วัดมชั ฌมิ าวาส จงั หวัดอุดรธานี 51
เจา้ อาวาสรูปที่ ๔ พระราชพุทธมิ ุนี
มรณภาพ ๔ กรกฎาคม ๒๕๑๖
เจ้าอาวาสรปู ที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๑๔-๒๕๑๖ พระราชพุทธิมุนี นามเดมิ สงิ ห์ นามสกลุ หาสอดส่อง นามฉายา
สุหชโฺ ช เกิดเมื่อวนั ที่ ๒๘ มกราคม พ.ศ.๒๔๔๐ ตรงกบั วันศกุ ร์ ขึ้น ๗ ค�่ำ เดอื น ๓ ปรี ะกา เวลา ๐๕.๓๐ น. ท่ีบา้ นหนองบุ
อำ� เภอเมืองอุดรธานี จงั หวัดอดุ รธานี โยมบิดาชอ่ื นายมี หาสอดส่อง โยมมารดาชอ่ื นางอ้วน หาสอดสอ่ ง มพี ่นี อ้ งร่วมบดิ า
มารดา ๖ คน ไดร้ บั การศึกษาเบอ้ื งต้นจากโรงเรยี นบา้ นหนองบุ โดยมีหลวงโภชนียากร เปน็ ครสู อนมคี วามรอู้ า่ นเขียนได้
พ.ศ. ๒๔๕๔ อายุ ๑๔ ปี ไดบ้ รรพชาเปน็ สามเณร โดยมพี ระอธกิ ารสอน เจา้ อาวาสวดั หนองบุ เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์
ไดศ้ กึ ษาหนังสือสวดมนต์และอกั ษรสมยั ไทย-ขอม และได้จำ� พรรษาอยูท่ วี่ ดั หนองบุ เปน็ เวลา ๕ ปี ครนั้ ถงึ พ.ศ. ๒๔๕๙
จึงได้ย้ายส�ำนักไปอยู่วัดมัชฌิมาวาส อ�ำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ในความปกครองของพระอาจารย์บุญ
(พระเทพวสิ ุทธาจารย์) และไดเ้ ขา้ เรียนช้นั มัธยมปที ่ี ๑ โรงเรยี นอุดรพิทยานุกูล
วันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ อายุ ๒๑ ปี ได้อปุ สมบทเปน็ พระภกิ ษวุ ดั หนองบุ มีพระอธิการปอ้ งวดั ศรคี ณุ
เมอื ง เป็นพระอุปชั ฌาย์ เม่อื อุปสมบทแลว้ ได้จำ� พรรษาอยทู่ ี่วดั มชั ฌิมาวาส ๒ พรรษา แล้วเดินทางไปกรุงเทพมหานคร
โดยท่านพระครพู ุทธพจนประกาศ (พระเทพวสิ ทุ ธาจารย์) รองเจ้าคณะจังหวดั อดุ รธานี ได้น�ำไปฝากใหอ้ ยู่ที่วดั มหาธาตุ
ยวุ ราชรงั สฤษฎิ์
การจำ� พรรษาอยทู่ วี่ ดั มหาธาตุ กรงุ เทพมหานครนี้ ไดเ้ ขา้ ศกึ ษาทง้ั แผนกนกั ธรรมและแผนกบาลี แตเ่ นอื่ งจาก
สุขภาพไม่สมบูรณ์ มีโรคาพาธเบียดเบียนอยู่เนืองนิตย์ การเรียนจึงไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร สอบได้นักธรรมชั้นโท
และ ป.ธ.๓ ซึ่งกน็ ับวา่ หาได้ยากมากในสมัยน้ัน
พ.ศ. ๒๔๗๗ ไดก้ ลบั ขน้ึ ไปอยทู่ วี่ ดั มชั ฌมิ าวาส อนั เปน็ สำ� นกั ตน้ สงั กดั เดมิ ไดร้ บั ภาระจดั การศกึ ษาทงั้ นกั ธรรม
และบาลมี าโดยลำ� ดบั คือ
พ.ศ. ๒๔๗๗ เปดิ สอนนักธรรมชัน้ โท
พ.ศ. ๒๔๘๓ เปดิ สอนนักธรรมชัน้ เอก
พ.ศ. ๒๔๘๔ เปดิ สอนแผนกบาลี
52 หนงั สอื ที่ระลกึ พธิ ถี วายผา้ พระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
ต�ำแหน่งและสมศกั ด์ิ
พ.ศ. ๒๔๗๒ พระมหาสิงห์ สุหชฺโช
พ.ศ. ๒๔๘๒ พระครูธรรมสโมธาน พัดเจา้ คณะต�ำบล
พ.ศ. ๒๔๘๓ เปลี่ยนพัดเปน็ พระครูผจู้ ดั การพระปริยัตธิ รรม
พ.ศ. ๒๔๘๗ ได้รับต�ำแหนง่ เป็นกรรมการสงฆจ์ ังหวดั อุดรธานี ประจำ� องคก์ ารเผยแผ่
พ.ศ. ๒๔๙๐ ไดร้ บั แต่งต้งั เป็นพระอุปัชฌาย์ ประเภทวสิ ามญั
พ.ศ. ๒๔๙๒ ไดร้ บั พระราชทานพระสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชน้ั สามัญที่ “พระพทุ ธจนประกาศ”
พ.ศ. ๒๕๐๘ ได้รบั แตง่ ต้ังเป็นเจ้าคณะจังหวัดอดุ รธานี รปู ท่ี ๑
พ.ศ. ๒๕๐๙ ไดร้ บั พระราชทานเลอื่ นสมณศกั ดิ์ เปน็ พระราชาคณะชนั้ ราชท่ี “พระราชพทุ ธมิ นุ ี ศรธี รรมวรากร
