The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Panumas Pukklin, 2022-03-05 05:58:07

present_icaswu_final

present_icaswu_final

ข้อ้ มููลสถาบันั วัฒั นธรรมและศิิลปะ
มหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒ

ข้้อมูลู พื้้�นฐานของสถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะ
ประวััติิศาสตร์แ์ ละการพััฒนาของมหาวิทิ ยาลััยศรีนี ครินิ ทรวิิโรฒ เกี่ย� วข้้องสัมั พันั ธ์ก์ ับั แผนพััฒนาเศรษฐกิจิ และสังั คม
แห่ง่ ชาติ ิ จึึงส่่งผลทำำ�ให้้มหาวิิทยาลัยั มีีวิทิ ยาเขตตามโครงสร้้างด้้านภูมู ิิศาสตร์์และกระจายไปตามภูมู ิิภาคต่่าง ๆ ที่่แ� ตกต่่างไป
จากมหาวิิทยาลัยั อื่�น่ ๆ โดยทั่่�วไป ประกอบกัับมหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ มีภี ารกิิจหลัักที่่ส� ำ�ำ คัญั ประการหนึ่่ง� คืือ การทำำ�นุุ
บำ�ำ รุุงศิลิ ปะและวััฒนธรรมจึึงส่ง่ ผลให้ม้ หาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิิโรฒในอดีตี มีบี ทบาทโดดเด่น่ อย่่างมากทางด้้าน การค้้นคว้า้
วิิจััยและการสืืบสานทางด้้านกิิจกรรมทางด้้านศิิลปวััฒนธรรมไม่่ว่่าจะเป็็นบทบาทขององค์์กรในรููปแบบของสถาบัันได้้แก่่
สถาบันั ทัักษิณิ คดีศี ึกึ ษา วิทิ ยาเขตสงขลา สถาบันั วิจิ ัยั ศิลิ ปะ และวัฒั นธรรมอีสี าน วิิทยาเขตมหาสารคาม รวมทั้้�งการมีบี ทบาท
ในการจััดประชุุมสััมมนาทางวิิชาการ การจััดกิิจกรรมทางด้้านศิิลปวััฒนธรรมอย่่างต่่อเนื่่�อง ต่่อมาวิิทยาเขตต่่างๆของ
มหาวิิทยาลััยศรีนี ครินิ ทรวิิโรฒ ได้้รับั การสถาปนาเป็็นมหาวิิทยาลัยั ที่่�เป็น็ อิิสระไปจากมหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒจึงึ ส่ง่ ผล
ให้้บทบาทด้า้ นศิิลปวััฒนธรรมของมหาวิิทยาลััยศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒ เกิดิ ข้อ้ จำ�ำ กัดั ไม่อ่ าจทำ�ำ ตามภารกิิจของสถาบันั อุดุ มศึึกษาได้้
อย่า่ งสมบูรู ณ์์ ประกอบกัับคณะศิลิ ป กรรมศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลััยศรีนี ครินิ ทรวิิโรฒ มีีรากฐานการพัฒั นาองค์ค์ วามรู้�มากกว่่า 3
ทศวรรษ มีีระบบการศึึกษาที่่เ� กื้อ� หนุุนการสืืบสานศิิลปวััฒนธรรมมาโดยตลอด รวมทั้้�งมองเห็็น จุุดอ่อ่ นทางด้้านศิิลปวััฒนธรรม
ที่่�เกิดิ ขึ้้น� ภายหลัังที่่�วิิทยาเขตต่่าง ๆ แยกตัวั เป็็นอิิสระดังั ที่่�กล่า่ วข้้างต้น้ อธิกิ ารบดีี ศาสตราจารย์์ ดร.วิิรุุณ ตั้้�งเจริิญ ขณะที่่�ดำ�ำ รง
ตำำ�แหน่ง่ รองอธิิการบดีฝี ่า่ ยศิิลปวัฒั นธรรม และคณบดีี คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์ ์ ตามลำำ�ดับั จึึงได้เ้ สนอโครงการจััดตั้้�งสถาบันั วิจิ ัยั
ศิิลปวัฒั นธรรม ต่่อมหาวิิทยาลััย เพื่อ�่ ส่่งเสริมิ และสนับั สนุนุ ให้้มหาวิทิ ยาลััยได้้ปฏิบิ ััติิภารกิิจด้้านศิลิ ปวััฒนธรรมให้ส้ มบูรู ณ์์
โดยมีีหน้้าที่่�รัับผิิดชอบงานพิิธีีการเพื่�่อสนัับสนุุนภารกิิจของมหาวิิทยาลััยเพื่�่อสนัับสนุุนยุุทธศาสตร์์และนโยบายของ
มหาวิิทยาลัยั อีีกด้้วย ซึ่ง่� โครงการจััดตั้้ง� สถาบัันวิิจััยศิิลปวัฒั นธรรม มหาวิทิ ยาลััยศรีนี คริินทรวิิโรฒได้ร้ ัับการอนุมุ ััติิจาก สภา
มหาวิทิ ยาลัยั ให้เ้ ป็น็ หน่่วยงานในกำำ�กับั ของมหาวิทิ ยาลััยเมื่่�อวันั ที่่� 31 มีีนาคม พ.ศ. 2543 และได้้เปลี่ย� นชื่�อ่ จาก สถาบัันวิจิ ััย
ศิิลปวัฒั นธรรม เป็น็ สถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะ เพื่�่อให้เ้ หมาะสมกัับพัันธกิิจของสถาบัันฯ ตามประกาศสภามหาวิิทยาลัยั
ศรีนี ครินิ ทรวิโิ รฒ วันั ที่่� 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2547
ในปััจจุุบัันสถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะมุ่�งเน้้นการให้้บริิการวิิชาการในด้้านการทำำ�นุุบำ�ำ รุุงวััฒนธรรมและศิิลปะ
ในรููปแบบของการเผยแพร่่ผลงานวิิชาการในวารสารสถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะการนำ�ำ เสนอผลงานวิิชาการด้้านงาน
สร้า้ งสรรค์์ศิิลปะการแสดงร่ว่ มสมัยั ระดัับชาติิ โครงการวัันสำ�ำ คัญั ทางศาสนา โครงการวัันสำ�ำ คััญของพระมหากษัตั รย์์ และ
โครงการบริกิ ารวิชิ าการแก่ช่ ุมุ ชน อีีกทั้้�งสถาบัันฯ ยังั มีีการเก็บ็ รวมรวบและเผยแพร่ข่ ้อ้ มููลประวัตั ิิศาสตร์์ของมหาวิิทยาลัยั ผ่่าน
ทางนิิทรรศการการจััดโครงการกิิจกรรมทำ�ำ นุุบำ�ำ รุุงวััฒนธรรมและศิิลปะงานกฐิินพระราชทานและงานพิิธีีการของมหาวิิทยาลััย
รวมถึงึ การให้้บริิการพื้้�นที่่�สำำ�หรับั การจััดแสดงผลงานต่่างๆ และการเผยแพร่ใ่ นการให้้บริิการวิชิ าการด้า้ นวััฒนธรรมและศิิลปะ
องค์ร์ วมนี้้� อยู่่�ภายใต้ก้ ารดำ�ำ เนิินการของหน่่วยงานที่่�ชื่่�อว่่า “สถาบันั วัมั นธรรมและศิิลปะ”

พันั ธกิจิ
1.สร้้างเครืือข่่ายทางวััฒนธรรมและศิิลปะของหน่่วยงานภายในและหน่่วยงานภายนอกเพื่่�อส่่งเสริิมการมีีส่่วนร่่วมกัับ
กิิจกรรมด้า้ นการอนุุรัักษ์์ สืืบสาน และสร้า้ งสรรค์ว์ ััฒนธรรมและศิลิ ปะ
2.พััฒนาเทคโนโลยีสี ารสนเทศเพื่่�อการให้้บริิการแหล่่งเรียี นรู้้�พิพิ ิิธภัณั ฑ์ก์ ารศึกึ ษา และหอจดหมายเหตุขุ องมศว ใน
รููปแบบออนไลน์์ และพัฒั นาการให้บ้ ริกิ ารพื้้น� ที่่�เพื่่อ� จััดกิจิ กรรมด้้านการอนุรุ ัักษ์ ์ สืืบสาน และสร้้างสรรค์ว์ ััฒนธรรมในเชิิง
พาณิิชย์ ์
3.เผยแพร่อ่ งค์ค์ วามรู้�ด้า้ นวัฒั นธรรมและศิลิ ปะและการศึกึ ษาวิจิ ัยั เกี่ย� วกับั การบริหิ ารจัดั การทางวัฒั นธรรมและศิลิ ปะ
4. พัฒั นาคุุณภาพองค์ก์ ารและบุคุ ลากรตามหลัักธรรมาภิบิ าล

กลยุทุ ธ์์
1.สนัับสนุุนและจััดกระบวนการทํํางานให้้สอดคล้้องกัับแผนยุุทธศาสตร์์และพัันธกิิจหลัักของมหาวิิทยาลััยและมีีส่่วน
ร่่วมผลักั ดัันให้้แผนยุุทธศาสตร์ข์ องมหาวิิทยาลััยศรีีนครินิ ทรวิิโรฒบรรลุผุ ลสํําเร็็จอย่่างต่่อเนื่�่อง
2.จััดทํําแผนปฏิิบัตั ิิการเชิงิ รุุก ด้้านการสืืบสานและเผผแพร่่วัฒั นธรรมและศิิลปะ โดยสร้้างความร่ว่ มมืือและเชื่่อ� มโยง
กับั หน่ว่ ยงาภายในและหน่ว่ ยงานภายนอกมหาวิิทยาลััย
3.การจัดั กิิจกรรมด้้านการทํํานุุบํํารุุง ศาสนา วััฒนธรรมและศิลิ ปะของมหาวิทิ ยาลัยั เพื่�อ่ สร้า้ งความตระหนัักถึึงคุณุ ค่า่
ของศิิลปวััฒนธรรมในฐานะเครื่�่องมืือจรรโลงสัังคมให้้เกิดิ ความดีีงาม และเกิดิ องค์์ความรู้�การประสานความเข้้าใจของชุมุ ชนที่่�
มีคี วามหลากหลายทางวััฒนธรรม และตอบสนองนโยบายเรื่�่องมหาวิทิ ยาลััยรัับใช้ส้ ัังคม
4.เป็็นศููนย์์กลางในการเผยแพร่่วััฒนธรรมและศิิลปะของมหาวิิทยาลััยเพื่�่อให้้เป็็นที่่�ยอมรัับของประชาคม
มหาวิิทยาลัยั ศรีนี คริินทรวิิโรฒ
5.พััฒนาศัักยภาพบุุคลากรนัับเป็็นเป้้าหมายหนึ่่�งของสถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะเพื่่�อพััฒนาให้้บบุุคลากรมีีสมรรถนะ
ทางวิิชาชัพั และสามารถปฏิบิ ััติิงานได้้อย่า่ งมีปี ระสิิทธิภิ าพ ทั้้�งนี้้�เพื่่อ� รองรับั ให้เ้ กิดิ ความพร้้อมในการขับั เคลื่่อ� นยุทุ ธศาสตร์์ของ
มหาวิทิ ยาลัยั อย่า่ งมีปี ระสิทิ ธิผิ ล
6.ส่่งเสริิมให้้เกิิด“วััฒนธรรมแห่่งการเรีียนรู้้� สัังคมแห่่งภููมิิปััญญา” โดยการจััดการเรีียนรู้�ด้้านการบริิหารจััดการ
วัฒั นธรรมและศิลิ ปะ ส่่งเสริิมการพััฒนาคุณุ ภาพการเรีียนรู้� การใช้้เทคโนโลยีีสารสนเทศ วิิเคราะห์์ปัญั หาที่่เ� กิดิ จากการใช้้
นวััตกรรมเทคโนโลยีีและสารสนเทศ เพื่่อ� ให้บ้ ุุคลากรเป็น็ บุุคคลแห่ง่ การเรียี นรู้�อย่่างมืืออาชีีพ
7.ส่่งเสริิมการบริิหารจััดการแบบองค์์รวม คืือผลัักดััน 3 ภารกิิจสํําคััญ คืือ ให้้บริิการวััฒนธรรมและศิิลปะ
งานวิิชาการและวิจิ ััย และการบริิหารจััดการที่่เ� ป็็นเลิิศ

ผลงานของสถาบันั วัฒั นธรรมและศิลิ ปะ
มหาวิทิ ยาลััศรีนี ครินิ ทรวิโิ รฒ

โครงการแต่่งผ้า้ ไทยอย่่างไรให้ท้ ัันสมััย ครั้�งที่่� 6
ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2560

1.ชื่่�อโครงการ
โครงการแต่ง่ ผ้า้ ไทยอย่า่ งไรให้้ทัันสมััย ครั้ง� ที่่� 6
2.หน่่วยงานที่�ร่ ับั ผิดิ ชอบ สถาบันั วัฒั นธรรมและศิลิ ปะ มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒ
3.หลัักการและเหตุผุ ล
เพื่�อ่ สนัับสนุนุ แนวคิิดคณะรัฐั มนตรีเี รื่่�องการรณรงค์์ให้ข้ ้า้ ราชการ เจ้า้ หน้้าที่่�ของรััฐและประชาชนร่ว่ มกัันรณรงค์แ์ ต่ง่
ผ้้าไทย เพื่่�อสนัับสนุุนให้้เป็็นต้้นแบบในการแต่่งกายด้้วยผ้้าไทยกัันอย่่างกว้้างขวาง สถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะ ในฐานะ
หน่่วยงานที่่�มีีหน้้าที่่�ส่่งเสริิมทำำ�นุุบำำ�รุุงวััฒนธรรมและศิิลปะของชาติิ จึึงจััดโครงการแต่่งผ้้าไทยอย่่างไรให้้ทัันสมััยมาอย่่างต่่อ
เนื่�่อง 5 ครั้ง� และได้้รับั การตอบรัับจากบุคุ ลากรและภาคประชาชนเป็็นอย่่างดีี ซึ่่ง� รููปแบบโครงการเป็น็ ในลักั ษณะคลีนี ิิคให้ค้ ำ�ำ
ปรึึกษาและแนะนำ�ำ การตััดเย็บ็ เครื่่อ� งแต่ง่ กายผ้า้ ไทยในชีวี ิติ ประจำำ�วันั แก่่อาจารย์์ บุคุ ลากร นิิสิติ และผู้�สนใจทั่่ว� ไป โดย
วิทิ ยากรผู้�เชี่ย� วชาญการออกแบบผ้้าไทยเพื่่�อให้ร้ ูปู แบบการตัดั เย็็บทันั สมััยมากขึ้�น แต่่ยัังคงเชื่อ่� มโยงภููมิปิ ัญั ญา อัันทรงคุณุ ค่่า
ให้้สอดคล้้องไปกัับวิิถีชี ีีวิติ ปััจจุุบันั และส่่งผลให้เ้ อกลัักษณ์ค์ วามเป็น็ ไทยดำำ�รงอยู่�สืบไป และในปีีงบประมาณ 2560 นี้้� สถาบััน
ยัังคงมุ่�งมั่น� พัฒั นาโครงการ แต่่งผ้า้ ไทยอย่่างไรให้้ทัันสมััยในครั้�งที่่� 6 ในลัักษณะคลินิ ิกิ ให้้คำ�ำ ปรึกึ ษา และเพิ่่ม� นิิทรรศการแต่่งผ้้า
ไทยให้้ทัันสมัยั อีีกทั้้ง� การอำำ�นวยความสะดวกด้ว้ ยการเชิญิ ชวนผู้�ผลิิตผ้้าไทยได้้มาพบปะกับั ผู้้�ร่วมงาน อัันเป็น็ การส่่งเสริมิ วงจร
ภููมิิปัญั ญาผ้า้ ไทยและผู้�สืบทอดภููมิิปััญญาผ้า้ ไทย และยังั ช่่วยให้้การนำ�ำ ผ้้าเข้า้ รับั คำ�ำ ปรึึกษาเห็น็ ความชัดั เจน เป็น็ รููปแบบใน
การนำำ�ไปตััดเย็บ็ ให้้ทัันสมััยมากยิ่ง� ขึ้น�
4. วัตั ถุปุ ระสงค์์
4.1 เพื่่อ� รณรงค์ใ์ ห้้อาจารย์์ และบุุคลากร มศว สามารนำ�ำ ผ้้าไทยมาสร้้างสรรค์์ในการตัดั ชุดุ แต่่งกาย
4.2 เพื่่อ� เป็็นส่ว่ นหนึ่่�งในการอนุุรัักษ์์ศิิลปวััฒนธรรมของชาติผิ ่า่ นการแต่ง่ กายด้ว้ ยผ้้าไทย
5. ผู้�เข้้าร่่วมโครงการ
อาจารย์ ์ บุคุ ลากร นิิสิติ มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ และผู้�ผลิิตผ้า้ ไทย จำ�ำ นวน 350 คน

ภาพถ่า่ ยโครงการแต่่งผ้้าไทยอย่่างไรให้ท้ ันั สมััย ครั้ง� ที่�่ 6
วัันพฤหััสบดีีที่่� 2 มีีนาคม 2560

ณ โถงชั้้�น 1 อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒ

โครงการแต่่งผ้้าไทยอย่า่ งไรให้ท้ ัันสมััย ครั้�งที่่� 7
ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2561

