แนกรวมกนั ไวเ้ ปน็ กลมุ่ ชดุ ดนิ ท่ี
62 หากมีความจ�ำเปน็ ตอ้ งใชพ้ ืน้ ท่ี ควรทำ� การส�ำรวจอยา่ งละเอียดและศกึ ษาผลกระทบท่จี ะเกิดข้ึน
พร้อมกำ� หนดมาตรการการใช้พน้ื ทด่ี ว้ ยความรอบคอบ และเขม้ งวดอยา่ งจรงิ จัง

ความรู้เรอ่ื งดนิ สำ� หรบั เยาวชน 49

ส�ำรวจดินกนั อยา่ งไร?

งานส�ำรวจดิน เป็นงานที่ต้องอาศัยหลัก
วิชาการหลายแขนง ทั้งทางด้านปฐพีวิทยา (soil
science) ธรณวี ทิ ยา (geology) ภมู ศิ าสตร์ (geography)
ธรณีสัณฐานวิทยา (geomorphology) อุตุนิยมวิทยา
(climatology) ตลอดจนวิชาอ่นื ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั ปา่ ไม้
เกษตรศาสตร์ และการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ซึ่งต้องน�ำมา
ใชใ้ นการศกึ ษาเพอ่ื อธบิ ายถงึ ลกั ษณะและสมบตั ทิ สี่ ำ� คญั
ของดิน ก�ำเนิดของดนิ และการจำ� แนกดิน

ขั้นตอนในการสำ� รวจดนิ ประกอบดว้ ยการศึกษาขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ การตรวจสอบและเก็บ
ตวั อยา่ งดนิ ในสนาม การวเิ คราะหต์ วั อยา่ งดนิ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร การทำ� แผนทด่ี นิ และการทำ� รายงาน
สำ� รวจดิน

การศึกษาขอ้ มลู เบื้องต้น

การศึกษาเบ้ืองต้น เป็นข้ันแรกของการด�ำเนินงานส�ำรวจจ�ำแนกดิน โดยปกติจะท�ำเพื่อ
ตรวจสอบขอ้ มลู ขอ้ สนเทศทร่ี วบรวมไวแ้ ลว้ และหาขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ เพอ่ื ทจ่ี ะไดเ้ หน็ ภาพการกระจายชนดิ ของดนิ
และความสัมพันธ์ของดินกับสภาพภูมิประเทศ วัตถุต้นก�ำเนิดดิน รวมถึงความสัมพันธ์ของดินชนิดต่างๆ
กบั การใชท้ ดี่ นิ สำ� หรบั ความละเอยี ดหรอื ความหยาบของการศกึ ษาเบอ้ื งตน้ นี้ จะขนึ้ อยกู่ บั ขอ้ สนเทศทมี่ ี
อยู่และความจ�ำเป็นในการใช้ข้อมูลต่างๆ เพื่อเตรียม
แผนการดำ� เนนิ งาน และเพอ่ื วางโครงรา่ งการทำ� แผนทด่ี นิ
กบั กจิ กรรมอนื่ ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ถงึ แมว้ า่ จะเปน็ การสำ� รวจดนิ
ในบริเวณท่ีเคยมีการส�ำรวจดินมาก่อนแล้ว นักส�ำรวจดิน
กย็ ังจำ� เป็นตอ้ งศกึ ษาขอ้ มูลตา่ งๆ กอ่ นทจ่ี ะเขา้ ปฏบิ ัติงาน
ในพื้นท่ีนั้นๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการศึกษาดินในภาค
สนาม และเพ่ือยนื ยนั ความถูกต้อง การเตรียมแผนที่ ก่อนออกสำ� รวจดนิ ภาคสนาม

50 ความรเู้ รื่องดนิ สำ� หรับเยาวชน

การตรวจสอบดินในสนาม ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

จุดประสงค์ของการส�ำรวจดินในสนามก็เพื่อศึกษาลักษณะของดิน เพ่ือท่ีจะแบ่งแยก ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ
ขอบเขตดินออกเป็นหน่วยต่างๆ ตามวัตถุประสงค์
หลังจากท่ีได้ทราบความสัมพันธ์ของดิน และสภาพ ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ
ภูมิประเทศจากการศึกษาเบื้องต้นแล้ว ข้ันตอน
ต่อไปในการส�ำรวจดิน คือ การส�ำรวจในพ้ืนท่ีหรือ
การส�ำรวจภาคสนาม ซ่ึงประกอบด้วยงานหลายอย่าง
ที่จะตอ้ งดำ� เนินการตามข้นั ตอนอยา่ งเหมาะสม
วธิ กี ารทด่ี ที สี่ ดุ ในการตรวจสอบลกั ษณะดนิ ในสนาม คอื การศกึ ษา
ลักษณะดินจากหลุมดินที่เพ่ิงขุดใหม่ๆ หรือศึกษาจากหน้าตัดดิน ซ่ึงจะ
แสดงใหเ้ หน็ ถึงความแตกต่างทม่ี อี ยภู่ ายในดนิ เชน่ สีดนิ เนือ้ ดนิ ชนดิ ของ
วสั ดหุ รอื สง่ิ ทปี่ ะปนอยู่ในดนิ และการจัดเรียงช้นั ดนิ ไดอ้ ยา่ งชัดเจน
นักส�ำรวจดินจะศึกษาลักษณะและสมบัติของดินในช่วงความลึกต้ังแต่ผิวหน้าดิน
ลงไปประมาณ 2 เมตร โดยจะตรวจสอบและบันทึกข้อมูลที่จ�ำเป็นอย่างละเอียด เช่น ต�ำแหน่ง
ทางภูมิศาสตร์ของจุดท่ีท�ำการศึกษา สภาพพ้ืนท่ี และลักษณะของดินแต่ละช้ัน พร้อมท้ังทดสอบ
สมบัติของดนิ บางประการตามทกี่ �ำหนด เชน่ ชั้นดนิ ความลกึ สดี ิน โครงสรา้ งของดนิ ความเป็นกรด
เป็นด่าง และเก็บตัวอย่างดินเพ่ือน�ำมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ รวมถึงการจ�ำแนกชนิดของดิน
เบอื้ งต้นและการท�ำแผนทตี่ น้ ร่าง

หยดกทรดดสทอดบสเนอื้อบกดาินรมีปูน หยดกรารดวทัดดพสีเอบชดกาินรมปี ูน

หยดกรกดาทรวดดั สสอีดบินการมปี นู

ความร้เู ร่ืองดินส�ำหรบั เยาวชน 51

การวิเคราะหต์ ัวอย่างดินในหอ้ งปฏิบัติการ

แม้ว่าเราจะท�ำการศึกษาตรวจสอบดินในพ้ืนท่ีอย่างละเอียด เพ่ือรวบรวมลักษณะ
และสมบัติต่างๆ ของดินให้ได้มากที่สุด แต่ข้อมูลที่จ�ำเป็นต้องใช้เพื่อการจัดจ�ำแนกดิน
บางอย่างน้ัน ไม่อาจได้มาโดยการศึกษาจากลักษณะที่ปรากฏอยู่ในพ้ืนท่ี หรือใช้วิธีการตรวจสอบ
ด้วยอุปกรณ์ภาคสนามได้แต่เพียงอย่างเดียว เนื่องจากมีสมบัติภายในของดินบางอย่างท่ีเรา
ไมส่ ามารถมองเหน็ หรอื ตรวจสอบได้ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งเกบ็ ตวั อยา่ งดนิ บางสว่ นกลบั มายงั หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
และนำ� ไปตรวจวเิ คราะหโ์ ดยใชเ้ ครอ่ื งมอื และวธิ กี ารตามมาตรฐานสากล เพอื่ ทจ่ี ะนำ� ผลทไี่ ดม้ าใชใ้ น
การจดั จ�ำแนกและประเมินศักยภาพของดนิ น้ันๆ ตวั อย่างของการตรวจวิเคราะหใ์ นหอ้ งปฏิบัตกิ าร
เพือ่ ศึกษาสมบัตติ ่างๆ ของดิน ได้แก่
- การตรวจหาปริมาณของอนุภาคขนาดต่างๆ ได้แก่ ทราย ทรายแป้ง และดินเหนียว
เพื่อใหท้ ราบสัดส่วนของอนภุ าคขนาดตา่ งๆ สำ� หรับใชใ้ นการจำ� แนกชนิดของเน้ือดิน
- การตรวจวเิ คราะห์ชนิดและปรมิ าณของแรด่ ินเหนยี ว
- การวเิ คราะห์ปริมาณอนิ ทรยี วัตถุในดิน
- การวเิ คราะหป์ รมิ าณธาตปุ ระจบุ วกหรอื แคตไอออน เชน่
แคลเซียม โซเดียม ในสารละลายดินและการแลกเปลย่ี นแคตไอออน
ในดนิ
- การวิเคราะห์ค่าความเป็นกรดเป็นดา่ งของดนิ ฯลฯ
ข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาลักษณะดินในพื้นท่ี ประกอบกับ
ข้อมูลผลการตรวจสอบสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
ในหอ้ งปฏิบัติการ จะทำ� ให้เราสามารถแบง่ ชนดิ ของดินออกเป็นกลมุ่
และจดั หมวดหมดู่ นิ ตามระบบการจำ� แนกดนิ แบบอนกุ รมวธิ านดนิ ได้
ต้งั แต่ระดบั ใหญ่ที่สุดคือ “อันดบั ” จนถึงระดับเล็กทสี่ ุด เรียกว่า “ชุดดนิ ”

52 ความรู้เรอ่ื งดินสำ� หรับเยาวชน

การท�ำแผนทีด่ นิ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

แผนทด่ี นิ หมายถงึ แผนท่ที ่ีแสดงขอบเขตของดนิ และการกระจายทางภมู ศิ าสตร์ของดนิ ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ
ชนดิ ต่างๆ ซง่ึ มีสมบัติเกย่ี วขอ้ งกันและเป็นลกั ษณะตามธรรมชาตขิ องดินท่พี บในการส�ำรวจ และ
มีการระบุถึงช่ือตา่ งๆ ของดินตามระบบการจำ� แนกดินท่ใี ช้ ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ
การท�ำแผนท่ีดิน เป็นการรวบรวมและประมวลผลข้อมูลดินท้ังจากภาคสนาม ผลการ
วิเคราะหใ์ นห้องปฏบิ ตั กิ ารและขอ้ มูลการจำ� แนกชนดิ ของดิน เพ่ือจัดทำ� แผนทีแ่ สดงขอบเขตและ
การกระจายของดินชนดิ ต่างๆ ทม่ี คี วามสมั พนั ธ์กับสภาพภูมปิ ระเทศ โดยจะตอ้ งรกั ษามาตรฐาน
ของความถกู ตอ้ งตามมาตราสว่ นทก่ี ำ� หนดและประเภทของการสำ� รวจดนิ เพอื่ ใหส้ ามารถนำ� ไปใช้
ในการแปลความหมายเพื่อการใช้ประโยชนใ์ นพื้นทไ่ี ดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