ยติคณิสสร บวรสงั ฆราม คามวาสี”
พ.ศ. ๒๕๑๑ ไดร้ ับแตง่ ตัง้ เปน็ รองเจา้ อาวาสวดั มชั ฌิมาวาส พระอารามหลวง
พ.ศ. ๒๕๑๔ ไดร้ บั แตง่ ตง้ั เปน็ เจา้ คณะจงั หวดั อดุ รธานี เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ กรกฎาคม และเปน็ เจา้ อาวาสวดั มชั ฌมิ า
วาส พระอารามหลวง เม่ือวันที่ ๒๐ สิงหาคม
ทา่ นเจา้ คุณพระราชพุทธมิ นุ ี ถงึ แกม่ รณภาพเมอ่ื วันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ เวลา ๑๖.๕๗ น. ดว้ ยโรคหวั ใจวาย
สริ ิอายไุ ด้ ๗๖ ปี ๕ เดือน ๗ วัน พรรษา ๕๕ ด�ำรงต�ำแหนง่ เจา้ อาวาสวดั มัชฌิมาวาสอยู่ ๑ ปี ๑๐ เดอื น ๑๔ วันเทา่ นนั้
เจ้าอาวาสรูปที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๔๐ พระราชปริยัติเมธี นามเดิม บุ่น นามสกุล เอกรัตน์ นามฉายา
โกวโิ ท เกิดเม่ือวันท่ี ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๖ ตรงกบั วันจันทรข์ ้นึ ๑๔ คำ่� เดอื น ๗ ปีกุน เวลา ๐๕.๓๐ น. ณ บ้านสงเปลือย
ต�ำบลเสอเพลอ อำ� เภอกุมภวาปี จังหวดั อดุ รธานี โยมบิดาชอ่ื นายแดง เอกรตั น์ โยมมารดาชอ่ื นางนวน เอกรตั น์
การศึกษา วชิ าสามญั สอบไดช้ ัน้ ประถมบริบูรณ์ นกั ธรรมสอบไดน้ กั ธรรมช้ันเอก บาลีสอบได้เปรียญธรรม ๘
ประโยค
หน้าท่กี ารงาน ได้รับมอบและแต่งต้งั ให้ท�ำงานและด�ำรงตำ� แหน่ง ดังต่อไปนี้
พ.ศ. ๒๔๘๕ เป็นครูสอนนกั ธรรมชนั้ โท (ขณะยังเปน็ สามเณร)
พ.ศ. ๒๔๘๖ เปน็ ครสู อนบาลี และได้สอนติดตอ่ กนั มาเป็นเวลา ๓๐ ปี
พ.ศ. ๒๔๘๘-๒๔๙๖ เป็นเลขานกุ ารกรรมการสงฆ์ จงั หวดั อดุ รธานี
พ.ศ. ๒๔๙๕-๒๕๐๕ เปน็ สาธารณปู การจังหวัดอดุ รธานี
พ.ศ. ๒๕๐๐-๒๕๐๕ เป็นพระวินัยธรจังหวดั อุดรธานี
พ.ศ. ๒๕๐๘ เป็นรองเจ้าคณะจังหวดั อดุ รธานี รูปที่ ๒
พ.ศ. ๒๕๑๑ เปน็ ผชู้ ่วยเจ้าอาวาสวดั มชั ฌมิ าวาส
พ.ศ. ๒๕๑๕ เปน็ รองเจา้ อาวาสวดั มชั ฌิมาวาส
พ.ศ. ๒๕๑๖ เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดมัชฌิมาวาส และเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าคณะจังหวัด
อดุ รธานี
พ.ศ. ๒๕๑๗ เปน็ เจา้ อาวาสวดั มชั ฌมิ าวาส พระบญั ชาแตง่ ตง้ั ท่ี ๙/๒๕๑๗ ลงวนั ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๑๗
และเป็นรองเจา้ คณะภาค ๘ พระบญั ชาแต่งตั้งที่ ๑๐/๒๕๑๗ ลงวนั ที่ ๒๓ มถิ ุนายน ๒๕๑๗
พ.ศ. ๒๕๓๐ เปน็ เจ้าคณะภาค ๘ ครง้ั ที่ ๑ พระบญั ชาแต่งตง้ั ท่ี ๒/๒๕๓๐ ลงวันที่ ๑๐ กนั ยายน ๒๕๓๐
พ.ศ. ๒๕๓๔ เป็นเจา้ คณะภาค ๘ คร้ังที่ ๒ ต้งั แต่วนั ท่ี ๑๐ กนั ยายน ๒๕๓๔ พระบญั ชาแตง่ ตงั้ ลงวนั ท่ี
๖ ตลุ าคม ๒๕๓๔
วัดมัชฌมิ าวาส จังหวดั อดุ รธานี 53
เจา้ อาวาสรปู ท่ี ๕ พระราชปรยิ ตั ิเมธี
มรณภาพ พ.ศ.๒๕๓๗
สมณศกั ดิ์
๑. ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะช้ันสามัญที่ “พระปริยัติเวที” เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๑๑
๒. ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักด์ิเป็นพระราชาคณะช้ันราช ที่ “พระราชปริยัติเมธี ตรีปิฎกวิภูษิต
มหาคณิสสร บวรสงั ฆาราม คามวาส”ี เมือ่ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๗