1.ชื่่�อโครงการ
โครงการแต่่งผ้้าไทยอย่่างไรให้้ทัันสมััย ครั้ง� ที่่� 7
2.หน่่วยงานที่ร�่ ับั ผิิดชอบ สถาบันั วัฒั นธรรมและศิิลปะ มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒ
3. หลัักการและเหตุผุ ล
ภููมิิปััญญาการทอผ้้าเพื่�่อใช้้เองของชนชาติิไทยมีีคุุณค่่าได้้รัับการยอมรัับในระดัับโลกสมเด็็จพระนางเจ้้าสิิริิกิิติ์�
พระบรมราชิินีนี าถ ในรััชกาลที่่� 9 ทรงมีีพระมหากรุณุ าธิคิ ุณุ และพระราชภารกิิจในการอนุรุ ัักษ์ส์ ่ง่ เสริมิ และสืืบสานงานการทอ
ผ้้าให้้เป็็นอาชีพี ของคนไทย เพื่่�อร่่วมกันั ช่่วยเหลืือและส่่งเสริิมให้้ราษฎรมีีรายได้เ้ พิ่่ม� ขึ้�น พระวิริ ิยิ ะอุตุ สาหะของสมเด็จ็ พระนาง
เจ้า้ สิิริิกิติิ์ � พระบรมราชิินีนี าถ ในรััชกาลที่่� 9 ที่่ท� รงสนัับสนุนุ อนุุรัักษ์ส์ ่่งเสริมิ และเผยแพร่่ภูมู ิปิ ัญั ญาด้้านหม่อ่ นไหมไทย ไม่เ่ ป็็น
เพียี งเป็น็ ที่่ร� ับั รู้�แต่ใ่ นประเทศไทยเท่า่ นั้้น� คณะกรรมาธิกิ ารหม่อ่ นไหมระหว่า่ งประเทศ International Sericulture Commission
และ (ISC) ซึ่ง�่ เป็น็ องค์ก์ รเกี่ย� วกับั การพััฒนาหม่อ่ นไหมระดัับโลกได้ต้ ระหนักั อย่า่ งลึกึ ซึ้ง� ว่่า สมเด็จ็ พระนางเจ้า้ สิิริกิ ิิติ์� พระบรม
ราชินิ ีนี าถ ในรััชกาลที่่� 9 ทรงเป็น็ ผู้�ที่�มีีบทบาทสำ�ำ คัญั ต่่อวงการหม่่อนไหมไทย ซึ่�ง่ ที่่ผ� ่่านมาได้้ทรงส่ง่ เสริิมและสนับั สนุนุ ให้้
เกษตรกรมีอี าชีพี ปลููกหม่่อนเลี้�ยงไหม ตลอดจนส่่งเสริมิ การทอผ้้าไหมลายต่า่ งๆ รวมถึึงทรงเป็น็ ผู้้�นำำ� เสนอเอกลัักษณ์ข์ องผ้า้
ไหมไทย โดยฉลองพระองค์์ของสมเด็็จพระนางเจ้า้ ฯ ล้้วนผลิิตมาจากผ้้าไหมทั้้�งสิ้�น ทางคณะกรรมาธิกิ ารหม่่อนไหมระหว่่าง
ประเทศ จึึงได้้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญุ าติิทููลเกล้า้ ฯ ถวายรางวัลั หลุุยส์์ปาสเตอร์แ์ ด่ส่ มเด็็จพระนางเจ้้าฯพระบรม
ราชินิ ีนี าถในปีี 2545 เพื่่�อระลึึกถึึงพระมหากรุุณาธิคิ ุุณ ต่่อการอนุรุ ักั ษ์์อาชีพี การปลููกหม่อ่ นเลี้ย� งไหมของไทย จนทำำ�ให้้ผ้้าไหม
ไทยมีชี ื่�่อเสีียงไปทั่่ว� โลก สถาบันั วััฒนธรรมและศิลิ ปะ มหาวิทิ ยาลััยศรีนี คริินทรวิิโรฒจึึงเห็็นควรส่ง่ เสริมิ กิิจกรรม เพื่อ่� สนัับสนุนุ
การแต่ง่ กายด้ว้ ยผ้า้ ไทยให้ก้ ว้า้ งขวางอย่่างถููกต้้องและถููกกาละเทศะ
สถาบัันวัฒั นธรรมและศิิลปะจััดโครงการแต่ง่ ผ้า้ ไทยอย่่างไรให้ท้ ันั สมััยมาอย่่างต่อ่ เนื่อ่� ง 6 ครั้ง� เชิิญชวนผู้�ผลิติ ผ้้าไทย
ได้้มาพบปะกัับผู้้�ร่วมงาน อันั เป็็นการส่่งเสริิมวงจรภููมิิปัญั ญาผ้า้ ไทยและผู้�สืบทอดภููมิปิ ััญญาผ้้าไทยและยัังมอบความรู้�ด้ว้ ยการ
จััดให้้มีีการนำำ�ผ้้าเข้้ารัับคำ�ำ ปรึึกษากัับวิิทยากรผู้�เชี่�ยวชาญการออกแบบและตััดเย็็บทำ�ำ ให้้ผู้�เข้้าร่่วมโครงการเห็็นความชััดเจนการ
ตััดเย็็บผ้า้ ไทยให้ท้ ัันสมัยั มากยิ่ง� ขึ้น� ซึ่ง่� ได้้รัับการตอบรับั อย่่างดีีมากจากผู้�เข้้าร่ว่ มโครงการและประชาชนทั่่ว� ไป จึึงยัังคงกิจิ กรรม
ดังั กล่่าวไว้้ และเพิ่่ม� เติิมการสร้า้ งกิิจกรรมที่่�จะนำ�ำ ผ้้าทอภููมิิปััญญาไทยผลผลิิตจากช่า่ งหัตั ถกรรมของศิิลปาชีพี ให้เ้ ป็็นที่่ร�ู้�จักและ
เป็็นงานที่่�ประชาชนและผู้ �เข้้าร่่วมโครงการจะมีีโอกาสได้้สนัับสนุุนช่่างหััถกรรมไทยสนองพระมหากรุุณาธิิคุุณของสมเด็็จ
พระนางเจ้้าสิริ ิิกิติิ์� พระบรมราชิินีีนาถ ในรัชั กาลที่่� 9
4. วััตถุปุ ระสงค์์
4.1 เพื่่�อรณรงค์์ให้อ้ าจารย์์ และบุคุ ลากร มศว สามารนำ�ำ ผ้้าไทยมาสร้า้ งสรรค์์ในการตัดั ชุดุ แต่่งกาย
4.2 เพื่่�อปลููกฝังั การมีจี ิิตสำ�ำ นึึกและความเข้้าใจในเรื่�อ่ งวััฒนธรรมและศิลิ ปะ
5. ผู้�เข้้าร่่วมโครงการ
อาจารย์์ บุคุ ลากร นิิสิติ มหาวิทิ ยาลััยศรีีนคริินทรวิโิ รฒ และผู้�ผลิิตผ้้าไทย จำำ�นวน 438 คน

ภาพถ่่ายโครงการแต่่งผ้า้ ไทยอย่า่ งไรให้ท้ ัันสมัยั ครั้ง� ที่่� 7
วัันพฤหััสบดีีที่�่ 5 เมษายน 2561

ณ โถงชั้้น� 1 อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒ

โครงการแต่ง่ ผ้้าไทยอย่า่ งไรให้ท้ ัันสมัยั ครั้�งที่�่ 8
ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ 2562

1.ชื่่อ� โครงการ
โครงการแต่่งผ้้าไทยอย่า่ งไรให้้ทัันสมัยั ครั้�งที่่� 8
2.หน่่วยงานที่�่รับั ผิดิ ชอบ สถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะ มหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ
3. หลัักการและเหตุุผล
ภูมู ิิปััญญาการทอผ้า้ เพื่�่อใช้เ้ องของชนชาติไิ ทยมีคี ุณุ ค่่าได้้รับั การยอมรัับในระดัับโลกสมเด็พ็ ระนางเจ้า้ สิิริกิ ิิติ์� พระบรม
ราชินิ ีนี าถ ในรััชกาลที่่� 9 ทรงมีีพระมหากรุุณาธิิคุณุ และพระราชภารกิิจในการอนุรุ ักั ษ์ส์ ่ง่ เสริิมและสืืบสานงานการทอผ้้าให้เ้ ป็น็
อาชีพี ของคนไทย เพื่่อ� ร่ว่ มกันั ช่่วยเหลืือและส่่งเสริมิ ให้้ราษฎรมีีรายได้้เพิ่่�มขึ้น� พระวิิริยิ ะอุตุ สาหะของสมเด็จ็ พระนางเจ้้าสิิริกิ ิิติ์�
พระบรมราชิินีนี าถ ในรัชั กาลที่่� 9 ที่่�ทรงสนัับสนุุน อนุรุ ักั ษ์ส์ ่่งเสริิมและเผยแพร่ภ่ ูมู ิิปััญญาด้้านหม่อ่ นไหมไทย ไม่เ่ ป็น็ เพีียงเป็น็
ที่่�รัับรู้�แต่ใ่ นประเทศไทยเท่่านั้้�น คณะกรรมาธิิการหม่อ่ นไหมระหว่า่ งประเทศ International Sericulture Commission และ

(ISC) ซึ่่ง� เป็น็ องค์ก์ รเกี่�ยวกับั การพััฒนาหม่่อนไหมระดัับโลกได้ต้ ระหนักั อย่า่ งลึกึ ซึ้ง� ว่่า สมเด็็จพระนางเจ้า้ สิริ ิกิ ิิติ์ � พระบรม
ราชินิ ีีนาถ ในรัชั กาลที่่� 9 ทรงเป็็นผู้�ที่ม� ีบี ทบาทสำ�ำ คััญต่อ่ วงการหม่อ่ นไหมไทย ซึ่�่งที่่�ผ่่านมาได้ท้ รงส่ง่ เสริิมและสนัับสนุุนให้้
เกษตรกรมีอี าชีีพปลูกู หม่่อนเลี้ย� งไหม ตลอดจนส่ง่ เสริมิ การทอผ้า้ ไหมลายต่่างๆ รวมถึึงทรงเป็็นผู้้�นำำ� เสนอเอกลักั ษณ์์ของผ้า้
ไหมไทย โดยฉลองพระองค์ข์ องสมเด็จ็ พระนางเจ้้าฯ ล้้วนผลิิตมาจากผ้้าไหมทั้้�งสิ้�น ทางคณะกรรมาธิกิ ารหม่อ่ นไหมระหว่่าง
ประเทศ จึึงได้้ขอพระราชทานพระบรมราชานุุญาติิทููลเกล้้าฯ ถวายรางวัลั หลุุยส์์ปาสเตอร์แ์ ด่่สมเด็จ็ พระนางเจ้า้ ฯพระบรม
ราชินิ ีีนาถในปีี 2545 เพื่�อ่ ระลึกึ ถึึงพระมหากรุุณาธิคิ ุณุ ต่อ่ การอนุรุ ักั ษ์์อาชีพี การปลููกหม่่อนเลี้ย� งไหมของไทย จนทำำ�ให้้ผ้้าไหม
ไทยมีีชื่อ�่ เสีียงไปทั่่ว� โลก สถาบันั วััฒนธรรมและศิิลปะ มหาวิทิ ยาลัยั ศรีนี ครินิ ทรวิโิ รฒจึงึ เห็็นควรส่่งเสริิมกิิจกรรม เพื่�อ่ สนัับสนุุน
การแต่่งกายด้้วยผ้า้ ไทยให้ก้ ว้้างขวางอย่่างถููกต้อ้ งและถููกกาละเทศะ
สถาบันั วััฒนธรรมและศิลิ ปะจััดโครงการแต่ง่ ผ้้าไทยอย่่างไรให้ท้ ัันสมัยั มาอย่่างต่่อเนื่อ�่ ง 7 ครั้ง� เชิญิ ชวนผู้�ผลิติ ผ้้าไทย
ได้้มาพบปะกัับผู้้�ร่วมงาน อันั เป็น็ การส่ง่ เสริมิ วงจรภูมู ิปิ ัญั ญาผ้า้ ไทยและผู้�สืบทอดภููมิปิ ััญญ ผ้้าไทย และยังั มอบความรู้�ด้ว้ ยการ
จััดให้้มีีการนำ�ำ ผ้้าเข้้ารัับคำำ�ปรึึกษากัับวิิทยากรผู้�เชี่�ยวชาญการออกแบบและตััดเย็็บทำำ�ให้้ผู้�เข้้าร่่วมโครงการเห็็นความชััดเจนการ
ตััดเย็็บผ้้าไทยให้ท้ ัันสมััยมากยิ่�งขึ้น� ซึ่ง่� ได้ร้ ัับการตอบรับั อย่่างดีีมากจากผู้�เข้้าร่ว่ มโครงการและประชาชนทั่่ว� ไป จึงึ ยังั คงกิิจกรรม
ดังั กล่า่ วไว้้ และเพิ่่�มเติมิ การสร้า้ งกิิจกรรม ที่่�จะนำ�ำ ผ้า้ ทอภููมิปิ ััญญาไทยผลผลิิตจากช่่างหัตั ถกรรมของศิลิ ปาชีพี ให้เ้ ป็็นที่่�รู้�จัก
และเป็็นงานที่่�ประชาชนและผู้ �เข้้าร่่วมโครงการจะมีีโอกาสได้้สนัับสนุุนช่่างหััตถกรรมไทยสนองพระมหากรุุณาธิิคุุณของสมเด็็จ
พระนางเจ้า้ สิิริิกิิติ์� พระบรมราชิินีนี าถ ในรัชั กาลที่่� 9
4. วัตั ถุุประสงค์์
4.1 เพื่่อ� รณรงค์์ให้้อาจารย์์ และบุุคลากร มศว สามารนำ�ำ ผ้า้ ไทยมาสร้า้ งสรรค์ใ์ นการตัดั ชุดุ แต่ง่ กาย
4.2 เพื่่อ� ปลููกฝังั การมีจี ิิตสำ�ำ นึึกและความเข้้าใจในเรื่�อ่ งวัฒั นธรรมและศิิลปะ
5. ผู้�เข้า้ ร่่วมโครงการ
อาจารย์ ์ บุคุ ลากร นิสิ ิิตมหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒ และผู้�ผลิิตผ้า้ ไทย จำำ�นวน 553 คน

ภาพถ่่ายโครงการแต่ง่ ผ้า้ ไทยอย่า่ งไรให้ท้ ัันสมััย ครั้ง� ที่่� 8
วัันพฤหัสั บดีีที่�่ 21 – วัันพฤหัสั บดีีที่�่ 28 กุมุ ภาพันั ธ์์ พ.ศ. 2562
ณ โถงชั้้�น 1 อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒ

โครงการแต่ง่ ผ้า้ ไทยอย่า่ งไรให้ท้ ันั สมััย ครั้�งที่�่ 9
ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ 2563