การจัดทำ� รายงานสำ� รวจดิน

รายงานการส�ำรวจดิน หมายถึง เอกสารรายงานซึ่งแสดงรายละเอียดข้ันตอนวิธีการ
ส�ำรวจดิน ระบบการจำ� แนกดินทใ่ี ช้ และค�ำอธบิ ายท่ี
เชอื่ มโยงถงึ ขอ้ มลู ทปี่ รากฏอยใู่ นแผนทด่ี นิ ฉบบั หนงึ่ ๆ
อาจรวมถึงข้อมูลการประเมินศักยภาพและความ
เหมาะสมของดิน เพื่อการใช้ประโยชน์ในทางการ
เกษตร ซง่ึ บคุ คลทั่วไปสามารถใชเ้ ปน็ เอกสารในการ
ศกึ ษาข้อมลู ควบคู่กันไปกับแผนท่ดี นิ ของพ้ืนท่ีนนั้ ๆ
มาตรฐานของรายงานผลการสำ� รวจดิน จะตอ้ งประกอบด้วยรายละเอยี ด ดงั น้ี
1. ขอ้ มลู ทวั่ ไป ประกอบดว้ ยรายละเอยี ดความเปน็ มาและวตั ถปุ ระสงคข์ องการสำ� รวจดนิ
วธิ กี ารสำ� รวจ รายชอื่ ผทู้ ำ� การสำ� รวจ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ชว่ งเวลาทท่ี ำ� การสำ� รวจ ขนาดพน้ื ทแ่ี ละ
ขอบเขตทางภูมิศาสตร์ของบริเวณที่ท�ำการส�ำรวจ เขตการปกครองและเขตติดต่อ สภาพทาง
ธรณวี ิทยา ธรณสี ณั ฐาน ภูมอิ ากาศ อุทกวทิ ยา รวมถงึ พืชพรรณและการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ิน
2. ผลการส�ำรวจดิน ประกอบด้วยระบบการจ�ำแนกดินท่ีใช้ ลักษณะของหน่วยแผนที่
เชน่ ชดุ ดนิ หรอื กลมุ่ ชดุ ดนิ พรอ้ มทง้ั แสดงคำ� อธบิ ายลกั ษณะของแตล่ ะหนว่ ยแผนทอ่ี ยา่ งละเอยี ด
พื้นทีข่ องหน่วยดนิ ชนิด ทีพ่ บ รวมถึงผลการแปลความหมายข้อมลู การส�ำรวจดนิ เพ่อื ใช้ประโยชน์
เช่น ความเหมาะสมของดินตอ่ การปลกู พชื เศรษฐกจิ ทีส่ �ำคญั เปน็ ต้น

ความรู้เร่อื งดินสำ� หรับเยาวชน 53

3. บทสรปุ เปน็ การชีใ้ ห้เหน็ ว่าดนิ ที่ส�ำรวจพบนัน้ ส่วนใหญเ่ ปน็ ดินอะไร ใช้ท�ำประโยชน์
อะไร รวมท้ังข้อเสนอแนะเก่ียวกับปัญหาต่างๆ ที่พบและแนวทางแก้ไข เช่น ปัญหาสภาพพื้นท่ี
ปญั หาเกยี่ วกบั ดนิ ปญั หาเกยี่ วกบั นำ้� หรอื ปญั หาเกยี่ วกบั การกรอ่ นหรอื การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ

4. ภาคผนวก เปน็ สว่ นทจี่ ะแสดงขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การสำ� รวจดนิ เชน่ ขอ้ มลู ลกั ษณะ
ดินในสนาม ผลการวิเคราะห์ดนิ ทัง้ ทางดา้ นกายภาพ เคมี แรว่ ิทยา และอืน่ ๆ

5. แผนท่ีดิน รายงานการส�ำรวจดินทุกฉบับจะต้องมีแผนท่ีดินประกอบอยู่ด้วย จึงจะ
เปน็ รายงานฉบับท่ีสมบูรณ์

ประโยชนข์ องแผนที่ดินและรายงานการสำ� รวจดิน

การส�ำรวจดินน้ันจัดว่าเป็นการวิจัยพ้ืนฐานเพ่ือท่ีจะได้ข้อมูลซึ่งสามารถน�ำมาประยุกต์
ใชใ้ นการศกึ ษาเพอื่ หาแนวทางพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาตใิ หเ้ ปน็ ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ผลที่ได้จากการส�ำรวจดินซึ่งบันทึกไว้ในรูปแผนท่ีดินและรายงานส�ำรวจดินนั้นสามารถน�ำมาใช้
ประโยชนใ์ นดา้ นต่างๆ เพ่อื ที่จะร้จู ัก เขา้ ใจ และใช้ทด่ี นิ ไดอ้ ย่างเหมาะสมได้ ดังนี้

- เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการศึกษาเรียนรู้ลักษณะดิน ศักยภาพของดิน ความเหมาะสม
ของดนิ สำ� หรบั ใชเ้ พอื่ การปลกู พชื สภาพปญั หาและการแจกกระจายของดนิ ชนดิ ตา่ งๆ เพอื่ การใช้
ประโยชนท์ ดี่ นิ อยา่ งเหมาะสม และรวู้ า่ จะจดั การกบั ปญั หาของดนิ อยา่ งไรเพอื่ ใหพ้ ชื ทป่ี ลกู มผี ลผลติ
ท่ดี ขี ึน้
- เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการวางแผนการใช้ท่ีดิน และการพัฒนาด้านการเกษตร
โดยสามารถก�ำหนดแนวทางการใช้ที่ดินให้เหมาะสมกับสภาพของดินและสภาพเศรษฐกิจสังคม
และก่อเกิดปัญหาด้านผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมน้อยที่สุด เช่น การก�ำหนดเขตเมือง
เขตอตุ สาหกรรม เขตการเพาะปลูก หรอื กำ� หนดเขตการปลูกพืชวา่ บริเวณใดควรปลกู พชื ชนดิ ใด
หรอื ควรจำ� กัดไว้เปน็ พืน้ ทปี่ า่ สงวนหรอื ปา่ เศรษฐกิจ รวมถงึ การประเมินความเสี่ยงต่อการชะล้าง
พังทลายของดนิ การจดั ระบบการปลูกพชื และวางแผนอนุรักษ์ดนิ และน้�ำ
- เป็นข้อมลู พืน้ ฐานในการประเมินผลผลิตพืชเศรษฐกิจล่วงหน้า เพื่อวางแผนด้านการ
จดั การทงั้ ภายในประเทศและตา่ งประเทศ
- เป็นฐานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ส�ำหรับการค้นคว้าวิจัยและการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ทั้งในและนอกประเทศ

54 ความรเู้ รอื่ งดินส�ำหรบั เยาวชน

ดนิ ของประเทศไทย ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการศกึ ษาดนิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งกนั มาจนถงึ ปจั จบุ นั ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ
สามารถจะบอกได้ว่าดินส่วนใหญ่ของประเทศไทยมีลักษณะเด่นเป็น
ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ
ดินเขตร้อนที่มีพัฒนาการค่อนข้างสูงถึงสูง และ
ดนิ มกั จะขาดความอดุ มสมบรู ณใ์ นการผลติ พชื
เศรษฐกจิ ให้ได้ผลผลติ ดี

เนอ่ื งจากปจั จยั และสภาพแวดลอ้ มในการเกดิ ดนิ แตล่ ะภมู ภิ าค
มีความแตกต่างกัน ลักษณะดินที่เกิดในบริเวณต่างๆ ของประเทศไทย
จงึ มีลกั ษณะเด่นที่แตกตา่ งกันไปด้วย สรุปโดยภาพรวมได้ดังนี้

ความรู้เรื่องดนิ ส�ำหรับเยาวชน 55

1. ทรัพยากรดนิ ในภาคใต้

จากสภาพภูมิประเทศท่ีมีลักษณะเป็นแหลมหรือแผ่นดินยื่น
ลงไปในทะเล ท�ำใหเ้ กิดพ้นื ทช่ี ายฝั่งทะเลเปน็ แนวยาวท้ังสองดา้ น ตอนกลางมี
เทือกเขาสูงทอดตัวเป็นแนวยาวเหนือ-ใต้ ส่งผลให้เกิดพ้ืนที่ลาดเอียงจาก
ตอนกลางของภาคไปสชู่ ายฝง่ั ทะเลทงั้ สองดา้ น ประกอบกบั สภาพภมู อิ ากาศเปน็
แบบรอ้ นชนื้ มฝี นตกชกุ สมำ่� เสมอ ลกั ษณะดนิ ทพ่ี บสว่ นใหญใ่ นภาคใตจ้ งึ เปน็ ดนิ
ทอี่ ยภู่ ายใตส้ ภาพอากาศทคี่ อ่ นขา้ งชนื้ ดนิ ในพน้ื ทด่ี อนมกั เปน็ ดนิ ทม่ี พี ฒั นาการ
มาก มกี ารชะลา้ งสงู ความอดุ มสมบรู ณต์ ำ่� จดั ไดว้ า่ เปน็ ดนิ ทมี่ ศี กั ยภาพทางการ
เกษตรต�่ำถึงค่อนข้างต่�ำ ตัวอย่างชุดดินที่ส�ำคัญท่ีใช้ท�ำการเกษตรของภาคใต้
ได้แก่ ชดุ ดินระโนด ชุดดนิ เขาขาด ชดุ ดนิ ท่าแซะ และชดุ ดินชุมพร

ชุดดนิ ระโนด ชุดดินเขาขาด ชดุ ดนิ ทา่ แซะ ชุดดนิ ชุมพร

เปน็ ดินในพืน้ ทีล่ ุ่ม เปน็ ดินในพืน้ ท่ดี อน เป็นดนิ ในพื้นท่ดี อน เปน็ ดนิ ในพน้ื ทีด่ อนใช้
ลกึ มาก เน้ือดนิ เป็น เน้ือดนิ เปน็ ดนิ เหนยี ว เนือ้ ดนิ เป็นดนิ ร่วน ประโยชน์ในการปลกู
ดนิ ร่วนปนดนิ เหนยี ว ปนทรายเหมาะสม ยางพาราและไม้ผล
ใช้ประโยชน์ในการ ตืน้ ถงึ ช้ันลูกรงั เหมาะสม ปานกลาง ส�ำหรับปลกู เน้ือดนิ เป็นดนิ เหนยี ว
ทำ� นา มีความอดุ ม ปานกลางสำ� หรบั ยางพารา และไมผ้ ล ปนกรวดลกู รงั มีความ
สมบูรณ์ปานกลาง ปลกู ปาลม์ น้ำ� มัน แตต่ ้องเพ่ิมป๋ยุ อดุ มสมบูรณต์ ำ�่
มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ�่ เนือ่ งจากดนิ มีความ

อุดมสมบูรณต์ ่ำ�

56 ความรู้เรอื่ งดินส�ำหรับเยาวชน

ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

ชดุ ดนิ บางเลน ชดุ ดินนครปฐม ชุดดนิ ราชบรุ ี ชุดดินก�ำแพงแสน ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ

