The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 620113189053, 2022-08-30 11:00:33

หนังสือเรียนเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี)

หนังสือเรียนเทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลยี)



คำนำ

หนงั สืออิเล็กทรอนกิ สบ์ นเว็บ (E-book) นจ้ี ดั ทำขนึ้ เพ่ือประกอบกำร
เรียนกำรสอนในรำยวิชำ เทคโนโลยี (กำรออกแบบและเทคโนโลยี)
ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษำปี ท่ี 4 โรงเรียนบวั หลวงวิทยำคม ผจู้ ดั ทำไดร้ วบรวม
ขอ้ มลู เกย่ี วกบั แหลง่ เรียนรอู้ ิเล็กทรอนกิ สเ์ พื่อใหน้ กั เรียนไดม้ ีควำมรคู้ วำม
เขำ้ ใจในเนอ้ื หำมำกย่ิงขนึ้ นำเสนอในรปู แบบทน่ี ำ่ สนใจมีภำพประกอบให้
นกั เรียนไดเ้ ห็นภำพจริง ประกอบกำรเรียนรไู้ ดด้ ยี ิ่งขนึ้

ผจู้ ดั ทำหวงั เป็ นอย่ำงย่ิงวำ่ จะเป็ นประโยชนแ์ กน่ กั เรียนและผสู้ นใจไม่
มำกก็นอ้ ย



ยนิ ดี
ตอ้ นรบั

เขำ้ สกู่ ำรเรยี นรดู้ ว้ ยหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์

1. ใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเขำ้ สบู้ ทเรียน
2. ใหน้ กั เรียนเขำ้ เรียนบทเรียนหนว่ ยที่ 1
3. หลงั จำกเรียนแตล่ ะหนว่ ยแลว้ ใหท้ ำแบบทดสอบหลงั เรียน
ในแตล่ ะบทใหค้ รบถว้ น
4. หลงั จำกเขำ้ เรียนในแตล่ ะหนว่ ยแลว้ ครบทงั้ 4 หนว่ ยให้
นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียนใหค้ รบถว้ น
5. หลงั จำกทำทกุ ขน้ั นตอนแลว้ ก็จบบทเรียน



แบบทดสอบ
กอ่ นเรยี น

คำช้ีแจง
1. ขอ้ สอบเป็ นแบบประนยั 4 ตวั เลอื กมีจำนวน 20 ขอ้

เต็ม 20 คะแนน
2. สแกน QR CODE เพื่อเร่ิมทำแบบทดสอบ



สำรบญั

เรอื่ ง หนำ้ ท่ี
คำนำ.................................................................................ก
คำอธิบำย...........................................................................ข
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น.........................................................ค
สำรบญั ..............................................................................ง
บทที่ 1 ระบบทำงเทคโนโลยที ี่ซบั ซอ้ น...................................1

ระบบคืออะไร......................................................................2
ระบบทำงเทคโนโลย.ี ...........................................................4
ระบบทำงเทคโนโลยที ี่ซบั ซอ้ น..............................................5
กำรทำงำนผิดพลำดของระบบ............................................6
แบบทดสอบหลงั เรยี น.........................................................7

บทที่ 2 กำรเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลย.ี ...............................8
สำเหตหุ รอื ปัจจยั กำรเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลย.ี ........9
ตวั อยำ่ งกำรเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลย.ี .....................10
แบบทดสอบหลงั เรยี น.................................................11

บทที่ 3 ผลกระทบของเทคโนโลย.ี ..........................................12
ผลกระทบของเทคโนโลยตี ่อมนษุ ยแ์ ละสงั คม................13
ผลกระทบของเทคโนโลยตี ่อเศรษฐกจิ ..........................14
ผลกระทบของเทคโนโลยตี ่อสิ่งแวดลอ้ ม.......................15
ตวั อยำ่ งกำรวิเครำะหผ์ ลกระทบของเทคโนโลยี.............16
แบบทดสอบหลงั เรยี น..................................................18

บทท่ี 4 วสั ดแุ ละเครอื่ งมือพ้ืนฐำน...........................................19
วสั ด.ุ............................................................................20
เครอ่ื งมือพ้ืนฐำน..........................................................30
กำรตดั ต่อ และข้นึ รปู วสั ด.ุ............................................31
แบบทดสอบทำ้ ยบท.......................................................33

ระบบทำงเทคโนโลยีท่ีซบั ซอ้ น

บทท่ี

1

• ระบบคืออะไร
• ระบบทำงเทคโนโลยี
• ระบบทำงเทคโนโลยที ี่ซบั ซอ้ น
• กำรทำงำนผดิ พลำดของระบบ

2

ลกั ษณะของระบบ

ระบบมีลกั ษณะท่ีควรรแู้ ละศึกษำดงั น้ี

ระบบ คือ กำรรวมของสง่ิ ย่อยๆ ที่

1.1 ระบบคืออะไร ? เก่ยี วขอ้ งกนั ตง้ั แตห่ นงึ่ สว่ นขน้ึ ไปเป็ น
หนว่ ยเดยี วกนั เพื่อวตั ถปุ ระสงคห์ รือ

ควำมหมำยของระบบ (System) ควำมมงุ่ หมำยอยำ่ งเดยี วกนั เชน่ ระบบ

ตำมพจนำนกุ รม ฉบบั รำชกำรแผน่ ดนิ ประกอบดว้ ย กระทรวง

รำชบณั ฑติ ยสถำน พ.ศ.2525 ทบวง กรมและกองตำ่ งๆ เป็ นตน้ หรือ

ไดใ้ หค้ วำมหมำยไวว้ ำ่ ระบบสรุ ิยจกั รวำล (Solar System)

ระบบ คือ ระเบียบเก่ยี วกบั กำร

รวมส่งิ ตำ่ งๆ ซึ่งมลี กั ษณะซับซอ้ นให้ ระบบ คือ ระบบกำรทำงำนขององคก์ ำร

เขำ้ ลำดบั ประสำนเป็ นอนั เดยี วกนั ตำ่ งๆ ท่ีประกอบดว้ ยระบบยอ่ ยๆ หลำย

ตำมหลกั เหตผุ ลทำงวิชำกำร หรือ ระบบรวมกนั และทำงำนรว่ มกนั ซ่ึงจะตอ้ ง

หมำยถึงปรำกฏกำรณท์ ำง มีกำรปฏิบตั งิ ำนอย่ำงใดอยำ่ งหนง่ึ เพ่ือ

ธรรมชำตซิ ่ึงมีควำมสมั พนั ธ์ ประโยชนห์ รือวตั ถปุ ระสงคร์ ่วมกนั หรือ

ประสำนเขำ้ กนั โดยกำหนดรวมเป็ น อยำ่ งเดยี วกนั เชน่ ระบบโรงเรียน ระบบ

อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั โรงพยำบำล ระบบธนำคำร ระบบบริษทั

ระบบ (System) คือ กลมุ่ ของ ระบบหำ้ งรำ้ น เป็ นตน้

สว่ นตำ่ ง ๆ ตง้ั แตส่ องสว่ นข้ึนไป

ประกอบเขำ้ ดว้ ยกนั และทำงำน

รว่ มกนั เพื่อใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์

เดยี วกนั ระบบอำจถกู จำแนกแยกเป็ นประเภทใดประเภทหนง่ึ

หรือหลำยประเภท ทงั้ นสี้ ดุ แตใ่ ครเป่ งผจู้ ำแนก และผู้

ท่ีทำกำรจำแนกจะเห็นว่ำควรแบง่ หรือควรจะจัดเป็ น

ประเภทใด เชน่ เป็ นระบบเปิ ดหรือระบบปิ ด ระบบ

เครื่องจกั ร หรือระบบกง่ึ เคร่ืองจกั ร เป็ นตน้

3

ประเภทของระบบ

ระบบอำจจำแนกไดเ้ ป็ น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ระบบทพี่ บในธรรมชำติ
กบั ระบบทม่ี นษุ ยส์ รำ้ งขน้ึ

ระบบที่พบในธรรมชำติ คือ ระบบทธ่ี รรมชำตสิ รำ้ งขนึ้ หรือ เป็ นไป
ธรรมชำติ เชน่ ระบบลำเลี่ยงในพืช ระบบภมู คิ มุ้ กนั รำ่ งกำยมนษุ ย์ ระบบย่อย
อำหำร ระบบหำยใจ ระบบหมนุ เวียนเลอื ด ดงั ตวั อย่ำง

ระบบที่มนษุ ยส์ รำ้ งข้นึ คือ ระบบทสี่ รำ้ งขนึ้ เพื่ออำนวยควำมสะดวก
หรือเพ่ิมประสิทธิภำพกำรทำงำนของมนษุ ย์ เชน่ ระบบรถไฟฟ้ ำ ระบบบำบดั นำ้ เสยี
ระบบใหน้ ำ้ พืชอตั โิ นมตั ิ ระบบประปำ เป็ นตน้

4

1.2 ระบบทำงเทคโนโลยี

ระบบทำงเทคโนโลยี (technological system)
คือ มนษุ ยป์ ระดษิ ฐห์ รือสรำ้ งเทคโนโลยีขึ้นมำเพื่อใช้
ในกระบวนกำรแกป้ ัญหำ หรือสนองควำมตอ้ งกำร เพื่อให้
บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ ซึ่งกลำ่ วไดว้ ำ่ เทคโนโลยีนน้ั จะตอ้ ง
ทำงำนอย่ำงเป็ นระบบ