1.ชื่่�อโครงการ
โครงการแต่ง่ ผ้า้ ไทยอย่่างไรให้้ทัันสมััย ครั้�งที่่� 9
2.หน่ว่ ยงานที่่ร� ับั ผิิดชอบ สถาบันั วัฒั นธรรมและศิิลปะ มหาวิิทยาลััยศรีนี ครินิ ทรวิิโรฒ
3. หลัักการและเหตุผุ ล
พระบาทสมเด็็จพระปรเมนทรรามาธิบิ ดีีศรีีสินิ ทรมหาวชิริ าลงกรณ พระวชิิรเกล้้าเจ้า้ อยู่่�หัวั ทรงมีพี ระราชปณิธิ านที่่�
จะสืืบสาน รักั ษา และต่่อยอด การส่ง่ เสริิมความเป็น็ ไทยและเผยแพร่ค่ วามงดงามของความเป็็นไทย จึึงได้้ทรงพระกรุุณาโปรด
เกล้า้ โปรดกระหม่่อม ให้ห้ น่่วยงานในพระองค์ฯ์ ร่ว่ มกับั หน่ว่ ยงานทั้้�งภาครััฐและเอกชน ในการจัดั งานอุ่�นไอรััก คลายความ
หนาว มีีการแต่ง่ กายด้ว้ ยชุุดผ้้าไทย ซึ่่ง� เป็็นการช่่วยผลักั ดัันวิิสาหกิิจชุุมชมเรื่่�องผ้้าไทย เพื่อ�่ สนัับสนุนุ เรื่อ่� งการแต่่งกายผ้้าไทย
รัฐั บาลได้จ้ ััดการรณรงค์ใ์ ห้้ข้า้ ราชการเจ้า้ หน้า้ ที่่ข� องรัฐั และประชาชนร่ว่ มกัันแต่่งกายผ้้าไทย เพื่อ�่ ให้้เป็น็ ต้้นแบบในการแต่่ง
กายด้้วยผ้้าไทยกัันอย่่างกว้้างขวางเป็็นการสืืบสาน รัักษา ต่่อยอด และส่่งเสริิมอาชีีพการทอผ้้าของคนไทย สนัับสนุุนผู้�
ประกอบการผ้้าไทย มรดกภููมิปิ ัญั ญาพื้้�นบ้้านของคนไทย
สถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะมหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒในฐานะเป็็นมหาวิิทยาลััยรัับใช้้สัังคมจึึงเห็็นความสำ�ำ คััญ
ในการส่่งเสริมิ สนัับสนุนุ การแต่ง่ กายด้้วยผ้้าไทย จึงึ มีนี โยบายให้้ อาจารย์์ บุุคลากรแต่่งกายผ้า้ ไทยทุกุ วัันศุุกร์์และวันั สำำ�คัญั
ต่่างๆ สถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะ มหาวิิทยาลััยศรีนี ครินิ ทรวิิโรฒ เป็็นหน่่วยงานกลางที่่�ทำำ�หน้้าที่่ด� ำ�ำ เนินิ การสืืบสาน
สร้า้ งสรรค์์ พัฒั นางานวิชิ าการ เป็น็ ศูนู ย์์กลางการเรีียนรู้�ด้า้ นวัฒั นธรรมและศิลิ ปะ และขัับเคลื่่อ� นยุุทธศาสตร์์การทำ�ำ นุุบำ�ำ รุุง
วัฒั นธรรมและศิิลปะอัันเป็็นหนึ่่�งในยุทุ ธศาสตร์์หลัักของมหาวิิทยาลัยั จึงึ ได้้จััดโครงการแต่่งผ้า้ ไทยอย่่างไรให้้ทันั สมััยมาอย่า่ ง
ต่่อเนื่่�อง 8 ครั้�ง เพื่�อ่ ส่ง่ เสริิมความรู้�ความเข้า้ ใจในการใช้้ผ้้าไทยให้้ถููกต้้องกว้้างขวางและยกระดัับสู่�สากล โดยได้จ้ ััดโครงการแต่ง่
ผ้า้ ไทยอย่่างไรให้้ทัันสมัยั ครั้�งที่่� 9 เพื่�อ่ เผยแพร่่องค์ค์ วามรู้�เรื่่�องผ้า้ ไทยแก่น่ ิสิ ิิต อาจารย์์ บุคุ ลากรในมหาวิิทยาลััยรวมทั้้ง� บุุคคล
ภายนอกที่่�สนใจภายในนิิทรรศการมีีการออกแบบและตััดเย็็บชุุดผ้้าไทยทั้้�งชายและหญิิงเพื่่�อให้้เป็็นต้้นแบบในการแต่่งกายด้้วย
ผ้้าไทยที่่�มีีการบููรณาการกับั รายวิิชา อบศ 225 โครงสร้า้ งเครื่�อ่ งแต่่งกายพื้้�นฐาน : การเดรป VSD 225 Basic Garment Cons-
structions : Draping คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ เพื่อ�่ ร่่วมในการจัดั นิิทรรศการผ้้าไทยร่่วมสมััยและเป็็น การสนับั สนุนุ วิสิ าหกิิจชุุม
ชมเรื่อ�่ งผ้า้ ไทยและตอบสนองนโยบายของรัฐั บาล
4. วััตถุุประสงค์์
4.1 เพื่�อ่ ส่่งเสริมิ ให้อ้ าจารย์ ์ บุคุ ลากร นิสิ ิิต นัักเรีียนและบุคุ คลทั่่ว� ไป มีีส่ว่ นร่่วมส่ง่ เสริิมกิิจกรรมและสนับั สนุนุ การแต่่ง
กายด้้วยผ้า้ ไทยให้ก้ ว้า้ งขวาง รวมถึึงได้้รับั องค์ค์ วามรู้�เกี่ย� วกับั ผ้้าไทยอย่่างถูกู ต้้อง
4.2 เพื่่อ� ส่ง่ เสริมิ จิติ สำำ�นึึกในการอนุุรัักษ์์สืืบสานวัฒั นธรรมการแต่่งกายด้ว้ ยผ้้าไทยและสนับั สนุนุ ช่่างหััตถกรรมไทย
4.3 เพื่่�อส่่งเสริิมการแลกเปลี่ย� นเรียี นรู้�การสร้า้ งสรรค์ว์ ััฒนธรรมการแต่ง่ กายด้ว้ ยผ้้าไทยเพื่�่อเชื่่�อมโยงความสัมั พัันธ์ก์ ับั
ต่า่ งประเทศ
4.4 เพื่่�อดำำ�เนิินงานตามแผนยุุทธศาสตร์์ของมหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒ ประเด็็นยุุทธศาสตร์์ที่่� 4 สืืบสานและ
สร้า้ งองค์์ความรู้�ในการทำำ�นุบุ ำ�ำ รุงุ วััฒนธรรมและศิลิ ปะ ตามแผนปฏิบิ ััติกิ ารมหาวิิทยาลััย SSAP3-07
5. ผู้�เข้า้ ร่่วมโครงการ
คณาจารย์ ์ บุุคลากร นิิสิิต และบุุคคลทั่่�วไปที่่ส� นใจ จำ�ำ นวน 624 คน

ภาพถ่่ายโครงการแต่ง่ ผ้า้ ไทยอย่า่ งไรให้ท้ ันั สมััย ครั้ง� ที่�่ 9
วันั ศุกุ ร์ท์ ี่่� 14 – วันั ศุุกร์ท์ ี่่� 28 สิงิ หาคม พ.ศ. 2563

ณ g23 ชั้้น� 2 อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒ

โครงการแต่ง่ ผ้้าไทยอย่า่ งไรให้ท้ ันั สมััย ครั้�งที่่� 10
ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2564

1.ชื่่อ� โครงการ
โครงการแต่่งผ้า้ ไทยอย่า่ งไรให้้ทันั สมัยั ครั้�งที่่� 10
2.หน่่วยงานที่ร�่ ับั ผิดิ ชอบ สถาบันั วัฒั นธรรมและศิิลปะ มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิิโรฒ
3. หลัักการและเหตุผุ ล
สมเด็็จพระเจ้า้ ลููกเธอ เจ้้าฟ้า้ สิิริวิ ัณั ณวรีี นารีรี ััตนราชกััญญา ทรงมีพี ระทััยตั้ง� มั่น� ในการสืืบสาน รัักษา และต่อ่ ยอดพระราช
ปณิธิ านสมเด็็จพระนางเจ้้าสิริ ิิกิติิ์� พระบรมราชินิ ีีนาถ พระบรมราชชนนีพี ันั ปีหี ลวงที่่�ทรงปฏิิบัตั ิิ พระราชกรณียี กิิจด้า้ นการช่่วย
เหลืือประชาชนให้้มีรี ายได้อ้ ย่่างยั่�งยืืนโดยการจัดั ตั้้ง� โครงการศิิลปาชีพี ฯ ทรงเป็็นองค์์อุปุ ถััมภ์์และมุ่�งมั่น� พััฒนาคุณุ ภาพของผ้้า
ท้อ้ งถิ่น� นำำ�ไปสู่�การต่่อยอดพัฒั นาลายผ้า้ พระราชทาน เพื่่อ� ยกระดัับฝีมี ืือและยกระดับั คุุณภาพชีวี ิติ ของช่่างผู้�สร้้างสรรค์์ การที่่�
พระองค์์ทรงพระราชทานองค์์ความรู้� สนัับสนุุนและเป็น็ ผู้�สร้้างแรงบัันดาลใจ ส่่งผลให้ผ้ ้า้ ไทยในปัจั จุุบัันมีีมูลู ค่่าทางการตลาด
สููงขึ้�น จึงึ กล่า่ วได้ว้ ่า่ ทรงมีีพระมหากรุุณาธิิคุณุ ณานัับปการในด้้านอนุรุ ักั ษ์ภ์ ูมู ิปิ ัญั ญา และมรดกทางวัฒั นธรรมอันั ล้ำ�ำ� ค่า่ ของคน
ไทยให้ค้ งอยู่่�
ด้้วยความล้ำำ�� ค่่าของมรดกทางวัฒั นธรรมของผ้้าไทย ผ้า้ ไทยจึึงได้้รัับการสนัับสนุุนจากภาครััฐในการกำ�ำ หนดมาตรการ
ส่ง่ เสริมิ การผลิิตและการใช้ผ้ ้้าไทยตลอดมา ทั้้�งทางด้้านการจัดั จำ�ำ หน่า่ ยภายในประเทศรวมถึงึ ผลัักดัันให้เ้ ป็น็ สินิ ค้้าส่ง่ ออกที่่�มีี
คุุณภาพดีีและมีชี ื่อ่� เสีียงในระดับั นานาชาติ ิ อีกี ทั้้ง� ลวดลายของผ้้าได้ม้ ีีวััฒนาการมาอย่า่ งต่อ่ เนื่อ�่ งและมีคี วามร่ว่ มสมััยมากขึ้�น
แต่ด่ ้้วยภาพจำำ�ที่่ค� นรุ่�นใหม่ม่ ัักจะเข้้าใจว่่าผ้า้ ไทยนั้้น� เหมาะสมสำ�ำ หรับั ผู้้�สูงู อายุุเท่่านั้้�น อีกี ทั้้ง� ปััจจััยสำำ�คััญก็ค็ ืือราคาที่่�ค่่อนข้า้ งสููง
ทำำ�ให้้ความนิิยมในคนกลุ่�มนี้้ย� ังั ไม่แ่ พร่่หลายเท่่าที่่ค� วร
มหาวิทิ ยาลััยศรีนี ครินิ ทรวิโิ รฒ ในฐานะเป็็นมหาวิทิ ยาลััยรัับใช้้สังั คมและมีภี ารกิจิ หลักั ทางด้า้ นการทำ�ำ นุุบำ�ำ รุุงศิลิ ป
วััฒนธรรม จึึงตระหนักั ถึึงการอนุุรัักษ์์ผ้้าไทยในฐานะที่่เ� ป็น็ มรดกทางภูมู ิปิ ััญญาของชาติิ และ ร่่วมเป็น็ ส่่วนหนึ่่ง� ในการส่ง่ เสริิม
สนับั สนุนุ การแต่ง่ กายด้ว้ ยผ้า้ ไทย จึงึ มีนี โยบายให้ผู้้�บริหิ าร อาจารย์แ์ ละบุคุ ลากร แต่ง่ กายผ้า้ ไทยทุกุ วันั ศุกุ ร์์ และวันั สำ�ำ คัญั ต่า่ งๆ
สถาบัันวัฒั นธรรมและศิิลปะ เป็็นหน่่วยงานกลางของมหาวิิทยาลััยศรีนี ครินิ ทรวิิโรฒ มีีภารกิจิ ในการดำำ�เนินิ การ
สืืบสาน ต่อ่ ยอด และเป็็นศูนู ย์์กลางการเรีียนรู้�ด้้านวัฒั นธรรมและศิลิ ปะ และได้้ดำำ�เนิินการจัดั โครงการแต่่งผ้้าไทยอย่า่ งไรให้้
ทันั สมััยมาอย่่างต่่อเนื่�อ่ ง เพื่่�อส่่งเสริิมความรู้�ความเข้้าใจในการใช้้ผ้า้ ไทยให้้ถููกต้้อง ทัันสมััย กว้้างขวาง และยกระดับั สู่�สากล จึงึ
ได้ก้ ำำ�หนดจััดโครงการแต่่งผ้า้ ไทยอย่า่ งไรให้้ทันั สมััย ครั้ง� ที่่� 10 “ใส่ผ่ ้า้ ไทยให้เ้ ป็็นเทรนด์์ Get trendy with Thai textile” ขึ้้น�
ในวันั จันั ทร์์ ที่่� 9 – วันั ศุกุ ร์์ ที่่� 13 สิงิ หาคม 2564 เพื่่�อส่่งเสริมิ การนำ�ำ ผ้า้ ไทยและลายผ้้าพระราชทานที่่ไ� ด้ร้ ับั การพััฒนา มานำำ�
เสนอและประชาสัมั พันั ธ์์ให้เ้ ป็น็ ที่่ร�ู้�จักอย่า่ งแพร่่หลาย โดยการขัับเคลื่อ่� นและบููรณาการองค์ค์ วามรู้�ร่วมกัับผู้�เชี่�ยวชาญด้า้ นการ
ออกแบบเครื่�อ่ งแต่่งกายจากผ้า้ ไทย เพื่อ�่ ให้้ผู้�เข้า้ ร่่วมโครงการสามารถนำ�ำ องค์์ความรู้�ที่ไ� ด้้รัับมาประยุุกต์ใ์ ช้ก้ ัับการสวมใส่ผ่ ้า้ ไทย
ในชีวี ิิตประจำำ�วันั ได้อ้ ย่่างเหมาะสม สวยงาม และนำ�ำ ไปสู่�การอนุรุ ักั ษ์ม์ รดกภูมู ิปิ ััญญาด้้านงานหัตั ถกรรมผ้้าไทยให้ด้ ำำ�เนินิ ควบคู่�
ไปกับั สัังคมในบริบิ ทร่่วมสมัยั ได้้อย่่างยั่�งยืืน
4. วััตถุปุ ระสงค์์
4.1 เพื่�อ่ ส่่งเสริมิ ให้อ้ าจารย์์ บุุคลากร นิสิ ิิต นัักเรียี นและบุุคคลทั่่ว� ไป มีีส่่วนร่่วมส่่งเสริมิ กิจิ กรรมและสนับั สนุุนการแต่่ง
กายด้ว้ ยผ้า้ ไทยให้้กว้้างขวาง รวมถึงึ ได้้รับั องค์์ความรู้�เกี่�ยวกับั ผ้า้ ไทยอย่่างถูกู ต้อ้ ง
4.2 เพื่่�อส่่งเสริมิ จิติ สำำ�นึึกในการอนุุรัักษ์์สืืบสานวััฒนธรรมการแต่ง่ กายด้ว้ ยผ้้าไทยและสนัับสนุุนช่่างหัตั ถกรรมไทย
4.3 เพื่อ่� ส่่งเสริิมการแลกเปลี่ย� นเรียี นรู้�การสร้้างสรรค์ว์ ััฒนธรรมการแต่ง่ กายด้ว้ ยผ้า้ ไทยเพื่่�อเชื่่อ� มโยงความสัมั พันั ธ์์กัับ
ต่่างประเทศ

4.4 เพื่อ�่ ดำ�ำ เนิินงานตามแผนยุทุ ธศาสตร์ข์ องมหาวิทิ ยาลััยศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ ประเด็็นยุุทธศาสตร์์ที่่� 4 สืืบสานและสร้า้ ง
องค์ค์ วามรู้�ในการทำำ�นุบุ ำำ�รุุงวัฒั นธรรมและศิลิ ปะ ตามแผนปฏิิบััติิการมหาวิิทยาลัยั SSAP3-07
5. ผู้�เข้า้ ร่่วมโครงการ
คณาจารย์ ์ บุุคลากร นิิสิติ และบุุคคลทั่่�วไปที่่ส� นใจ จำ�ำ นวน 1115 คน

ภาพถ่่ายโครงการแต่่งผ้า้ ไทยอย่่างไรให้ท้ ัันสมััย ครั้�งที่่� 10
วันั จันั ทร์์ ที่่� 9 – วัันศุกุ ร์์ ที่่� 13 สิงิ หาคม 2564
ในรูปู แบบออนไลน์์

โครงการแต่ง่ ผ้า้ ไทยอย่่างไรให้ท้ ัันสมัยั ครั้ง� ที่�่ 11
ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ 2565

1. ชื่่อ� โครงการ
โครงการแต่่งผ้า้ ไทยอย่่างไรให้้ทันั สมัยั ครั้�งที่่� 11 “พััฒนาและยกระดับั ผลิติ ภัณั ฑ์ผ์ ้า้ ไทย”
กิจิ กรรมที่่� 1 : อบรมเชิงิ ปฏิิบััติิการ เรื่�่อง “การพััฒนาผลิิตภัณั ฑ์ผ์ ้า้ ทอไทยพวนจากภูมู ิปิ ััญญาท้้องถิ่�น”

2. หน่่วยงานที่ร่� ัับผิิดชอบ สถาบัันวััฒนธรรมและศิลิ ปะ มหาวิิทยาลัยั ศรีีนคริินทรวิิโรฒ