๓. ไดร้ ับพระราชทานเลอ่ื นสมณศกั ด์ิ เปน็ พระราชาคณะชั้นเทพที่ “พระเทพปรยิ ัตสิ ธุ ี ศรวี รวุฒกิ ิจ ตรปี ิฎก
วิภษิ ิต มหาคณสิ สร บวรสังฆาราม คามวาสี” เมือ่ วันที่ ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๐
๔. ไดร้ บั พระราชทานเลอ่ื นสมณศกั ด์ิ เปน็ พระราชาคณะชนั้ ธรรมท่ี “พระธรรมปรยิ ตั โิ มลี ศลี าจารวมิ ล โกศล
วรกจิ จานกุ ิจ ตรีปิฎกวภิ ษู ิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี ” เมือ่ วันท่ี ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
เจ้าอาวาสรูปท่ี ๖ พระธรรมวิมลมุนี (สายพงศ์ อโนมปญฺโญ) เจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี เดิมช่ือ
นายสายพงศ์ กองสนิ ธ์ุ เกดิ วนั ท่ี ๕ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๙๔ เปน็ บตุ รนายโอแ๋ ละนางจนั ทร์ เปน็ ชาวตำ� บลจำ� ปี อำ� เภอศรธี าตุ
บรรพชาเมอ่ื วันท่ี ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ ณ วัดศรธี าตุประมัญชา ต�ำบลจ�ำปี มีพระครอู ดุล ศลี าภรณ์ วัดศรีสว่าง
บรมสขุ เป็นพระอปุ ัชฌาย์ อปุ สมบทเม่ือวนั ที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ ณ วัดมชั ฌมิ าวาส มพี ระราชพทุ ธมุนี (สิงห์
สุหชฺโช) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูอุตตรกิจโกศล (หริ่ง ฐิติปญฺโญ) เป็นพระกรรมวาจาจารย์และพระปรัยัติเวที (บุ่น
โกวโิ ท) เป็นพระอนุสาวนาจารย์
ดา้ นการศกึ ษา
พ.ศ. ๒๕๔๒ ส�ำเร็จปรญิ ญาพทุ ธศาสตรบณั ฑติ
พ.ศ. ๒๕๕๓ สำ� เรจ็ ปริญญาพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ
54 หนังสือท่ีระลึกพธิ ีถวายผา้ พระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
เจ้าอาวาสรูปปจั จุบนั พระธรรมวมิ ลมนุ ี (สายพงศ์ อโนมปญโฺ ญ)
ต�ำแหน่งทางวิชาการ
๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเศษ ในสาขาวิชา พระพุทธศาสนา โดยมหาวิทยาลัย
มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
สมณศักด์ิ
พ.ศ. ๒๕๓๑ เปน็ พระครสู ญั ญาบัตร รองเจา้ คณะจังหวดั ที่ พระครสู ริ ิชินวงศ์
๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ เปน็ พระราชาคณะช้ันสามัญเปรยี ญ ท่ี พระเมธีกติ ยาภรณ์
๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็น พระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชธีราภรณ์ สาทรกิจจานุกิจ มหาคณิสสร
บวรสงั ฆาราม คามวาสี
๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ เปน็ พระราชาคณะชัน้ เทพ ท่ี พระเทพรัตนมุนี ศรศี าสนโกศล วิมลวรกิจจาทร
มหาคณิสสร บวรสงั ฆาราม คามวาสี
๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เปน็ พระราชาคณะชนั้ ธรรม ที่ พระธรรมวมิ ลมนุ ี ศลี าจารโสภณ วมิ ลปรยิ ตั กิ จิ วธิ าน
ศาสนภารธรุ าทร มหาคณสิ สร บวรสงั ฆาราม คามวาสี
วนั อดตี เจ้าอาวาส
วนั ท่ี ๑๐ มนี าคม ถอื วา่ เปน็ วนั อดตี เจา้ อาวาสวดั มชั ฌมิ าวาส โดยยดึ เอาวนั มรณภาพแหง่ ทา่ นเจา้ คณุ พระเทพ
วิสทุ ธาจารย์ (บญุ ปุญฺญสิรมิ หาเถระ) เป็นหลัก มีการบ�ำเพ็ญบุญทกั ษณิ าอทุ ิศใหเ้ จา้ อาวาสทกุ รปู เปน็ ประจำ� ทุกปี
วดั มชั ฌมิ าวาส จังหวัดอดุ รธานี 55
ปูชนยี วัตถสุ ำ� คญั ของวัด