ระบบทำงเทคโนโลยีจะประกอบไปดว้ ย ตวั ป้ อน(input) กระบวนกำร (process)
และผลผลติ (output) ทส่ี มั พนั ธก์ นั นอกจำกนร้ี ะบบทำงเทคโนโลยีอำจมีขอ้ มลู ยอ้ นกลบั
(feedback) เพื่อควบคมุ กำรทำงำนใหไ้ ดต้ ำมวตั ถปุ ระสงค์

ตวั ป้ อน (input) คือ ส่ิงที่ป้ อนเขำ้ สรู่ ะบบซึ่งอำจมีมำกกวำ่ 1 อย่ำง
กระบวนกำร (process) คือ กจิ กรรมหรือกำรดำเนนิ กำรที่เกิดขน้ึ ในระบบ
เพ่ือทำใหเ้ กิดผลผลติ ตำมวตั ถปุ ระสงค์
ผลผลิต (output) คือ ผลที่ไดจ้ ำกกำรทำงำนร่วมกนั ของตวั ป้ อน และ
กระบวนกำรของระบบ ผลผลิตยงั รวมถึงส่ิงทีเ่ ป็ นผลพลอยไดจ้ ำกระบบซึ่งอำจเป็ นสิง่
ทีเ่ รำตอ้ งกำรหรือไมก่ ็ได้ เชน่ ของเสยี เศษวสั ดุ
ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั (feedback) คือ ขอ้ มลู ท่ใี ชใ้ นกำรควบคมุ หรือป้ อนกลบั ให้
ระบบทำงำนไดบ้ รรลตุ ำมวตั ถปุ ระสงคซ์ ่ึงอำจมีไดใ้ นบำงระบบ

สบื คน้ ขอ้ มลู เพ่ิมเติม
https://sites.google.com/site/kswit2562/directions

5

1.3 ระบบทำงเทคโนโลยที ่ีซบั ซอ้ น

ระบบทำงเทคโนโลยที ี่ซบั ซอ้ น
เทคโนโลยีบำงอย่ำงอำจประกอบไปดว้ ยระบบย่อยหลำยระบบ
(subsystems) ทำงำนสมั พนั ธก์ นั อยู่ หำกระบบยอ่ ยใดทำงำนผดิ พลำด จะสง่ ผล
ตอ่ กำรทำงำนของเทคโนโลยีนน้ั ไมส่ ำมำรถทำงำนไดต้ ำมวตั ถปุ ระสงค์ หรือ
อำจทำงำนไดไ้ มส่ มบรู ณ์ ซึ่งเทคโนโลยีท่ีประกอบไปดว้ ยระบบย่อยตงั้ แตส่ อง
ระบบขนึั ไปทำงำนรว่ มกนั เรียกระบบนนั้ ว่ำ ระบบท่ซี ับซอ้ น (complex system)
ตวั อย่ำงของระบบท่ซี บั ซอ้ น เชน่ เคร่ืองปรบั อำกำศ

หลกั กำรทำควำมเยน็ ของเครอื่ งปรบั อำกำศ
กอ่ นที่เรำจะเรียนรกู้ ลไกกำรทำงำนของ

เครื่องปรบั อำกำศ เรำควรทรำบกอ่ นว่ำ สว่ นประกอบท่ี
สำคญั ของระบบกำรทำกำรควำมเย็น (Refrigeration Cycle)

1. คอมเพรสเซอร์ (Compressor)
ของแอร์ แอรบ์ ำ้ น ทำหนำ้ ท่ี

ขบั เคลือ่ นสำรทำ ควำมเย็นหรือนำ้ ยำ
(Refrigerant) ในระบบ โดยทำใหส้ ำรทำ
ควำมเย็นมอี ณุ หภมู ิ และควำมดนั สงู ขน้ึ
2. คอยลร์ อ้ น (Condenser)

ทำหนำ้ ที่ระบำยควำมรอ้ นของ
สำรทำควำมเย็น
3. คอยลเ์ ยน็ (Evaporator)

ทำหนำ้ ที่ดดู ซับควำมรอ้ นภำยใน
หอ้ งมำสสู่ ำรทำควำมเย็น
4. อปุ กรณล์ ดควำมดนั (Throttling
Device)

ทำหนำ้ ท่ีลดควำมดนั และ
อณุ หภมู ิของสำร ทำควำมเย็น โดยทัว่ ไป
จะใชเ้ ป็ น แค็ปพิลลำรี่ทิ้วบ์ (Capillary
tube) หรือ เอ็กสแปนชนั่ วำลว์ (Expansion
Valve)

6

1.4 กำรทำงำนผิดพลำดของระบบ (system failure)

ระบบทำงเทคโนโลยีทง้ั ทเ่ี ป็ นระบบอยำ่ งงำ่ ยและระบบที่ซบั ซอ้ นื หำกมีสว่ นประกอบ
ใดหรือระบบยอ่ ยใดทำงำนผดิ พลำด อำจสง่ ผลกระทบตอ่ กำรทำงำนของเทคโนโลยีนน้ั ได้
เชน่ พดั ลม หำกป่ ุมปรบั ระดบั ควำมแรงของพดั ลมเสียหำย จะทำใหผ้ ใู้ ชไ้ มส่ ำมำรถปรบั
ระดบั ควำมแรงของพดั ลมไดต้ ำมควำมตอ้ งกำร จึงจำเป็ นตอ้ งมกี ำรดแู ลรกั ษำและซ่อม
บำรงุ (maintenance)เพ่ือใหส้ ำมำรถใชง้ ำนไดป้ กติ

สืบคน้ ขอ้ มลู เพิ่มเติม
https://www.youtube.com/watch?time_continu

e=1&v=Pgea_-xEaGE&feature=emb_title

สรปุ ทำ้ ยบท

ระบบทำงเทคโนโลยีหนง่ึ ๆ อำจประกอบไปดว้ ยระบบยอ่ ย
หลำยระบบ (subsystems)ทำงำนสมั พนั ธก์ นั เพื่อใหเ้ ทคโนโลยีนน้ั
สำมำรถทำงำนไดบ้ รรลตุ ำมวตั ถปุ ระสงค์ เรียกว่ำระบบทำ
เทคโนโลยีทชี่ บั ซอ้ นซ่ึงควำมรเู้ กีย่ วกบั ระบบทำงเทคโนโลยีท่ซี บั ซอ้ น
ชว่ ยใหเ้ ขำ้ ใจกำรทำงำนและสำมำรถแกไ้ ขหรือพฒั นำตอ่ ยอด
เทคโนโลยีใหม้ ีประสิทธิภำพมำกขน้ึ

7

แบบทดสอบ
หลงั เรยี น
บทท่ี 1

คำช้ีแจง
1. ขอ้ สอบเป็ นแบบประนยั 4 ตวั เลือกมจี ำนวน 5 ขอ้

เต็ม 5 คะแนน
2. สแกน QR CODE เพ่ือเร่ิมทำแบบทดสอบ

กำรเปล่ยี นแปลงเทคโนโลยี

บทท่ี

2

• สำเหตหุ รอื ปัจจยั กำรเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
• ตวั อยำ่ งกำรเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี

9

2.1 สำเหตหุ รอื ปัจจยั กำรเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี

สำเหตหุ รอื ปัจจยั กำรเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

1. ปัญหำและควำมตอ้ งกำรของมนษุ ย์
มนษุ ยส์ รำ้ งหรือพฒั นำเทคโนโลยีขน้ึ มำเพ่ือแกป้ ัญหำหรือสนองควำมตอ้ งกำร

ซ่ึงเทคโนโลยีทีถ่ กู สรำ้ งขน้ึ จะมีประโยชน์ ณ ชว่ งเวลำใดเวลำหนงึ่ เม่อื เวลำผำ่ นไป มนษุ ย์
อำจพบปัญหำหรือสถำนกำรณใ์ หม่ ทำำใหต้ อ้ งสรำ้ งหรือพฒั นำเทคโนโลยีขนึ้ มำเพื่อใชใ้ ห้
เหมำะสมกบั สถำนกำรณท์ เี่ ปลีย่ นไปปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ กำรเปล่ยี นแปลงเทคโนโลยีตง้ั แต่
อดตี จนถึงปัจจบุ นั มีสำเหตมุ ำจำกหลำยดำ้ น เชน่ ปัญหำ ควำมตอ้ งกำร ควำมกำ้ วหนำ้
ของศำสตรต์ ำ่ ง ๆ สภำพเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรมและส่งิ แวดลอ้ ม ซ่ึงควำมเขำ้ ใจ
เกยี่ วกบั ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ กำรเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีเหลำ่ นี้ สำมำรถใชเ้ ป็ นแนวทำง
เพื่อกำรพฒั นำตอ่ ยอด เทคโนโลยีใหม้ ปี ระสิทธิภำพและทนั สมยั ตลอดจนสำมำรถ
คำดกำรณเ์ ทคโนโลยีที่อำจเกดิ ขน้ึ ในอนำคตได้
2.ควำมกำ้ วหนำ้ ของศำสตรต์ ่ำง ๆ