3. หลัักการและเหตุุผล
จากแรงบันั ดาลใจของสมเด็จ็ พระเจ้า้ ลูกู เธอ เจ้า้ ฟ้า้ สิริ ิวิ ัณั ณวรีี นารีรี ัตั นราชกัญั ญา ที่่ท� รงมีพี ระทัยั ตั้ง� มั่น� ในการสืืบสาน
รัักษา และต่อ่ ยอดพระราชปณิิธานสมเด็็จพระนางเจ้า้ สิริ ิิกิติิ์� พระบรมราชิินีีนาถพระบรมราชชนนีีพัันปีีหลวง ที่่�ทรงปฏิบิ ััติิพระ
ราชกรณียี กิิจด้้านการช่่วยเหลืือราษฏรให้้มีีรายได้้อย่่างยั่ง� ยืืน โดยผ่่านโครงการ ศิิลปาชีพี ฯ และเป็็นองค์์อุุปถััมภ์์แห่ง่ ศิลิ ปา
ชีพี ฯ เพื่อ�่ สืืบสานอนุรุ ักั ษ์ม์ รดกทางวัฒั นธรรมภููมิปิ ััญญาของคนไทย โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งด้า้ นการพัฒั นาผ้า้ ไทยให้เ้ กิดิ คุณุ ค่่า
และมููลค่่าที่่เ� ป็็นรูปู ธรรม จนสามารถสร้า้ งคุุณภาพชีีวิติ ที่่�ดีีขึ้น� ให้้กับั พสกนิิกรชาวไทยได้ ้ พระองค์์จึึงต่อ่ ยอดการพััฒนาลายผ้า้
พระราชทาน ด้้วยการทรงศึึกษาหาความรู้� และมุ่�งมั่�นพััฒนาคุุณภาพของผ้า้ ท้้องถิ่�นด้้วยความวิิริิยะอุตุ สาหะ เพื่่�อให้ช้ ีวี ิติ ของ
ปวงประชามีคี ุุณภาพชีวี ิิตที่่ด� ีขีึ้น� นอกจากนี้้ � ยังั ทรงเป็็นผู้�สร้า้ งแรงบันั ดาลใจ และแบ่ง่ ปันั องค์ค์ วามรู้�ให้แ้ ก่่วงการผ้้าไทยใน
ปัจั จุบุ ัันให้้มีคี วามตระหนักั และกระตุ้�นให้้เกิิดภาพลัักษณ์ท์ ี่่�มีีความทัันสมัยั แก่ว่ งการผ้้าไทยมากยิ่�งขึ้�น
ปัจั จุุบันั ลายผ้า้ พระราชทานของสมเด็็จพระเจ้้าลูกู เธอ เจ้้าฟ้า้ สิริ ิวิ ััณณวรีี นารีรี ััตนราชกััญญา ที่่ไ� ด้้รับั ความนิยิ มแพร่่
หลาย ได้้แก่ ่ ผ้า้ ลายขอ โดยพระราชทานชื่่�อว่า่ “ผ้า้ มัดั หมี่�ลายขอสิิริวิ ัณั ณวรีีฯ” ที่่ท� ุุกลวดลายเปี่่ย� มไปด้้วยความหมาย อาทิิ
ลาย “S” หมายถึึง “SIRIVANAVARI” สมเด็็จพระเจ้า้ ลูกู เธอ เจ้้าฟ้้าสิริ ิวิ ัณั ณวรีี นารีรี ััตนราชกััญญา ลาย “S” จำ�ำ นวน 10 แถว
หมายถึึง พระบามสมเด็็จพระวชิริ เกล้า้ เจ้า้ อยู่่�หััว รััชกาลที่่� 10 ลายเชิงิ ผ้้ารููปหัวั ใจ เรีียกว่่า ETERNAL LOVE หมายถึึงความรััก
ที่่พ� ระองค์ท์ รงมีตี ่อ่ ประชาชนชาวไทยทุุกคนนอกจากนี้้พ� ระองค์ย์ ังั พระราชทานพระอนุญุ าตให้้กลุ่�มทอผ้้าต่่างๆ นำำ�ไปเป็็นต้้น
แบบพััฒนาต่่อยอดไปสู่�เครื่�อ่ งแต่ง่ กาย เครื่อ่� งประดับั ตามวิถิ ีเี อกลัักษณ์ป์ ระจำ�ำ ถิ่่น� โดยเน้น้ การใช้ส้ ีีธรรมชาติิเพื่่�อให้้รายได้้กลับั
สู่่�ชุมุ ชนเศรษฐกิจิ ฐานราก กระตุ้�นผ้้าไทยให้ท้ ันั สมัยั สู่�สากล เป็็นที่่�นิยิ มในทุุกเพศ ทุกุ วัยั และทุกุ โอกาส
มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิิโรฒ ในฐานะเป็น็ มหาวิิทยาลััยรับั ใช้้สัังคม เห็น็ ความสำำ�คััญในการส่่งเสริิม สนัับสนุุนการ
แต่่งกายด้้วยผ้้าไทย ประกอบกัับมีีนโยบายให้ค้ ณาจารย์์ และบุุคลากรแต่่งกายด้ว้ ยผ้า้ ไทยในวัันศุุกร์์ และวัันสำำ�คััญต่า่ งๆ โดย
กำำ�หนดให้้สถาบันั วัฒั นธรรมและศิิลปะ เป็็นหน่่วยงานกลางที่่�ทำำ�หน้้าที่่�ดำำ�เนิินงานสืืบสานต่่อยอดการพััฒนาเป็็นศููนย์์กลาง
การเรีียนรู้�ด้า้ นวัฒั นธรรมและศิิลปะตามยุุทธศาสตร์์ที่่� 3 พันั ธกิจิ สัมั พัันธ์เ์ พื่่�อสัังคม (Social Engagement) ประเด็น็ ที่่� 3
วััฒนธรรมและศิลิ ปะเพื่่�อชุุมชน สถาบันั ฯ จึึงกำำ�หนดจััดโครงการแต่ง่ ผ้้าไทยอย่า่ งไรให้ท้ ัันสมัยั ครั้�งที่่� 11 ขึ้้น� เพื่่�อดำ�ำ เนินิ งาน
ตามยุทุ ธศาสตร์ด์ ัังกล่่าว โดยร่ว่ มบูรู ณาการกัับผู้�เชี่ย� วชาญด้้านการพัฒั นาและสร้้างสรรค์ผ์ ลิติ ภัณั ฑ์์จากผ้า้ ไทย และผู้�ประกอบ
การกลุ่�มผลิิตภััณฑ์ผ์ ้้าไทยในระดับั ชุุมชน เพื่่อ� พััฒนาผลิิตภััณฑ์์ต้้นแบบที่่�มีีความร่ว่ มสมัยั และสอดคล้อ้ งกับั ความต้้องการของ
ตลาดผ้้าไทยในปััจจุุบััน ทั้้�งนี้้� เมื่อ�่ พัฒั นาต้้นแบบผลิิตภััณฑ์แ์ ล้ว้ เสร็จ็ จะดำำ�เนินิ การเผยแพร่่องค์ค์ วามรู้�เรื่่�องผ้า้ ไทยแก่่นิิสิติ
อาจารย์์ บุคุ ลากรภายในมหาวิิทยาลัยั รวมทั้้ง� บุุคคลภายนอกที่่ส� นใจ ในรูปู แบบนิิทรรศการการและสื่่อ� ส่่งเสริิมการเรียี นรู้�
กระบวนการพััฒนาผ้้าไทยร่ว่ มสมััย เพื่�่อเป็น็ การสนับั สนุนุ ผู้�ประกอบการชุมุ ชมในการสืืบสานภูมู ิิปััญญา และวััฒนธรรมผ้้าไทย
ให้้ดำำ�รงอยู่่�กับั สังั คมไทยในบริิบทร่่วมสมััยต่่อไปได้้

4. วัตั ถุปุ ระสงค์์
4.1 เพื่�อ่ ศึึกษากระบวนการการสืืบสานและสร้้างสรรค์ผ์ ลิติ ภััณฑ์ผ์ ้า้ ไทยในเชิิงพาณิชิ ย์ข์ องกลุ่�มสตรีสี หกรณ์ห์ ัตั ถกรรม
ผ้้าทอไทยพวนบ้้านใหม่่ อำ�ำ เภอปากพลีี จัังหวััดนครนายก

4.2 เพื่่�อพััฒนาต้้นแบบผลิิตภััณฑ์์ผ้้าไทยร่่วมสมััยของกลุ่�มสตรีีสหกรณ์์หััตถกรรมผ้้าทอไทยพวนบ้้านใหม่่ อำำ�เภอ
ปากพลีี จัังหวััดนครนายก
4.3 เพื่่�อจััดแสดงรููปแบบผ้้าไทยและผลิิตภััณฑ์์จากผ้้าไทยร่่วมสมััยของกลุ่�มสตรีีสหกรณ์์หััตถกรรมผ้้าทอไทยพวน
บ้้านใหม่่ อำำ�เภอปากพลีี จัังหวััดนครนายก และออกร้้านจำำ�หน่่ายผลิิตภััณฑ์์เพื่่�อยกระดัับผลิิตภััณฑ์์ผ้้าไทยของชุุมชนออก
สู่่�สัังคม
5. ผู้�เข้้าร่่วมโครงการ
คณาจารย์ ์ บุุคลากร นิสิ ิติ ชุมุ ชนไทยพวน และบุุคคลทั่่�วไปที่่�สนใจ จำ�ำ นวน 500 คน

ภาพถ่่ายโครงการแต่่งผ้า้ ไทยอย่่างไรให้ท้ ันั สมัยั ครั้ง� ที่่� 11
วันั จัันทร์์ที่�่ 21 - วัันอัังคารที่่� 22 กุมุ ภาพัันธ์์ 2565

ณ กลุ่่�มสตรีีสหกรณ์์หััตถกรรมผ้้าทอไทยพวนบ้้านใหม่่ อำ�ำ เภอปากพลีี จัังหวััดนครนายก

โครงการมหกรรมวััฒนธรรมและศิิลปะนานาชาติิ : Galleries Night
(ระหว่่างปีี 2561-2564 / 2018-2022)

1.ชื่่�อโครงการ
โครงการมหกรรมวัฒั นธรรมและศิิลปะนานาชาติิ : Galleries Night
2.หน่่วยงานที่่ร� ับั ผิิดชอบ สถาบัันวััฒนธรรมและศิลิ ปะ

3.หลัักการและเหตุผุ ล
ศิิลปวัฒั นธรรมร่่วมสมัยั ณ ปััจจุุบััน เริ่ม� ต้น้ ขึ้น� ในช่่วงปลายศตวรรษที่่� 20 หรืือช่ว่ งต้น้ ศตวรรษที่่� 21 ศิิลปิินร่่วมสมัยั
นิิยมทำ�ำ งานที่่�ได้ร้ ับั อิทิ ธิิพลกว้า้ งขวางจากความเป็็นโลกาภิิวััฒน์์ ความหลากหลายทางวััฒนธรรม และการพััฒนาอย่า่ งก้า้ วไกล
ในด้้านเทคโนโลยีี งานศิิลปวััฒนธรรมร่่วมสมัยั เป็น็ การรวมตัวั กัันอย่่างหลากหลายของทั้้ง� วัสั ดุ ุ วิิธีกี าร แนวความคิดิ และ
หัวั ข้้อที่่ท� ำ�ำ ให้้เกิิดการท้า้ ทายต่อ่ ขอบเขตของงานศิิลปวััฒนธรรมรููปแบบเดิิมๆ ที่่�เป็็นที่่�นิยิ ม ในช่ว่ งศตวรรษที่่� 20 ด้้วยความที่่�
ศิิลปวััฒนธรรมร่่วมสมััยนั้้�นมีีความหลากหลายเป็็นอัันมากเราสามารถจำำ�แนกศิิลปวััฒนธรรมร่่วมสมััยได้้โดยดููจากความ
ยืืดหยุ่�นของรููปแบบ โครงสร้้าง หลัักการ แนวความคิิด และการแบ่่งออกเป็็นลััทธิติ ่่างๆ ศิิลปวััฒนธรรมร่่วมสมััยเป็็นส่ว่ นหนึ่่�ง
ของบทสนทนาทางวััฒนธรรมซึ่�่งเกี่�ยวข้อ้ งกัับบริบิ ทขอบข่่ายที่่ก� ว้า้ งขึ้น� ได้้แก่่ อััตลักั ษณ์เ์ ฉพาะตัวั และอัตั ลักั ษณ์ท์ างวััฒนธรรม
ครอบครัวั สัังคม รวมไปถึงึ ประเทศชาติิ
โครงการมหกรรมวััฒนธรรมและศิิลปะนานาชาติิในปีี 2562 หรืือ Galleries Night 2019 สถาบัันวััฒนธรรมและ
ศิลิ ปะ มหาวิทิ ยาลััยศรีีนคริินทรวิโิ รฒ ร่่วมกัับสถานฑูตู ฝรั่่ง� เศส จััดงาน Gallery Night (เส้น้ ทางสายสุขุ ุมุ วิิท) ในวันั ที่่� 2 กุมุ ภา
พัันธุ์� 2562 ณ หอนิิทรรศการ g23 อาคารนวััตกรรม : ศาสตราจารย์ด์ ร. สาโรช บัวั ศรีี มหาวิิทยาลัยั ศรีนี ครินิ ทรวิโิ รฒ สุขุ ุมุ วิิท
23 (ซอยประสานมิิตร) กรุงุ เทพมหานคร ภายในงานพบกัับการแสดงผลงาน ภายใต้้ชื่�อ่ งาน “คอนทราสต์์ (contrast)”
หมายถึงึ ความผิิดแผกกััน ความตรงกัันข้า้ ม การเทียี บเคีียงเพื่่อ� ให้้เห็็นความผิดิ แผกกันั ภาวะที่่ผ� ิดิ แผกกันั สิ่่�งหรืือบุุคคลที่่�
ผิิดแผกกัันอย่า่ งชััดเจน การแสดงผิิดแผกกันั ด้ว้ ยการเปรีียบเทีียบ โดยผ่า่ นการสัังเกตุขุ องผู้�สร้า้ งสรรค์์ผลงานที่่�มีีต่อ่ กัันและกััน
ผ่่านการสัังเกตุขุ องผู้�สร้า้ งสรรค์์ผลงานที่่ม� ีตี ่่อกัันและกันั โดยการนำ�ำ เสนอผ่า่ นผลงานสร้า้ งสรรค์ท์ ี่่ม� ีีความงามหรืือประโยชน์์อื่่น�
ในแง่ม่ ุุมที่่�หลากหลาย เพื่่�อตั้ง� คำำ�ถามหรืือสื่อ�่ สารกับั ผู้�ชม ถึงึ ความแตกต่่างที่่�เกิดิ ขึ้้�นในการแสดงงานครั้�งนี้้� ซึ่�่งงานในครั้ง� นี้้�ได้ร้ ับั
เกีียรติิจาก อ.อลงกรณ์์ หล่่อวัฒั นา ศิลิ ปิินจิิตกรรมไทยแนวร่ว่ มสมัยั มาทำำ�งานสร้้างสรรค์ร์ ่่วมกันั โดยได้้นำ�ำ ผลงานของ
อ.อลงกรณ์์ มาเป็็นจุุดเริ่ม� ต้น้ ในการทำ�ำ งานตามแนวคิิดแบบ “งูกู ินิ หาง” ภายใต้ห้ ััวข้อ้ ที่่�กล่่าวไปข้้างต้้น นิิทรรศการ “ตััวเปล่่า
เล่า่ เปลืือย” 60 ปีี รุ่�งพันั ธ์์ บุุรุุษชาติิ พร้้อมด้้วยศิลิ ปิินแห่่งชาติิ และศิิลปิินรัับเชิิญกว่า่ 100 ท่่าน ร่ว่ มจัดั แสดงผลงาน บอกเล่่า
เรื่อ่� งราวในวัยั 60 ที่่ไ� ม่ม่ ีภี าระ และพันั ธะใดๆ สีีสััน เส้้นสาย ทีแี ปรง ที่่�ถ่า่ ยทอดสรีรี ะสตรีีในแต่่ละอริยิ าบทที่่�ตามองเห็็น ถูกู
แต่ง่ แต้ม้ ตััดทอน ดััดแปลง เพื่่�อให้เ้ กิิดความงามอารมณ์์ตามจินิ ตนาการ และรสนิิยม “ซึ่�่งเรามั่น� ใจว่า่ จะเกิดิ ความสุนุ ทรียี ์์ ไร้ซ้ ึ่่�ง
การกดขี่่�ทางเพศ และ ตััณหา ราคะ”
โครงการมหกรรมวัฒั นธรรมและศิิลปะนานาชาติิในปีี 2563 หรืือ Galleries Night 2020 เป็น็ การสืืบสานและสานต่่อ
กลุ่�มพลังั คนรุ่�นใหม่่ที่่ม� ีใี จรััก มีีความตั้ง� ใจ ด้้านศิิลปะและวัฒั นธรรม สถาบันั วััฒนธรรมและศิลิ ปะได้ร้ ่ว่ มมืือกัับเครืือข่่ายองค์์กร
ด้้านวัฒั นธรรมและศิิลปะนานาชาติิ เพื่่�อจััดแสดงผลงานศิลิ ปวัฒั นธรรมร่ว่ มสมัยั ในระดัับนานาชาติิ เช่่น การสาธิติ งานศิลิ ป
วัฒั นธรรมร่่วมสมัยั การเผยแพร่่ผลงานร่ว่ มสมััยด้า้ นศิิลปะ และด้า้ นการแสดง เพื่่�อเป็น็ การเผยแพร่ศ่ ิิลปวัฒั นธรรมร่่วมสมััย
เสริมิ สร้า้ งความรู้�ความเข้้าใจ และสร้้างการยอมรัับในความหลากหลายรูปู แบบของงานด้้านศิลิ ปวััฒนธรรมร่ว่ มสมัยั ให้แ้ ก่่เด็็ก
เยาวชน นิสิ ิติ และประชาชน รวมถึงึ เป็็นแหล่ง่ การเรียี นรู้�งานศิลิ ปะและวัฒั นธรรมที่่เ� ข้า้ ถึงึ ผู้�ชมทุุกกลุ่�มเป้้าหมาย และยังั
สนับั สนุุนให้้ศิิลปิินได้้มีีพื้้น� ที่่�ในการจััดแสดงผลงาน ตลอดจนก่่อให้้เกิิดพลังั ขับั เคลื่�่อน ต่อ่ ยอด ส่่งเสริมิ ศิิลปะและวััฒนธรรม
ของไทย เพื่อ่� พัฒั นาผลงานสู่�ระดับั อาเซียี นและนานาชาติติ ่อ่ ไป