เป็นดนิ นพน้ื ทล่ี ุม่ เกดิ เป็นดินในพน้ื ท่ีลุ่ม เปน็ ดนิ ในพืน้ ที่ลุม่ เปน็ ดินในพืน้ ท่ดี อน
ในสภาพน้�ำกร่อย ใช้ ใชป้ ระโยชนใ์ นการ ใช้ประโยชนใ์ นการ พบบรเิ วณลานตะพกั
ประโยชน์ในการท�ำนา ท�ำนา เนือ้ ดนิ เปน็ ท�ำนา เนือ้ ดินเป็น หรอื เนนิ ตะกอนรปู พดั
ดินลึกมาก เนื้อดนิ ดินเหนียว มีความ ดนิ เหนยี ว มคี วามอดุ ม ใชป้ ระโยชนใ์ นการ
เปน็ ดนิ เหนยี ว มีความ อุดมสมบรู ณ์ สมบูรณ์ปานกลาง ปลกู พืชไร่ เนื้อดินเป็น
อดุ มสมบรู ณป์ านกลาง ปานกลาง
ดินร่วนปนทรายแป้ง
มีความอุดมสมบรู ณ์
ปานกลาง

2. ทรพั ยากรดินในภาคกลาง ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ

สภาพพนื้ ทโี่ ดยทว่ั ไปเปน็ ทร่ี าบลมุ่ ของแมน่ ำ้� เจา้ พระยา แมน่ ำ้� ทา่ จนี
แม่น้�ำแม่กลอง และล�ำน้�ำสาขา ท�ำให้มีพื้นที่ราบต่อเน่ืองกัน
เป็นบรเิ วณกว้าง วัตถตุ ้นกำ� เนดิ ดินส่วนใหญเ่ ปน็ พวกตะกอนนำ้� พา
ดินในแถบนี้จึงมีศักยภาพทางการเกษตรอยู่ในระดับค่อนข้างสูง
ประกอบกับพื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่อยู่ภายใต้ระบบชลประทาน
การใชป้ ระโยชน์ที่ดินจึงมปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา่ ภาคอื่นๆ แม้ว่าจะ
มีปัญหาดินเปร้ียวอยู่บ้าง ชุดดินที่ส�ำคัญที่ใช้ท�ำการเกษตรของ
ภาคกลาง ได้แก่ ชุดดินบางเลน ชุดดินนครปฐม ชุดดินราชบุรี
ชดุ ดินก�ำแพงแสน และชดุ ดนิ ตาคลี

ความรู้เร่อื งดนิ ส�ำหรับเยาวชน 57

3. ทรัพยากรดินในภาคเหนอื

สภาพโดยทั่วไป เป็นเทือกเขาสูงสลับกับที่ราบระหว่าง
หบุ เขา หรอื ทีร่ าบบริเวณสองฝ่งั แมน่ �้ำสายใหญ่ ลกั ษณะดนิ ที่พบสว่ นใหญ่
เปน็ ดนิ ทม่ี พี ฒั นาการไมม่ ากนกั ในดนิ ยงั คงมธี าตอุ าหารทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่
พืชอยู่ในระดับที่ไม่ต่�ำจนเกินไป ดินในบริเวณท่ีราบหรือค่อนข้างราบเป็น
ดนิ ทมี่ ศี กั ยภาพทางการเกษตรอยใู่ นระดบั ปานกลางถงึ สงู แตข่ อ้ จำ� กดั ของ
พื้นที่ภาคเหนือท่ีส�ำคัญคือ เป็นพ้ืนท่ีลาดชันเชิงซ้อน มีพ้ืนที่ภูเขาและ
เทือกเขาตา่ งๆ ทมี่ คี วามลาดชันมากกว่า 35 เปอรเ์ ซ็นต์ ขึน้ ไป ครอบคลุม
เป็นบริเวณกว้างขวาง ซ่ึงพ้ืนท่ีเหล่าน้ีจัดว่ามีความเส่ียงต่อการชะล้าง
พังทลายสูง ไม่เหมาะสมสำ� หรับทำ� การเกษตร ชดุ ดินทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ ชุดดนิ
หล่มสกั ชดุ ดินเชียงราย ชุดดนิ สันป่าตอง และชดุ ดินบ้านจ้อง

ชดุ ดนิ หล่มสกั ชุดดนิ เชยี งราย ชดุ ดนิ สนั ปา่ ตอง ชดุ ดินบา้ นจ้อง

เปน็ ดินในพืน้ ท่ลี ่มุ เป็นดินในพนื้ ทีล่ มุ่ เป็นดนิ ในพืน้ ทดี่ อน ชดุ ดินบ้านจอ้ งเปน็ ดิน
เนอ้ื ดินเปน็ ดนิ ร่วนปน ใชป้ ระโยชนใ์ นการ ใชป้ ระโยชน์ในการ ในพืน้ ท่ดี อนใช้
ทรายแปง้ ใชป้ ระโยชน์ ทำ� นา เน้ือดนิ เปน็ ดนิ ปลกู พชื ไร่ เนอื้ ดนิ คอ่ น ประโยชน์ในการปลกู
ในการปลกู ขา้ ว คอ่ นขา้ งเหนียว ขา้ งเป็นทราย มคี วาม พชื ไร่ เป็นดนิ ลกึ มาก
มีความอดุ มสมบรู ณ์ มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ่� อุดมสมบรู ณต์ ่�ำ สอี อกแดง เนือ้ ดนิ เป็น
ปานกลางถงึ สูง ดนิ ร่วนปนดนิ เหนียว
มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ�่

58 ความรูเ้ รื่องดินสำ� หรบั เยาวชน

ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

ชุดดินนครพนม ชดุ ดินพิมาย ชุดดินโคราช ชุดดนิ ยโสธร

เป็นดินในพ้ืนทลี่ ุ่มใช้ เป็นดินในพน้ื ที่ลุ่ม เปน็ ดินในพืน้ ท่ีดอน เปน็ ดินในพืน้ ทีด่ อนใช้
ประโยชนใ์ นการท�ำ ใชป้ ระโยชนใ์ นการ ใชป้ ระโยชนใ์ นการ ประโยชนใ์ นการปลกู
นาเนอ้ื ดินเป็นดนิ รว่ น ท�ำนา เนอ้ื ดนิ เปน็ ปลูกพืชไร่ เนอ้ื ดิน พืชไร่ สว่ นใหญ่เปน็ ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ
เหนียวปนทรายแปง้ ดินเหนียวจัด มคี วาม ค่อนข้างเป็นทราย มนั สำ� ปะหลงั เน้อื ดนิ
หรือดินรว่ นปนดนิ อดุ มสมบรู ณป์ านกลาง มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ่� คอ่ นข้างเปน็ ทราย
เหนียว มคี วามอดุ ม มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ�่

สมบรู ณ์ต�่ำ

4. ทรัพยากรดนิ ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ

สภาพพ้นื ท่เี ป็นทล่ี ่มุ สลบั กับทด่ี อน วตั ถุต้นก�ำเนดิ ดนิ
สว่ นใหญเ่ กดิ จากการสลายตวั ผพุ งั อยกู่ บั ทข่ี องหนิ ตะกอน หรอื
เปน็ ชน้ิ สว่ นของหนิ ตะกอนทผี่ พุ งั และถกู เคลอ่ื นยา้ ยมาในระยะ
ทางไม่ไกลนัก ลักษณะดินท่ีพบส่วนใหญ่มักจะเป็นดินที่มี
พฒั นาการสงู มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ�่ ดนิ มโี อกาสขาดแคลนนำ้�
ได้ง่าย เนื่องจากเนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย นอกจากน้ียังพบ
ดนิ ทมี่ ปี ญั หาในการใชป้ ระโยชนท์ างดา้ นการเกษตรอกี ดว้ ย เชน่
ดินเค็ม ดินทราย ดนิ มกี รวดลูกรงั และศิลาแลงปนอยู่ในระดับตื้น สง่ ผลให้ศกั ยภาพของ
ดนิ ทางการเกษตรส่วนใหญอ่ ยู่ในเกณฑค์ อ่ นข้างตำ�่ หรอื ต่�ำ ชุดดินท่ีส�ำคญั ได้แก่ ชดุ ดิน
นครพนม ชดุ ดินพมิ าย ชุดดินโคราช และชุดดินยโสธร

ความรู้เรอื่ งดินส�ำหรบั เยาวชน 59

ดินดเทีปา็นงอกยาร่าเงกไษรตร...

ดนิ ดี ในทางการเกษตร หมายถงึ ดนิ ทมี่ คี วามเหมาะสมตอ่ การปลกู พชื ซงึ่ จะตอ้ งมลี กั ษณะ
และสมบัติของดินทางกายภาพ เคมี และชีวภาพที่เหมาะสม มีปริมาณน้�ำและธาตุอาหารท่ีเพียงพอ
ต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิต สามารถปลูกพืชได้โดยใช้วิธีการจัดการดูแลตามปกติธรรมดา
ท่ีไม่ย่งุ ยาก มักจะมีหน้าดนิ สีดำ� หนา มปี รมิ าณอนิ ทรยี วัตถุสงู มธี าตุอาหารทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ พืชสงู
ไม่มีสารที่เป็นพิษต่อพืช มีปฏิกิริยาดินใกล้เป็นกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.5-7.0
และไมม่ ชี ้นั ท่ีขัดขวางการเจรญิ เตบิ โตของรากพชื

ในการที่จะบอกได้ว่าพ้ืนที่ใดเป็นดินดีหรือไม่น้ัน ต้องค�ำนึงถึงชนิดของพืชท่ีจะปลูกใน
บริเวณน้ันด้วย ท้ังน้ีเนื่องจากพืชแต่ละชนิดมีความต้องการสภาพแวดล้อมในการเจริญเติบโตที่
แตกต่างกันไป ยกตัวอย่างเช่น ข้าวเป็นพืชท่ีชอบน้�ำ ดังนั้นดินดีท่ีเหมาะสมส�ำหรับการปลูกข้าว
จงึ ควรเป็นดนิ ท่อี ยใู่ นท่ีลมุ่ เน้อื ดินเป็นดินเหนียวซ่งึ จะช่วยให้สามารถขังน้ำ� ไวใ้ นนาขา้ วได้ แต่ถ้าจะ
ปลูกพชื ไร่หรือไม้ผล ดินท่ีดีสำ� หรับพืชพวกนี้ควรมหี นา้ ดนิ หนา เนอื้ ดินเป็นพวกดินรว่ นหรอื พวกที่มี
การระบายน้�ำดี มีความอดุ มสมบูรณ์ โดยเฉพาะไมผ้ ลซึง่ เป็นไม้ยืนต้น มีอายุหลายปมี รี ะบบรากลึก
ต้องการดินที่มีความลึกมากกว่าพืชไร่ เพื่อที่รากพืชจะสามารถชอนไชลงไปหาอาหารและน�้ำ และ
เพ่ือยดึ เกาะในดินไว้ไดม้ าก

60 ความรเู้ ร่อื งดนิ สำ� หรบั เยาวชน

ดินท่ีมปี ัญหาดา้ นการเกษตร ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