องคค์ วำมรแู้ ละควำมกำ้ วหนำ้ ของศำสตรต์ ำ่ งๆโดยควำมกำ้ วหนำ้ ทำง
วิทยำศำสตรเ์ ป็ นปัจจยั สำคญั ประกำรหนง่ึ ที่ทำใหเ้ กดิ กำรเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยี ตวั อยำ่ งเชน่ กำรอำศยั องคค์ วำมรดู้ ำ้ นนำโนเทคโนโลยีทสี่ ำมำรถนำมำใช้
ในงำนดำ้ นกำรผลิตเสน้ ใยนำโนและนำเสน้ ใยมำใชท้ อเป็ นผำ้ เพ่ือทำเครื่องนงุ่ หม่
รวมทง้ั กำรพฒั นำ เสน้ ใยนำโนเพ่ือใหม้ ีสมบตั ติ ำ่ ง ๆ ตำมท่ีตอ้ งกำร
เชน่ ป้ องกนั กำรเปี ยกชน้ื ลดรอยยบั ชว่ ยยบั ยงั้ แบคทีเรียและชว่ ยลดกำร
เกิดกลิ่น

10

3. เศรษฐกจิ สงั คมวฒั นธรรม และสงิ่ แวดลอ้ ม
ปัจจยั จำกสภำพเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรมและสง่ิ แวดลอ้ ม
1. ปรบั ปรงุ ประสิทธิภำพใหด้ ขี น้ึ
2. เมอื่ เกิดภยั พิบตั ิ
3. เกดิ สงครำม
4. ภำวะขำดแคลนอำหำรและนำ้
5. กำรเกดิ โรคระบำด

สบื คน้ ขอ้ มลู เพิ่มเติม สืบคน้ ขอ้ มลู เพิ่มเติม
https://www.youtube.com/watch?v=GDKf4LuDvxM https://www.youtube.com/watch?v=eFImiJMw_uQ&t=1s

2.2 ตวั อยำ่ งกำรเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี

สรปุ ทำ้ ยบท

เมือ่ มนษุ ยป์ ระสบปัญหำหรือตอ้ งกำรเทคโนโลยีในกำรทำงำน
หรือกำรดำเนนิ ชวี ิตจึงสรำ้ งหรือพฒั นำเทคโนโลยีขนึ้ มำเพื่อชว่ ย
อำนวยควำมสะดวก ปัญหำหรือควำมตอ้ งกำรของมนษุ ยน์ จ้ี ึงเป็ น
สำเหตสุ ำคญั ท่ที ำใหม้ กี ำรพฒั นำเทคโนโลยี เทคโนโลยีแต่ละชนดิ จึงมี
กำรเปลยี่ นแปลงอย่ตู ลอดเวลำขนึ้ กบั สำเหตหุ รือปัจจยั หลำยอยำ่ ง
เชน่ ควำมรแู้ ละควำมกำ้ วหนำ้ จำกศำสตรต์ า่ ง ๆ

11

แบบทดสอบ
หลงั เรยี น
บทท่ี 2

คำช้ีแจง
1. ขอ้ สอบเป็ นแบบประนยั 4 ตวั เลอื กมีจำนวน 5 ขอ้

เต็ม 5 คะแนน
2. สแกน QR CODE เพ่ือเร่ิมทำแบบทดสอบ

ผลกระทบทำงเทคโนโลยี

บทท่ี

3

• ผลกระทบของเทคโนโลยตี ่อมนษุ ยแ์ ละสงั คม
• ผลกระทบของเทคโนโลยตี ่อเศรษฐกจิ
• ผลกระทบของเทคโนโลยตี ่อสงิ่ แวดลอ้ ม
• ตวั อยำ่ งกำรวิเครำะหผ์ ลกระทบของเทคดโนโลยี

13

ลกั ษณะของระบบ

3.1 ผลกระทบของเทคโนโลยี ควำมกำ้ วหนำ้ ทำงดำ้ นเทคโนโลยี
ต่อมนษุ ย์ และสงั คม อตุ สำหกรรม เชน่ ห่นุ ยนตแ์ ละระบบ
อตั โนมตั มิ ีกำรนำมำใชแ้ ทนทมี่ นษุ ยใ์ น
ควำมเจริญกำ้ วหนำ้ ทำงดำ้ น กิจกรรมท่อี นั ตรำย และชว่ ยทำใหม้ นษุ ยไ์ ม่
เทคโนโลยีมผี ลกระทบทงั้ ดำ้ นบวก เสี่ยงกบั ปัญหำสขุ ภำพในกำรทำงำน เชน่
และดำ้ นลบ เชน่ ควำมเจริญ กำรใชห้ ่นุ ยนตแ์ ทนมนษุ ยใ์ นขนั้ ตอนกำร
กำ้ วหนำ้ ดำ้ นเทคโนโลยีทำง ผลิตท่ีมกี ำรสดู ควนั ของสำรพิษ ใน
กำรแพทยแ์ ละสำธำรณสขุ ทำให้ ขณะเดยี วกนั กำรนำห่นุ ยนตม์ ำชว่ ยใน
อำยขุ ยั ของมนษุ ยย์ ืนยำวขน้ึ แมอ้ ยู่ กระบวนกำรผลิต สง่ ผลใหข้ นึ้ งำนทผ่ี ลิต
ในชนบทก็สำมำรถไดร้ บั กำรรกั ษำ ออกมำมคี ณุ ภำพตรงตำมมำตรฐำน มี
ทำงกำรแพทยไ์ ดอ้ ย่ำงทนั ทว่ งที ประสทิ ธิภำพสงู และยงั สำมำรถใชว้ ตั ถดุ บิ
เนอ่ื งจำกมีระบบแพทยท์ ำงไกล ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ
(telemedicine) ชว่ ยใหแ้ พทยท์ ่อี ย่ใู น
พื้นทหี่ ่ำงไกลสำมำรถวำงแผนกำร
รกั ษำร่วมกนั กบั แพทยเ์ ฉพำะทำง
เมือ่ มีจำนวนผสู้ งู อำยมุ ำกขึ้น ทำให้
สงั คมกลำยเป็ นสงั คมผสู้ งู อำยุ
(aging society) เพ่ิมขนึ้

14

3.2 ผลกระทบของเทคโนโลยี

ต่อเศรษฐกจิ

สำนกั งำนคณะกรรมกำรนโยบำย

วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยีและนวตั กรรมแห่งชำติให้

ควำมสำคญั กบั วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี ซ่ึง

เป็ นปัจจยั สำคญั ในกำรพฒั นำ และขณะเดยี วกนั

กำรพฒั นำวิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี ก็นำไปสู่

กำรขยำยอำนำจของประเทศตำ่ ง ๆ เพ่ือหำแหล่ง

ทรพั ยำกรใหม่ เทคโนโลยีจึงเป็ นกญุ แจสำคัญใน

กำรผลกั ดนั เศรษฐกิจของประเทศ สงั เกตไดจ้ ำก

ประเทศท่มี ีกำรพฒั นำทำงดำ้ นเทคโนโลยีสงู มกั

เป็ นประเทศมหำอำนำจที่มีบทบำทสำคญั ตอ่

สภำพเศรษฐกจิ โลก

ควำมกำ้ วหนำ้ ทำงดำ้ นเทคโนโลยีสง่

ผลกระทบตอ่ กระบวนกำรผลิต เชน่ กำรมเี ทคโนโลยี

กำรผลติ ท่ที นั สมยั ชว่ ยทำใหป้ ระหยดั ตน้ ทนุ กำร

ผลติ ผลติ สนิ คำ้ ไดใ้ นปริมำณมำก และสินคำ้ มี

ประสทิ ธิภำพสงู สง่ ผลใหม้ ีรำยไดจ้ ำกกำรผลติ สินคำ้

และบริกำรเพ่ิมขน้ึ และมีกำรใชท้ รพั ยำกรใหเ้ กิด

ประสิทธิภำพและประโยชนส์ งู สดุ เม่อื กลมุ่ ธรุ กิจรำย

ใดมเี ทคโนโลยีทกี่ ำ้ วหนำ้ กว่ำรำยอ่ืนอำจกอ่ ใหเ้ กดิ

กำรผกู ขำดทำงกำรคำ้ คือ ไมม่ ผี ผู้ ลิตรำยอ่ืน

สำมำรถผลติ สินคำ้ ชนดิ เดยี วกนั มำแขง่ ขนั ในตลำดได้

15

3.3 ผลกระทบของเทคโนโลยตี ่อสิ่งแวดลอ้ ม

กำรพฒั นำและกำรสรำ้ งเทคโนโลยี สง่ ผลใหม้ ี
กำรใชท้ รพั ยำกรธรรมชำตเิ พ่ิมขน้ึ อยำ่ งมำก
กอ่ ใหเ้ กิดปัญหำดำ้ นสิง่ แวดลอ้ ม เชน่ มลพิษทำงดนิ
นำ้ อำกำศ เสียง หรือกำรปนเป้ื อนของสำรพิษ แต่
ในอีกแงม่ มุ หนง่ึ มนษุ ยส์ ำมำรถนำเทคโนโลยีมำใชใ้ น
กำรปรบั ปรงุ ธรรมชำติ ใหเ้ หมำะสมตอ่ กำรใชง้ ำน
และควำมตอ้ งกำรของมนษุ ย์ เชน่ โครงกำรแกลง้ ดิน