การจััดโครงการมหกรรมวัฒั นธรรมและศิิลปะนานาชาติใิ นปีี 2564 หรืือ Galleries Night 2021 เป็็นการจัดั การ
แสดงผลงานศิิลปะการแสดงร่ว่ มสมัยั ภายใต้ห้ ้้วข้อ้ FEEL THE SPACE โดยศิิลปินิ ศิิลปาธร มานพ มีจี ำำ�รััส (ศิิลปินิ ศิลิ ปาธร
สาขาศิลิ ปะการแสดง ปีี 2548) และวรรณศักั ดิ์ � ศิิริิหล้้า (ศิิลปินิ ศิลิ ปาธร สาขาศิลิ ปะการแสดง ปีี 2563) โดยการสนับั สนุุนพื้้น� ที่่�
ให้แ้ ก่่ศิลิ ปิินในการจััดแสดงผลงานรููปแบบออนไลน์ใ์ นการเผยแพร่ศ่ ิลิ ปวัฒั นธรรมร่่วมสมัยั เสริมิ สร้า้ งความรู้�ความเข้้าใจ และ
สร้า้ งการยอมรัับในความหลากหลายของงานด้้านศิิลปวัฒั นธรรมร่ว่ มสมััย เป็น็ แหล่่งการเรีียนรู้�งานศิิลปะและวััฒนธรรมที่่�เข้า้
ถึึงผู้�ชม ทุกุ กลุ่�มเป้้าหมาย รวมถึึงเป็็นส่ว่ นหนึ่่�งของพลัังการขับั เคลื่�อ่ น ต่อ่ ยอด ส่ง่ เสริมิ ศิลิ ปะและวััฒนธรรมของไทย และเป็น็
แนวทางในการเผยแพร่่ พััฒนาผลงานสู่�ระดับั อาเซีียนและนานาชาติิของศิลิ ปิิน ในช่ว่ งสถานการณ์์โควิดิ – 19
จากสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของโควิิด - 19 เปลี่ย� นแปลงวิิถีีชีวี ิิตของมนุษุ ย์์ทุกุ คนในทุกุ มิติ ิ ิ ส่่งผลให้ ้ ทุกุ ภาคส่ว่ น
ต้อ้ งมีกี ารปรับั ตััว เปลี่�ยนวิิธีีคิดิ และการปฏิิบััติติ ััวในเรื่�่องต่า่ งๆ รวมถึงึ กลุ่�มศิิลปิินที่่ไ� ด้้รัับผลกระทบเนื่่อ� งจากไม่ม่ ีีการจ้้างงาน
ไม่่มีพี ื้้�นในการจััดแสดงผลงานศิิลปะและการแสดง ศิิลปินิ จึงึ จำ�ำ เป็็นต้อ้ งระดมความคิดิ ในการปรัับตัวั เตรียี มพร้้อม เพื่่อ� รับั มืือ
กัับความเปลี่�ยนแปลงที่่เ� กิดิ ขึ้้น� ทั้้�งนี้้ส� ถาบันั วััฒนธรรมและศิิลปะเป็็นหน่ว่ ยงานที่่ม� ีภี ารกิิจต่่อการอนุรุ ัักษ์ ์ สืืบสาน และ
สร้า้ งสรรค์์กิิจกรรมทางศิลิ ปะและวัฒั นธรรม ตระหนักั ถึงึ ความสำำ�คััญของการสร้้างความรู้� ความเข้้าใจ เกี่ย� วกัับศิลิ ปะและ
วัฒั นธรรมอันั ยิ่ง� ใหญ่ข่ องชาติิตั้�งแต่่อดีีต สืืบเนื่่�องมาถึงึ ปััจจุุบันั โดยเล็ง็ เห็็นถึึงความสำำ�คัญั ของศิิลปิินที่่ม� ีีที่่�มีีใจรััก มีคี วามตั้ง� ใจ
ด้้านศิลิ ปะและวัฒั นธรรม สถาบันั วััฒนธรรมและศิลิ ปะจึึงร่ว่ มมืือกัับเครืือข่า่ ยองค์์กรด้้านวััฒนธรรมและศิิลปะภายในประเทศ
และนานาชาติิ เพื่่อ� จััดแสดงผลงานศิิลปวัฒั นธรรมร่่วมสมััย
4.วััตถุุประสงค์์
1.เพื่่�อเผยแพร่่ศิลิ ปวััฒนธรรมร่่วมสมัยั เสริิมสร้้างความรู้�ความเข้า้ ใจ และสร้้างการยอมรัับในความหลากหลายของ
งานศิิลปวััฒนธรรมร่่วมสมัยั ให้แ้ ก่่นิิสิิต และประชาชนทั่่�วไป
2.เพื่อ�่ ส่่งเสริิมแหล่่งการเรียี นรู้�งานด้้านศิลิ ปะและวััฒนธรรม และสนับั สนุนุ พื้้น� ที่่ก� ารจัดั แสดงผลงานของศิลิ ปินิ
3.เพื่�่อสร้้างความสััมพัันธ์อ์ ันั ดีีระหว่่างเครืือข่า่ ยองค์์กรด้้านวััฒนธรรมและศิลิ ปะนานาชาติิ
4.เพื่�่อส่่งเสริมิ ศิิลปะและวัฒั นธรรมของไทย เพื่อ�่ พัฒั นาผลงานสู่�ระดับั อาเซีียนและนานาชาติิ

ภาพถ่่ายโครงการมหกรรมวััฒนธรรมและศิลิ ปะนานาชาติิ : Galleries Night 2018
วันั ที่�่ 9-17 กุมุ ภาพัันธ์์ 2561

ณ หอนิิทรรศการ g23 ชั้้น� 2 และชั้้�น 3 ศููนย์์ศิิลปกรรมแห่่งประเทศไทย
อาคารนวััตกรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ

ผู้�เข้า้ ร่ว่ มโครงการ
ผู้�เข้้าร่่วมโครงการ (ณ วัันเปิดิ งาน) ได้แ้ ก่่ ผู้้�บริหิ าร อาจารย์์ และบุุคคลทั่่ว� ไป จำำ�นวน 368 คน

ภาพถ่่ายโครงการมหกรรมวััฒนธรรมและศิลิ ปะนานาชาติิ : Galleries Night 2018
วันั ที่่� 1-2 กุมุ ภาพัันธ์์ 2562

ณ หอนิิทรรศการ g23 ชั้้น� 2 และชั้้�น 3 ศูนู ย์ศ์ ิลิ ปกรรมแห่่งประเทศไทย
อาคารนวััตกรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ

ผู้�เข้า้ ร่่วมโครงการ
ผู้�เข้้าร่่วมโครงการ (ณ วัันเปิิดงาน) ได้้แก่่ ผู้้�บริหิ าร อาจารย์์ และบุุคคลทั่่ว� ไป จำ�ำ นวน 406 คน

ภาพถ่า่ ยโครงการมหกรรมวััฒนธรรมและศิลิ ปะนานาชาติิ : Galleries Night 2020
วันั ที่�่ 14-15 กุุมภาพัันธ์์ 2563

ณ หอนิทิ รรศการ g23 ชั้้น� 2 และชั้้น� 3 ศูนู ย์์ศิลิ ปกรรมแห่่งประเทศไทย
อาคารนวััตกรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิิทยาลัยั ศรีีนคริินทรวิิโรฒ

ผู้�เข้า้ ร่ว่ มโครงการ
ผู้�เข้้าร่ว่ มโครงการ (ณ วัันเปิิดงาน) ได้้แก่่ ผู้้�บริหิ าร อาจารย์์ และบุคุ คลทั่่ว� ไป จำ�ำ นวน 419 คน

ภาพถ่่ายโครงการมหกรรมวััฒนธรรมและศิิลปะนานาชาติิ : Galleries Night 2021
วันั ที่�่ 6 สิงิ หาคม 2564

นำำ�เสนอผ่า่ นสื่�อออนไลน์์ Facebook Live สถาบันั วััฒนธรรมและศิิลปะ มหาวิิทยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒ
ผู้�เข้้าร่ว่ มโครงการ

เนื่่อ� งจากสถานการณ์์ การแพร่่ระบาดของเชื้อ�้ ไวรัสั โคโรน่่า 2019 ที่�ก่ ่่อให้เ้ กิิดโรคโควิิด 19 คณะทำ�ำ งานได้ป้ รับั
เปลี่ย่� นรููปแบบการนำ�ำ เสนอ โดยจััดโครงการผ่า่ นสื่�อออนไลน์์ ในรูปู แบบของการถ่า่ ยทอดสดโครงการ ผ่า่ นทาง Faceb-
book Live ของสถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะ มหาวิิทยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒ โดยมีีผู้้�เข้า้ ร่่วมโครงการ (ณ วัันเปิิดงาน)

ได้แ้ ก่่ ผู้้�บริหิ าร อาจารย์์ นิสิ ิติ และบุุคคลทั่่�วไป จำ�ำ นวน 3,802 คน

ภาพเบื้้อ� งหลังั การบันั ทึกึ วิดิ ีีโอ เพื่่�อการนำำ�เสนอในวัันจััดงาน

โครงการสััมมนาเชิงิ ปฏิิบัตั ิิการจดหมายเหตุุ
วันั ที่่� 30 สิิงหาคม 2561

ณ ห้อ้ งปฐมบริิบท ชั้้�น 1 อาคารประสานมิิตร
1.ชื่่อ� โครงการ
โครงการสัมั มนาเชิิงปฏิบิ ัตั ิิการจดหมายเหตุุ
2.หน่่วยงานที่�ร่ ับั ผิดิ ชอบ สถาบันั วััฒนธรรมและศิิลปะ
3.หลัักการและเหตุผุ ล
การบัันทึึกเอกสารการบริิหารราชการขององค์์กรอย่่างเป็็นลายลัักษณ์์อัักษรถืือเป็็นหลัักฐานทางประวััติิศาสตร์์ที่่�มีี
ความสำำ�คััญยิ่�งสำำ�หรับั นักั วิิชาการ บุุคลากร นักั เรีียน นัักศึึกษา และผู้�สนใจทั่่�วไป ในการศึึกษาค้้นคว้้าเกี่ย� วกัับประวัตั ิิพััฒนาการ
ขององค์์กร เอกสารซึ่�่งแต่่ละหน่่วยงานผลิิตขึ้้�นย่่อมสะท้้อนให้้เห็น็ ถึงึ ภารกิจิ ใน การดำ�ำ เนินิ งานของหน่่วยงานดังั กล่า่ ว เอกสาร
ประวัตั ิศิ าสตร์เ์ หล่่านี้้�ถืือเป็็นเอกสารจดหมายเหตุทุ ี่่�มีีความสำ�ำ คัญั และมีคี ุณุ ค่า่ แก่ก่ ารรวบรวม จััดเก็บ็ และอนุรุ ัักษ์์ไว้้ เพื่่�อมิใิ ห้้
สููญหายหรืือถูกู ทำำ�ลายไปในที่่�สุดุ
หอจดหมายเหตุุมหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒภายใต้้สถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะได้้เห็็นถึึงปััญหาของการรัับ
เอกสารจดหมายเหตุุ และได้ต้ ระหนัักถึึงหน้้าที่่�ในการรวบรวม จัดั เก็บ็ สงวนรัักษา และให้้บริิการเผยแพร่่เอกสารจดหมายเหตุุ
มหาวิิทยาลััยจึึงจััดโครงการสััมมนาเชิิงปฏิิบััติิการจดหมายเหตุุขึ้ �นเพื่�่อเป็็นการเผยแพร่่ความรู้ �ความเข้้าใจในการจััดการเอกสาร
และสามารถนำ�ำ ความรู้�ไปปรัับใช้้ในการจััดการเอกสารหน่่วยงานของตนได้้อย่่างเป็็นระบบตามมาตรฐานวิิชาการทาง
จดหมายเหตุุ
4.วััตถุุประสงค์ข์ องโครงการ
1. เพื่�่อเผยแพร่่ความรู้้�ตามหลักั วิิชาการจัดั การเอกสารจดหมายเหตุุแก่ผู่้�ปฏิบิ ััติิงานทางด้า้ นสารบรรณ
2. เพื่่�อให้ผู้้�เข้า้ ร่ว่ มโครงการตระหนัักถึึงความสำำ�คัญั ของเอกสารจดหมายเหตุุ
3. เพื่่�อให้้ผู้�เข้้าร่่วมโครงการมีีความรู้�ความเข้้าใจในการจััดการเอกสารและสามารถนำ�ำ ความรู้�ไปปรัับใช้้ในการจััดการ
เอกสารหน่่วยงานของตนได้้อย่า่ งเป็็นระบบ ตามมาตรฐานวิิชาการทางจดหมายเหตุุ

ภาพถ่า่ ยโครงการสัมั มนาเชิิงปฏิิบััติกิ ารจดหมายเหตุุ
วัันที่่� 30 สิิงหาคม 2561

ณ ห้อ้ งปฐมบริบิ ท ชั้้น� 1 อาคารประสานมิติ ร มหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ
ผู้�เข้า้ ร่่วมโครงการ

ผู้�เข้้าร่ว่ มโครงการ ได้แ้ ก่่ ผู้้�บริิหาร อาจารย์์ และเจ้า้ หน้า้ ที่่� จำ�ำ นวน 100 คน

โครงการสััมมนาชำ�ำ ระประวััติิศาสตร์์ 70 ปีี มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒ
นิิทรรศการ 70 ปีี ศรีีสง่่ามหานคร
วัันจัันทร์ท์ ี่่� 29 เมษายน 2562

ณ หอนิทิ รรศการ g23 (หอใหญ่่) ชั้้�น 3 อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี
1.ชื่่อ� โครงการ
โครงการสััมมนาชำ�ำ ระประวัตั ิิศาสตร์์ 70 ปีี มหาวิทิ ยาลััยศรีนี คริินทรวิโิ รฒ : นิิทรรศการ 70 ปีี ศรีสี ง่า่ มหานคร
2.หน่่วยงานที่ร�่ ับั ผิดิ ชอบ สถาบันั วัฒั นธรรมและศิิลปะ มหาวิิทยาลัยั ศรีีนคริินทรวิิโรฒ
3.หลัักการและเหตุุผล
เอกสารจดหมายเหตุุ หมายถึงึ ข้อ้ มูลู ทุกุ รูปู แบบที่่ห� น่ว่ ยงานผลิติ ขึ้้น� ใช้ใ้ นการปฏิบิ ัตั ิงิ าน แต่ส่ิ้น� กระแสการปฏิบิ ัตั ิงิ านแล้ว้
และได้้รัับการประเมิินว่่ามีีคุุณค่่าเป็็นข้้อมููลชั้ �นต้้นที่่�แสดงถึึงการดำำ�เนิินงานและพััฒนาการของหน่่วยงานนั้้�นๆรวมถึึงเอกสาร
ส่ว่ นบุุคคลที่่�ได้ร้ ัับมอบจากบุคุ คลสำำ�คัญั หรืือทายาท ซึ่่ง� มีีคุณุ ค่่าต่อ่ การศึกึ ษา ค้้นคว้า้ วิจิ ัยั ประวัตั ิิศาสตร์์ของหน่ว่ ยงานและ
บุคุ คล โดยสามารถแบ่่งประเภทเอกสารจดหมายเหตุุได้้เป็น็
1.เอกสารจดหมายเหตุุประเภทลายลัักษณ์อ์ ักั ษร คืือ เอกสารที่่ส� ื่่�อความหมายเนื้้�อหาด้้วยลายลัักษณ์อ์ ักั ษร อาจเป็็น
ตััวเขียี นหรืือตัวั พิมิ พ์์ เอกสารประเภทนี้้� อาทิิ เอกสารโต้้ตอบ เอกสารการประชุุม รายงาน บทความ ฯลฯ
2.เอกสารจดหมายเหตุปุ ระเภทโสตทััศนจดหมายเหตุ ุ คืือ เอกสารที่่�สื่่�อความหมายเนื้้�อหาด้ว้ ยภาพหรืือเสีียง เอกสาร
ประเภทนี้้� อาทิ ิ ภาพถ่า่ ย ฟิิล์ม์ (เนกาทีฟี และภาพยนตร์)์ สไลด์์ โปสเตอร์์ ปฏิิทินิ บััตรอวยพร แถบบันั ทึึกเสียี ง แถบบันั ทึึกภาพ
ฯลฯ
3.เอกสารจดหมายเหตุปุ ระเภทแผนที่่� แผนผังั เอกสารประเภทนี้้� อาทิิ แผนที่่� แผนผััง แบบแปลน พิิมพ์์เขีียว ฯลฯ
4.เอกสารจดหมายเหตุปุ ระเภทวััสดุคุ อมพิิวเตอร์ ์ คืือเอกสารที่่บ� ัันทึกึ ข้้อมููลและค้น้ หาข้้อมููลที่่�บัันทึึกไว้้ด้ว้ ยเครื่�่อง
คอมพิิวเตอร์์ เอกสารประเภทนี้้� อาทิิ ซีดี ี ี วีีซีีดีี แผ่น่ ดิสิ ก์์ ฯลฯ
ในเอกสารจดหมายเหตุุล้้วนมีีคุุณค่่าในเชิิงประวััติิศาสตร์์สามารถเป็็นหลัักฐานอ้้างอิิงการปฏิิบััติิงานและพััฒนาการ
ของหน่ว่ ยงาน เช่น่ ประวัตั ิกิ ารจััดตั้้ง� หน่ว่ ยงาน นโยบาย โครงการและกิจิ กรรมที่่ป� ฏิบิ ััติิ ฯลฯ และยัังเป็น็ หลัักฐานอ้า้ งอิิงเพื่อ�่
การศึึกษา ค้น้ คว้า้ วิิจััย ทั้้�งในด้า้ นการเมืือง เศรษฐกิิจ สัังคม วัฒั นธรรม และการศึึกษาเหตุุการณ์ท์ ี่่เ� กิดิ ขึ้้น� การได้้มาซึ่ง�่ เอกสาร
จดหมายเหตุุจะได้้มาจากหลายทาง คืือ รัับมอบจากหน่่วยงานภายในมหาวิิทยาลัยั รัับมอบจากบุคุ คลสำำ�คัญั หรืือทายาทเป็็นผู้�
บริจิ าคหรืือมอบให้้โดยพินิ ััยกรรม ซึ่ง่� เป็น็ เอกสารแสดงให้เ้ ห็็นถึงึ ประวัตั ิแิ ละผลงานของบุุคคลนั้้น�
การศึึกษาประวััติิศาสตร์์นั้้�นสามารถศึึกษาได้้จากหลัักฐานชั้�นต้้นและชั้�นรองนอกจากเราจะศึึกษาได้้จากเอกสาร
จดหมายเหตุุแล้้วยัังศึึกษาได้้จากประวััติิศาสตร์์บอกเล่่าจากผู้ �ที่ �อยู่ �ในเหตุุการณ์์จริิงได้้เนื่�่องในโอกาสที่่�มหาวิิทยาลััย
ศรีนี คริินทรวิิโรฒจะมีอี ายุุครบ ๗๐ ปีีในปีี ๒๕๖๒ สถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะ ได้้เห็็นถึงึ ความสำำ�คัญั การรวบรวมประวัตั ิิศาสตร์์
มหาวิทิ ยาลัยั ใหม่่ สถาบัันฯ จึึงจััด โครงการสััมมนาชำ�ำ ระประวััติศิ าสตร์์ 70 ปีี มหาวิิทยาลััยศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒ : นิิทรรศการ 70
ปีี ศรีสี ง่า่ มหานคร ขึ้้�น เพื่่อ� ตรวจสอบข้้อมููลประวััติิศาสตร์ท์ ี่่ม� ีอี ยู่�ทั้ง� จากเอกสารจดหมายเหตุุและจากวัตั ถุุประวััติิศาสตร์์ และ
เพิ่่ม� เติมิ ความรู้�ใหม่่ก่่อนที่่�ประวััติศิ าสตร์จ์ ากบุคุ คลจะเลืือนหายไปตามกาลเวลา
4.วััตถุปุ ระสงค์์
1. เพื่่�อแลกเปลี่�ยนข้้อมููลประวััติศิ าสตร์์ของมหาวิิทยาลััยศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒระหว่่างประชาคม มศว
2. เพื่�่อสร้า้ งความตระหนักั ถึงึ คุณุ ค่่าและประวัตั ิิศาสตร์์มหาวิิทยาลััย
3. เพื่่�อผลิติ สื่่�อส่่งเสริิมการเรีียนรู้�ประวััติิศาสตร์ม์ หาวิิทยาลัยั ศรีนี ครินิ ทรวิโิ รฒ

