The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด โดยใช้แบบเรียนสำเร็จรูป สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kasmee Auseng, 2022-05-23 10:31:23

วิจัยในชั้นเรียน

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด โดยใช้แบบเรียนสำเร็จรูป สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1

Keywords: วิจัยในชั้นเรียน

รายงานการวจิ ยั ในชั้นเรยี น

การพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวชิ าภาษาไทย เรอื่ ง มาตราตัวสะกด
โดยใชบ้ ทเรยี นสำเรจ็ รูป สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2/1

ผ้วู จิ ยั
นางสาวกัสมี อเุ ซ็ง
ตำแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย

กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
โรงเรียนบ้านซเี ยาะ อำเภอยะหา จงั หวัดยะลา

สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษายะลา เขต 2

ช่ืองานวิจัย การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรอ่ื ง มาตราตัวสะกด โดยใช้
บทเรียนสำเรจ็ รปู สำหรับนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 2/1

ช่ือผวู้ ิจยั นางสาวกสั มี อเุ ซ็ง

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย

บทคัดยอ่

การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่องมาตราตัวสะกด
โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป และเกมการศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 เป็นการวิจัยเชิงทดลองโดย
ใช้รูปแบบการวิจัยแบบกลุ่มเดียว วัดก่อนและหลัง (one group pretest - posttest design) กลุ่มเป้าหมายที่ใช้
ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนบ้านซีเยาะ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
จำนวน 35 คน ซึ่งได้จากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือทีใ่ ช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใชใ้ น
การทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป 2) เครอ่ื งมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด เป็นแบบเลือกตอบ ชนิด 3 ตัวเลือก
สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล คือ t-test รอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย และค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาวิชาภาษาไทย เรอ่ื ง มาตราตัวสะกด
ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2/1 หลังเรียนสงู กวา่ กอ่ นเรยี นอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05

การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าภาษาไทย เรื่อง มาตราตวั สะกด โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป
สำหรับนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 2/1

ความสำคญั และที่มา
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวฒั นธรรมอนั ก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและเสริมสร้าง

บุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจและ
ความสัมพันธ์ที่ดตี อ่ กัน ทำให้สามารถประกอบกจิ ธุระ การงาน และดำรงชีวติ รว่ มกนั ในสงั คมประชาธิปไตยไดอ้ ยา่ ง
สันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนา
ความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และ
ความกา้ วหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพฒั นาอาชีพให้มคี วามมน่ั คงทางเศรษฐกจิ

นอกจากนีย้ ังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบัติ
ล้ำค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์ และสืบสานให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2560)

จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัยได้ศึกษาเนื้อหา
ความรู้ต่าง ๆ ในรายวิชาภาษาไทย จึงได้เล็งเห็นว่าบทเรียนเรื่องมาตราตัวสะกดเป็นเนื้อหาความรู้ที่นักเรียน
จำเป็นต้องรู้และเข้าใจ โดยความรู้เรื่องมาตราตัวสะกดยังเป็นพื้นฐานของทักษะต่าง ๆ ในรายวิชาภาษาไทย และ
ยังเป็นบทเรียนที่ผู้เรียนส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ดีเท่าที่ควร ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด ของผู้เรียนให้เพิ่มขึ้น และจากการสังเกตระหว่างการจัดการ
เรียนรู้ที่ผ่านมา พบว่า ผู้เรียนจะมีความตั้งใจและสนใจเป็นพิเศษ เมื่อครูผู้สอนจัดทำสื่อที่มีสีสันสวยงาม มี
ภาพเคลอื่ นไหว มกี ารต์ นู ทค่ี อยดึงดูดความสนใจ และนักเรยี นรู้สึกสนุกกบั การเรยี นมากข้นึ

ผู้วิจัยจึงมุ่งศึกษาหาแนวทางในการจัดการเรียนรู้ เรื่อง มาตราตัวสะกด เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ โดยใช้
บทเรียนสำเร็จรูป ธีระชัย ปูรณโชติ (2532: 2) บทเรียนสำเร็จรูป เป็นเครื่องมือซึ่งสามารถทำให้ผู้เรียนเรียนรู้
ตามลำดับขน้ั ท่จี ดั ได้จดั วางไว้ และชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถของแตล่ ะบุคคล เรียงลำดับ
เนือ้ หาจากงา่ ยไปหายาก มีสีสนั สวยงาม ดึงดดู ความสนใจ และผูเ้ รยี นสามารถเขา้ ไปทบทวนบทเรียนได้ตลอดเวลา
จนกว่าผเู้ รยี นจะเข้าใจอย่างแทจ้ รงิ

จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว ทำให้ผู้วิจัยมีความสนใจในการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบเรียนสำเร็จรูป
เรื่อง มาตราตวั สะกด สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2/1 เพื่อเป็นแนวทางในการนำบทเรียนสำเร็จรูป ไปใช้
ในการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ของผูเ้ รียนใหม้ ีประสิทธภิ าพยิ่งขน้ึ

ความมุง่ หมายของการวจิ ยั
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปที ่ี 2/1 กอ่ นและหลงั การจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้บทเรียนสำเร็จรปู

สมมตฐิ านการวจิ ยั
หลังการจดั การเรยี นรูโ้ ดยใช้บทเรียนสำเร็จรปู นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 2/1 มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

วิชาภาษาไทย เรอ่ื ง มาตราตวั สะกด สงู กว่ากอ่ นเรยี น

ขอบเขตของการวิจยั
ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องมาตราตัวสะกด โดยใช้บทเรียน

สำเรจ็ รปู สำหรับนกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2/1 และได้กำหนดขอบเขตของการวจิ ยั ไว้ดังนี้

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนกำลังศึกษาอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 1 ปี
การศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา้ นซีเยาะ อำเภอยะหา จ.ยะลา จำนวน 10 คน

2. เน้ือหาทใ่ี ช้ในการวิจัย บทเรียนเรือ่ ง มาตราตวั สะกด ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 2

ตวั แปรท่ศี ึกษา บทเรยี นสำเรจ็ รูป เรอื่ ง มาตราตัวสะกด
ตวั แปรตน้ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ าภาษาไทย เรอื่ ง มาตราตัวสะกด
ตัวแปรตาม

กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิชา
ภาษาไทย เร่อื ง มาตราตัวสะกด
บทเรียนสำเรจ็ รูป
เรอื่ ง มาตราตวั สะกด

เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการทดลอง
1. บทเรียนสำเร็จรปู เร่ือง มาตราตวั ตัวสะกด ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 จำนวน 9 เรื่อง
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เร่ืองมาตราตวั สะกด แบบเลอื กตอบ 3 ตวั เลอื กจำนวน 20 ขอ้

นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
บทเรียนสำเร็จรูป หมายถึง บทเรียนสำเร็จรูปแบบเส้นตรง ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อจัดการเรียนรู้

วิชาภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 จำนวน 2 เรื่อง ประกอบด้วย มาตรา ก กา, มาตรา กง,
มาตรา กม, มาตรา เกย, มาตรา เกอว, มาตรา กก , มาตรา กบ, มาตรา กด, มาตรา กน

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย หมายถึง คะแนนที่วัดได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ก่อนและหลังจากให้นักเรียนเรียนรู้จากบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง มาตราตัวสะกด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ที่ผู้วิจัย
สรา้ งข้นึ เป็นแบบทดสอบ แบบปรนัย 20 ขอ้

วธิ ดี ำเนนิ การวิจยั

1. การกำหนดประชากรและการเลือกกลุม่ ตวั อยา่ ง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนกำลังศึกษาอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 1

ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรียนบา้ นซีเยาะ อำเภอยะหา จ.ยะลา จำนวน 10 คน
2. ชอ่ื แบบแผนการทดลอง

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง โดยใช้แบบแผนการวิจัยแบบ One-Group Pretest-Posttest
Design (ภัทรา นิคมานนท.์ 2539 : 152)

แบบแผนการวจิ ัยแบบ One-Group Pretest-Posttest Design

กลมุ่ Pretest Treatment Posttest

E T1 X T2

สญั ลกั ษณ์ท่ใี ชใ้ นแบบแผนการทดลอง
E หมายถึง กลมุ่ ตวั อยา่ ง
X หมายถึง บทเรียนสำเรจ็ รปู
T1 หมายถงึ การทดสอบก่อนการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชบ้ ทเรยี นสำเรจ็ รูป (Pretest)
T2 หมายถึง การทดสอบหลังการจดั การเรียนรโู้ ดยใชบ้ ทเรียนสำเร็จรปู (Posttest)

3. เครือ่ งมือทใี่ ช้ในการวจิ ัย

เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการทดลอง
แบบเรียนสำเรจ็ รปู

เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวิชาภาษาไทย เรือ่ ง มาตราตัวสะกด ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 2

4. วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

ผู้วจิ ยั ไดท้ ำการเก็บรวบรวมข้อมูล ตามลำดับข้ันตอน ดงั น้ี

1. นักเรียนทำการทดสอบก่อนเรียน (Pretest) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ภาษาไทย เรือ่ ง มาตราตวั สะกด ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 2 ในรูปแบบของ Wordwall

2. ผูว้ ิจยั ดำเนินการจดั การเรียนรู้โดยใชบ้ ทเรยี นสำเรจ็ รปู จำนวน 9 ครั้ง
3. นักเรียนทำการทดสอบหลังเรียน (Posttest โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ภาษาไทย เรือ่ ง มาตราตวั สะกด ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ซง่ึ เป็นแบบทดสอบชุดเดียวกับทีใ่ ช้ทดสอบก่อนเรียน

5. วิธกี ารวเิ คราะห์ขอ้ มลู

การวเิ คราะห์ข้อมลู และสถติ ทิ ่ีใช้
ในการวจิ ัยครงั้ น้ี ผู้วจิ ยั ไดด้ ำเนินการวเิ คราะห์ข้อมลู ตามลำดับ ดังตอ่ ไปน้ี
1. ค่าสถติ ิพนื้ ฐาน ได้แก่ ค่าเฉลย่ี และคะแนนพฒั นาการสมั พทั ธ์

1.1 ค่าเฉลยี่ หาค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบก่อนและหลงั ไดร้ บั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ โดยใช้

บทเรยี นสำเรจ็ รูป และเกมการศึกษา

เม่ือ ̅ ̅ =∑



แทน ค่าเฉลีย่ ของคะแนน

∑ แทน ผลรวมท้งั หมดของคะแนน

N แทน จำนวนนักเรียนในกล่มุ ตวั อยา่ ง

1.2 คะแนนพัฒนาการสมั พัทธ์ คำนวณหาคะแนนพัฒนาการสมั พทั ธ์ กอ่ นและหลงั ได้รบั การจดั
กจิ กรรมการเรียนรู้ โดยใชบ้ ทเรยี นสำเร็จรปู และเกมการศึกษา

RG = 100 (X2 – X1) / (Y – X1)
เม่ือ RG แทน คะแนนพฒั นาการสมั พัทธ์

Y แทน คะแนนเต็มในการวัด
X1 แทน คะแนนจากการวดั ครง้ั แรก
X2 แทน คะแนนจากการวัดครง้ั หลัง
เกณฑค์ ะแนนพัฒนาการเทียบระดับพัฒนาการ

คะแนนพฒั นาการสัมพทั ธ์ ระดับพัฒนาการ

76 - 100 พัฒนาการระดับดมี าก
51 - 75 พฒั นาการระดบั ดี
26 - 50
0 - 25 พฒั นาการระดับปานกลาง
พัฒนาการระดับต้น

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู
เมื่อวิเคราะห์คะแนนพัฒนาการผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด สำหรับ

นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 2/1 ก่อนและหลังไดร้ บั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใชบ้ ทเรียนสำเรจ็ รูป ปรากฏใน
ตารางดงั ต่อไปน้ี

ผลการศกึ ษาคะแนนพฒั นาการผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาภาษาไทย เรื่อง มาตราตวั สะกด สำหรบั นกั เรยี น
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2/1 กอ่ นและหลงั ไดร้ ับการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใช้บทเรียนสำเรจ็ รปู

ลำดบั ที่ ก่อนเรยี น หลังเรียน ผลตา่ งระหว่าง คะแนนพัฒนาการ แปลผล
คะแนนหลัง-กอ่ น (ร้อยละ)
1 9 12 33.33 พฒั นาการระดบั ปานกลาง
2 11 16 3 55.56 พฒั นาการระดบั ดี
3 6 11 5 35.71
4 9 14 5 45.45 พฒั นาการระดับปานกลาง
5 10 10 5 0 พัฒนาการระดับปานกลาง
6 10 15 0 50
7 9 13 5 36.36 พฒั นาการระดบั ต้น
8 10 17 4 70 พฒั นาการระดบั ปานกลาง
9 12 15 7 37.5 พฒั นาการระดับปานกลาง
10 11 18 3 77.78
7 พัฒนาการระดบั ดี
ผลรวม 97 141 44.17 พฒั นาการระดบั ปานกลาง
44
คะแนน 9.7 14.1 พฒั นาการระดบั ดมี าก
เฉลยี่ 4.4
พัฒนาการระดับปานกลาง