ปชู นยี วตั ถสุ ำ� คญั ของวดั ไดแ้ ก่ พระพทุ ธนรสหี ม์ หามนุ ี พระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั สรา้ งดว้ ยคอนกรตี เสรมิ เหลก็
๒ ชน้ั พระพุทธาวศิษฐ์ พระพุทธรปู ทองขดั ปางมารวชิ ัย
หลวงพอ่ นาค
56 หนงั สอื ท่ีระลึกพธิ ถี วายผา้ พระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
“หลวงพ่อนาค” เป็นพระพุทธรูปปางนาคปรก ท�ำจากวัสดุหินขาว พอกปูนทับองค์เดิม ขนาดหน้าตักกว้าง
๑๐๔ เซนติเมตร สูง ๒๖๐ เซนติเมตร (เฉพาะองค์พระสงู ๑๔๙ เซนตเิ มตร) ศิลปะแบบรตั นโกสนิ ทร์ แตเ่ ดิมหลวงพอ่ นาค
นี้เปน็ พระประธานในอโุ บสถหลังเกา่ ครนั้ ทางวดั โดยเจ้าคุณเทพวสิ ุทธาจารย์ไดส้ ร้างอโุ บสถหลงั ใหม่ขึน้ จนเสร็จเรียบรอ้ ย
แลว้ ใน พ.ศ. ๒๔๙๔ จงึ ได้รอื้ อโุ บสถหลงั เก่า (อุโบสถไม้ หลังคามงุ ดว้ ยกระเบอ้ื งไม้ตะเคียนทอง) และได้อาราธนาหลวงพ่อ
นาคไปประดษิ ฐานไวท้ หี่ นา้ มขุ ดา้ นหนา้ พระอโุ บสถ เปน็ พระพทุ ธรปู คบู่ า้ นคเู่ มอื งของจงั หวดั อดุ รธานี เพราะมปี ระจำ� อยทู่ ี่
โนนหมากแข้งน้ีก่อนสร้างเมืองอุดรธานีเสียอีก เป็นพระพุทธรูปที่ศักดิ์สิทธิ์ ประชาชนหลั่งไหลไปนมัสการขอพรทั่วทุก
สารทศิ ทองคำ� เปลวทถ่ี กู ปดิ อยทู่ กุ วนั ซงึ่ เปน็ เครอ่ื งชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ศรทั ธาอนั แรงกลา้ ของประชาชนทม่ี ตี อ่ หลวงพอ่ นาคไดเ้ ปน็
อยา่ งดี ทางวดั จงึ ได้ถอื เอาหลวงพอ่ นาคเปน็ สัญลักษณ์ของวดั และตราประจำ� วดั มีรปู พระนาคปรกอยู่ตรงกลาง
ใบเสมาภายในพระอโุ บสถ
ใบเสมารอบพระอุโบสถ
วดั มัชฌมิ าวาส จังหวดั อุดรธานี 57
เสมาภายในวัดมัชฌิมาวาสเป็นแบบเสมาแนบผนัง เสมาลักษณะน้ีเป็นเสมาแบบรัตนโกสินทร์1๒ เป็นการ
สืบทอดรูปแบบมาจากสมัยอยุธยาตอนปลาย เช่นเดียวกันกับรูปแบบของศิลปกรรมแขนงอื่นๆ กล่าวคือในช่วงอยุธยา
ตอนปลาย มกี ารประดบั ลวดลายทซี่ มุ้ เสมาแลว้ มาถงึ สมยั รตั นโกสนิ ทร์ การตกแตง่ ลวดลายจงึ ไมใ่ ชเ่ พยี งทซ่ี มุ้ เสมาเทา่ นนั้
หากแต่ยงั ปรากฏความหลากหลายของรปู ทรงและลวดลายทปี่ ระดบั อยู่ทีใ่ บเสมาด้วย
ลักษณะและแบบแผนของผงั เสมา แบ่งออกเป็น ๔ ลักษณะ คอื
๑. เสมาลอย คอื การปักใบเสมาบนฐานที่ต้ังบนพ้ืนโดยตรง และตัง้ อยโู่ ดดๆ รอบพระอุโบสถ
๒. เสมาบนก�ำแพงแกว้ คือ เสมานงั่ แทน่ ทมี่ กี �ำแพงแก้วชกั ถงึ กนั ทง้ั ๘ แทน่
๓. เสมาแนบผนัง คือ เสมาทีต่ ง้ั หรือประดับเขา้ กบั สว่ นของผนงั พระอุโบสถ
๔. เสมาแบบพเิ ศษ คือ การใช้แบบอย่างเสมาลกั ษณะพเิ ศษต่างจากแบบแผนท่วั ไป
ในสมัยรัชกาลที่ ๑ รูปแบบของใบเสมาไดร้ ับอิทธิพลมาจากสมยั อยธุ ยาตอนปลายอยมู่ าก แต่ว่ามีการตกแต่ง
สว่ นยอดของใบเสมาดว้ ยการใหม้ ยี อดเรยี วสงู ขน้ึ ควน่ั เปน็ สาย ปลอ้ ง และประดบั สว่ นไหลข่ องใบเสมาดว้ ยลวดลายคลา้ ย
บัวคอเสอื้ ขอบใบเสมายกเปน็ ขอบสองช้นั ลายทับทรวงท่ปี ระดบั อยตู่ รงกง่ึ กลางเป็นรปู รีคล้ายใบโพธิ์สองช้นั เชิงล่าง
บรเิ วณมมุ ท้ังสองสลกั เป็นรูปนาค
จวบจนถึงสมัยรัชกาลท่ี ๓ ซ่งึ เป็นช่วงที่พระพุทธศาสนาร่งุ เรืองข้นึ มาก มีการสรา้ งวัดวาอารามไมว่ า่ จะเปน็ ที่