ภาพถ่า่ ยโครงการสัมั มนาชำำ�ระประวััติศิ าสตร์์ 70 ปีี มหาวิิทยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒ
นิทิ รรศการ 70 ปีี ศรีีสง่่ามหานคร
วัันจันั ทร์์ที่่� 29 เมษายน 2562

ณ หอนิิทรรศการ g23 (หอใหญ่)่ ชั้้�น 3 อาคารนวััตกรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี
ผู้ �เข้้าร่่วมโครงการ

ผู้�เข้า้ ร่ว่ มโครงการ ได้แ้ ก่่ ผู้้�บริิหาร อาจารย์์ และเจ้้าหน้า้ ที่�่ จำ�ำ นวน 436 คน

โครงการชำำ�ระประวัตั ิิศาสตร์์ : พิพิ ิธิ ภัณั ฑ์์เพื่่�ออนาคต (ระยะ 1)
“เสวนาประวัตั ิิศาสตร์์กับั ศิลิ ปวััฒนธรรมและนิิทรรศการ (ของรััก...ของหวง)”

ณ หอนิทิ รรศการ g23 ชั้้�น 3 สถาบัันวัฒั นธรรมและศิลิ ปะ
อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒ

วัันเสาร์ท์ ี่่� 15 กุุมภาพัันธ์์ - วัันอัังคารที่่� 31 มีีนาคม 2563
1.ชื่่�อโครงการ
โครงการชำ�ำ ระประวัตั ิศิ าสตร์์ : พิิพิธิ ภัณั ฑ์เ์ พื่�อ่ อนาคต (ระยะ 1)
“เสวนาประวััติิศาสตร์์กับั ศิลิ ปวัฒั นธรรมและนิิทรรศการ (ของรักั ...ของหวง)”
2.หน่่วยงานที่�่รับั ผิิดชอบ สถาบันั วััฒนธรรมและศิิลปะ มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒ
3.หลัักการและเหตุุผล
การศึึกษาประวััติศิ าสตร์์เป็น็ การค้้นพบ ค้้นหา รวบรวม จััดระเบีียบและนำ�ำ เสนอข้้อมูลู เกี่�ยวกัับเหตุุการณ์ใ์ นอดีตี เพื่�่อ
ช่่วยให้้มนุุษย์์เกิิดสำ�ำ นึึกในการค้้นคว้้าและสืืบค้้นข้้อมููลที่่�เชื่�่อมโยงอดีีตและปััจจุุบัันอัันสร้้างความภููมิิใจและกระตุ้�นความรู้้�สึึกรััก
ตนเองและสัังคมของตน การศึกึ ษาประวััติิศาสตร์์ก่่อให้้เกิดิ องค์ค์ วามรู้�ที่ห� ลากหลาย ซึ่่�งสามารถนำ�ำ ความรู้�เหล่า่ นั้้น� ไปกำำ�หนด
ยุุทธศาสตร์์ในการดำ�ำ เนิินนโยบายให้้เป็็นประโยชน์์ต่่อทั้้�งปััจจุุบัันและอนาคตในการศึึกษาประวััติิศาสตร์์นั้้�นมัักควบคู่�ไปกัับการ
ศึกึ ษาศิลิ ปวัฒั นธรรมด้้วย
วััฒนธรรมเป็็นการศึึกษาวิิถีีชีีวิิต นัับตั้�งแต่่ภาษา ขนบธรรมเนียี มประเพณีี ศาสนา กฎหมาย ศิลิ ปะ จริยิ ธรรม ตลอด
จนวิิทยาการและเทคโนโลยีีต่า่ งๆ อาจกล่า่ วได้้ว่่าวัฒั นธรรมเป็น็ เครื่อ�่ งมืือที่่ม� นุุษย์์ คิิดค้้นขึ้น� มาเพื่�่อช่ว่ ยให้ม้ นุุษย์์สามารถดำำ�รง
อยู่่�ต่่อไปได้ ้ ศิลิ ปะ เป็น็ คุุณค่่าของความงดงามหรืือผลงานของมนุุษย์ท์ ี่่�มีีจุุดมุ่่�งหมายการสร้้างสรรค์์และแสดงออกถึึงความงาม
เพื่�่อตอบสนองความต้้องการทางด้า้ นจิิตใจให้้มีอี ารมณ์์เพลิดิ เพลิินและมีคี วามสุุข ในทุกุ สังั คมล้้วนมีปี ระวัตั ิิศาสตร์์ วัฒั นธรรม
และศิิลปะของตนเอง มีีการบอกเล่่าอดีีตผ่า่ นตัวั หนัังสืือ วัตั ถุุ ทำำ�ให้้เห็็นถึงึ คุุณค่า่ ของอดีีตที่่ส� ่ง่ ทอดมาถึึงปััจจุุบััน
มหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒเป็็นมหาวิิทยาลััยที่่�มีีการก่่อตั้้�งมาอย่่างยาวนานกว่่า 72 ปีี มีีความโดดเด่่นในด้้าน
วิิชาการ การเรีียนการสอนที่่�เพียี บพร้อ้ มด้้วยอุุปกรณ์์ครบครันั ทันั สมัยั คณาจารย์ม์ ีคี วามพร้อ้ มทั้้�งความรู้�และสั่�งสอนด้้าน
คุุณธรรมแก่น่ ิิสิติ มีงี านวิจิ ััยที่่โ� ดดเด่่นได้ร้ ับั การยอมรัับ มีีการบริิการสังั คมที่่เ� อื้�อประโยชน์แ์ ก่ส่ ัังคม มีบี ุคุ ลากรที่่�มีีความเพียี ร
พร้อ้ มสนัับสนุนุ การทำ�ำ งานของมหาวิทิ ยาลัยั ซึ่ง�่ สิ่ง� เหล้้านี้้ล� ้้วนบ่่มเพาะให้น้ ิิสิติ มีีคุุณภาพต่่อสังั คม นอกจากด้้านวิิชาการแล้ว้
มหาวิิทยาลััยยัังสนัับสนุุนบุุคลากรให้้มีีความสุุนทรีียศาสตร์์ มีีพื้้�นที่่�สนัับสนุุนด้้านศิิลปะอย่่างเช่่นหอนิิทรรศการ g23 ศููนย์์
ศิลิ ปกรรมแห่่งประเทศไทย เพื่อ�่ เป็็นที่่�จัดั แสดงงานศิิลปะแขนงต่า่ งๆ ทั้้ง� ละคร ดนตรีี งานทัศั นศิลิ ป์์ทุุกประเภท การแสดง
นาฏศิลิ ป์ไ์ ทยและสากล รวมถึึงงานศิลิ ปะอื่น่� ๆ ทางด้า้ นวััฒนธรรมที่่�หลากหลาย
จากปรากฏการณ์์ดัังกล่่าว สถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะ เห็็นความสำำ�คัญั ของการส่่งเสริมิ ให้บ้ ุคุ ลากรมีจี ััดการและ
ถ่่ายทอดประวัตั ิศิ าสตร์์ของตนเองผ่า่ นวััตถุทุ ี่่ม� ีคี ุณุ ค่่าต่อ่ ตนเองและเป็น็ การสร้้างความรู้�ใหม่ๆ่ แก่ผู่้�อื่น� เพื่่อ� สร้้างความเข้ม้ แข็็ง
ด้า้ นสังั คมวัฒั นธรรม อันั จะเป็น็ ประโยชน์์ต่อ่ การพััฒนาประเทศ จึงึ เป็็นเหตุใุ ห้้เกิิด โครงการชำ�ำ ระประวััติิศาสตร์์ : พิิพิธิ ภัณั ฑ์์
เพื่อ�่ อนาคต (ระยะ 1) “เสวนาประวััติศิ าสตร์ก์ ับั ศิลิ ปวัฒั นธรรมและนิิทรรศการ (ของรััก...ของหวง)” โดยนำ�ำ งานศิิลปะ
วััตถุสุ ะสม ของผู้�บริหิ าร คณาจารย์์ บุุคลากร ซึ่่�งเป็็นบุุคลากรภายในมหาวิทิ ยาลััยศรีีนคริินทรวิโิ รฒ รวมถึึง คณาจารย์์และ
บุุคคลจากภายนอกมาร่่วมจััดนิิทรรศการ เพื่�่อเผยแพร่แ่ ละมอบความรู้�แก่ผู่้�เข้า้ ชมทั้้ง� ภายในและภายนอกมหาวิิทยาลััย ได้้รับั รู้�
ถึึงความทรงจำ�ำ รัับรู้�ประวัตั ิคิ วามเป็น็ มาของสิ่ง� เล็็กๆ ที่่เ� ป็็นของสะสมแห่่งความทรงจำำ�นี้้� ความประทับั ใจที่่�เป็น็ เหตุแุ ห่่งการ
สร้้างสรรค์์ การจินิ ตนาการอันั เป็็นแรงบัันดาลใจที่่ส� ่ง่ ผลถึงึ การสร้า้ งผลงานในปััจจุบุ ันั เพื่�่อส่่งเสริมิ และเสริิมสร้า้ งองค์์ความรู้�
ทางด้้านศิิลปะและวััฒนธรรมอัันหลากหลายสร้้างความเข้้าใจและการยอมรัับในความหลากหลายทางศิิลปวััฒนธรรม

นอกจากนี้้�ยังั สร้้างคุณุ ค่า่ แก่เ่ จ้า้ ของผลงานมีกี ารจััดการความรู้� ความคิดิ อย่่างเป็็นระบบ ซึ่ง�่ เป็น็ การส่ง่ เสริมิ ให้บ้ ุุคลากรมีีการ
ทำำ�งานอย่่างมีปี ระสิทิ ธิิภาพซึ่ง่� เป็น็ ปัจั จััยหนึ่่ง� ในการพัฒั นามหาวิทิ ยาลัยั ต่อ่ ไป
4.วััตถุุประสงค์์
1.เพื่อ�่ ศึกึ ษาประวัตั ิศิ าสตร์์ วัฒั นธรรมและศิลิ ปะในมิติ ิติ ่า่ งๆ ที่่จ� ะช่ว่ ยเสริมิ สร้า้ งองค์ค์ วามรู้�ทางด้า้ นวัฒั นธรรมและศิลิ ปะ
เพื่่�อการเข้า้ ใจและการการยอมรับั ความหลากหลายของวััฒนธรรม
2.เพื่่�อเป็น็ แหล่ง่ เรีียนรู้�และนำ�ำ เสนอผลงานด้า้ นศิลิ ปวััฒนธรรมร่ว่ มสมัยั ที่่�หลากหลาย อันั นำำ�ไปสู่�การสร้้างการเรีียนรู้�
สุนุ ทรีียศาสตร์์ รวมถึงึ การสร้า้ งผลงานวิิจััยทางศิิลปวััฒนธรรมในอนาคต
3.เพื่อ�่ สร้า้ งเครืือข่่ายกิิจกรรมความร่่วมมืือด้้านศิิลปะกัับศิิลปิิน บุุคคล หรืือหน่่วยงานด้้านศิลิ ปวััฒนธรรมร่ว่ มสมัยั ที่่�มีี
ประโยชน์ต์ ่่อการพััฒนาการศึึกษา ศิิลปวััฒนธรรม
4.เพื่อ่� สร้า้ งคุุณค่า่ แก่่ตนเองอัันจะส่ง่ ผลต่่อการทำ�ำ งานที่่�มีปี ระสิทิ ธิภิ าพ

ภาพถ่า่ ยโครงการชำ�ำ ระประวัตั ิิศาสตร์์ : พิพิ ิิธภัณั ฑ์์เพื่่อ� อนาคต (ระยะ 1)
“เสวนาประวัตั ิิศาสตร์์กับั ศิิลปวััฒนธรรมและนิิทรรศการ (ของรััก...ของหวง)”

ณ หอนิทิ รรศการ g23 ชั้้�น 3 สถาบัันวัฒั นธรรมและศิลิ ปะ
อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒ

วัันเสาร์ท์ ี่�่ 15 กุุมภาพัันธ์์ - วันั อัังคารที่่� 31 มีีนาคม 2563
ผู้�เข้า้ ร่ว่ มโครงการ

ผู้�เข้้าร่ว่ มโครงการ ได้้แก่่ ผู้้�บริิหาร อาจารย์์ และเจ้้าหน้้าที่�่ จำ�ำ นวน 500 คน



โครงการชำำ�ระประวัตั ิิศาสตร์์ : พิพิ ิธิ ภััณฑ์์เพื่่อ� อนาคต ครั้ง� ที่�่ 2
วันั ศุกุ ร์ท์ ี่่� 27 สิิงหาคม 2564

ณ สถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะ มหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒ
1.ชื่่อ� โครงการ
โครงการชำ�ำ ระประวััติิศาสตร์์ : พิิพิิธภััณฑ์เ์ พื่่�ออนาคต ครั้�งที่่� 2
2.หน่ว่ ยงานที่�่รับั ผิิดชอบ สถาบันั วััฒนธรรมและศิลิ ปะ มหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิโิ รฒ
3.หลัักการและเหตุผุ ล
วััฒนธรรมเป็น็ การศึึกษาวิิถีชี ีวี ิิต นับั ตั้ง� แต่่ภาษา ขนบธรรมเนีียมประเพณีี ศาสนา กฎหมาย ศิิลปะ จริยิ ธรรม ตลอด
จนวิิทยาการและเทคโนโลยีตี ่า่ ง ๆ อาจกล่า่ วได้้ว่า่ วัฒั นธรรมเป็็นเครื่�่องมืือที่่�มนุษุ ย์์ คิดิ ค้น้ ขึ้�นมาเพื่�่อช่ว่ ยให้้มนุุษย์ส์ ามารถดำ�ำ รง
อยู่่�ต่่อไปได้ ้ ศิิลปะ เป็็นคุณุ ค่า่ ของความงดงามหรืือผลงานของมนุษุ ย์ท์ ี่่ม� ีีจุุดมุ่่�งหมายการสร้้างสรรค์์และแสดงออกถึึงความงาม
เพื่่�อตอบสนองความต้้องการทางด้า้ นจิิตใจให้ม้ ีอี ารมณ์์เพลิดิ เพลินิ และมีคี วามสุุข ในทุุกสังั คมล้้วนมีีประวัตั ิิศาสตร์์ วัฒั นธรรม
และศิลิ ปะของตนเอง มีกี ารบอกเล่า่ อดีีตผ่่านตัวั หนัังสืือ วัตั ถุุ ทำำ�ให้้เห็็นถึงึ คุุณค่า่ ของอดีีตที่่�ส่ง่ ทอดมาถึึงปััจจุุบััน
มหาวิทิ ยาลัยั สนับั สนุนุ บุคุ ลากรให้ม้ ีีความสุุนทรีียศาสตร์ ์ มีีพื้้�นที่่�สนัับสนุุนด้า้ นศิิลปะ เพื่อ�่ เป็น็ ที่่จ� ััดแสดงงานศิลิ ปะ
แขนงต่่างๆ ทั้้ง� ละคร ดนตรีี งานทัศั นศิิลป์์ทุุกประเภท การแสดงนาฏศิิลป์์ไทยและสากล รวมถึงึ งานศิลิ ปะอื่่�นๆ ทางด้้าน
วััฒนธรรมที่่�หลากหลาย
สถาบัันวััฒนธรรมและศิลิ ปะ เห็็นความสำ�ำ คััญของการส่่งเสริมิ ให้บ้ ุคุ ลากร มีจี ัดั การและถ่่ายทอดประวััติิศาสตร์์ของ
ตนเองผ่่านวััตถุุที่่ม� ีคี ุณุ ค่่าต่่อตนเองและเป็็นการสร้า้ งความรู้�ใหม่ๆ่ แก่ผู่้�อื่น� เพื่�อ่ สร้้างความเข้ม้ แข็็งด้า้ นสัังคมวัฒั นธรรม อันั จะ
เป็็นประโยชน์์ต่่อการพััฒนาประเทศ จึึงเป็น็ เหตุใุ ห้เ้ กิดิ และโครงการชำ�ำ ระประวััติศิ าสตร์์ : พิพิ ิธิ ภััณฑ์เ์ พื่อ่� อนาคต ครั้ง� ที่่� 2 โดย
นำำ�งานศิิลปะ วััตถุุสะสม ของผู้�บริหิ าร คณาจารย์์ บุคุ ลากร ซึ่�่งเป็็นบุคุ ลากรภายในมหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒ มาร่่วมถ่า่ ย
ถอดเรื่่�องราวผ่่านสื่�่อวิิดิทิ ััศน์์ เพื่่�อเผยแพร่แ่ ละมอบความรู้�แก่ผู่้�เข้้าชม ได้ร้ ับั รู้�ถึงความทรงจำ�ำ รัับรู้�ประวััติิความเป็็นมาของสิ่ง�
เล็ก็ ๆ ที่่เ� ป็็นของสะสมแห่่งความทรงจำำ�นี้้� ความประทัับใจที่่เ� ป็น็ เหตุแุ ห่ง่ การสร้้างสรรค์์ การจินิ ตนาการอัันเป็็นแรงบันั ดาลใจที่่�
ส่่งผลถึงึ การสร้้างผลงานในปััจจุุบันั เพื่อ�่ ส่่งเสริิมและเสริมิ สร้้างองค์์ความรู้�ทางด้้านศิลิ ปะและวััฒนธรรมอันั หลากหลาย สร้้าง
ความเข้้าใจและการยอมรัับในความหลากหลายทางศิลิ ปวััฒนธรรม นอกจากนี้้ย� ัังสร้้างคุณุ ค่่าแก่่เจ้้าของผลงานมีกี ารจััดการ
ความรู้� ความคิดิ อย่่างเป็็นระบบ ซึ่ง่� เป็็นการส่ง่ เสริิมให้้บุุคลากรมีีการทำ�ำ งานอย่า่ งมีีประสิทิ ธิภิ าพซึ่ง�่ เป็น็ ปััจจััยหนึ่่�งในการ
พััฒนามหาวิทิ ยาลัยั ต่่อไป
4.วััตถุปุ ระสงค์์
1.เพื่อ่� เป็น็ แหล่่งเรียี นรู้�และนำ�ำ เสนอผลงานด้้านศิลิ ปวัฒั นธรรมร่ว่ มสมัยั ที่่�หลากหลาย อัันนำำ�ไปสู่�การสร้า้ งการเรียี นรู้�
สุุนทรียี ศาสตร์์
2.เพื่อ�่ สร้า้ งเครืือข่่ายกิิจกรรมความร่่วมมืือด้า้ นศิิลปะกับั ศิลิ ปิิน บุุคคล หรืือหน่่วยงานด้้านศิลิ ปวัฒั นธรรมร่ว่ มสมััย ที่่�มีี
ประโยชน์ต์ ่่อการพััฒนาการศึกึ ษา ศิิลปวัฒั นธรรม
3.เพื่่อ� สร้า้ งคุุณค่่าแก่่ตนเองอัันจะส่ง่ ผลต่อ่ การทำ�ำ งานที่่�มีปี ระสิิทธิิภาพ