จากการศกึ ษาพบว่า นกั เรียนมคี ะแนนพัฒนาการอยูร่ ะหว่าง ร้อยละ 0 ถึง 77.78 โดยนกั เรยี นทมี่ ีคะแนน
พัฒนาการสูงสุด เท่ากับ ร้อยละ 77.78 อยู่ในระดับดีมาก จำนวน 1 คน รองลงมาคือนักเรียนที่มีคะแนน
พฒั นาการ ร้อยละ 70 อยู่ในระดบั ดี จำนวน 1 คน และมนี กั เรยี นท่มี คี ะแนนพัฒนาการน้อยทีส่ ดุ เทา่ กบั รอ้ ยละ 0
ซึ่งอยู่ในพัฒนาการระดับต้นจำนวน 1 คน ท้ังนี้ในภาพรวมของการทดลองพบว่านักเรียนมีคะแนนพัฒนาการ
เทา่ กับ ร้อยละ 44.17 อยูใ่ นระดับปานกลาง

สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

สรุปผล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1
หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป
โดยภาพรวมของการทดลองพบว่านกั เรยี นมีคะแนนพฒั นาการ เท่ากับ ร้อยละ 44.17 อยใู่ นระดบั ปานกลาง

อธปิ รายผล
จากผลการวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด โดยใช้
บทเรียนสำเรจ็ รูป สำหรบั นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2/1 ผ้วู ิจยั ได้นำมาอภิปรายผล ดงั นี้

ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป มีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนวิชาวิชาภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป โดย
ภาพรวมของการทดลองพบว่านักเรียนมีคะแนนพัฒนาการ เท่ากับร้อยละ 44.17 อยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้
เน่อื งจากการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้บทเรยี นสำเรจ็ รูป เป็นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ มุ่งใหผ้ ู้เรียนสามารถเรียน
ด้วยตนเอง เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่เรียนอย่างแท้จริง ในช่วงที่มีสถานการณ์ฉุกเฉินเกิดโรคระบาด จนไม่
สามารถมาโรงเรยี นได้ ซึง่ สอดคล้องกบั ธรี ะชัย ปรู ณโชติ (2532: 2) ท่ีกล่าววา่ บทเรยี นสำเร็จรปู เป็นเคร่ืองมือซึ่ง
สามารถทำใหผ้ ูเ้ รยี นเรียนรู้ตามลำดับขัน้ ทจ่ี ดั ไว้ และชว่ ยใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รยี นรดู้ ้วยตนเองตามความสามารถของแต่ละ
บคุ คล โดยทผ่ี ู้เรยี นสามารถเรียนรจู้ ากบทเรียนทีละเร่ือง เรียงตามลำดบั จากง่ายไปหายาก หากเกิดข้อผิดพลาดใน
การทำบทเรยี นนกั เรียนสามารถย้อนกลับไปศึกษาได้อีกจนกว่าผูเ้ รยี นจะเข้าใจอย่างแท้จริง

ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะจากการวจิ ยั ครงั้ น้ี
1. การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ผ่าน wordwall ทำให้ผู้วิจัยไม่สามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อ
ผลสัมฤทธ์ิไดเ้ ท่าที่ควร อาจจะทำใหค้ ะแนนไมเ่ ปน็ ไปตามความจรงิ
ขอ้ เสนอแนะในการทำวจิ ัยครัง้ ตอ่ ไป
1. ในการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทั้งก่อนและหลัง ผู้วิจัยควรตระหนักถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อ
ผลสัมฤทธ์ิ เพราะอาจทำให้ผลทีไ่ ด้น้นั ไมเ่ ป็นไปตามความความสามารถทแี่ ท้จรงิ ของผู้เรยี น
2. ในอนาคตหากมีสถานการณ์ฉุกเฉิน ที่ทำให้นักเรียนไม่สามารถมาเรียนได้ตามปกติ บทเรียน
สำเร็จรปู เปน็ อกี หนงึ่ ตัวเลอื กที่ดี ทท่ี ำใหน้ ักเรียนยังสามารถเรยี นรู้ไดใ้ นสถานการณ์ที่จำกดั


Click to View FlipBook Version