ในขณะเดยี วกนั มีกำรนำเทคโนโลยีมำใชใ้ นกำรบำบดั ของเสยี จำกกระบวนกำร
ผลิตสำหกรรม หรือภำคครวั เรือน เชน่ เทคโนโลยีบำบดั นำ้ เสีย เป็ นกำรบำบัดนำ้ เสียให้
มสี มบตั ติ ำมมำตรฐคณุ ภำพนำ้ ทิ้งจำกโรงงำนอตุ สำหกรรมของกรมควบคมุ มลพิษ
กระทรวงทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มกอ่ นปลอ่ ยสสู่ ่งิ แวดลอ้ ม และเทคโนโลยี
กำรกรองอำกำศ ชว่ ยกำจดั หรือบำบดั แกส๊ ซลั เฟอรไ์ ดออกไซดไ์ นโตรเจนออกไซด์
ฝ่ ุน และไอปรอท ท่ีเกดิ ขนึ้ จำกกระบวนกำรผลิตของโรงไฟฟ้ ำถ่ำนหิน

สืบคน้ ขอ้ มลู เพ่ิมเติม
(wastewater treatment technology)

16

3.4 ตวั อยำ่ งกำรวิเครำะหผ์ ลกระทบของเทคโนโลยี

3.4.1 กรณีโครงกำรแกลง้ ดิน
โครงกำรแกลง้ ดนิ เป็ นกำรแกป้ ัญหำดนิ เปรี้ยวหรือดนิ ที่มคี วำมเป็ นกรดมำก ทำให้

พื้นท่ีท่ีมีลกั ษณะดงั กลำ่ ว ไมส่ ำมำรถใชป้ ระโยชนใ์ นกำรเพำะปลกู ได้ จึงมกี ำรหำแนวทำงใน
กำรปรบั ปรงุ ดนิ ใหส้ ำมำรถนำมำใชเ้ ป็ นพ้ืนทีก่ ำรเกษตรและกอ่ ใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สดุ ใน
กำรใชง้ ำน ในขณะเดยี วกนั ตอ้ งคำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศนท์ ี่อำจเกิดขน้ึ จำก
กระบวนกำรแกป้ ัญหำดงั กลำ่ ว ซึ่งวิธีกำรปรบั ปรงุ ดนิ จะตอ้ งเริ่มจำกวิธีกำร "แกลง้ ดนิ ให้
เปร้ียว" คือทำใหด้ นิ แหง้ และเปี ยกสลบั กนั ไป เพื่อเร่งปฏิกิริยำทำงเคมขี องดนิ กระตนุ้ ใหด้ นิ
มคี วำมเป็ นกรดเพิ่มขนึ้ นนั่ คือเป็ นกำร "แกลง้ ดนิ ใหเ้ ปร้ียวถึงจดุ อ่ิมตวั " จนกระทงั่ ถึงจดุ ที่
พืชไมส่ ำมำรถเจริญงอกงำมได้ จำกนน้ั จึงหำวิธีกำรปรบั ปรงุ ดนิ ดงั กลำ่ วใหส้ ำมำรถปลกู
พืชได้ ซึ่งสำมำรถทำไดห้ ลำยวิธีขน้ึ กบั สภำพพื้นทแ่ี ละปริมำณของควำมเป็นกรดของดนิ
เชน่ ใชน้ ำ้ ชะลำ้ งควำมเป็ นกรด เพื่อใหด้ นิ มีควำมเป็ นกรดลดลง จำกนน้ั เตมิ ป๋ ยุ ไนโตรเจน
และฟอสเฟตผสมกบั หนำ้ ดนิ หรือกำรใชว้ ิธีผสมปูนขำวทม่ี ีสมบตั เิ ป็ นดำ่ งผสมคลกุ เคลำ้
กบั หนำ้ ดนิ เพ่ือกอ่ ใหเ้ กดิ กำรสะเทนิ ของกรดและเบสของหนำ้ ดนิ ในพ้ืนที่ดงั กลำ่ วหรืออำจ
มกี ำรใชท้ งั้ สองวิธีขำ้ งตน้ รว่ มกนั แตต่ อ้ งมกี ำรควบคมุ ระดบั นำ้ ใตด้ นิ ตลอดเวลำ เพ่ือ
ป้ องกนั กำรเกดิ กรดกำมะถนั จำกปฏิกริ ิยำของสำรไพไรทท์ ่อี ย่ใู นชนั้ ดนิ เลนกบั ออกซิเจน
ดงั นน้ั "โครงกำรแกลง้ ดนิ " จึงเป็ นโครงกำรทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนก์ บั ประชำชนและ
เกษตรกรโดยทวั่ ไปสง่ ผลใหเ้ กษตรกรสำมำรถประกอบอำชพี ได้ มีผลผลติ และรำยไดส้ งู ขนึ้
จำกกำรแกป้ ัญหำดงั กลำ่ ว

สืบคน้ ขอ้ มลู เพ่ิมเติม
www.scimath.org/weblink/7784.php

17

3.4.2 กรณีกำรสรำ้ งสนำมบิน
สนำมบินเป็ นกำรเชอื่ มโยงกำรคมนำคมทง้ั ภำยในประเทศและระหวำ่ งประเทศที่

สะดวกรวดเร็วมำกท่สี ดุ ซึ่งกำรคมนำคมทำงอำกำศมคี วำมตอ้ งกำรเพ่ิมขนึ้ ทกุ ปี
เนอื่ งจำกกำรเพ่ิมจำนวนประชำกรกำรขยำยตวั ทำงเศรษฐกจิ และสงั คม จึงทำใหเ้ กดิ ควำม
ตอ้ งกำรกำรคมนำคมทสี่ ะดวกและรวดเร็วเพิ่มขน้ึ เพ่ือรองรบั ควำมตอ้ งกำรดงั กลำ่ ว จึง
จำเป็ นตอ้ งมีกำรสรำ้ งสนำมบินเพิ่มมำกขน้ึ ตำมไปดว้ ย ในกำรสรำ้ งสนำมบินนนั้ ตอ้ ง
ศึกษำขอ้ มลู หลำยดำ้ น เชน่ พ้ืนท่ีในกำรกอ่ สรำ้ ง ขนำดพ้ืนทีข่ องสนำมบิน ควำมเหมำะสม
ในกำรเดนิ ทำง สิ่งแวดลอ้ มและชมุ ชนทอ่ี ยขู่ ำ้ งเคียง และงบประมำณในกำรกอ่ สรำ้ ง

สรปุ ทำ้ ยบท

ควำมเจริญกำ้ วหนำ้ ทำงเทคโนโลยีท่ีมีมำกขนึ้ อย่ำง
ตอ่ เนอื่ งจำกกำรใช้ กำรพฒั นำและกำรสรำ้ งเทคโนโลยีในดำ้ น
ตำ่ งๆ นน้ั กอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบดำ้ นบวกและดำ้ นลบตอ่ มนษุ ย์
สงั คมๆเศรษฐกิจ และสงิ่ แวดลอ้ ม ดงั นนั้ จึงมคี วำมจำเป็ นอยำ่ ง
มำกทีจ่ ะตอ้ งรจู้ กั วิธีกำรคิดอยำ่ งมีเหตผุ ลและรอบคอบ ซึ่งจะทำ
ใหผ้ ใู้ ชส้ ำมำรถใชเ้ ทคโนโลยีอย่ำงมปี ระสทิ ธิภำพและเกิดประโยชน์
สงู สดุ ป้ องกนั และแกไ้ ขปัญหำท่เี กิดขนึ้ ไดอ้ ยำ่ งเหมำะสม

18

แบบทดสอบ
หลงั เรยี น
บทท่ี 3

คำช้ีแจง
1. ขอ้ สอบเป็ นแบบประนยั 4 ตวั เลอื กมีจำนวน 5 ขอ้

เต็ม 5 คะแนน
2. สแกน QR CODE เพ่ือเร่ิมทำแบบทดสอบ

วสั ด ุและเครอ่ื งมือพ้ืนฐำน

บทท่ี

4

• วสั ด ุ
• เครอื่ งมือพ้ืนฐำน
• กำรตดั ต่อ และข้นึ รปู วสั ด ุ

20

4.1 วสั ด ุ

วสั ดมุ อี ยหู่ ลำยประเภท ทง้ั จำกธรรมชำติ และมนษุ ยส์ รำ้ งขนึ้ หรือที่เรียกวำ่
"วสั ดสุ งั เครำะห"์ วสั ดบุ ำงประเภทอำจนำมำใชไ้ ดท้ นั ทโี ดยไมม่ ีกำรแปรรปู หรือมีกำรแปร
รปู ใหเ้ หมำะสมตอ่ กำรนำไปใชง้ ำนโดยกระบวนกำรในกำรแปรรปู จะแตกตำ่ งกนั ตำมควำม
เหมำะสมของสมบตั วิ สั ดุ และควำมตอ้ งกำรในกำรใชง้ ำน ในอดตี วสั ดปุ ระเภทตำ่ ง ยังมไี ม่
มำก มนษุ ยจ์ ึงใชว้ สั ดทุ ีม่ ำจำกธรรมชำติ เชน่ ดนิ หิน ทรำย เขำสตั ว์ หนงั สัตว์ ใบไม้ นำมำ
สรำ้ งเป็ นส่ิงของเครื่องใช้ ตอ่ มำไดม้ กี ำรนำวสั ดธุ รรมชำตมิ ำพฒั นำเพ่ือนำไปใชป้ ระโยชน์
ไดม้ ำกขนึ้ เชน่ โลหะ ไม้ เซรำมกิ คอมโพสิต วสั ดสุ มยั ใหม่