ดินท่มี ีปญั หาทางการเกษตร หมายถึง ดินทมี่ ีสมบัติทางกายภาพและเคมี
ไม่เหมาะสม หรือเหมาะสมน้อยส�ำหรับการเพาะปลูก ส่งผลให้พืชไม่สามารถเจริญ
เติบโตและให้ผลผลิตตามปกติได้ มักจะเป็นดินที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่
ดินเค็ม ดินเปรย้ี วจดั ดนิ ทรายจดั ดินอินทรยี ์ ดนิ ปนกรวด และดนิ ตน้ื นอกจากน้ี
ยังรวมไปถึงพ้ืนท่ีท่ีมีความลาดชันสูง ซึ่งถ้ามีการใช้ประโยชน์ด้านการเกษตรแล้ว
จะทำ� ให้เกิดผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศและสภาพแวดล้อมอยา่ งรนุ แรง

ดินเปรย้ี วจัด ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ

หมายถึง ดินท่ีมีสภาพความเป็นกรดสูงมาก จุดประสีเหลอื งฟางขา้ ว ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ
เนอื่ งจากอาจจะมี กำ� ลังมี หรอื ได้เคยมกี รดก�ำมะถนั ซง่ึ เปน็ ของสารจาโรไซต์
ผลสืบเน่ืองมาจากการเกิดดินชนิดน้ีอยู่ในหน้าตัดของดิน
และปริมาณของกรดก�ำมะถันท่ีเกิดข้ึนน้ันมีมากพอที่จะมี ทพี่ บในดนิ เปรย้ี วจัด
ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินและการเจริญ
เติบโตของพชื ในบรเิ วณนัน้

ดินเปรี้ยวจัดในประเทศไทยมักแพร่กระจายอยู่ในบริเวณท่ีราบลุ่มภาคกลางตอนใต้
ภาคตะวนั ออก และชายฝง่ั ทะเลภาคใต้ ในบรเิ วณทวี่ ตั ถตุ น้ กำ� เนดิ ดนิ มคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั ตะกอนนำ้� ทะเล
หรือตะกอนน�้ำกร่อยที่จะก่อให้เกิดการสะสมสารประกอบไพไรต์ ซ่ึงต่อมาจะเปลี่ยนสภาพเป็นสาร
จาโรไซต์ และเกดิ กรดก�ำมะถนั ข้ึนในดิน

ความร้เู รอ่ื งดนิ ส�ำหรับเยาวชน 61

ลักษณะของดินเปรี้ยวจัดท่ีเด่นชัด คือ ดินมีสภาพเป็นกรดจัด มีค่าพีเอช ต�่ำกว่า 4.5
และมีสารจาโรไซต์ ซึ่งสังเกตได้จากการมีจุดประสีเหลืองเหมือนฟางข้าวในช้ันดิน ดินเปรี้ยวจัดใน
ประเทศไทย แบ่งได้เปน็ 3 ประเภท ตามความลกึ ของจาโรไซตท์ พี่ บในดนิ คือ

1. ดนิ เปรย้ี วจัดท่พี บจาโรไซตใ์ นระดบั ต้ืน

จะพบจุดประสีเหลืองฟางข้าวภายในช่วงความลึกไม่เกิน 50 เซนติเมตร จากผิวดิน
ตัวอยา่ งเชน่ ชุดดินองครักษ์ ชดุ ดนิ เชียรใหญ่ และชดุ ดนิ มูโน๊ะ

2. ดินเปร้ยี วจัดที่พบจาโรไซต์ในระดับปานกลาง

มักพบจุดประสีเหลืองฟางข้าวภายในช่วงความลึก 50-100 เซนติเมตร จากผิวดิน
ไดแ้ ก่ ชุดดนิ รงั สติ ชดุ ดินดอนเมือง และชุดดินเสนา

3. ดินเปรย้ี วจดั ทพ่ี บจาโรไซต์ในระดบั ลึก

โดยทั่วไปจะพบจุดประสีเหลืองฟางข้าวที่ระดับความลึกมากกว่า 100 เซนติเมตร
จากผิวดิน ได้แก่ ชุดดนิ อยุธยา ชดุ ดนิ บางนำ้� เปรีย้ ว ชดุ ดนิ มหาโพธิ และชดุ ดนิ ทา่ ขวาง

ชดุ ดนิ องครักษ์

ชดุ ดินรังสติ ชุดดินอยธุ ยา

62 ความรเู้ ร่อื งดินสำ� หรับเยาวชน

ปัญหาทเี่ กดิ จากดนิ เปรยี้ วจดั ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

โดยทั่วไปธาตุอาหารท่ีเป็นประโยชน์ต่อพืช อาการใบม่วงในขา้ วโพด ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ
ซ่ึงละลายอยู่ในน�้ำในดิน ส่วนใหญ่จะเป็นประโยชน์ เนอื่ งจากขาดธาตุฟอสฟอรัส
ต่อการเจริญเติบโตของพืชได้ดีในช่วงที่ดินมีพีเอช
ดินเป็นกลางถึงเป็นด่าง แต่ในสภาพท่ีมีความเป็นกรด ทีป่ ลูกในดนิ เปรี้ยวจัด
รนุ แรงมาก (พเี อชต�่ำกวา่ 4.5) ความเป็นประโยชน์ของ
ธาตุอาหารในดิน จะเปล่ียนแปลงไป เช่น ไนโตรเจน
ฟอสฟอรัส โพแทสเซยี ม ซลั เฟอร์ แคลเซยี ม แมกนเี ซยี ม
จะละลายได้น้อยมาก ดังน้ัน จึงอาจท�ำให้พืชเกิดการ
ขาดแคลนธาตเุ หลา่ นจี้ นไมส่ ามารถเจรญิ เตบิ โตตามปกตไิ ด้
นอกจากน้ี สภาพท่ีดินเป็นกรดรุนแรงมากยังท�ำให้ธาตุ
เหล็กและอะลูมินัมละลายออกมาอยู่ในดินมากจนถึง
ระดับที่เปน็ พิษตอ่ พืชทป่ี ลูกอกี ด้วย

การปรับปรงุ ดนิ เปรย้ี วจัด ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ

การปรับปรุงดินเปร้ียวจัดมีหลายวิธี ส�ำหรับดินท่ีมีปฏิกิริยาดินเป็นกรดไม่รุนแรง อาจใช้
วธิ กี ารทำ� ใหก้ รดเจอื จางลง โดยการใชน้ ำ�้ ชะลา้ งความเปน็ กรดในดนิ โดยการขงั นำ�้ ไวน้ านๆ แลว้ ระบายนำ้�
ออกไปก่อนปลูกพืช และเลือกปลูกพืชพันธุ์ท่ีทนต่อดินกรด ส�ำหรับการจัดการดินที่มีความเป็น
กรดรนุ แรงมาก จะใช้วธิ ีการใส่วสั ดุปูน เช่น ปูนมาร์ล ปูนขาว หินปูนบด หินปนู ฝุน่ ผสมคลกุ เคลา้
กับหน้าดินในอัตราที่เหมาะสม
เพื่อช่วยลดความเป็นกรดในดิน
หรือใช้ปูนควบคู่ไปกับการใช้น้�ำ
ชะล้างและควบคุมระดับน้�ำใต้ดิน
ซ่ึ ง เ ป ็ น วิ ธี ก า ร ท่ี ส ม บู ร ณ ์ ท่ี สุ ด
และใช้ได้ผลมากในพื้นที่ซึ่งดินเป็น
กรดรุนแรงมาก และถูกปล่อยท้ิง
ร้างเปน็ เวลานาน

ความรู้เรือ่ งดนิ สำ� หรบั เยาวชน 63

ดินอินทรีย์ ดินอินทรีย์

ดินอนิ ทรีย์ หรอื ดนิ พรุ หมายถงึ ดนิ ท่เี กดิ จากการทับถม
ของอินทรยี สาร โดยเฉพาะพชื พรรณตามธรรมชาติทขี่ นึ้ อยใู่ นสภาพ
แวดล้อมท่เี ป็นแอง่ ต�ำ่ ปิด มนี ำ�้ แชข่ ังเปน็ เวลานาน ท�ำใหก้ ระบวนการ
เนา่ เปอ่ื ยเปน็ ไปไดอ้ ยา่ งชา้ ๆ จนเกดิ การสะสมเปน็ ชนั้ ดนิ อนิ ทรยี ท์ หี่ นา
ขึ้นเรื่อยๆ

ดินอินทรีย์ท่ีพบในประเทศไทย ส่วนใหญ่มักจะเก่ียวข้องกับ
พ้ืนที่ท่ีเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงบริเวณชายฝั่งทะเลท่ีเคย
มีน�้ำขึ้นลงท่วมถึง จนเกิดเป็นแอ่งน�้ำต่�ำที่น�้ำทะเลไม่สามารถ
เข้าถึงได้อีก เนื่องจากมีสันทรายปิดกั้นไว้ ต่อมานานวันเข้า
นำ�้ ทะเลทแี่ ชข่ งั อยจู่ งึ คอ่ ยๆ จดื ลง และมพี วกกกหรอื หญา้ งอกขน้ึ มา
เมื่อพืชเหล่าน้ีตายทับถมกันจนพ้ืนที่ต้ืนเขินขึ้น ต้นไม้เล็กใหญ่
จงึ ขนึ้ มาแทนที่ เกดิ เปน็ ปา่ ชนดิ ทเ่ี รยี กวา่ “ปา่ พร”ุ ตอ่ มาตน้ ไม้
ใหญ่น้อยล้มตายลงตามอายุทับถมลงในแอ่งน้�ำขังท่ีการ
ย่อยสลายของเศษซากพืชเป็นไปอย่างช้าๆ จึงเกิดการทับถม
อนิ ทรียสารเกดิ เป็นชัน้ ดนิ อินทรียท์ ่ีหนามากกวา่ 40 เซนตเิ มตร

ลักษณะของดินอนิ ทรีย์

สีดินเป็นสีน�้ำตาลแดงเข้มหรือน้�ำตาลแดงคล�้ำ
องคป์ ระกอบของดนิ สว่ นใหญเ่ ปน็ อนิ ทรยี วตั ถทุ ง้ั ทยี่ อ่ ยสลายแลว้
และบางสว่ นทีย่ งั คงสภาพเปน็ เศษช้นิ ส่วนของพชื เช่น กิ่ง กา้ น
ล�ำต้น หรือราก ดินตอนล่างถัดจากชั้นดินอินทรีย์ลงไปจะเป็น
ดนิ เลนสเี ทาปนน้�ำเงิน ซ่ึงเปน็ ตะกอนน�ำ้ ทะเล ซึ่งบางแห่งอาจมี
การสะสมสารประกอบก�ำมะถันที่จะเกิดเป็นดินเปร้ียวจัด
เมอ่ื มกี ารระบายน้ำ� ออกจากพน้ื ทจ่ี นดนิ อย่ใู นสภาพทแ่ี หง้ ดว้ ย