เมอื งหลวงหรอื ปริมณฑล รปู แบบของเสมาในรชั สมยั นี้มกี ารประดบั ตกแต่งดว้ ยลวดลายทต่ี รงกลางใบเสมามากกว่าเดมิ
และเพิม่ ลวดลายรบิ้ บิน้ ผกู ประดับกับลายทับทรวงที่อยู่ตรงกลางนัน้
ต่อมาในสมยั รัชกาลที่ ๔ ความหลากหลายของรูปแบบใบเสมากถ็ ือกำ� เนิดขึน้ มีการคดิ ประดิษฐร์ ปู ทรงของ
ใบเสมาใหแ้ ตกตา่ งจากแบบเดมิ ๆ โดยอาศยั รปู แบบของเสานางเรยี งทมี่ มี ากอ่ นแลว้ ในสมยั โบราณ ซง่ึ จะประดบั รอบทาง
เดนิ ของปราสาทหนิ ตา่ งๆ โดยท�ำเป็นทรงหม้อ หรือหวั เม็ดทรงมัณฑ์ คอดก่วิ วางอยู่เหนอื แท่น ตรงมุมทง้ั ส่ีสลักเป็นรูป
เศียรนาค บางคร้ังมกี ารทำ� เปน็ รูปดอกบัวในส่วนตวั หวั เม็ด
ในสมยั นเี้ องทพ่ี บวา่ มกี ารสลกั ใบเสมาดว้ ยลายพระธรรมจกั ร โดยยงั คงไดร้ บั ความนยิ มมาจนถงึ รชั กาลปจั จบุ นั
สิ่งท่ีน่าสนใจไม่ใช่เพียงลวดลายที่มีความงดงามและรูปทรงที่ต่างจากยุคโบราณ หากแต่เป็นเรื่องของการประดิษฐาน
ใบเสมา ทพ่ี บว่ามีความน่าสนใจไมแ่ พก้ นั
กล่าวคอื ในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ นอกจากจะพบว่าการปกั ใบเสมารายล้อมรอบพระอุโบสถอนั เป็นการบ่งบอก
ถึงเขตบริเวณให้พระสงฆ์ท�ำสังฆกรรม ยังพบว่า นอกจากบริเวณรอบๆ พระอุโบสถแล้ว ยังพบการประดิษฐานใบเสมา
แนบผนังของพระอุโบสถดว้ ย อาทิ
ใบเสมาวัดมหาธาตุยวุ ราชรงั สฤษด์ิ กรงุ เทพฯ ซ่ึงเปน็ เสมาที่มีการสร้างได้วิจติ รงดงาม คือมีการสลกั ลวดลาย
ตรงกลางใบเสมาดว้ ยรปู ครฑุ ยดุ นาค และขอบรอบใบเสมาคอื ตวั นาค นอกจากนย้ี งั พบใบเสมาแนบผนงั ภายในพระอโุ บสถ
โดยสลกั เปน็ รูปพระนารายณท์ รงครุฑอีกดว้ ย
ใบเสมาวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ ท่ีมีการเพิ่มเติมลวดลายด้วยริ้บบ้ินผูกกับทับทรวงที่กลางใบเสมา
รอบขอบเปน็ รปู กนกนาค รองรับดว้ ยฐานบวั เหนือฐานสิงห์
ใบเสมาวัดปทุมวนารามราชวรวิหาร กรุงเทพฯ เป็นใบเสมาหินทรายแกะเป็นรูปดอกบัว ตามช่ือของวัด
กรอบเปน็ แนวสองช้นั รองรับดว้ ยกลีบบัว และรองรบั ด้วยฐานสงิ ห์ ๑ ฐาน
๒ MGR Online. เสมาแนบผนัง ยุครตั นโกสินทร์. สืบคน้ เม่ือวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๓, จาก https://m.mgronline.com/dhamma/
detail/9510000001280
58 หนงั สอื ทร่ี ะลกึ พิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
นอกจากน้ี ยังพบใบเสมาวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม เป็นเสมาสลักด้วยหินอ่อนติด
อย่ทู ี่มมุ ทัง้ สีท่ ศิ ซ่ึงสลักรปู ทา้ วจตุโลกบาลประจำ� ทิศทง้ั ส่ี คอื ทา้ วธตรส ท้าววริ ูปกั ษ์ ทา้ ววิรฬุ หก และทา้ วเวสสวุ รรณ
บรรณานกุ รม
หนังสอื
พระธรรมปริยัตโมล.ี (๒๕๓๖). ประวัตวิ ดั มัชฌิมาวาส จงั หวดั อดุ รธาน,ี พิมพค์ รง้ั ที่ ๓. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณ
ราชวทิ ยาลัย
ออนไลน์
MGR Online. เสมาแนบผนงั ยคุ รตั นโกสนิ ทร.์ สบื คน้ เมอื่ วนั ท่ี ๒๗ กนั ยายน ๒๕๖๓, จาก https://m.mgronline.com/
dhamma/detail/9510000001280
ม.ป.ท.. (๒๕๓๖). ประมวลภาพประวตั ศิ าสตร์จากบ้านเด่ือหมากแขง้ ถงึ จังหวัดอุดรธาน.ี (ม.บ.พ.)
อมรา เหมยุรธรรม, และคณะ. (๒๕๒๘) ประวตั ิมหาดไทยสว่ นภมู ิภาค จังหวดั อดุ รธาน.ี อดุ รธานี : สำ� นักงานจังหวดั .
พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม
ทม่ี า https://www.pinterest.com/pin/473863192023858203/
ทรงเป็นพระองค์เจา้ ทองก้อนใหญ่
พระเจ้าบรมวงศ์เธอช้ัน ๔ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคมเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยหู่ วั และเจ้าจอมมารดาสังวาลย์ ธดิ านายศัลยว์ ิไชย (ทองค�ำ) เปน็ เจา้ จอมมารดา และเป็นพระองคแ์ รกในเจ้าจอม
มารดาสงั วาลย์ ประสูติ ณ วนั เสาร์ เดอื น ๕ ขน้ึ ๑ คำ่� ปีมะโรง ตรงกับวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๙
ทรงอปุ สมบทเป็นภกิ ษุ
ตอ่ มาใน พ.ศ. ๒๔๑๘ พระองคเ์ จา้ ทองกองกอ้ นใหญม่ พี ระชนั ษาเจรญิ วยั สมควรจะอปุ สมบท พระบาทสมเดจ็
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบรมเชษฐาธิราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์ทรงผนวชในวัด
พระศรีรัตนศาสดาราม แล้วไปประทับท่ีวัดราชประดิษฐ์สถิตยมหาสีมาราม ในสมัยสมเด็จพระสังฆราช (สา) ทรงครอง
วัดราชประดษิ ฐ์ พระองค์ทรงผนวชอยู่ ๑ พรรษา
60 หนงั สอื ที่ระลกึ พธิ ถี วายผ้าพระกฐนิ พระราชทาน มศว ๒๕๖๓
ทรงเป็นแมท่ พั ใหญ่ปราบฮ่อ
ใน พ.ศ. ๒๔๒๘ เกิดพวกฮ่อข้าศึกเข้ามาเบียดเบียนประชาชนในแขวงเมืองพวน มณฑลอุดร และอื่นๆ
อีกหลายแห่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง
ประจักษ์ศิลปาคมเป็นแม่ทัพใหญ่ยกขึ้นไปปราบปรามด้านมณฑลอุดร เรียกว่า แม่ทัพฝ่ายใต้ ให้เจ้าหมื่นไวยวรนารถ
(จอมพล เจ้าพระยาสุรศกั ดิม์ นตรี เจิม แสงชูโต) เปน็ แม่ทพั ใหญ่ในการปราบฮอ่ ฝ่ายเหนือแถวท่งุ เชยี งค�ำ หลวงพระบาง
เรียกวา่ แมท่ ัพฝ่ายเหนือ
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั มพี ระบรมราโชวาทพระราชทานแดพ่ ระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวง
ประจกั ษศ์ ลิ ปาคม เวลานน้ั ดำ� รงพระยศเปน็ กรมหมนื่ และเจา้ หมน่ื ไวยวรนารถ (จอมพล เจา้ พระยาสรุ ศกั ดม์ิ นตร)ี ตลอดจน
แมท่ พั นายกองซง่ึ ขนึ้ ไปปราบปรามพวกฮอ่ ขา้ ศกึ ทง้ั ฝา่ ยทขี่ น้ึ ทางเมอื งหนองคายเรยี กวา่ ฝา่ ยใต้ ทขี่ น้ึ ทางเมอื งหลวงพระบาง
เรียกวา่ ฝ่ายเหนอื
พระอนสุ าวรียแ์ หง่ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจกั ษ์ศลิ ปาคม ณ จังหวัดอดุ รธานี
พระองคท์ รงเปน็ เจา้ นายทท่ี รงงานยงิ่ ใหญพ่ ระองคห์ นงึ่ ในรชั กาลที่ ๕ ทรงบำ� เพญ็ คณุ ประโยชนไ์ วแ้ กแ่ ผน่ ดนิ ไทย
อย่างใหญ่ย่ิงพระองค์หนึ่ง ทรงพระเกียรติคุณในราชการแผ่นดิน เป็นท่ีไว้วางพระราชหฤทัยในพระบาทสมเด็จ
พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั พระปิยมหาราช รัชกาลที่ ๕ ทรงเปน็ เสนาบดีกระทรวงส�ำคัญในยคุ นั้นถึง ๒ กระทรวงใหญ่
คือ เสนาบดกี ระทรวงวงั และเสนาบดกี ระทรวงกลาโหม ทง้ั เปน็ ผรู้ ั้งตำ� แหน่งผูบ้ ญั ชาการทหารเรอื ด้วย ในดา้ นการทหาร
พระองค์ทรงมพี ระยศเปน็ นายพลตรี ทรงดำ� รงต�ำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหมระหว่าง พ.ศ. ๒๔๔๒ ถึง พ.ศ. ๒๔๔๔
ทรงเป็นข้าหลวงต่างพระองค์ส�ำเร็จราชการมณฑลอุดร ซึ่งเป็นมณฑลชายแดนท่ีประสบปัญหายุ่งยากกับฝรั่งเศส
วดั มชั ฌมิ าวาส จงั หวดั อุดรธานี 61
ซึ่งมายึดครองประเทศลาว ด้วยมีอาณาเขตติดต่อกับมณฑลอุดร ต้องอาศัยพระปรีชาสามารถมากในการแก้ปัญหา
เรอ่ื งชายแดนดา้ นมณฑลอุดรอยา่ งหนกั
ทรงเปน็ ผนู้ ำ� ทเ่ี ขม้ แขง็ ในการตอ่ สลู้ ทั ธกิ ารลา่ อาณานคิ มของฝรง่ั เศสทส่ี ำ� คญั ยง่ิ พระองคห์ นงึ่ พระยอดเมอื งขวาง
เจ้าเมืองค�ำม่วนในสมัย ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) วีรบุรุษแห่งชาติไทยอันแท้จริงสังกัดอยู่ใต้บังคับบัญชาของพระองค์
ทา่ น คอื นายพลตรี พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม พระองค์เป็นผสู้ ร้างความเจริญรงุ่ เรืองใหแ้ กม่ ณฑล