4.1.1 สมบตั ิของวสั ด ุ
วสั ดธุ รรมชำติ และวสั ดสุ งั เครำะห์ มีสมบตั เิ ฉพำะตวั ท่ีแตกตำ่ งกันไป ดงั นน้ั

ตอ้ งเลือกใชว้ สั ดใุ หเ้ หมำะสมตอ่ กำรใชง้ ำน สมบตั ขิ องวสั ดมุ ีหลำยดำ้ น ในบทนจ้ี ะ
ยกตวั อย่ำงสมบตั ขิ องวสั ดดุ ำ้ นควำมยืดหยนุ่ ควำมแข็ง และกำรนำควำมรอ้ น

1) สภำพยืดหยนุ่ (elasticity) เป็ นสมบตั ิ
ของวสั ดทุ ่ีเปลยี่ นแปลงรปู ร่ำงไดเ้ มื่อมีแรงกระทำ
และจะกลบั คืนสรู่ ปู รำ่ งเดมิ เมื่อหยดุ ออกแรงกระทำ
ตอ่ วสั ดนุ น้ั ตวั อยำ่ งวสั ดทุ ี่มีสภำพยืดหย่นุ เชน่
ยำง สปริงสำยเคเบิล มีกำรนำสำยเคเบิลมำเป็ น
สว่ นประกอบของโครงสรำ้ งสะพำน เนอ่ื งจำก
สะพำนตอ้ งกำรโครงสรำ้ งท่ียืดหยนุ่ และรบั แรงดงึ
ไดด้ ี

2) ควำมแข็งแรง (strength) 21
คือ ควำมสำมำรถในกำรรบั นำ้ หนกั หรือแรง
กดทบั โดยวสั ดนุ นั้ ยงั คงสภำพไดไ้ มแ่ ตกหกั
วสั ดทุ ี่รบั นำ้ หนกั ไดม้ ำกจะมคี วำมแขง็ แรง
มำกกว่ำวสั ดทุ ร่ี บั นำ้ หนกั นอ้ ย สมบตั คิ วำม
แข็งแรงของวสั ดุ สำมำรถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้
มำกมำย เชน่ กำรสรำ้ งสะพำน โครงสรำ้ งที่
เป็ นคำนจะตอ้ งมีสมบตั ใิ นกำรรบั นำ้ หนกั และ
แรงกดไดม้ ำก

3) กำรนำควำมรอ้ น (heat conduction) เป็ นกำร
ถำ่ ยเทควำมรอ้ นภำยในวตั ถหุ นงึ่ ๆ หรือระหวำ่ งวตั ถสุ อง
ชนิ้ ทสี่ มั ผสั กนั โดยมีทิศทำงของกำรเคล่อื นที่ของพลงั งำน
ควำมรอ้ นจำกบริเวณท่ีมีอณุ หภมู สิ งู ไปยงั บริเวณทีม่ ี
อณุ หภมู ิตำ่ วสั ดทุ มี่ ีสมบตั เิ ป็ นตวั นำควำมรอ้ น คือวสั ดทุ ่ี
ควำมรอ้ นผำ่ นไดด้ ี เชน่ เหล็ก อะลมู ิเนยี มทองเหลือง สว่ น
วสั ดทุ ่เี ป็ นฉนวนควำมรอ้ น คือ วสั ดทุ น่ี ำควำมรอ้ นไดไ้ มด่ ี
เชน่ ไม้ พลำสตกิ ผำ้ ดงั นน้ั ควรเลือกใชว้ สั ดใุ หเ้ หมำะสมกบั
กำรใชง้ ำน ตวั อยำ่ งเชน่ กระทะหรือหมอ้ หงุ ตม้ ตวั กระทะ
หรือตวั หมอ้ หงุ ตม้ ตอ้ งกำรใหค้ วำมรอ้ นผำ่ นไปยงั อำหำร
สว่ นมำกทำดว้ ยสเตนเลส หรืออะลมู ิเนยี ม แตท่ ่ีจับหรือหู
หิ้วไมต่ อ้ งกำรใหค้ วำมรอ้ นผำ่ น จึงทำดว้ ยพลำสติก
เนอื่ งจำกเป็ นฉนวนควำมรอ้ น

4.1.2 วสั ดนุ ่ำรู้
สงิ่ ของเครื่องใชต้ ำ่ ง ๆ ในชวี ิตประจำวนั

ทำมำจำกวสั ดหุ ลำยประเภท ขน้ึ อยกู่ บั ควำม
ตอ้ งกำรและควำมเหมำะสมกบั กำรใชง้ ำน ใน
ปัจจบุ นั มีวสั ดทุ ่ีพฒั นำขน้ึ มำอย่ำงมำกมำย ซึ่งมี
วตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือทดแทนวสั ดธุ รรมชำติ หรือ
เพื่อเพ่ิมประสทิ ธิภำพกำรใชง้ ำนสำมำรถแยก
ประเภทอย่ำงงำ่ ยของวสั ดไุ ดด้ งั รปู

22

เม่ือทรำบว่ำวสั ดสุ ำมำรถแบ่งออกเป็ นประเภทตำ่ ง ๆ แลว้ นน้ั มำทำควำมรจู้ กั
กบั ตวั อยำ่ งของวสั ดดุ งั ตอ่ ไปน้ี

1) โลหะ (metal) โลหะ เป็ นวสั ดทุ ี่ไดจ้ ำกกำรถลงุ สินแรต่ ำ่ ง ๆ เชน่ เหล็ก ทองแดง
อะลมู ิเนยี ม นกิ เกลิ ดบี กุ สงั กะสีทองคำ ตะกวั่ โลหะที่ไดจ้ ำกกำรถลงุ สนิ แร่ สว่ นใหญจ่ ะ
เป็ นโลหะเนอื้ ค่อนขำ้ งบริสทุ ธิ์ มีควำมแข็งแรงไมเ่ พียงพอทจ่ี ะนำมำใชใ้ นงำนอตุ สำหกรรม
โดยตรง สว่ นมำกจึงตอ้ งนำไปผำ่ นกระบวนกำรปรบั ปรงุ สมบตั กิ อ่ นกำรใชง้ ำน ซ่ึงโลหะ
สำมรถบง่ ไดเ้ ป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ โลหะประเภทเหล็ก และโลหะประเภทท่ไี มใ่ ช่เหล็ก

1.1) โลหะประเภทเหล็ก (ferrous metal) เป็ นโลหะท่ีมธี ำตเุ หล็กเป็ น
สว่ นประกอบหลกั เชน่ เหล็กหลอ่ เหล็กเหนยี ว เหล็กกลำ้ นยิ มใชก้ นั มำกที่สดุ ในวงกำร
อตุ สำหกรรม เนอ่ื งจำกมคี วำมแข็งแรงสำมำรถปรบั ปรงุ คณุ ภำพและเปลี่ยนแปลงรปู รำ่ ง
และรปู ทรงไดห้ ลำยวิธี เชน่ กำรหลอ่ กำรกลึง กำรอดั รีดขน้ึ รปู สถำบนั สง่ เสริมกำรสอน
วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ตวั อยำ่ ง 4.1 ตวั อยำ่ งประเภทของเล็กในงำนช่ำง 23

ชอ่ื วัสดุ รายละเอยี ด ผลติ ภัณฑ์

เหลก็ ฉาก มลี กั ษณะเป็นรูปทรงตวั แอล (L) เกิดจากการรดี
(angle bar) รอ้ นของเหลก็ เหลก็ ฉากเป็นสว่ นประกอบที่
สาคญั ในงานโครงสรา้ งอาคารตา่ ง ๆ เชน่

โครงสรา้ งอาคาร โรงงาน

เหลก็ เส้นกลม มลี กั ษณะเป็นเสน้ กลม ผิวเรยี บ เหมาะสาหรบั
(round bar) การใชง้ านท่วั ไป งานกอ่ สรา้ งเสรมิ คอนกรีตตา่ ง
ๆ เช่น อาคาร รวั้

เหลก็ กล่อง พาณิชย์ สานกั งาน ท่ีพกั อาศยั งานเฟอรน์ ิเจอร์
(steel tube) สะพาน
มลี กั ษณะเป็นกลอ่ งสเ่ี หลยี่ ม สามารถรบั แรง
ตา้ นทานการเสยี รูปขณะใชง้ านไดด้ ี ใชเ้ ป็นโครง
หลงั คาเหลก็ คานเหลก็ และยงั สามารถนาไป

ประยกุ ตใ์ ชแ้ ทนวสั ดไุ ม้

เหลก็ ตัวซี หรอื คอนกรตี ในงานก่อสรา้ งท่วั ไปได้
(C light lip มีลกั ษณะเป็นรูปตวั ซี © ใชเ้ ป็นโครงสรา้ ง
channel) หลงั คาและเสาคา้ ยนั ทร่ี บั นา้ หนกั ไม่มาก และทา
ใหไ้ ดโ้ ครงสรา้ งทีม่ ีชว่ งกวา้ งและมนี า้ หนกั เบา