64 ความรูเ้ รอ่ื งดินส�ำหรับเยาวชน

ปัญหาของดินอินทรีย์ ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

เนื่องจากดินอินทรีย์เป็นดินที่มีชิ้นส่วนของพืชเป็นองค์ประกอบมากอยู่ในพ้ืนที่ที่มักจะมี ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ
น�้ำขัง ดงั น้ันหากระบายนำ้� ออกจนแหง้ ดินจะยุบตวั มากมีน้ำ� หนักเบา ตดิ ไฟง่าย ท�ำใหต้ น้ พชื ทีป่ ลกู
ไมส่ ามารถตัง้ ตรงอยู่ได้ และความไม่สม�่ำเสมอของเนอื้ วสั ดุอนิ ทรยี ท์ ีม่ ที ้ังกิ่ง ก้าน ล�ำต้น ผสมกนั อยู่ ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ
ท�ำใหย้ ากในการเขตกรรม นอกจากนี้ในบรเิ วณท่มี ดี นิ อนิ ทรยี ม์ กั มีดินเลนทม่ี ศี กั ยภาพเป็นดนิ เปรีย้ ว
จัดอยู่ตอนลา่ ง ซึ่งเมือ่ ระบายนำ้� ออกจนแห้งจะกลายเปน็ ดนิ กรดจัดรุนแรง

การปรับปรงุ แกไ้ ข

เลอื กพ้นื ท่ปี ลกู ทมี่ ีช้ันดนิ อินทรีย์ทหี่ นานอ้ ยกว่า 100 เซนตเิ มตร จากผิวดนิ มีแหลง่ น�้ำจดื
และมรี ะบบการควบคุมน้ำ� โดยมคี ันดนิ กนั น้�ำท่วม หรอื มแี นวปอ้ งกันนำ�้ ทว่ มรว่ มกับคลองระบายน้�ำ
และคลองส่งน้�ำ ท้ังนี้ควรมีระบบการให้น�้ำและการระบายน�้ำแยกส่วนกัน เพ่ือป้องกันการน�ำน�้ำ
ที่เป็นกรดรุนแรงกลับมาใช้อีก หากว่าดินเป็นกรดจัดมากควรปรับสภาพความเป็นกรดในดิน และ
เพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชด้วยการใส่วัสดุปูน แล้วไถคลุกเคล้าให้เข้ากับดิน
เลอื กปลูกขา้ วพันธุพ์ ้นื เมอื ง หรือเลือกชนดิ พืชทีท่ นต่อสภาพดินอินทรยี ์ เช่น หมากแดง ปาลม์ น�ำ้ มัน

ดินเค็ม

ดินเค็ม หมายถึง ดินที่มีปริมาณเกลือท่ีละลายอยู่ในสารละลายดินมากเกินไปจนมี
ผลกระทบตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการใหผ้ ลผลติ ของพชื โดยทว่ั ไปมกั มคี า่ การนำ� ไฟฟา้ ของสารละลายดนิ
ที่สกดั จากดินที่อ่มิ ตวั ด้วยนำ�้ สูงเกนิ กว่า 2 เดซซิ ีเมนส์ตอ่ เมตร
ดินเค็มมีลักษณะท่ัวไปเหมือนดินธรรมดาเพียงแต่มีเกลือท่ีละลายได้ง่ายอยู่มากกว่าปกติ
เท่าน้ัน การวัดค่าการน�ำไฟฟ้าจะช่วยให้ทราบว่าเป็นดินเค็มหรือไม่ อย่างไรก็ตามอาจจะใช้วิธีการ
สังเกตจากสภาพพ้ืนที่และพืชพรรณที่ขึ้นอยู่ในบริเวณน้ัน โดยพ้ืนที่ที่เป็นดินเค็มจัดนี้มักจะมี
คราบเกลอื สขี าวปรากฏทผี่ วิ ดนิ ในฤดแู ลง้ แตเ่ นอื่ งจากการกระจายของเกลอื มไิ ดส้ มำ่� เสมอทว่ั ทงั้ พนื้ ที่
แต่ละบริเวณจึงมีความเค็มไม่เท่ากัน ส่วนที่เค็มจัดอาจจะไม่มีพืชข้ึนเลย หรือมีเฉพาะพืชพวกท่ี
ทนเค็มเท่าน้ัน ส่วนบริเวณท่ีมีความเค็มต่�ำ จะมีพืชขึ้นอยู่ได้แต่การเจริญเติบโตไม่ค่อยดีนัก ดังนั้น
หากมองพื้นทท่ี ง้ั แปลงจะเหน็ ท่ีว่างเปน็ หย่อมๆ หรอื มีคราบเกลอื ที่ผิวดนิ ในบางบรเิ วณ

ความรู้เร่อื งดนิ สำ� หรับเยาวชน 65

ดินเค็มที่พบในประเทศไทย จ�ำแนกตามลักษณะการเกิดและสัณฐานภูมิประเทศได้
2 ประเภท คอื

1. ดนิ เคม็ ชายฝง่ั ทะเล พบมากทส่ี ดุ ตามแนวชายฝง่ั ทะเล โดยเฉพาะในภาคใต้ ในบรเิ วณ
พืน้ ที่ที่ยงั คงมนี ำ้� ทะเลทว่ มถึง หรือเคยเปน็ พนื้ ทท่ี ่มี นี ำ�้ ทะเลทว่ มมากอ่ น ทำ� ใหม้ ีการสะสมเกลือในดนิ

2. ดินเค็มบก หรือ ดินเค็มในแผ่นดิน พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณ
พื้นที่ลมุ่ หรอื ตามเชิงเนนิ โดยเฉพาะในบรเิ วณแอง่ โคราชและแอ่งสกลนคร และพบบ้างในภาคกลาง
แถบจงั หวัดนครปฐม สพุ รรณบุรี เพชรบรุ ี และประจวบคีรีขนั ธ์

ปญั หาของดนิ เคม็

การทมี่ ปี ริมาณเกลือทีล่ ะลายน้�ำได้ง่ายอยใู่ นดินมากเกินไป จะทำ� ให้เกดิ อนั ตรายต่อพชื ที่
ปลกู ได้ เนอื่ งจากพชื จะเกดิ อาการขาดนำ�้ และไดร้ บั พษิ จากธาตทุ เี่ ปน็ สว่ นประกอบของเกลอื ทล่ี ะลาย
ออกมาและสะสมอยใู่ นดนิ โดยเฉพาะโซเดยี มและคลอไรด์ ทำ� ใหป้ ลกู พชื ไมไ่ ดผ้ ลดหี รอื ผลผลติ ลดลง
และมคี ณุ ภาพตำ�่

การปรบั ปรุงแก้ไข

1. การจดั การดนิ เคม็ ชายฝง่ั ทะเล อาจทำ� ได้ 2 ลกั ษณะ คอื การจดั การใหเ้ หมาะกบั สภาพ
ธรรมชาตทิ ม่ี ีอยู่ เชน่ การปลกู ป่าชายเลน การทำ� นาเกลอื การเพาะเลีย้ งสัตว์น้�ำ หรอื การดัดแปลง
สภาพธรรมชาติ เชน่ การสร้างเขอื่ นปิดก้ันน�้ำทะเล เพอ่ื พฒั นาให้เปน็ พน้ื ทเ่ี พาะปลกู ถาวร และยก
เป็นร่องสวนเพื่อปลูกไมท้ นเค็ม เปน็ ต้น

2. การจัดการดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยการใช้
เทคโนโลยพี น้ื บา้ น เชน่ การใชน้ ำ�้ ลา้ งเกลอื ออกจากดนิ การเพมิ่ อนิ ทรยี วตั ถุ
ให้กับดินโดยไถกลบพืชปุ๋ยสด ปุ๋ยอินทรีย์ หรือใส่วัสดุปรับปรุงดิน เช่น
แกลบสด เพื่อปรับปรุงโครงสร้างดิน และเพ่ิมความอุดมสมบูรณ์ของดิน
การคลมุ ดินดว้ ยเศษวัสดุ เชน่ ฟางข้าว เพอื่ รกั ษาความชื้นในดนิ ไว้ หรอื การ
ปลูกข้าวโดยใช้ต้นกล้าท่ีอายุมากกว่าปกติ และปักด�ำด้วยจ�ำนวนต้นมากกว่าปกติ เลือกปลูก
พืชทนเคม็ เชน่ อะคาเซียแอมพเิ ซฟ สะเดา ยคู าลิปตัส และในขณะเดียวกนั กต็ อ้ งระมัดระวงั ในการทำ�
กิจกรรมบางอย่าง ท่จี ะมผี ลกระทบตอ่ การที่จะท�ำให้เกลือแพร่กระจายไปยงั บรเิ วณอน่ื ได้ เชน่ การท�ำ
เหมอื งเกลอื ขนาดใหญ่ การตดั ไมท้ ำ� ลายปา่ หรอื การสรา้ งอา่ งเก็บนำ้� ในพน้ื ท่ีที่มีแหล่งสะสมเกลือ

66 ความรเู้ รอ่ื งดนิ สำ� หรบั เยาวชน

ดินทรายจัด ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

ดินทรายจัด หมายถึง ดินท่ีมีอนุภาคขนาด
ดนิ ทรายอยู่มากกว่ารอ้ ยละ 85 มเี นื้อดินเป็นทรายหรือ
เป็นทรายปนดินร่วน และมีความหนาของชั้นที่เป็น
ดนิ ทรายลกึ จากผวิ ดนิ หนามากกวา่ 50 เซนตเิ มตร เกดิ จาก
การทับถมของตะกอนเน้ือหยาบหรือตะกอนทราย
ชายฝง่ั ทะเล พบได้ทงั้ ในพนื้ ทล่ี ุ่มและท่ดี อน

ดนิ ทรายในพนื้ ทดี่ อน พบตามบรเิ วณหาดทราย ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ
สันทรายชายทะเล หรือบริเวณพ้ืนที่ลอนลาดถึงที่ลาด
เชงิ เขา ซงึ่ มหี นิ พน้ื เปน็ หนิ เนอื้ หยาบ เนอื้ ดนิ เปน็ ทรายหนา

มีการระบายน้�ำดีมากเกินไป ดินไม่อุ้มน�้ำ และเกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย เน่ืองจากอนุภาคดิน
มกี ารเกาะตัวกันน้อยมาก ส่วนใหญ่ใช้ปลูกพชื ไร่ เชน่ มันส�ำปะหลงั และสับปะรด

ดินทรายในพ้ืนท่ีลุ่ม มักพบตามที่ลุ่มระหว่างสันหาด หรือเนินทรายชายฝั่งทะเล หรือ

บริเวณที่ราบท่ีอยู่ใกล้ภูเขาหินทราย ดินมีการระบายน�้ำเลวหรือค่อนข้างเลว ท�ำให้ดินแฉะหรือมี

น�้ำขังเป็นระยะเวลาสั้นๆ โดยเฉพาะหลังจากเวลาที่มีฝนตกหนัก บางแห่งใช้ท�ำนา บางแห่ง

ใชป้ ลูกพืชไร่ เช่น ออ้ ย และปอ บางแหง่ เปน็ ทท่ี ิ้งร้าง หรอื เปน็ ท่งุ หญ้าธรรมชาติ

นอกจากนี้ในบางพื้นที่ บริเวณหาดทรายเก่า หรือ

บรเิ วณสนั ทรายชายทะเล โดยเฉพาะในเขตภาคตะวนั ออกและ

ภาคใต้ อาจพบดนิ ทรายทม่ี ชี น้ั ดานอนิ ทรยี ์ ซงึ่ มลี กั ษณะเฉพาะ ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ

ตวั คอื ชว่ งดนิ ตอนบนจะเปน็ ทรายสขี าว แตเ่ มอื่ ขดุ ลกึ ลงมาจะ

พบชั้นทรายสีน�้ำตาลปนแดงท่ีเกิดจากการจับตัวกันของ

สารประกอบพวกเหล็ก และอินทรียวัตถุอัดแน่นเป็น

ชน้ั ดานในตอนลา่ ง ในชว่ งฤดแู ลง้ ชนั้ ดานในดนิ จะแหง้ แขง็ มาก

จนรากพชื ไมอ่ าจชอนไชผา่ นไปได้ สว่ นในฤดฝู นดนิ จะเปยี กแฉะ

ดนิ ทรายทม่ี ชี นั้ ดานอินทรยี ์ สว่ นใหญย่ งั เปน็ พนื้ ทปี่ า่ เสมด็ ปา่ ชายหาด ปา่ ละเมาะ หรอื บาง
แหง่ ใช้ปลูกมะพรา้ ว มะมว่ งหิมพานต์

ความรเู้ ร่ืองดินสำ� หรับเยาวชน 67

ปัญหาของดินทราย

1. เกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย เน่ืองจากอนุภาคของดินเกาะกันอย่าง
หลวมๆ ซึ่งนับว่าเปน็ ปญั หาทร่ี นุ แรงในพื้นทีด่ อน พ้นื ทลี่ ุ่มๆ ดอนๆ และรุนแรงมากในพื้นที่ภเู ขาท่ใี ช้
ในการปลกู พชื โดยไมม่ มี าตรการอนรุ กั ษด์ นิ และนำ้� ทเ่ี หมาะสม นอกจากนย้ี งั ทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาตดิ ตาม
มาหลายประการ เช่น เกิดสภาพเส่ือมโทรมมีผลกระทบท�ำให้แม่น�้ำ ล�ำธาร เข่ือน อ่างเก็บน้�ำ
ตืน้ เขนิ เกดิ ความแหง้ แล้งและนำ้� ท่วมซ้�ำซาก

2. ดนิ มคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ำ�่ เนอ่ื งจากมปี รมิ าณอนิ ทรยี วตั ถตุ ำ�่ ปรมิ าณโพแทสเซยี มและ
ฟอสฟอรสั ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ พชื ตำ่� ถงึ ตำ�่ มาก ความสามารถในการแลกเปลยี่ นธาตอุ าหารของดนิ ตำ�่
มาก เม่ือมีการใส่ปุ๋ยเคมีลงไปในดิน จะเกิดการสูญเสียไปจากดินได้ง่าย เพราะดินดูดยึดไว้ได้น้อย
ทำ� ให้การตอบสนองต่อการใช้ปุย๋ ของพชื ไม่ดี

3. ในดนิ ทม่ี ที รายหยาบเปน็ สว่ นประกอบมาก ชอ่ งวา่ งในดนิ จะมขี นาดใหญ่ เมอ่ื ฝนตกนำ้�
จะไหลผ่านดินได้อย่างรวดเร็ว ขณะท่ีดินสามารถดูดซับน�้ำไว้ได้เพียงเล็กน้อย พืชท่ีปลูกจึงมีโอกาส
ขาดแคลนน้�ำได้ง่าย แต่ถ้าหากว่ามีดินทรายละเอียดเป็นส่วนประกอบมาก และอยู่ในพ้ืนที่ลุ่มอาจจะ
เกดิ ปัญหาดินแนน่ ทึบ การระบายน้ำ� และอากาศไมด่ ี และเป็นอุปสรรคตอ่ การชอนไชของรากพชื

การปรับปรุงแก้ไข

ควรปรับปรุงบ�ำรุงดินและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน โดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือปลูกพืชปุ๋ยสดแล้วไถกลบ เพ่ือเพ่ิมความสามารถในการอุ้มน้�ำของดิน
และใส่ปุ๋ยเคมีเพ่ือเพ่ิมปริมาณธาตุอาหารให้เพียงพอแก่ความต้องการของพืช มีระบบการอนุรักษ์ดิน
และน้�ำอยา่ งเหมาะสม

การใส่ปยุ๋ หมกั เพ่มิ เติมอนิ ทรียวัตถุ การปลูกพชื ปุ๋ยสดบ�ำรุงดนิ

68 ความรู้เรื่องดนิ ส�ำหรบั เยาวชน

ดินต้ืน ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

ดินตื้น หมายถึง ดินที่มีช้ันลูกรัง ช้ันก้อนกรวด ช้ันเศษหิน ช้ันปูนมาร์ล หรือชั้นหินพ้ืน ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ
ซงึ่ เปน็ อปุ สรรคตอ่ การชอนไชของรากพชื อยตู่ น้ื กวา่ 50 เซนตเิ มตร จากผวิ ดนิ สง่ ผลใหพ้ ชื ไมส่ ามารถ
เจรญิ เตบิ โตได้ดีและให้ผลผลติ ตำ่� ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ

ดนิ ตนื้ แบง่ ออกเปน็ 4 ประเภท คอื

1. ดินตื้นที่มีการระบายน�้ำไม่ดี เป็นดินต้ืนท่ีพบในพ้ืนที่ลุ่มต�่ำ ดินมีการระบายน�้ำ
ไม่ค่อยดี จึงมักจะมีน้�ำแช่ขังในช่วงฤดูฝน ส่วนใหญ่มีกรวดลูกรังปนอยู่ในดินมาก อาจจะมีชั้น
ศิลาแลงอ่อนในดนิ ช้นั ลา่ ง บางแหง่ ใช้ทำ� นา บางแหง่ เป็นป่าละเมาะ (ภาพ ก)

2. ดินต้นื ปนลูกรังหรือปนกรวดทีม่ ีการระบายน้ำ� ดี เปน็ ดนิ ต้นื ทีพ่ บตามพนื้ ทดี่ อนสลบั
กบั ทีล่ ุ่มหรือเนินเขา มักจะมลี กู รังหรือหินกรวดมนปะปนอยู่มาก ตัง้ แต่บรเิ วณผิวดนิ ลงไป บางแห่ง
มีก้อนลูกรงั หรอื ศิลาแลงโผลก่ ระจดั กระจายทัว่ ไปบรเิ วณผวิ หนา้ ดิน (ภาพ ข)

3. ดินตืน้ ปนหนิ มกี ารระบายน�ำ้ ดี เปน็ ดินตืน้ ท่พี บตามพ้ืนทีล่ อนลาดหรือบรเิ วณเนนิ เขา
มเี ศษหนิ แตกชนิ้ นอ้ ยใหญป่ ะปนอยใู่ นดนิ มาก บางแหง่ พบหนิ ผหุ รอื หนิ แขง็ ปะปนอยกู่ บั เศษหนิ หรอื
มีก้อนหนิ และหนิ โผล่กระจัดกระจายท่วั ไปตามหน้าดนิ (ภาพ ค)

4. ดินต้ืนปนปูนมาร์ล พบในพ้ืนที่ราบเรียบถึงเป็นลอนลาด หรือบริเวณท่ีลาดเชิงเขา
เมื่อขุดลงไปในระดับความลึกท่ี 20-50 เซนติเมตร จะพบสารเม็ดปูนหรือก้อนปูนสีขาว ซึ่งเป็น
สารประกอบจ�ำพวกแคลเซียมหรือแมกนีเซียมคาร์บอเนตปนอยู่ในเน้ือดิน ดินประเภทน้ีจัดว่าเป็น
ดนิ ทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณส์ งู แตม่ ขี อ้ เสยี คอื ดนิ มปี ฏกิ ริ ยิ าเปน็ ดา่ งมาก ซงึ่ เปน็ ขอ้ จำ� กดั ตอ่ พชื บางชนดิ
ทีไ่ มช่ อบความเป็นดา่ ง เช่น สับปะรด (ภาพ ง)

ความรู้เร่อื งดนิ ส�ำหรับเยาวชน 69

(ก) (ข) (ค) (ง)

ปญั หาของดนิ ต้นื

ดนิ ตน้ื นน้ั เปน็ ดินท่ีไมเ่ หมาะสมตอ่ การเพาะปลูก เพราะมีชน้ั ขดั ขวางการเจริญเตบิ โตของ
พชื มเี นื้อดนิ นอ้ ยเนอ่ื งจากมีปรมิ าณช้ินส่วนหยาบปนอยู่ในดินมาก การเกาะยึดกันของดินไมด่ ที ำ� ให้
เกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่�ำ มีธาตุอาหารท่ีเป็นประโยชน์ต่อพืชน้อย
และอุ้มน�้ำได้น้อย ดินชั้นลา่ งมักจะแน่นทึบ รากพืชชอนไชไปได้ยาก การแพร่กระจายของรากไม่ดี
พชื ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ พวกทเี่ ป็นไมย้ นื ตน้ จึงมโี อกาสโค่นล้มได้ง่าย

การปรับปรงุ แก้ไข

การใชป้ ระโยชนใ์ นพน้ื ทเี่ หลา่ น้ี จะตอ้ งมกี ารจดั การอยา่ งระมดั ระวงั ถา้ จะใชท้ ำ� การเกษตร
ควรเลือกพนื้ ทที่ ม่ี หี น้าดนิ หนามากกวา่ 25 เซนตเิ มตร และไม่มีกอ้ นกรวดหรือลูกรังปนอย่ใู นดินมาก
ปรับปรุงบ�ำรุงดินด้วยการไถกลบพืชปุ๋ยสด ร่วมกับการบ�ำรุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์ ถ้าจะใช้ปลูกไม้ผล
ไม่ควรเลือกพ้ืนที่ท่ีมีช้ันหินพื้นแข็งในระดับตื้น ควรขุดหลุมปลูกให้ลึกและมีขนาดใหญ่กว่าปกติ
ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยหน้าดินท่ีไม่มีก้อนกรวดหรือลูกรัง ร่วมกับการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกและ
ใชป้ ยุ๋ เคมตี ามความตอ้ งการของชนดิ พชื ทป่ี ลกู เมอ่ื ปลกู พชื แลว้ ควรมกี ารคลมุ ดนิ เพอื่ รกั ษาความชน้ื
จัดระบบการใหน้ �้ำอยา่ งมีประสิทธภิ าพ เช่น ใหน้ ำ้� แบบหยด หรือเลือกปลูกพชื ทมี่ ีระบบรากตนื้ และ
ทนแล้ง เช่น ปลกู หญา้ เลย้ี งสตั ว์ และปลูกพชื หลากหลายชนิดผสมผสาน