ภาพถ่า่ ยโครงการชำ�ำ ระประวัตั ิศิ าสตร์์ : พิพิ ิธิ ภััณฑ์์เพื่่�ออนาคต ครั้ง� ที่�่ 2
วัันศุุกร์ท์ ี่่� 27 สิงิ หาคม 2564

ณ สถาบัันวัฒั นธรรมและศิิลปะ มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒ
ผู้�เข้้าร่ว่ มโครงการ

เนื่่�องจากสถานการณ์์ การแพร่่ระบาดของเชื้อ้� ไวรัสั โคโรน่่า 2019 ที่ก�่ ่อ่ ให้้เกิิดโรคโควิดิ 19 คณะทำ�ำ งานได้ป้ รัับเปลี่ย�่ นรููป
แบบการนำำ�เสนอ โดยจัดั โครงการผ่า่ นสื่�อออนไลน์์ ในรููปแบบของการถ่่ายทอดสดโครงการ ผ่่านทาง Facebook Live
ของสถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะ มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒ โดยมีีผู้้�เข้้าร่่วมโครงการ (ณ วันั เปิิดงาน) ได้้แก่่ ผู้�

บริหิ าร อาจารย์์ นิสิ ิติ และบุุคคลทั่่ว� ไป จำ�ำ นวน 1,353 คน

โครงการลอยกระทง สานงานศิิลป์์ ศรีีนครินิ ทร์์ ถิ่�นวััฒนธรรม
ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2560 - 2565

1. ชื่่�อโครงการ
โครงการลอยกระทง สานงานศิิลป์์ ศรีนี คริินทร์ ์ ถิ่่�นวััฒนธรรม
2. หน่่วยงานรับั ผิิดชอบ สถาบัันวััฒนธรรมและศิลิ ปะ มหาวิทิ ยาลััยศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ
3. หลัักการและเหตุผุ ล
ประเพณีีลอยกระทงเป็็นหนึ่่ง� ในประเพณีีที่่�มีคี วามสำ�ำ คัญั ด้้านวััฒนธรรมและศิลิ ปะของชาติไิ ทย ที่่�มีมี าแต่โ่ บราณ ซึ่�ง่
ตรงกัับวัันขึ้น� 15 ค่ำ��ำ เดืือน 12 ของทุกุ ปีี โดยปฏิิบััติติ ามความเชื่�อ่ ของแต่ล่ ะท้อ้ งถิ่�น เพื่�อ่ แสดงออกถึึงการให้้ความเคารพบูชู า
พระแม่่คงคา การขอบคุุณแม่น่ ้ำ�ำ� ที่่อ� ำ�ำ นวยประโยชน์์ต่า่ งๆ ต่อ่ การดำ�ำ เนินิ ชีวี ิิตของมนุษุ ย์์ รวมทั้้ง� เป็น็ การขอขมาลาโทษต่่อพระ
แม่ค่ งคา และแม่น่ ้ำ�ำ�ที่่ม� นุษุ ย์์ได้้ใช้้ประโยชน์์หรืือกระทำำ�ความเสียี หาย ซึ่�่งในปัจั จุุบัันมีกี ารจัดั ประเพณีีลอยกระทงแทบทุกุ พื้้�นที่่�
ถืือเป็็นงานประจำำ�ปีที ี่่ส� ำำ�คััญ โดยสนัับสนุุนให้ม้ ีกี ิิจกรรมต่่างๆ อาทิิ การประกวดกระทง การละเล่่นหรืือการแสดงพื้้น� เมืือง ซึ่่�ง
เป็น็ การรวมกิิจกรรมวัฒั นธรรมและศิลิ ปะในหลายแขนงไว้ด้ ้ว้ ยกััน
มหาวิิทยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒ มีีพัันธกิิจหลัักในการส่่งเสริิม สนัับสนุุน และขัับเคลื่่�อนการดำำ�เนิินงานด้้าน
ทำำ�นุุบำำ�รุุงวััฒนธรรมและศิลิ ปะ โดยมีีเป้า้ หมายการพััฒนาอย่า่ งยั่�งยืืน (Sustainable Development Goals) SDGs 11
: การสร้า้ งเมืืองและตั้�งถิ่�นฐานที่่�ปลอดภััย ข้้อ 11.4 เสริิมความพยายามที่่จ� ะปกป้้องและคุ้�มครองมรดกทางวัฒั นธรรมและทาง
ธรรมชาติิของโลก ในการอนุุรักั ษ์์ สืืบสาน สร้า้ งสรรค์์ ส่่งเสริิมศิลิ ปวัฒั นธรรมอัันเป็็นสมบััติิของประเทศชาติเิ พื่�อ่ ให้เ้ กิดิ การ
พัฒั นาสุุนทรียี ภาพในมิิติทิ างวััฒนธรรม อีีกทั้้ง� ต้อ้ งมีีการบูรู ณาการด้้านการเรีียนการสอนที่่�สอดคล้้องกัับแนวทางบริิหารและ
พััฒนาวัฒั นธรรมและศิลิ ปะเพื่อ่� ชุมุ ชน ให้เ้ กิดิ การแลกเปลี่�ยนองค์ค์ วามรู้�ด้้านวัฒั นธรรมและศิิลปะในการสร้้างเครืือข่่ายทาง
วััฒนธรรมและศิิลปะทั้้�งหน่่วยงานภายในและภายนอกผ่่านมิติ ิทิ างวััฒนธรรม เพื่่�อนำ�ำ ไปสู่�การพััฒนา ต่อ่ ยอด และการบููรณา
การกัับศาสตร์์ต่่างๆ ในบริิบทวัฒั นธรรมร่ว่ มสมััย
สถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะ จึึงได้้จััดโครงการลอยกระทง สานงานศิิลป์์ ศรีีนคริินทร์์ ถิ่่�นวััฒนธรรม ขึ้้�น โดยมีี
การบููรณาการด้้านการเรีียนการสอน เพื่อ่� ให้้บุคุ ลากร นิิสิิตมหาวิทิ ยาลััยศรีีนคริินทรวิิโรฒ และบุคุ คลทั่่�วไปได้้เป็็นส่่วนหนึ่่�งใน
การอนุุรักั ษ์ ์ สืืบสานขนบธรรมเนีียมประเพณีีและวััฒนธรรมอัันดีงี าม เพื่อ�่ เป็็นการบููรณาการ ด้้านการทำ�ำ นุบุ ำ�ำ รุุงวััฒนธรรมและ
ศิิลปะกัับส่่วนกิิจการนิิสิติ และเป็็นแนวทางในการเผยแพร่่วัฒั นธรรมและศิลิ ปะ

4. วัตั ถุปุ ระสงค์์
1. เพื่่�อเสริมิ สร้า้ งความเข้า้ ใจเกี่�ยวกับั ประเพณีีลอยกระทงที่่�สะท้อ้ นผ่า่ นกิจิ กรรมวััฒนธรรมและศิิลปะ ต่่าง ๆ
2. เพื่่�อให้เ้ กิดิ การแลกเปลี่ย� นเรีียนรู้�ด้้านวััฒนธรรมและศิิลปะกัับการบููรณาการด้า้ นการเรียี นการสอนร่ว่ มกันั
3.เพื่�่อสร้้างเครืือข่่ายทางวััฒนธรรมศิิลปะและมีีแนวทางการบููรณาการด้้านการทำ�ำ นุุบำำ�รุุงวััฒนธรรมและศิิลปะ
ระหว่า่ งหน่ว่ ยงานในมหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิิโรฒ
5. ผู้�เข้า้ ร่่วมโครงการ
ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2560
- ผู้�บริิหาร คณาจารย์ ์ บุคุ ลากร นิิสิติ และบุุคคลทั่่ว� ไป จำำ�นวน 2,550 คน
ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ 2561
- ผู้�บริิหาร คณาจารย์์ บุคุ ลากร นิิสิติ และบุุคคลทั่่�วไป จำำ�นวน 2,951 คน

ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2562
- ผู้�บริหิ าร คณาจารย์์ บุุคลากร นิิสิติ และบุุคคลทั่่ว� ไป จำำ�นวน 3,854 คน
ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2563
- ผู้�บริิหาร คณาจารย์์ บุคุ ลากร นิิสิติ และบุุคคลทั่่�วไป จำำ�นวน 6,146 คน
ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2565 (รููปแบบออนไลน์)์
- ผู้�บริหิ าร คณาจารย์์ บุุคลากร นิิสิิต และบุุคคลทั่่ว� ไป จำำ�นวน 522 คน

ภาพถ่่ายโครงการลอยกระทง สานงานศิลิ ป์์ ศรีีนครินิ ทร์์ ถิ่น� วััฒนธรรม
ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2560

วันั จัันทร์ท์ ี่่� 14 พฤศจิกิ ายน 2559
ณ สนามกลางหม่่อมราชวงศ์จ์ ุรุ ีีพรหม กมลาศน์์ บริเิ วณหน้้าอาคาร 9
(อาคารสำ�ำ นัักงานอธิกิ ารบดีี) และหอนิทิ รรศการ g23 ห้อ้ งเล็ก็ ชั้้น� 2 อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์

ดร.สาโรช บััวศรีี มหาวิิทยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒ

ภาพถ่า่ ยโครงการลอยกระทง สานงานศิลิ ป์์ ศรีีนคริินทร์์ ถิ่�นวัฒั นธรรม
ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2561

วัันศุุกร์ท์ ี่่� 3 พฤศจิกิ ายน 2560
ณ สนามกลางหม่่อมราชวงศ์จ์ ุุรีีพรหม กมลาศน์์ บริเิ วณหน้้าอาคาร 9 (อาคารสำ�ำ นักั งานอธิกิ ารบดีี)

และเวทีีครึ่ง� วงกลม ลานอโศกมนตรีี (SWUNIPLEX) ด้า้ นหน้า้ อาคารนวัตั กรรม :
ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บััวศรีี มหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ

ภาพถ่า่ ยโครงการลอยกระทง สานงานศิลิ ป์์ ศรีีนคริินทร์์ ถิ่�นวัฒั นธรรม
ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ 2562

วัันพฤหัสั บดีีที่�่ 22 พฤศจิกิ ายน 2561
ณ สนามกลางหม่่อมราชวงศ์จ์ ุุรีีพรหม กมลาศน์์ บริเิ วณหน้้าอาคาร 9 (อาคารสำ�ำ นัักงานอธิกิ ารบดีี)

และเวทีีครึ่�งวงกลม ลานอโศกมนตรีี (SWUNIPLEX) ด้้านหน้า้ อาคารนวัตั กรรม :
ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิิทยาลัยั ศรีีนคริินทรวิิโรฒ

ภาพถ่า่ ยโครงการลอยกระทง สานงานศิิลป์์ ศรีีนครินิ ทร์์ ถิ่�นวััฒนธรรม
ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2563

วัันจัันทร์ท์ ี่�่ 11 พฤศจิกิ ายน 2562
ณ สนามกลางหม่่อมราชวงศ์จ์ ุุรีีพรหม กมลาศน์์ บริเิ วณหน้า้ อาคาร 9 (อาคารสำ�ำ นักั งานอธิิการบดีี)

และเวทีีครึ่ง� วงกลม ลานอโศกมนตรีี (SWUNIPLEX) ด้้านหน้า้ อาคารนวัตั กรรม :
ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ

ภาพถ่า่ ยโครงการลอยกระทง สานงานศิลิ ป์์ ศรีีนครินิ ทร์์ ถิ่�นวัฒั นธรรม
ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2565

วัันศุกุ ร์ท์ ี่่� 19 พฤศจิกิ ายน 2564
รููปแบบออนไลน์ผ์ ่่านระบบ Zoom Application Meeting และ Facebook Live

โครงการวััฒนธรรมกัับศาสนา : วันั มาฆบูชู า
ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2560 - 2565

1.ชื่่อ� โครงการ
โครงการวันั มาฆบูชู า
2.หน่่วยงานที่่�รับั ผิดิ ชอบ สถาบันั วัฒั นธรรมและศิลิ ปะ มหาวิิทยาลัยั ศรีนี ครินิ ทรวิโิ รฒ