เหล็กแผน่ มลี กั ษณะเป็นแผน่ สเี่ หลย่ี ม ผวิ เรยี บ ใชใ้ นงาน
(plate) โครงสรา้ งท่วั ไป ใชป้ พู นื้ เช่ือมตอ่ โครงสรา้ งยาน
ยนต์ ตอ่ เรอื งานก่อสรา้ งสะพานเหลก็ เป็นตน้

เหล็กท่อดา มีลกั ษณะเป็นทอ่ กลม ใชส้ าหรบั การกอ่ สรา้ งที่
(carbon รบั นา้ หนกั ไมม่ าก และใชใ้ นงานประกอบท่วั ไป
steel pipe) นอกจากนยี้ งั ใช้

สาหรบั ทาทอ่ ลม และทอ่ นา้ มนั บางครงั้ เรยี กวา่
ทอ่ กลมเหลก็ หลอด กลมดา ทอ่ ดา

24

1.2 โลหะประเภทไมใ่ ชเ่ หล็ก (non-ferrous me tal) เป็ นโลหะท่ไี มม่ ีธำตเุ หล็กเป็ น
องคป์ ระกอบดงั นน้ั โลหะประเภทนจี้ ะไมเ่ กดิ สนมิ เชน่ ดบี กุ อะลมู เิ นยี ม สังกะสี ตะกวั่
ทองแดง ทองคำ เงนิ ทองคำขำวแมกนเี ซียม พลวง ซ่ึงโลหะแตล่ ะประเภทมีสมบตั ิ
เฉพำะตวั ทแี่ ตกตำ่ งกนั จึงเหมำะกบั กำรใชง้ ำนเฉพำะดำ้ นทแี่ ตกตำ่ งกนั เชน่ แมกนเี ซียม
ใชก้ บั วสั ดทุ นควำมรอ้ น นกิ เกลิ ใชก้ บั งำนในอตุ สำหกรรมท่ีตอ้ งกำรป้ องกันกำรกดั
กรอ่ นจำกสำรเคมี อะลมู เิ นยี มใชก้ บั งำนทต่ี อ้ งกำรนำ้ หนกั เบำ

ตำรำง 4.2 ตวั อยำ่ งโลหะประเภทไม่ใช่เหลก็ ที่ใชใ้ นชีวิตประจำวนั

วสั ด ุ สมบตั ิ ผลติ ภณั ฑ์

สงั กะสี ขนึ้ รปู ไดง้ ำ่ ย มคี วำมแข็งแรง และ
ทนตอ่ กำรเกดิ สนมิ จึงใชใ้ นงำน
ทอง เคลอื บโลหะ เพื่อป้ องกนั สนมิ และ
กำรกดั กร่อน
มคี วำมออ่ นตวั สำมำรถยึดและตี
เป็ นแผน่ ไดน้ ำไฟฟ้ ำไดด้ ี และทนตอ่
กำรกดั กร่อน นยิ มใชใ้ น
อตุ สำหกรรม
อิเล็กทรอนกิ ส์

วสั ด ุ สมบตั ิ ผลติ ภณั ฑ์

อะลมู ิเนียม นำ้ หนกั เบำ งำ่ ยตอ่ กำรเปลีย่ นแปลงรปู ร่ำง นำ
ไฟฟ้ ำและควำมรอ้ นไดด้ ี นยิ มนำมำทำเป็ นกรอบ

สเตนเลส ประตหู รือหนำ้ ตำ่ ง และอะลมู เิ นยี มห่ออำหำร เป็ น
ตน้
ตำ้ นทำนตอ่ กำรกดั กร่อนเกดิ สนมิ ไดย้ ำก ขน้ึ รปู
ไดง้ ำ่ ยแขง็ แรง ทนทำน ทนตอ่ ควำมรอ้ นทำควำม
สะอำดไดง้ ำ่ ย ทำใหม้ คี วำมปลอดภยั และถกู
สขุ ลกั ษณะจงึ นยิ มนำมำเป็ นโครงสรำ้ งของ

โตะ๊ เกำ้ อี้ ในโรงพยำบำล หรือสงิ่ ของทต่ี อ้ งรักษำ
ควำมสะอำดเป็ นพิเศษ

25

2) ไม้ (wood) ไม้ เป็ นวสั ดพุ ้ืนฐำนทีถ่ กู นำมำใชอ้ ย่ำงแพร่หลำย เนอื่ งจำกไม้
ธรรมชำตมิ ีควำมสวยงำม แข็งแรงแตม่ ขี อ้ เสีย คือ กำรเส่อื มสภำพตำมอำยุ ดดู
ควำมชนื้ ผพุ งั งำ่ ย ถกู ทำลำยโดยปลวก มอด แมลง และตดิ ไฟไดง้ ำ่ ย ดงั น้ันจึงมกี ำร
ผลิตวสั ดขุ น้ึ มำเพ่ือทดแทนไมธ้ รรมชำติ มลี กั ษณะคลำ้ ยหรือสำมำรถใชง้ ำนได้
เชน่ เดยี วกบั ไมธ้ รรมชำติ และมลี กั ษณะบำงประกำรที่ดกี วำ่ ไมธ้ รรมชำติ เชน่ ป้ องกนั
กำรตดิ ไฟ ป้ องกนั ควำมขนึ้ หรือที่เรียกวำ่ "ไมส้ งั เครำะห์ (synthetic wood)" จึงทำให้
ไมส้ งั เครำะหเ์ ป็ นทำงเลอื กหนงึ่ ของกำรใชว้ สั ดทุ ดแทนไมธ้ รรมชำติ ซ่ึงไมส้ งั เครำะห์
สำมำรถแบ่งไดเ้ ป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

2.1) ไมส้ งั เครำะหพ์ ลำสตกิ (wood plastic composite) เป็ นวสั ดทุ ดแทนไม้
ธรรมชำตทิ ีเ่ กดิ จำกกำรนำผงไม้ ขเ้ี ลอ่ื ยไม้ หรือเสน้ ใยไม้ มำผสมกบั พลำสตกิ
ซึ่งสมบตั ขิ องไมส้ งั เครำะหพ์ ลำสตกิ จะขนึ้ อย่กู บั สดั สว่ นของไมแ้ ละพลำสตกิ ทนี่ ำมำ
ผสมกนั ดงั ตวั อยำ่ งตอ่ ไปน้ี

2.1.1) ไฟเบอรบ์ อรด์ ควำมหนำแนน่ ป่ ำนกลำง (medium-density
fiber board)เป็ นไมส้ งั เครำะหท์ ่ีผลติ จำกกำรบดทอ่ นไมเ้ นอื้ ออ่ นใหเ้ ป็ นเสน้
ใย ผำ่ นกระบวนกำรอดั ประสำนกนั เป็ นชน้ิ ไมด้ ว้ ยกำว ภำยใตอ้ ณุ หภมู ิ
และควำมดนั สงู โดยไมส้ งั เครำะหท์ ไ่ี ดจ้ ะมีลกั ษณะคลำ้ ยไมอ้ ัด แตล่ กั ษณะ
โครงสรำ้ งของไมจ้ ะตำ่ งกนั ตำมสว่ นประกอบของเศษไม้ ซ่ึงมีสมบัตเิ ดน่
คือ สำมำรถผลิตเป็ นแผน่ บำง ๆ ขนึ้ รปู เจำะหรือทำเป็ นชน้ิ งำนไดง้ ำ่ ย
นสไี ด้ และมีรำคำถกู กว่ำไมอ้ ดั

26

2.1.2) พำรต์ เิ คิลบอรด์ (particle board) เป็ นมส้ งั เครำะหท์ ่ผี ลิตจำกเศษไม้
หรือขเี้ ลือ่ ย ประสำนกนั ดว้ ยสำรเคมโี ดยผำ่ นกำรบดอดั ดว้ ยควำมดนั สงู ซึ่งมขี อ้ ดี
คือ รำคำถกู มีควำมสวยงำม แตม่ คี วำมแข็งแรงนอ้ ย และไมม่ ีควำมตำ้ นทำนต่อศตั รู
ของไม้ เชน่ ควำมชนื้ แมลงกนิ ไม้ ทำใหอ้ ำยกุ ำรใชง้ ำนสนั้ กว่ำไมอ้ ดั

2.2) ไมส้ งั เครำะหไ์ ฟเบอรซ์ ีเมนต์ (wood fiber composite) เป็ นไมส้ งั เครำะหท์ ี่
มสี ว่ นผสมของ ปูน ทรำย และผงไม้ โดยผำ่ นกระบวนกำรอดั ขนึ้ รปู ซึ่งมีควำม
แข็งแรงทนทำนเทยี บเทค่ อนกรีตใชใ้ นงำนกอ่ สรำ้ งไดห้ ลำยอย่ำง และสำมำรถใชไ้ ด้
ทงั้ งำนภำยในและภำยนอกอำคำร เชน่ ใชเ้ ป็ นไมเ้ ชงิ ชำยไมร้ ะแนง ไมบ้ วั พื้น ไมผ้ นงั
บนั ได และไมบ้ งั ตำ

27

3) เซรำมกิ (ceramic) เซรำมิกเป็ นผลติ ภณั ฑท์ ่ที ำจำกวตั ถดุ บิ ในธรรมชำติ
เชน่ ดนิ หิน ทรำย และแธำตตุ ำ่ ง ๆ นำมำผสมกนั หลงั จำกนน้ั จึงนำไปเผำเพื่อเปลยี่ นเนอ้ื
วตั ถใุ หแ้ ข็งแรง และคงรปู ตวั อย่ำงวสั ดเุ ซรำมกิ ในทีน่ ้ี คือ แกว้ (slass) ซ่ึงเป็ นวสั ดทุ มี่ ี
ควำมโปรง่ ใส ควำมแข็งแกร่ง และควำมมนั แวววำว มีองคป์ ระกอบหลกั คือสำรประกอบ
ซิสิคอน