70 ความรู้เร่ืองดนิ ส�ำหรับเยาวชน

พ้นื ท่ลี าดชนั เชงิ ซ้อน ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

หมายถึง พื้นที่ภูเขา ท่ีมีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งไม่เหมาะที่จะใช้ท�ำ ภาค 2 เรยี นรู้เร่อื ง...ดนิ
เกษตรกรรม เนื่องจากถ้ามีการใช้ท่ีดินเพาะปลูกพืชที่ไม่ถูกต้อง จะเกิดปัญหาการชะล้างพังทลาย
ของดินและการเสื่อมโทรมของดินอย่างรวดเรว็ ภาค 3 แหลง่ ขอ้ มูล...ดนิ
ลกั ษณะและสมบตั ขิ องดนิ ทพี่ บบนพน้ื ทที่ ม่ี คี วามลาดชนั สงู มคี วามแตกตา่ งกนั มากขน้ึ อยู่
กับปัจจัยท่ีก่อให้เกิดดิน อาจพบได้ตั้งแต่ดินต้ืนไปจนถึงดินลึก เนื้อดินเป็นทรายจนถึงดินเหนียว
สนี ำ้� ตาลจนถงึ สแี ดง ปฏกิ ริ ยิ าดนิ ตง้ั แตเ่ ปน็ กรดจดั ถงึ เปน็ ดา่ ง มคี วามอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ กจ็ ะผนั แปร
ไปตงั้ แต่ต่�ำจนถึงสูง นอกจากนี้ยังอาจพบเศษหนิ ก้อนหนิ หรอื หนิ โผลก่ ระจดั กระจายท่วั ไป

ปัญหาในพ้นื ทลี่ าดชันเชงิ ซ้อน

เนือ่ งจากเปน็ พืน้ ทีท่ ีม่ คี วามลาดชันสูงมากกวา่ 35 เปอรเ์ ซน็ ต์ และหากมีการใช้ประโยชน์
ทำ� การเกษตรโดยปราศจากมาตรการอนรุ กั ษด์ นิ และนำ้� ทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาการชะลา้ งพงั ทลายของหนา้
ดิน ทำ� ใหห้ น้าดนิ ตืน้ จนบางแห่งเหลอื แตด่ ินหินโผล่ ความอุดมสมบูรณข์ องดินลดต�ำ่ ลง เป็นสาเหตุที่
ทำ� ใหม้ ีพื้นท่ดี นิ เสอื่ มโทรมลงเพิ่มมากขึ้น

แนวทางการแก้ไข

ถ้าจ�ำเป็นที่ต้องใช้พ้ืนที่เหล่าน้ีในการเพาะปลูกพืช ก็จ�ำเป็นต้องมีมาตรการป้องกัน
การพงั ทลายของดนิ ทด่ี ี ซ่งึ มหี ลักสำ� คญั อยู่ 2 ประการ คอื ลดแรงปะทะของเม็ดฝนท่ตี กลงมากระทบ
ผิวดิน และชะลอความเร็วของน้�ำที่ไหลบ่าผ่านผิวหน้าดิน ไถพรวนเตรียมดินเท่าที่จ�ำเป็น
เพ่ือรักษาก้อนดินไว้ไม่ให้แตกออกจากกันและไม่ให้ถูกน�้ำพัดพาไปได้ง่าย จัดระบบการอนุรักษ์ดิน
และน้�ำ เช่น ท�ำแนวคันดินเป็นขั้นบันได ไถพรวนปลูกพืชตามแนวระดับ ปลูกหญ้าแฝกขวาง
ความลาดชันปอ้ งกันการชะล้างและสูญเสยี ดิน เป็นตน้

ความร้เู รือ่ งดนิ ส�ำหรับเยาวชน 71

72 ความรูเ้ รอื่ งดินสำ� หรบั เยาวชน

ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั ภาค 2 เรยี นรูเ้ รือ่ ง...ดิน ภาค 3 แหลง่ ข้อมลู ...ดนิ

ภาค 3
ความรู้เ ่รืองดิน �สำห ัรบเยาวชน 73

กรมพฒั นาทดี่ นิ เปน็ หนว่ ยงานหนงึ่ ในสงั กดั กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ท่มี หี น้าท่ดี ูแลและรับผิดชอบงานดา้ นการศึกษา สำ� รวจ
จ�ำแนก วิเคราะห์ และวิจยั ดนิ และท่ดี นิ ติดตามสถานการณ์สภาพการ
ใชท้ ี่ดนิ เพื่อก�ำหนดนโยบาย วางแผนการใช้ทด่ี นิ และการพัฒนาทด่ี ิน
รวมถึงการให้บริการด้านการวิเคราะห์ ตรวจสอบ และให้ค�ำแนะน�ำ
เกยี่ วกบั ดนิ น�้ำ พืช ปุ๋ย และอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวกับการพฒั นาท่ีดนิ ตลอดจน
การถ่ายทอดผลการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และให้บริการด้านการ
พฒั นาท่ดี นิ แก่ส่วนราชการท่เี ก่ยี วขอ้ งและเกษตรกรทว่ั ไป

นกั เรยี น นกั วชิ าการ เกษตรกร หรอื ผสู้ นใจศกึ ษาประวตั กิ ารสำ� รวจจำ� แนกดนิ ลกั ษณะดนิ
ของประเทศไทย และข้อมูลทางวิชาการด้านการพัฒนาที่ดินอื่นๆ สามารถศึกษาข้อมูล
เพ่ิมเติมได้ท่ี เว็บไซต์ของกรมพัฒนาท่ีดิน (www.ldd.go.th) หรือเฟสบุ๊คของกรมพัฒนาท่ีดิน
(facebook.com/ldd.go.th/) เข้าเย่ียมชมตัวอย่างหน้าตัดดินจ�ำลองของชุดดินและกลุ่มชุดดิน
ที่ส�ำคัญๆ รวมท้ังข้อมูลวิชาการของกรมพัฒนาที่ดิน ได้ที่ พิพิธภัณฑ์ดิน ซึ่งตั้งอยู่บริเวณช้ัน 1
ของอาคาร 6 ชนั้ กรมพฒั นาทดี่ ิน ถนนพหลโยธนิ เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ

74 ความรูเ้ รอ่ื งดินสำ� หรบั เยาวชน

ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

พพิ ธิ ภัณฑด์ นิ กรมพฒั นาที่ดนิ กรงุ เทพฯ เป็นพพิ ธิ ภัณฑ์แห่งแรก ภาค 2 เรยี นรูเ้ รือ่ ง...ดิน
ของประเทศไทย ท่ีภายในมีการจัดแสดงประวัติความเป็นมาของการส�ำรวจ
จำ� แนกดนิ มกี ารแสดงเครอ่ื งมอื เครอื่ งใชใ้ นการสำ� รวจดนิ แผนทดี่ นิ ทเ่ี ปน็ ผล ภาค 3 แหลง่ ข้อมลู ...ดนิ
มาจากการศึกษาสำ� รวจดินในสมยั ตา่ งๆ จดั แสดงชนดิ ของวตั ถุตน้ กำ� เนิดดนิ
และตัวอย่างแบบจ�ำลองลักษณะหน้าตัดของชุดดินและกลุ่มชุดดินท่ีพบใน
ภมู ภิ าคต่างๆ ของประเทศไทย รวมถึงลกั ษณะดนิ ที่มีปัญหาทางการเกษตร
พรอ้ มทง้ั แสดงขอ้ มลู คำ� อธบิ ายลกั ษณะและสมบตั ขิ องดนิ รวมถงึ แนวทางการ
ปรับปรุงและจัดการดิน พิพิธภัณฑ์ดินน้ีเปิดให้บริการแก่บุคคลทั่วไปในวัน
จนั ทร-์ ศกุ ร์ ตง้ั แตเ่ วลา 09.00-16.00 น. เวน้ วันหยุดราชการ

ความรูเ้ ร่ืองดนิ สำ� หรบั เยาวชน 75

ผู้สนใจยังสามารถเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ดินท่ีกระจายอยู่ทั่วประเทศในภูมิภาคต่างๆ รวม
16 แหง่ ประกอบดว้ ย
 พพิ ธิ ภณั ฑ์ดนิ กรงุ เทพฯ
 สำ� นักงานพัฒนาทด่ี นิ เขต 1 อำ� เภอธญั บุรี จังหวดั ปทุมธานี
 ส�ำนักงานพัฒนาทด่ี นิ เขต 2 อำ� เภอศรีราชา จังหวดั ชลบุรี
 ส�ำนักงานพัฒนาที่ดนิ เขต 3 อ�ำเภอเมอื งนครราชสมี า จังหวัดนครราชสีมา
 สำ� นกั งานพฒั นาทด่ี ินเขต 4 อ�ำเภอเมืองอบุ ลราชธานี จงั หวัดอุบลราชธานี
 ส�ำนกั งานพัฒนาทด่ี ินเขต 5 อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จงั หวัดขอนแก่น
 ส�ำนักงานพัฒนาท่ดี นิ เขต 6 อำ� เภอเมอื งเชยี งใหม่ จังหวัดเชยี งใหม่
 ส�ำนักงานพฒั นาท่ดี ินเขต 7 อ�ำเภอเมืองนา่ น จังหวัดนา่ น
 ส�ำนักงานพัฒนาทด่ี ินเขต 8 อำ� เภอเมอื งพษิ ณุโลก จงั หวดั พิษณโุ ลก
 สำ� นักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 อำ� เภอเมอื งนครสวรรค์ จงั หวดั นครสวรรค์
 สำ� นักงานพฒั นาทด่ี ินเขต 10 อำ� เภอเมอื งราชบรุ ี จังหวดั ราชบรุ ี
 สถานีพัฒนาที่ดินสุราษฎร์ธานี ส�ำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 อ�ำเภอกาญจนดิษฐ์
จงั หวดั สรุ าฎร์ธานี
 ส�ำนกั งานพัฒนาที่ดนิ เขต 12 อ�ำเภอเมอื งสงขลา จงั หวัดสงขลา
 ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอพนมสารคาม
จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
 โครงการช่งั หัวมันตามพระราชด�ำริ อำ� เภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี
 ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาพกิ ุลทองอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอเมืองนราธวิ าส
จังหวัดนราธิวาส
ทั้งนี้ ส�ำนักงานพัฒนาที่ดิน ทั้ง 12 เขต และสถานีพัฒนาที่ดินทุกจังหวัด พร้อมให้
ค�ำแนะน�ำและบริการความรู้ด้านการพัฒนาที่ดินแก่เกษตรกรและผู้สนใจท่ัวไป หรือสอบถามจาก
หมอดนิ อาสาทอี่ ยู่ใกลช้ ิดกับเกษตรกรท้งั ในระดับอ�ำเภอ ต�ำบล และหมูบ่ ้านของท่าน

76 ความรู้เรอ่ื งดนิ สำ� หรับเยาวชน

แหลง่ เรยี นร้พู ิพิธภณั ฑด์ นิ ท้งั 16 แหง่ ท่วั ประเทศ

ส�ำนักงานพฒั นาที่ดินเขต 6 ส�ำนักงานพฒั นาทด่ี นิ เขต 7 ภาค 1 ความหมายและความสำ� คญั

สำ� นกั งานพัฒนาทด่ี ินเขต 9 ส�ำนกั งานพฒั นาทด่ี นิ เขต 8
ส�ำนกั งานพฒั นาที่ดนิ เขต 1 ส�ำนกั งานพฒั นาท่ีดนิ เขต 5

สำ� นกั งานพฒั นาทีด่ ินเขต 10 สำ� นักงานพัฒนาทดี่ ินเขต 4 ภาค 2 เรยี นรูเ้ รือ่ ง...ดิน
โครงการชง่ั หัวมนั ตามพระราชดำ� ริ สำ� นกั งานพัฒนาท่ีดนิ เขต 3
ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาเขาหนิ ซอ้ นฯ
กรมพฒั นาท่ีดิน