อุดรเป็นอันมาก โดยเฉพาะในจังหวัดอุดรธานีในเวลานี้ ทางราชการได้สร้างอนุสาวรีย์เป็นพระรูปของพระองค์ทรงยืน
ประดิษฐานไว้ที่ทุ่งศรีเมืองแห่งจังหวัดอุดรธานี ไว้เป็นที่สักการะบูชาและร�ำลึกถึงและเชิดชูพระเกียรติคุณของพระองค์
ที่มแี กม่ ณฑลอดุ ร พระองคท์ รงเปน็ จนิ ตกวีและทรงมพี ระปรีชาญาณอันกว้างขวาง
พระนามของพระองค์ ซึ่งทางราชการยกย่องเทิดพระเกียรติไว้ในฐานะท่ีทรงสร้างความเจริญแก่มณฑลนี้
ได้เป็นนามของค่ายทหาร “ประจักษ์ศิลปาคม” ในจังหวัดอุดรธานี เป็นชื่อ “ถนนประจักษ์” นอกจากนั้นยังมี
“หนองประจกั ษ”์ ซ่ึงลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ พระอนสุ าวรีย์แห่งพระเจา้ บรมวงศ์เธอกรมหลวงประจักษศ์ ิลปาคม ทง้ั สิน้
สถาปตั ยกรรมของอนสุ าวรยี ์
เปน็ พระอนสุ าวรยี ร์ ปู ปน้ั ทองบรอนซ์ ในพระอริ ยิ าบถทรงประทบั ยนื อยบู่ นแทน่ หนิ แกรนติ สเี ทาดำ� ทม่ี คี วามสงู
เฉพาะพระแท่นประทับประมาณ ๓.๕๐ เมตร ทรงฉลองพระองค์เครื่องแบบทหารเต็มพระยศ พระหัตถ์ขวาทรงถือ
พระแสงกระบี่ พระอนุสาวรีย์ พลตรี พระเจา้ บรมวงศ์เธอกรมหลวงประจักษศ์ ลิ ปาคม นบั เป็นเกยี รตปิ ระวัติสงู สดุ ของ
ชาวจังหวัดอุดรธานี ซ่ึงชาวจังหวัดอุดรธานี ให้ความเคารพนับถือว่าเป็นส่ิงศักดิ์สิทธ์ิประจ�ำเมืองท่ีส�ำคัญแห่งหน่ึง
ชาวอุดรธานีท่ีจะเดินทางไปต่างบ้าน ต่างเมือง หรือกลับมาถึงเมืองอุดรธานี จะยกมือไหว้เพ่ือเป็นการบอกกล่าว
รวมถึงประชาชนที่เดินทางผ่านไปผ่านมาด้วย ส�ำหรับการกราบไหว้เพ่ือการขอพรนั้น ผู้สันทัดกรณีบอกว่าเป็นเคล็ดลับ
เช่นหากวา่ ขอพรในการสอบแข่งขนั การเลอื่ นขน้ั เลือ่ นต�ำแหนง่ ก้าวหนา้ สอบราชการทหาร ต�ำรวจ รัฐวิสาหกจิ ตา่ งๆ
ทา่ นบอกวา่ ใหต้ ง้ั จติ อธษิ ฐานบนบานตอ่ พระองคท์ า่ น ดว้ ยการวงิ่ รอบพระอนสุ าวรยี ์ และถวายมา้ และดาบ เปน็ ของแกบ้ น
ส่วนผู้ที่ไม่ได้บนบาน การกราบไหว้พระอนุสาวรีย์กรมหลวงฯ ท�ำให้เกิดมีความก้าวหน้าในหน้าท่ีการงาน ปราศจาก
อุปสรรคตา่ งๆ ในการทำ� งาน ประสบผลสำ� เรจ็ ในการเรียน พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดอนุสาวรีย์น้ี เม่ือวันพฤหัสบดีที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๔
โดยกรมศลิ ปากรออกแบบ และป้ันหล่อ1๑
พระอนุสาวรีย์พลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม ณ ทุ่งศรีเมือง จังหวัดอุดรธานีน้ี
สร้างข้ึนด้วยวัตถุประสงค์ตามหนังสือของท่านผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี ซึ่งนายมังกร กองสุวรรณ ปลัดจังหวัด
รักษาราชการแทนผวู้ า่ ราชการจงั หวัดอุดรธานี ลงวนั ท่ี ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๓ ถึงผ้เู รียบเรยี งหนังสอื ตอนหนึง่ มขี อ้ ความว่า
“การท่ีได้สร้างพระอนุสาวรีย์น้ีก็เพ่ือเป็นการเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งพระองค์ทรงกระท�ำคุณงามความดีให้แก่ประเทศชาติ
บา้ นเมืองอเนกประการ”
๑ Thailand Tourism Directory. (ไมป่ รากฏปี). อนุสาวรยี ก์ รมหลวงประจักษ์ศลิ ปาคม. ออนไลน์
62 หนงั สือที่ระลึกพิธถี วายผา้ พระกฐนิ พระราชทาน มศว ๒๕๖๓
ข้อความท่จี ารกึ ไวท้ พี่ ระอนสุ าวรยี เ์ ป็นพระราชประวัติและพระเกียรตคิ ุณโดยสังเขปเฉพาะท่เี กีย่ วกบั มณฑลอุดรว่า
“พลตรี พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงประจกั ษ์ศลิ ปาคม
พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
และ
เจ้าจอมมารดาสงั วาลย์
ประสตู เิ ม่ือวนั เสาร์ เดอื น ๕ ข้นึ ๑ ค�่ำ ปมี ะโรง จุลศักราช ๑๒๑๘
ตรงกับวนั ท่ี ๕ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๓๙๙
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
ใหท้ รงเป็นแม่ทัพไปปราบฮ่อในเขตเมืองลาวพวน
และดำ� รงตำ� แหน่งขา้ หลวงตา่ งพระองค์ สำ� เรจ็ ราชการมณฑลฝา่ ยเหนอื