4) วสั ดผุ สม (composite) วสั ดผุ สมเป็ นวสั ดทุ ่มี ีกำรผสมวสั ดตุ งั้ แต่ 2 ชนดิ
ขน้ึ ไปเขำ้ ดว้ ยกนั โดยวสั ดทุ ่ผี สมเขำ้ ดว้ ยกนั จะตอ้ งไมล่ ะลำยซ่ึงกนั และกนั ซ่ึงวสั ดทุ ่มี ี
ปริมำณมำกกวำ่ จะเรียกว่ำ เป็ นวสั ดหุ ลกั (matrix) และวสั ดอุ ีกชนดิ หนึ่งหรือหลำย
ชนดิ ท่กี ระจำยหรือแทรกตวั อย่ใู นเนอื้ วสั ดหุ ลกั เรียกว่ำ วสั ดเุ สริมแรง
(reinforcementmaterial) วสั ดเุ สริมแรงทนี่ ำมำผสมนนั้ จะชว่ ยปรบั ปรงุ สมบัตเิ ชงิ กล
ของวสั ดหุ ลกั ใหด้ ขี นึ้ โดยวสั ดเุ สริมแรงอำจมีลกั ษณะเป็ นกอ้ น เสน้ เกล็ด หรือ
อนภุ ำคก็ได้ วส้ ดคุ อมโพสิตสำมำรถแบ่งออกไดเ้ ป็ น 3 ประเภท คือ

28

4.1) วสั ดเุ ชงิ ประกอบพอลเิ มอร์ (Polymer
MatrixComposite: PMC) เป็ นกำรเสริมแรงใหพ้ อลิ
เมอร์ โดยเตมิ เสน้ ใยเสริมแรง เชน่ เสน้ ใยแกว้ ไฟ
เบอรก์ ลำส เสน้ ใยคำรบ์ อน เสน้ ลวดโลหะ ลงในพอ
ลเิ มอรซ์ ่ึงเป็ นวสั ดหุ ลกั เพ่ือทำใหว้ ัสดผุ สมท่ไี ดม้ ี
ควำมแข็งแรง สำมำรถทนแรงดงึ หรือแรงกดทบั
ไดส้ งู ขน้ึ กวำ่ วสั ดหุ ลกั ตวั อย่ำงกำรใชง้ ำนวสั ดเุ ชงิ
ประกอบพอลเิ มอร์ เชน่ กำรนำเสน้ ใยแกว้ มำผสม
กบั พอลิเมอร์ เพ่ือผลิตเป็ นหลงั คำรถกระบะ
ชน้ิ สว่ นเคร่ืองบินเล็ก ถงั นำ้ ขนำดใหญ่ เพรำะเสน้
ใยแกว้ มีสมบตั คิ วำมแข็งแรง ทนแรงดงึ ไดส้ งู ไม่
เป็ นสนมิ และทนตอ่ กำรกดั กร่อนนอกจำกนเ้ี สน้ ใย
แกว้ ยงั มสี มบตั เิ ป็ นฉนวนควำมรอ้ นทด่ี ี ใชผ้ ลติ เป็ น
ฉนวนในตเู้ ย็น หรือผสมในวสั ดกุ อ่ สรำ้ ง

4.2) วสั ดเุ ชงิ ประกอบโลหะ (Metal Matrix Composite: MMC) วสั ดผุ สมกลมุ่ น้ี มี
โลหะเป็ นวสั ดหุ ลกั เชน่ อะลมู เิ นยี ม สว่ นวสั ดเุ สริมแรงของคอมโพสิตกลมุ่ นเ้ี ป็ นวสั ดเุ ชรำ
มกิ หรือสำรเสริมแรงโลหะ เชน่ ซิลิคอนคำรไ์ บด์ เสน้ ใยโบรอน กำรผสมวสั ดเุ สรมิ แรงเขำ้
ไปในโลหะหลกั เป็ นกำรทำใหโ้ ลหะหลกั มคี วำมทนทำนตอ่ กำรใชง้ ำนมำกขน้ึ และมอี ำยกุ ำร
ใชง้ ำนนำนขนึ้ ทนทำนตอ่ กำรกดั กร่อน มนี ำ้ หนกั เบำพบมำกในผลิตภณั ฑก์ ล่มุ
อตุ สำหกรรมยำนยนต์

29

5) วสั ดสุ มยั ใหม่ (modern material) วสั ดสุ มยั ใหมถ่ กู ผลิต หรือสงั เครำะหข์ ึ้นดว้ ย
เทคโนโลยีชน้ั สงู ซึ่งเป็ นกำรพฒั นำสมบตั ขิ องวสั ดใุ หด้ ขี นึ้ สำมำรถนำไปใชง้ ำนได้
หลำกหลำยดำ้ น เชน่ วสั ดนุ โน (nanomaterial) วสั ดชุ วี ภำพ (biomaterialตวั เก็บประจุ
ยิ่งยวด (ultraca paci tor) แตใ่ นบทนจี้ ะขอนำเสนอรำยละเอียดเฉพำะเร่ืองวสั ดนุ ำโน ดงั นี้
วสั ดนุ ำโน เป็ นวสั ดทุ ี่มขี นำด 1 - 100 นำโนเมตร หรือมโี ครงสรำ้ งในระดบั นำโน ทำให้
มสี มบตั พิ ิเศษหรือสมบตั ทิ ่ีแตกตำ่ งจำกวสั ดชุ นดิ เดยี วกนั ทีม่ ีขนำดใหญ่กวำ่ วสั ดนุ ำโน
สำมำรถแบ่งออกไดเ้ ป็ น 2 กลมุ่ คือ

(1) วสั ดนุ ำโนจำกธรรมชำติ เป็ นวสั ดนุ ำโนท่มี ีอยใู่ นธรรมชำตแิ ละมีขนำดอย่ใู น
ระดบั นำโนเมตร เชน่ เสน้ ขนขนำดเล็กในตนี ตกุ๊ แก โครงสรำ้ งขนำดเล็กบนผวิ ใบบวั

(2) วสั ดนุ ำโนจำกกำรผลิต ผลิตขน้ึ เพ่ือปรบั ปรงุ วสั ดใุ หม้ ีสมบตั ิดขี นึ้ หรือ
เฉพำะเจำะจงมำกขน้ึ เมื่อขนำดของวสั ดถุ กู ทำใหเ้ ล็กในระดบั นำโนเมตร จะทำใหว้ สั ดมุ ี
พื้นที่ผิวมำกขน้ึ สง่ ผลตอ่ สดั สว่ นของพ้ืนทผี่ วิ ตอ่ ปริมำตรมคี ำ่ สงู ขนึ้ สง่ ผลใหส้ มบตั ิ
ของวสั ดเุ กดิ กำรเปลย่ี นแปลง เชน่ สมบตั เิ ชงิ กล สมบตั ทิ ำงแมเ่ หล็กสมบตั เิ ชงิ แสง กำร
ไวตอ่ กำรทำปฏิกริ ิยำ และยงั สง่ ผลใหว้ สั ดทุ ี่มีโครงสรใ้ นระดบั นำโนเมตรมสี มบตั พิ ิเศษ
เพิ่มขน้ึ มำ

จำกสมบตั พิ ิเศษของวสั ดนุ ำโนดงั กลำ่ วขำ้ งตน้ จึงไดม้ กี ำรนำควำมรแู้ ละผลผลิต
ทำงดำ้ นนำโนเทคโนโลยีมำประยกุ ตใ์ ช้ เชน่
(1) ทอ่ นำโนคำรบ์ อน
(2) อนภุ ำคนโนไททำเนยี มไดออกไซด์ (Nano-Ti)
(3) เสน้ ใยนำโน (nano fber)

30

4.2 เครอ่ื งมือพ้ืนฐำน

4.2.1 เครอ่ื งมีอสำหรบั กำรวดั ขนำด
เคร่ืองมอื พ้ืนฐำนสำหรบั กำรวดั ขนำดท่ีนกั เรียนจะไดเ้ รียนรใู้ นบทน้ี จะมีควำม

ละเอียดและควำมถกู ตอ้ งมำกขน้ึ ไดแ้ ก่ ไมโครมิเตอร์ เวอรเ์ นยี รค์ ำลิเปอรไ์ มบ้ รรทดั
วดั องศำหรือใบวดั มมุ ดงั รำยละเอียดตอ่ ไปนี้

1) ไมโครมิเตอร์ (Micrometer)
เป็ นเคร่ืองมอื วดั ขนำดชน้ิ งำนขนำดเล็กทม่ี ีควำม
แมน่ ยำสงู สำมำรถแบ่งขนำด 1เซนตเิ มตรได้
ละเอียด 1,000 เทำ่ หรือแบ่งขนำด 1 มิลลิเมตรได้
100 เทำ่ จึงใชว้ ดั ควำมหนำของวสั ดุ เชน่ กระดำษ
หรือวดั เสน้ ผำ่ นศนู ยก์ ลำงของเสน้ ลวดได้
ไมโครมิเตอรม์ ีทงั้ ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอกไมโครมิเตอร์
วดั ใน และไมโครมิเตอรว์ ดั ลกึ