ส�ำนักงานพฒั นาทด่ี ินเขต 11 ส�ำนกั งานพฒั นาทด่ี ินเขต 2 ภาค 3 แหลง่ ข้อมลู ...ดนิ
สำ� นักงานพฒั นาท่ดี นิ เขต 12 ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาพิกุลทองฯ

ความรเู้ รื่องดนิ สำ� หรับเยาวชน 77

วนั ดินโลก

5 ธันวาคม...วนั ส�ำคญั เพอ่ื การรณรงคเ์ ก่ยี วกับดนิ

องค์การสหประชาติ (United Nations) ได้ประกาศอย่างเป็นทางการให้
วันท่ี 5 ธันวาคมของทุกปีเป็น “วันดินโลก” (World Soil Day) ซ่ึงตรงกับวันคล้าย
วนั พระราชสมภพของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร
เพือ่ เปน็ การสดุดีและเทดิ พระเกียรตคิ ณุ ในพระอจั ฉริยภาพด้านการอนุรักษ์และพฒั นา
ทรพั ยากรดิน

วันดินโลก...ใช้เป็นโอกาสในการขับเคลื่อนกิจกรรมการรณรงค์และเผยแพร่

ความรทู้ างดา้ นดนิ และสรา้ งความตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของดนิ ทงั้ ในระดบั ประเทศ
และระดบั โลกตอ่ มนษุ ยชาตแิ ละสภาพแวดล้อมอย่างเป็นรปู ธรรมและตอ่ เน่ือง

โลโก้วนั ดินโลก ภาษาองั กฤษ โลโกว้ นั ดินโลก ภาษาไทย

78 ความรเู้ รื่องดนิ ส�ำหรบั เยาวชน

บรรณานุกรม

กรมพฒั นาทีด่ นิ . 2550. คูม่ อื ยุวหมอดนิ . กระทรวงเกษตรและสหกรณ,์ กรงุ เทพฯ. 45 น.
กรมพฒั นาท่ีดิน. 2550. คู่มอื วิทยากรยวุ หมอดิน. เอกสารประกอบ ในโครงการเกษตรอนิ ทรีย์

ในโรงเรียนและยุวหมอดิน ปี 2550 กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,
กรุงเทพฯ.
กรมวชิ าการ. 2543. หนังสืออ่านเพ่มิ เตมิ กลมุ่ สรา้ งเสริมประสบการณ์ชีวติ ระดับประถมศกึ ษา
ชุดทรพั ยากรสำ� คัญของเรา เร่ืองดิน. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรงุ เทพฯ 101 น.
ขนษิ ศรี ฮุ่นตระกลู . 2547. การจัดท�ำเว็บไซตเ์ ร่ืองดนิ และพัฒนาการดา้ นการส�ำรวจจ�ำแนกดนิ
ในประเทศไทยโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม Dreamweaver MX. เอกสารวิชาการ
ฉบบั ที่ 525 ส�ำนักส�ำรวจดนิ และวางแผนการใช้ทีด่ นิ กรมพัฒนาทดี่ นิ กระทรวงเกษตร
และสหกรณ,์ กรุงเทพฯ
คณะกรรมการจัดท�ำปทานุกรมปฐพีวิทยา. 2541. ปทานุกรมปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 169 น.
คณะกรรมการจดั ทำ� พจนานกุ รมปฐพีวทิ ยา. 2551. พจนานุกรมปฐพีวิทยา.
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.
คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2548. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร.์
นงคราญ กาญจนประเสรฐิ . 2549. ทรัพยากรดิน. บริษทั สำ� นกั พมิ พ์แมค จ�ำกดั , กรุงเทพฯ. 12 น.
เล็ก มอญเจริญ. 2547. ดิน : ทรัพยากรพ้ืนฐานของชีวิต. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม, กรงุ เทพฯ. 127 น.
อรรถ สมร่าง, ยุทธชัย อนุรักษ์ติพันธุ์, พงศธร เพียรพิทักษ์, และบุศริน แสวงลาภ. 2548.
ดินเพื่อประชาชน. กรมพฒั นาทด่ี นิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 166 น.
สารานกุ รมไทยสำ� หรบั เยาวชน เล่มท่ี 18. 2537. ดนิ .

ความร้เู รื่องดนิ สำ� หรับเยาวชน 79

อัญชลี สทุ ธปิ ระการ. 2534. แรใ่ นดิน เล่มที่ 2 แรด่ นิ เหนียวและเทคนิคการวิเคราะห์. ภาควชิ า
ปฐพีวิทยา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. กรงุ เทพฯ. 624 น.

เอิบ เขยี วร่นื รมณ์. 2533. ดนิ ของประเทศไทย. ภาควชิ าปฐพวี ิทยา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
กรุงเทพฯ.

เอบิ เขยี วรน่ื รมณ.์ 2542. การสำ� รวจดนิ . ภาควชิ าปฐพวี ทิ ยา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กรงุ เทพ.
733 น.

Yara (Thailand) Ltd.ABC Guide to Mineral Fertilizers : A Basic Handbook on Fertilizers
and Their Use. 28 p. www.yara.com

เวบ็ ไซต์

http://www.doae.go.th/ni/din/ din_2.htm (กลุ่มดินและปุ๋ย กองส่งเสริมพืชพันธุ์
กรมสง่ เสรมิ การเกษตรโดยการสนบั สนนุ ของ ประชาคมเศรษฐกจิ ยุโรป ภายใต้โครงการ
A.L.A./TH 8509)

http://www.dmr.go.th/knowledge/ soil.htm (กรมทรัพยากรธรณี 28/04/2551)
http://www.kanchanapisek.or,th/ (เครือขา่ ยกาญจนาภิเษก; 28/04/2551)
http://www.kidsgeo.com/geology-for-kids/0009-components-of-soil.php Geology

for kids (The study for our earth)
www.kku.ac.th (มหาวิทยาลยั ขอนแก่น 28/04/2551)
http://www.ldd.go.th/Lddwebsite/web_osl/easysoils/index.htm (ความรู้เรื่องดิน

สำ� หรบั เยาวชน สำ� นกั สำ� รวจดนิ และวางแผนการใชท้ ดี่ นิ กรมพฒั นาทดี่ นิ กระทรวงเกษตร
และสหกรณ)์
http://www.swu.ac.th/royal/book1/b1c3t8.html. (โครงการวิจัยเพื่อพฒั นาหนงั สือและ
โฮมเพจชุดพัฒนาสังคมตามแนวพระราชด�ำริ ในความดูแลของศูนย์ศึกษาแนว
พระราชดำ� ริและฝ่ายวจิ ัยและวเิ ทศสมั พนั ธ์ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ 2543)
http://soil.gsfc.nasa.gov/ ; (Soil Science Education Homepage)

80 ความรู้เรอ่ื งดนิ สำ� หรับเยาวชน

จัดท�ำครง้ั ท่ี 1 และจดั ทำ� ฉบับปรบั ปรงุ คร้ังท่ี 2

ท่ีปรึกษา อธิบดกี รมพัฒนาท่ดี นิ
รองอธิบดีกรมพัฒนาทด่ี ิน
นายธวัชชยั ส�ำโรงวัฒนา รองอธบิ ดกี รมพัฒนาทีด่ นิ
นายฉลอง เทพวทิ ักษ์กิจ ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั ส�ำรวจและวิจัยทรพั ยากรดิน
นายเกรยี งศักด ิ์ หงษ์โต นักส�ำรวจดินช�ำนาญการพเิ ศษ
นายพสิ ทุ ธ ์ิ ศาลากจิ
นายภษู ติ วิวฒั นว์ งศ์วนา นกั สำ� รวจดินช�ำนาญการพิเศษ
นักส�ำรวจดินช�ำนาญการพเิ ศษ
คณะผู้จัดทำ� นกั สำ� รวจดินชำ� นาญการพิเศษ
นักสำ� รวจดนิ ช�ำนาญการพิเศษ
นายอนิรุทธ์ ิ โพธจิ ันทร์ นกั สำ� รวจดนิ ชำ� นาญการพเิ ศษ
นกั สำ� รวจดินช�ำนาญการ
นายสมศกั ด์ ิ สขุ จนั ทร ์ นักส�ำรวจดินปฏิบตั กิ าร
นักส�ำรวจดินปฏบิ ตั ิการ
นางสุพร บุญประคบั

นางขนิษฐศรี ฮนุ่ ตระกลู

นางสาวบำ� รงุ ทรพั ย์มาก

นางสาวสมุ ติ รา วัฒนา

นางสาวศรัญญา หน่อแก้ว

นางสาวยุพเยาว ์ หสั จรรย์

ความรเู้ รอ่ื งดินสำ� หรบั เยาวชน 81

จดั ท�ำฉบบั ปรบั ปรงุ ครั้งท่ี 3

ท่ีปรึกษา

นายสรุ เดช เตยี วตระกูล อธบิ ดีกรมพฒั นาทด่ี ิน
รองอธบิ ดีกรมพฒั นาทีด่ นิ
นายเขม้ แข็ง ยุติธรรมด�ำรง รองอธบิ ดีกรมพัฒนาทดี่ นิ
รองอธบิ ดีกรมพฒั นาทีด่ นิ
นายปราโมทย์ ยาใจ ผอู้ �ำนวยการกองสำ� รวจดนิ และวจิ ยั ทรพั ยากรดนิ
ทป่ี รกึ ษากรมพฒั นาที่ดิน
นางสาวภัทราภรณ ์ โสเจยยะ ทป่ี รกึ ษากรมพัฒนาทด่ี นิ
ที่ปรึกษากรมพัฒนาทีด่ นิ
นายสถาพร ใจอารีย์

นายพสิ ทุ ธ์ิ วิจารสรณ ์

นายวุฒิชาติ สิรชิ ว่ ยชู

นายภูษิต วิวฒั นว์ งศ์วนา

คณะผู้จดั ทำ� นักส�ำรวจดนิ ช�ำนาญการพิเศษ
นกั สำ� รวจดนิ ชำ� นาญการพเิ ศษ
นางสาวสมุ ิตรา วัฒนา นกั สำ� รวจดินชำ� นาญการ
นางสาวกรรณิการ์ หอมยามเย็น นักส�ำรวจดินชำ� นาญการ
นางสาวนฤกมล จนั ทรจ์ ิราวุฒกิ ลุ นักส�ำรวจดินช�ำนาญการ
นางสาวรวยิ า ทองย่น นักส�ำรวจดนิ ชำ� นาญการ
นางสาวศรญั ญา หนอ่ แก้ว นกั สำ� รวจดนิ ชำ� นาญการ
นางสาวยพุ เยาว์ หัสจรรย ์ นักส�ำรวจดินปฏบิ ัตกิ าร
นายอภิชาติ บุญเกษม นกั ส�ำรวจดนิ ปฏบิ ตั ิการ
นางสาวนศิ รา จงหวัง นักสำ� รวจดินปฏบิ ัตกิ าร
นางสาวกรรณิการ์ เพ็ชรมาก
นางสาวมนสิกานต์ หาญลำ� ยวง

82 ความรู้เร่อื งดินส�ำหรบั เยาวชน


Click to View FlipBook Version