3.หลัักการและเหตุผุ ล
ศาสนาเป็น็ ส่่วนหนึ่่ง� ของสถาบัันทางสังั คมที่่�สำำ�คัญั ซึ่ง�่ มีอี ิทิ ธิิพลในการกำ�ำ หนดความเชื่่�อ ค่่านิิยมที่่�ส่ง่ ผลต่่อพฤติิกรรม
ที่่�แสดงถึึงวิิถีีชีวี ิิตของบุคุ คลในสังั คม โดยเฉพาะในสังั คมไทยที่่�ผู้�คนส่ว่ นใหญ่น่ ับั ถืือพุุทธศาสนามาอย่่างยาวนาน พุุทธศาสนาจึึง
มีีบทบาทที่่ส� ำ�ำ คัญั มากต่่อวััฒนธรรม ขนบ ธรรมเนียี ม ประเพณีี กฎเกณฑ์ ์ ค่่านิิยม และวิิถีชี ีวี ิติ ชาวไทย อีีกทั้้�งหลัักธรรมคำ�ำ สั่่�ง
สอนของพุุทธศาสนาก็ล็ ้ว้ นแต่่สอนให้ค้ นเป็็นคนดีีเป็็นที่่�ยึึดเหนี่่�ยวจิิตใจ และมีอี ิิทธิิพลต่่อการดำ�ำ เนิินชีวี ิติ ของมนุษุ ย์ ์ ทั้้�งยัังเป็็น
สิ่�งที่่�สร้า้ งสัันติสิ ุขุ ให้้เกิดิ ขึ้้�นในโลกนี้้�ด้้วย
วันั มาฆบูชู า ถืือได้้ว่่าเป็็นวันั สำ�ำ คัญั ทางพุุทธศาสนา เนื่่�องจากเป็็นวันั ที่่เ� กิดิ เหตุกุ ารณ์ก์ ารประชุุมของสงฆ์ท์ ี่่�สำ�ำ คัญั ที่่�
เรียี กว่า่ จาตุรุ งคสัันนิิบาต คำ�ำ ว่่า จาตุรุ หรืือ จตุุร นั้้�นแปลว่า่ 4 องค์์ ส่ว่ น สันั นิบิ าต แปลว่า่ การประชุุม ดังั นั้้น� จาตุรุ งคสันั นิบิ าต
จึงึ หมายความว่่า “การประชุุมด้ว้ ยองค์์ 4” กล่่าวคืือมีเี หตุกุ ารณ์พ์ ิเิ ศษที่่เ� กิดิ ขึ้้�นพร้้อมกันั 4 อย่า่ งในวันั นี้้ � คืือ 1) เป็น็ วันั ที่่พ� ระ
สงฆ์์สาวกของพระพุุทธเจ้้า จำำ�นวน 1,250 รููป มาประชุุมพร้อ้ มกัันที่่�เวฬุุวันั วิิหารในกรุุงราชคฤห์์ โดยมิิได้้นััดหมาย 2) พระภิิกษุุ
สงฆ์เ์ หล่่านี้้�ล้้วนเป็น็ “เอหิิภิิกขุุอุปุ สัมั ปทา” คืือเป็น็ ผู้�ที่ไ� ด้้รับั การอุุปสมบทโดยตรงจากพระพุุทธเจ้้าทั้้ง� สิ้น� 3) พระภิิกษุุสงฆ์ท์ ุุก
องค์ท์ ี่่�ได้้มาประชุมุ ในครั้ง� นี้้� ล้ว้ นแต่่เป็น็ ผู้�บรรลุพุ ระอรหันั ต์์แล้ว้ ทุกุ ๆองค์์ 4) เป็น็ วัันที่่พ� ระจันั ทร์เ์ ต็ม็ ดวงกำ�ำ ลัังเสวยมาฆฤกษ์์ ใน
การประชุุมครั้ง� นี้้� องค์ส์ มเด็็จพระสัมั มาสัมั พุุทธเจ้า้ ทรงแสดงโอวาทปาฏิิโมกข์์ ซึ่ง�่ ถืือเป็น็ คำำ�สอนที่่เ� ป็น็ หััวใจสำ�ำ คัญั ของพุุทธ
ศาสนา อันั ประกอบไปด้ว้ ย การไม่ท่ ำำ�ชั่่ว� การทำ�ำ แต่ค่ วามดีี และการทำ�ำ จิิตใจให้้ผ่อ่ งใส เป็น็ หนึ่่�งใน 3 วันั สำ�ำ คัญั ทางพุทุ ธศาสนา
โดยถืือว่่าเป็็นวัันแห่่งพระธรรม
สถาบัันวัฒั นธรรมและศิิลปะ ในฐานะหน่ว่ ยงานที่่�มีีหน้า้ ที่่�ทำ�ำ นุบุ ำำ�รุุงวัฒั นธรรมและศิิลปะ เพื่อ่� ให้ส้ อดคล้้องกัับแผน
ยุุทธศาสตร์์ของมหาวิิทยาลััยด้้านการสืืบสานและสร้้างองค์์ความรู้�ในการทำ�ำ นุุบำำ�รุุงวััฒนธรรมและศิิลปะจึึงกำ�ำ หนดจััดโครงการ
วััฒนธรรมกับั ศาสนา โดยมุ่�งหวังั ให้ผู้้�เข้้าร่่วมโครงการมีคี วามรู้�ความเข้้าใจในเรื่�อ่ งศิิลปวััฒนธรรม ในด้้านการทำ�ำ นุุบำำ�รุุงศาสนา
สถาบัันฯ จึึงดำ�ำ เนินิ งานจััดกิิจกรรมทางศาสนาขึ้�นเพื่�่อให้ผู้้�เข้า้ ร่ว่ มตระหนักั ถึึงความสำ�ำ คัญั ของพุทุ ธศาสนา ส่ง่ เสริิมให้ผู้้�เข้้าร่ว่ ม
งานมีสี ่ว่ นร่่วมในการอนุุรักั ษ์์วััฒนธรรมไทยและสืืบทอดพุทุ ธศาสนาให้ด้ ำ�ำ รงคงอยู่� โดยมีกี ารจัดั กิิจกรรมการบริิจาคสิ่�งของเพื่่�อ
ตระหนัักถึงึ การให้้ทานซึ่่�งสอดคล้้องกัับหลักั พุทุ ธศาสนา เพื่�อ่ ตระหนัักถึึงการให้้ทานซึ่�ง่ สอดคล้้องกับั หลัักธรรมทางพุทุ ธศาสนา
ในวันั มาฆบููชา คืือ ทำ�ำ ความดีี ละเว้้นความชั่�ว และทำ�ำ จิิตใจให้ผ้ ่่องใส ทั้้ง� นี้้�ยังั กิิจกรรมมีีการกำ�ำ หนดให้ผู้้�เข้า้ ร่ว่ มงานแต่่งกายด้ว้ ย
ผ้า้ ไทย อัันจะเป็น็ การส่ง่ เสริิมการอนุุรักั ษ์์ภููมิิปััญญาไทยซึ่ง่� เป็น็ ศิิลปวัฒั นธรรมอีีกแขนงหนึ่่ง� ด้ว้ ย
4. วััตถุปุ ระสงค์์
1. เพื่่�อส่่งเสริิมให้ผู้้�เข้า้ ร่ว่ มงานตระหนัักถึึงความสำำ�คััญของพุทุ ธศาสนา
2. เพื่่�อส่่งเสริิมให้ผู้้�เข้้าร่ว่ มงานมีีส่ว่ นร่่วมในการอนุรุ ัักษ์์วััฒนธรรมไทยและสืืบทอดพุุทธศาสนา
3. เพื่�่อส่่งเสริมิ ให้ผู้้�เข้้าร่ว่ มงานตระหนักั ถึงึ ความสำำ�คัญั ของพุทุ ธศาสนาในรููปแบบของการสื่่�อสารผ่่านระบบออนไลน์์

5. ผู้�เข้้าร่่วมโครงการ จำำ�นวน 183 คน
ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2560 จำำ�นวน 233 คน
- ผู้�บริิหาร คณาจารย์์ บุคุ ลากร นิิสิิต และบุุคคลทั่่�วไป จำำ�นวน 150 คน จำำ�นวน 416 คน
ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ 2561
- ผู้�บริิหาร คณาจารย์์ บุคุ ลากร นิิสิิต และบุุคคลทั่่ว� ไป จำำ�นวน 357 คน
ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2562
- ผู้�บริหิ าร คณาจารย์ ์ บุคุ ลากร นิิสิติ และบุุคคลทั่่ว� ไป จำำ�นวน 409 คน
ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ 2563
- ผู้�บริิหาร คณาจารย์์ บุุคลากร นิิสิติ และบุุคคลทั่่ว� ไป จำำ�นวน 369 คน
ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ 2564
- ผู้�บริหิ าร คณาจารย์์ บุุคลากร นิิสิิต และบุุคคลทั่่�วไป จำำ�นวน 586 คน
ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2565
- ผู้�บริหิ าร คณาจารย์์ และบุุคลากรร่่วมบริิจาคสิ่ง� ของ
- ผู้�บริิหาร คณาจารย์ ์ บุคุ ลากร และนิิสิิต เข้้าร่่วมโครงการฯ ในรูปู แบบออนไลน์์
รวมทั้้�งสิ้�น

ภาพถ่า่ ยโครงการวัฒั นธรรมกัับศาสนา : มาฆบูชู า
ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ 2560

วัันพฤหัสั บดีีที่่� 9 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2560
ณ บริเิ วณหน้า้ อาคารประสานมิติ ร (อาคาร 3) มหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ

ภาพถ่า่ ยโครงการวััฒนธรรมกับั ศาสนา : มาฆบูชู า
ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2561
วัันพุุธที่�่ 28 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2561

ณ โถงชั้้น� 1 อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิิโรฒ
ภาพถ่่ายโครงการวัฒั นธรรมกัับศาสนา : มาฆบูชู า
ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2562
วัันจัันทร์ท์ ี่่� 18 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2562

ณ โถงชั้้น� 1 อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ

ภาพถ่า่ ยโครงการวััฒนธรรมกัับศาสนา : มาฆบูชู า
ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2563
วัันศุุกร์ท์ ี่�่ 7 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2563

ณ โถงชั้้น� 1 อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒ

ภาพถ่า่ ยโครงการวัฒั นธรรมกัับศาสนา : มาฆบูชู า
ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2564

วันั พฤหััสบดีีที่�่ 25 กุมุ ภาพัันธ์์ 2564
ณ โถงชั้้น� 1 อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิิทยาลัยั ศรีีนคริินทรวิโิ รฒ

ภาพถ่่ายโครงการวััฒนธรรมกัับศาสนา : มาฆบูชู า
ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2564

ในรูปู แบบออนไลน์ผ์ ่า่ นช่่องทาง Live Facebook สถาบัันวัฒั นธรรมและศิิลปะ และรายการวัันนี้้ม� ีีเหตุุ
ภาพถ่่ายโครงการวััฒนธรรมกัับศาสนา : มาฆบูชู า
ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2565
วัันอัังคารที่่� 15 กุมุ ภาพัันธ์์ 2565

โถงชั้้น� 1 อาคารประสานมิติ ร (อาคาร 3) มหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ
และสำ�ำ นักั สงฆ์์ป่า่ มะขาม สถานที่ด่� ููแลพระอาพาธ ต.หนองสาหร่า่ ย อ.ปากช่่อง จ.นครราชสีีมา

ภาพถ่่ายโครงการวัฒั นธรรมกัับศาสนา : มาฆบูชู า
ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2565

วันั อังั คารที่�่ 15 กุมุ ภาพัันธ์์ 2565
โถงชั้้น� 1 อาคารประสานมิติ ร (อาคาร 3) มหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒ
และสำ�ำ นักั สงฆ์์ป่า่ มะขาม สถานที่ด�่ ููแลพระอาพาธ ต.หนองสาหร่่าย อ.ปากช่่อง จ.นครราชสีีมา

ภาพถ่า่ ยโครงการวััฒนธรรมกัับศาสนา : มาฆบูชู า
ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2565 วันั อัังคารที่�่ 15 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2565
ในรููปแบบออนไลน์ผ์ ่่านช่่องทาง Live Facebook สถาบันั วัฒั นธรรมและศิิลปะ และรายการวันั นี้้�มีีเหตุุ

โครงการวััฒนธรรมกัับศาสนา : วิิสาขบูชู า
ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2560 - 2564

1.ชื่่อ� โครงการ
โครงการวัันวิิสาขบููชา
2.หน่ว่ ยงานที่�่รับั ผิิดชอบ สถาบัันวััฒนธรรมและศิิลปะ มหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิิโรฒ
3.หลัักการและเหตุุผล
ศาสนาและวััฒนธรรมเป็น็ สถาบัันทางสังั คมที่่�สำำ�คััญซึ่�ง่ มีีอิทิ ธิิพลในการกำ�ำ หนดความเชื่อ่� ค่า่ นิิยม และพฤติิกรรมอััน
เป็็นแบบวิิถีชี ีวี ิติ ของบุุคคลในสัังคม สัังคมไทยเป็็นสัังคมที่่�ชนส่ว่ นใหญ่่หรืือเกืือบทั้้ง� หมดนัับถืือศาสนาพุุทธมาโดยตลอด เป็น็
สัังคมที่่�มีวี ััฒนธรรมที่่�เป็น็ เอกลัักษณ์ข์ องตนเอง และมีีความสืืบเนื่อ�่ งต่อ่ กันั มานับั แต่่อดีตี ลักั ษณะเช่น่ นี้้จ� ึงึ ทำำ�ให้้พุุทธศาสนา
และวัฒั นธรรมไทยมีีบทบาทที่่ส� ำำ�คััญมาก และที่่ส� ำำ�คััญศาสนาได้ก้ ลายเป็น็ เครื่�่องยึึดเหนี่่ย� วจิติ ใจ ขนบธรรมเนียี มประเพณีี กฎ
เกณฑ์์ ค่า่ นิยิ ม และวิถิ ีชี ีีวิิตของคนไทยมีคี วามผููกพันั ธ์ก์ ัับสถาบัันทางศาสนา เพราะเป็น็ ศููนย์์กลางแห่่งการเรียี นรู้�ในหลายสาขา
อีกี ทั้้ง� หลัักธรรมคำ�ำ สั่่ง� สอนของทุุกศาสนาก็ล็ ้้วนแต่ส่ อนให้ค้ นเป็น็ คนดีี และมีอี ิิทธิิพลต่่อการดำ�ำ เนิินชีวี ิติ ของมนุุษย์ ์ ทั้้ง� ยัังเป็็นสิ่ง�
ที่่ส� ร้า้ งสัันติิสุขุ ให้เ้ กิิดขึ้้น� ในโลกนี้้�ด้้วย
วันั วิสิ าขบููชา ถืือได้้ว่่าเป็็นวันั สำ�ำ คััญทางพระพุุทธศาสนาสากล เนื่อ่� งจากเป็น็ วัันที่่�องค์์สมเด็็จพระสััมมาสััมพุุทธเจ้้าได้้
ทรงประสูตู ิิ ตรัสั รู้� และปรินิ ิพิ พาน โดยเป็น็ เหตุุการณ์ท์ ี่่�เกิดิ ขึ้้น� ตรงกัับวัันเดียี วกััน ซึ่�ง่ ก็็คืือวันั ขึ้น� 15 ค่ำ�ำ� เดืือน 6 และพระพุุทธ
ศาสนาเป็น็ ศาสนาที่่�เก่่าแก่่ที่่�สุุดศาสนาหนึ่่�งของโลก ที่่�ได้ห้ ล่อ่ หลอมจิิตวิิญญาณของมนุุษยชาติิมานาน ด้้วยคุุณค่่าและความ
สำำ�คััญดังั กล่่าว เป็น็ ผลให้้สมััชชาแห่่งสหประชาชาติปิ ระกาศให้้วันั วิสิ าขบููชา เป็็นวัันสำ�ำ คััญสากลของโลก
สถาบัันวัฒั นธรรมและศิิลปะ ได้้ดำ�ำ เนิินการจัดั โครงการวัฒั นธรรมกัับศาสนา : วัันวิิสาขบูชู า โดยได้จ้ ัดั กิจิ กรรมให้้
สอดคล้อ้ งกับั แผนยุุทธศาสตร์ข์ องมหาวิิทยาลััย เป็น็ การสืืบสานและสร้้างองค์ค์ วามรู้�ในการทำ�ำ นุบุ ำำ�รุุงวัฒั นธรรมและศิลิ ปะ ส่่ง
เสริิมให้้ผู้ �เข้้าร่่วมโครงการตระหนึึกถึึงความสำำ�คััญของพุุทธศาสนาและได้้รัับความรู้ �ความเข้้าใจในเรื่่�องของศิิลปวััฒนธรรม
ทั้้�งนี้้� สถาบัันฯ ดำ�ำ เนิินการจัดั กิจิ กรรมฟัังธรรมเพื่�อ่ ให้้ผู้�เข้้าร่ว่ มตระหนักั ถึงึ ความสำ�ำ คััญของวันั วิสิ าขบูชู าและจัดั กิิจกรรมการ
บริิจาคสิ่ง� ของเพื่อ�่ ตระหนักั ถึงึ การให้้ทานซึ่�่งสอดคล้้องกับั หลักั พุุทธศาสนา นอกจากนี้้ก� ิิจกรรมจะกำ�ำ หนดให้ผู้้�เข้้าร่่วมงานแต่่ง
กายด้ว้ ยผ้า้ ไทย อันั จะเป็็นการส่ง่ เสริมิ การอนุุรัักษ์ภ์ ููมิิปัญั ญาไทยซึ่ง�่ เป็น็ ศิิลปวััฒนธรรมอีีกแขนงหนึ่่ง� ด้้วย
4.วััตถุุประสงค์์
1. เพื่�่อส่่งเสริิมให้ผู้้�เข้า้ ร่ว่ มงานตระหนักั ถึึงความสำำ�คัญั ของพุุทธศาสนา
2. เพื่�่อส่ง่ เสริิมให้ผู้้�เข้้าร่ว่ มงานมีสี ่ว่ นร่ว่ มในการอนุรุ ัักษ์์วัฒั นธรรมไทยและสืืบทอดพุุทธศาสนา
3. เพื่�่อส่ง่ เสริมิ ให้ผู้้�เข้า้ ร่ว่ มงานตระหนัักถึึงความสำำ�คัญั ของพุุทธศาสนาในรูปู แบบของการสื่อ�่ สารผ่่านระบบออนไลน์์
5. ผู้�เข้้าร่่วมโครงการ
ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ 2560
- ผู้�บริหิ าร คณาจารย์์ บุคุ ลากร นิิสิติ และบุุคคลทั่่�วไป จำำ�นวน 136 คน
ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ 2561
- ผู้�บริหิ าร คณาจารย์ ์ บุคุ ลากร นิิสิิต และบุุคคลทั่่�วไป จำำ�นวน 189 คน
ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2562
- ผู้�บริิหาร คณาจารย์์ บุุคลากร นิิสิิต และบุุคคลทั่่ว� ไป จำำ�นวน 304 คน

ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ 2563
- ผู้�บริหิ าร คณาจารย์ ์ บุคุ ลากร นิิสิิต และบุุคคลทั่่ว� ไป (ในรููปแบบออนไลน์)์ จำำ�นวน 75 คน
ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2564
- ผู้�บริหิ าร คณาจารย์ ์ บุุคลากร นิิสิิต และบุุคคลทั่่ว� ไป (ในรููปแบบออนไลน์์) จำำ�นวน 170 คน

ภาพถ่า่ ยโครงการวัฒั นธรรมกัับศาสนา : วันั วิิสาขบูชู า
ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2560

วันั ศุกุ ร์ท์ ี่่� 9 พฤษภาคม 2560
ณ โถงชั้้น� 1 อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิทิ ยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒ

ภาพถ่า่ ยโครงการวัฒั นธรรมกับั ศาสนา : วันั วิสิ าขบููชา
ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2561

วัันจัันทร์์ที่�่ 28 พฤษภาคม 2561
ณ โถงชั้้�น 1 อาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี มหาวิิทยาลัยั ศรีีนครินิ ทรวิโิ รฒ

ภาพถ่่ายโครงการวััฒนธรรมกับั ศาสนา : วัันวิิสาขบูชู า
ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2562

วัันศุุกร์์ที่่� 17 พฤษภาคม 2562
ณ โถงชั้้�น 1 และลานหน้้าอาคารนวัตั กรรม : ศาสตราจารย์์ ดร.สาโรช บัวั ศรีี

ภาพถ่่ายโครงการวัฒั นธรรมกับั ศาสนา : วันั วิิสาขบููชา
ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2563

วันั พุุธที่่� 6 พฤษภาคม 2563 ในรููปแบบออนไลน์ผ์ ่่านระบบเพจ Facebook สถาบัันวัมั นธรรมและศิิลปะ
หมายเหตุุ : เนื่่�องด้้วยสถานการณ์โ์ รคระบาดโควิิด 19 จึงึ ทำ�ำ ให้ส้ ถาบัันวััฒนธรรมและศิลิ ปะ ปรัับเปลี่ย�่ นรูปู แบบ

การจัดั โครงการเป็็นรููปแบบออนไลน์์
ภาพถ่่ายโครงการวััฒนธรรมกับั ศาสนา : วันั วิิสาขบููชา

ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2564
ในรูปู แบบออนไลน์ผ์ ่า่ นระบบเพจ Facebook สถาบัันวัมั นธรรมและศิลิ ปะ

และผ่่านช่่องทาง Youtube “รายการวัันนี้้�มีีเหตุ”ุ


Click to View FlipBook Version