2) เวอรเ์ นียรค์ ำลิเปอร์ (Vernier Caliper)
เป็ นเคร่ืองมือวดั ขนำดอยำ่ งละเอียด ทใ่ี ชห้ ลกั
ของเวอรเ์ นยี รส์ เกลและปำกวดั (Caliper) 2 ชดุ
คือชดุ ปำกวดั ใน และปำกวดั นอก เวอรเ์ นยี รค์ ำลิเปอร์
จะมที งั้ สเกลหลกั และสเกลรอง (ซ่ึงเรียกชอื่ เฉพำะว่ำ
เวอรเ์ นยี สเกล) กำรวดั ตอ้ งจดั ใหป้ ำกวดั ทง้ั 2 ขำ
ตรงกบั ขอบชน้ิ งำนทงั้ 2 ขำ้ ง ทำใหส้ ำมำรถอ่ำนสเกล
วดั ไดท้ งั้ ขอบในและขอบนอกของชน้ิ งำนเวอรเ์ นียรค์ ำ
ลเิ ปอร์ ยงั สำมำรถใชว้ ดั ควำมลกึ ของชนิ้ งำนไดโ้ ดยใช้
กำ้ นวดั ลกึ เวอรเ์ นยี รค์ ำลิเปอรท์ ใ่ี ชอ้ ย่ทู วั่ ไปสำมำรถ
แบง่ ไดเ้ ป็ น 2 แบบ

31

3)ไมบ้ รรทดั วดั องศำหรอื ใบวดั มมุ
(Protractor)
เป็ นเครื่องมอื วดั ขนำดมมุ ของชน้ิ งำน เป็ นองศำทมี่ ี
ควำมละเอียด ใบวดั มมุ สำมำรถวดั มมุ ไดต้ งั้ แต่ 0-
180 องศำโดยกำรทำงำนของไมบ้ รรทดั 2 อนั ท่ีวำง
ซอ้ นกนั และมีปลำยขำ้ งหนงึ่ ตดิ กนั ทำใหส้ ่วนปลำยอีก
ขำ้ งสำมำรถปรบั แขน 2 ขำ้ งที่ทำมมุ กนั สำหรับวดั มมุ
ของชนิ้ งำน ในขณะวดั มมุ ตอ้ งกดแขนวดั มมุ ทั้ง 2
ขำ้ งใหแ้ นบกบั ชน้ิ งำนใบวดั มมุ มีทงั้ แบบธรรมดำและ
แบบดจิ ิทลั

4.2.2 เครอื่ งมือสำหรบั กำรตดั
เคร่ืองมือพื้นฐำนท่ีจำเป็ นสำหรบั กำรตดั มีอย่หู ลำยประเภท ในกำรใชง้ ำนตอ้ งเลือกให้

เหมำะสมโดยขนึ้ อย่กู บั ประเภทของงำน ในท่ีนจี้ ะนำเสนอเคร่ืองมอื สำหรบั กำรตดั ประเภทคีมขนำดเล็ก
เล่อื ยรอเล่อื ยจ๊ิกซอ เล่อื ยตดั เหล็ก เล่ือยวงเดือน เล่ือยไฟเบอรแ์ ละปำกกำตดั กระจก

4.2.3 เครอื่ งมือสำหรบั กำรเจำะ
ในกำรออกแบบและสรำ้ งขนึ้ งำนบำงอยำ่ งจำเป็ นตอ้ งใชเ้ คร่ืองมอื สำหรบั กำรเจำะ

ในที่นจ้ี ะแนะนำเคร่ืองมือสำหรบั กำรเจำะคือสว่ำนมอื ซึ่งสำมำรถแบง่ ตำมกลไกกำรทำงำนคอื แบบ
ธรรมดำและแบบโรตำรีและแบ่งตำมประเภทแหลง่ พลงั งำนคือ สว่ำนที่ใชไ้ ฟฟ้ ำและแบบใชแ้ บตเตอรี่

4.3 การตัด ตอ่ และขึ้นรูปวัสดุ

4.3.1 กำรตดั (cutting)
เป็ นกำรทำใหช้ นิ้ งำนแยกออกจำกกนั จำกหนง่ึ สว่ นเป็ นสองสว่ นหรือมำกกว่ำ

หรือเป็ นกำรตดั ชนิ้ งำนใหไ้ ดต้ ำมรปู แบบที่กำหนด วิธีกำรตตั วัสดมุ หี ลำยวิธีและใชเ้ คร่ืองมอื
หลำยชนดิ ควรเลือกใชต้ ำมควำมเหมำะสมของวัสดทุ ่ีจะทำกำรตดั และกำรนำไปใช้ กำรพิจำรณำ
เลือกใชว้ ิธีใดนนั้ จะตอ้ งคำนงึ ถึง ควำมหนำ ควำมยำว รปู ร่ำง และรปู ทรงของวัสดุ

4.3.2 กำรต่อ (joining)
เป็ นกำรนำวัสดปุ ระเภทเดยี วกนั หรือตำ่ งชนดิ กนั มำประกอบกนั ใหเ้ ป็ นรปู รำ่ ง

ตำมที่ตอ้ งกำร โดยใชว้ สั ดหุ รืออปุ กรณเ์ ป็ นตวั ประสำน เพ่ือนำไปใชง้ ำน กำรตอ่ วัสดมุ หี ลำยวิธี
ควรเลือกใชว้ ิธีตำมควำมเหมำะสมและคำนงึ ถึงประเภทของวสั ดุ ดงั ขอ้ มลู ที่แสดงในตำรำงตวั อย่ำง
เทคนคิ และเคร่ืองมอื ในกำรเชอ่ื มตอ่ วสั ดุ

4.3.3 กำรข้ึนรปู (forming) 32
เป็ นกำรเปลย่ี นรปู รำ่ งของวสั ดใุ หเ้ ป็ นผลิตภณั ฑ์ (product) หรือชิ้นงำนท่ีมี

รปู ร่ำงตำมตอ้ งกำร โดยใชแ้ มพ่ ิมพห์ รือเคร่ืองมือเฉพำะ เทคนคิ กำรขน้ึ รปู มีหลำยประเภท
ขน้ึ อยกู่ บั ชนดิ ของวัสดุ ในที่นขี้ องยกตวั อยำ่ งวิธีกำรขนึ้ รปู โลหะ ดงั นี้

1) กำรข้ึนรปู แบบรอ้ น (hot working)
เป็ นกำรใชค้ วำมรอ้ นแกว่ สั ดุ ท่ีอณุ หภมู ิ
สงู กว่ำอณุ หภมู ใิ นกำรเกดิ ผลกึ ใหม่
(recrystallization)แตจ่ ะตำ่ หรือนอ้ ยกว่ำอณุ หภมู ิ
ในกำรทำใหเ้ กดิ กำรหลอม (melting point) ของ
โลหะหรือวสั ดนุ น้ั ๆ ตวั อยำ่ งเชน่ กำรตีเหล็ก
(forging) กำรรีดแบบรอ้ น (hot rolling)

2) กำรข้ึนรปู แบบเยน็ (cold working)
เป็ นกำรรีดขน้ึ รปู เพื่อใหว้ สั ดเุ กดิ กำร

เปลี่ยนแปลงรปู รำ่ งชนดิ ถำวรที่อณุ หภมู ิตำ่
ตวั อยำ่ งเชน่ กำรดดั งอ (bending) กำรอดั รีด
(extruding) กำรบิดงอ (squeezing)

สรปุ ทำ้ ยบท

วสั ดแุ ละเคร่ืองมือในปัจจบุ นั มอี ยหู่ ลำยประเภท ซ่ึงมีสมบตั แิ ละกำร
ใชง้ ำนที่แดกตำ่ งกนั จึงตอ้ งเลือกใชใ้ หเ้ หมำะสมกบั กำรสรำ้ งหรือพฒั นำ
ชนิ้ งำน นอกจำกนนั้ วสั ดแุ ละเครื่องมือยงั มกี ำรพฒั นำอย่ตู ลอดเวลำเพ่ือ

ชว่ ยอๆำนวยควำมสะดวก เพ่ิมประสทิ ธิภำพ และลดขน้ั ดอนในกำร

ปฏิบตั งิ ำน ซึ่งในกำรใชง้ ำนจะตอ้ งศึกษำขอ้ ปฏิบตั แิ ละขอ้ ควรระวัง ควร
ดรวจสอบเคร่ืองมือใหอ้ ยใู่ นสภำพพรอ้ มใชง้ ำน

7

แบบทดสอบ
หลงั เรยี น
บทท่ี 4

คำช้ีแจง
1. ขอ้ สอบเป็ นแบบประนยั 4 ตวั เลือกมจี ำนวน 5 ขอ้

เต็ม 5 คะแนน
2. สแกน QR CODE เพ่ือเร่ิมทำแบบทดสอบ

33

แบบทดสอบ
หลงั เรยี น

คำช้ีแจง
1. ขอ้ สอบเป็ นแบบประนยั 4 ตวั เลอื กมีจำนวน 30 ขอ้

เต็ม 30 คะแนน
2. สแกน QR CODE เพื่อเริ่มทำแบบทดสอบ


Click to View FlipBook Version