ทรงริเรมิ่ ก่อตง้ั เมืองอุดรธานี
และทรงรับราชการในหนา้ ท่สี ำ� คัญตา่ งๆ
ซง่ึ อ�ำนวยประโยชนส์ ขุ แก่ราษฎรจำ� นวนมากในเขตมณฑลอดุ ร
สน้ิ พระชนมเ์ ม่ือวนั ท่ี ๒๕ มกราคม พทุ ธศักราช ๒๔๖๗
ทรงเปน็ ต้นสกลุ ทองใหญ่
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว
เสด็จพระราชดำ� เนนิ ไปเปดิ อนุสาวรยี ์นี้
เมอ่ื วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ มนี าคม พุทธศักราช ๒๕๑๔
กรมศลิ ปากร ออกแบบและป้นั หล่อ ”2๒
๒ ณฐั วุฒิ สุทธสิ งคราม. (๒๕๖๑). พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงประจักษศ์ ิลปาคม ผูถ้ วายชีวติ รกั ษาแผน่ ดินอีสาน. หน้า ๑๕๕
แหล่งท่องเทีย่ วทางวฒั นธรรม
มรดกโลกทางวัฒนธรรมบา้ นเชียง1๑
เกอื บยสี่ บิ ปที ผ่ี า่ นมา ชอ่ื ของบา้ นเชยี งเปน็ ทรี่ จู้ กั มเิ พยี งเฉพาะในหมปู่ ระชาชนคนไทยเทา่ นนั้ แตย่ งั มชี อ่ื เสยี ง
เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีไปท่ัวโลก ในฐานะที่เป็นแหล่งโบราณคดีที่ส�ำคัญของโลก และแหล่งศิลปวัตถุโบราณ ภาชนะ
ดินเผาลายเขียนสีสวยงามท่ีมีการซื้อขายมูลค่าสูงจนเป็นเหตุให้มีการลักลอบขุดค้นหาโบราณศิลปวัตถุเพื่อซ้ือขายกัน
อย่างดาษดื่นท่ัวไปในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งน้ัน หม้อลายเขียนสีตลอดจนโบราณวัตถุต่างๆ แบบบ้านเชียงจาก
แหล่งโบราณคดีต่าง ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือถูกซื้อขายกระจายออกไปท่ัวโลก ซ่ึงเป็นส่ิงที่น่าเสียดายอย่างย่ิงท่ี
แหลง่ ความรเู้ กย่ี วกบั มนษุ ยชาตใิ นอดตี ถกู ทำ� ลายเสยี หายไปเปน็ อนั มาก โชคดที น่ี กั วชิ าการและนกั โบราณคดที ง้ั ทเี่ ปน็ คนไทย
และต่างประเทศได้เร่งรัดลงมือท�ำการศึกษาขุดค้นทางโบราณคดีในแหล่งโบราณคดี ทั้งท่ีบ้านเชียงและบริเวณใกล้เคียง
แม้ว่าจะดำ� เนินการได้เพียงไม่ก่ีแห่ง แต่กระน้ัน ความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านั้นก็ให้คุณค่าอย่างมหาศาล จนท�ำให้
แหล่งโบราณคดบี ้านเชียงนน้ั มีชอ่ื เสยี งเป็นทีร่ ู้จกั กันเป็นอย่างดใี นแวดวงวิชาการของโลก และยิ่งมชี ือ่ เสียงมากข้ึนไปอีก
เมอ่ื คณะกรรมการมรดกโลกในองคก์ ารยเู นสโกไดป้ ระกาศยกยอ่ งใหแ้ หลง่ โบราณคดบี า้ นเชยี งเปน็ มรดกโลก นนั่ หมายถงึ
การประกาศใหเ้ หน็ ถงึ คณุ คา่ ของแหลง่ โบราณคดบี า้ นเชยี งนนั้ มคี วามสำ� คญั เปน็ อยา่ งยง่ิ ตอ่ ประวตั ศิ าสตรข์ องมนษุ ยชาติ
มูลเหตุที่ท�ำให้เร่ืองราวของแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงมีความโด่งดังและเป็นท่ีน่าสนใจนั้นเริ่มต้นเกิดขึ้น
จากการท่นี ายสเตฟเฟน ยัง (Stephen Young) นักศึกษาชาวอเมรกิ นั เดินทางเข้าไปในหมู่บ้านบา้ นเชียงเพอ่ื เกบ็ ขอ้ มลู
ทำ� วทิ ยานพิ นธท์ างมานษุ ยวทิ ยาเกย่ี วกบั ชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องชาวชนบท ไดพ้ บเศษภาชนะดนิ เผาลายเขยี นสภี ายในบรเิ วณ
บา้ นเชยี งซง่ึ เปน็ สง่ิ ทแ่ี ปลกตาและไมเ่ คยพบเหน็ ในทแี่ หง่ ใดมากอ่ นในประเทศไทย ดงั รายละเอยี ดทหี่ นงั สอื ไทมร์ ายสปั ดาห์
(Time 1984, หนา้ ๖๐) ได้บรรยายมขี ้อความวา่ วันหน่ึงในเดอื นกรกฎาคม ค.ศ. ๑๙๖๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙) อนั เปน็ วนั ทีค่ อ่ น
ข้างมีอากาศอบอ้าว สเตฟเฟน ยัง นักศึกษาวิชามานุษยวิทยาได้ประสบกับเรื่องราวของประวัติศาสตร์โดยบังเอิญ
ในการเดนิ ทางเขา้ ไปในหมบู่ า้ นบา้ นเชยี ง ซง่ึ เปน็ หมบู่ า้ นในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทย ไดส้ ะดดุ รากของตน้ นนุ่
ล้มลงไปบนพ้ีนดิน พบว่าใบหน้าของเขาไปสัมผัสกับขอบหม้อใบหน่ึง เมื่อลุกขึ้นยืนก็พบว่าท่ีที่เขาหกล้มลงไปนั้น
เปน็ ทางลาดมเี ศษเครือ่ งปนั้ ดินเผาเต็มไปหมด นายสเตฟเฟน ยัง คิดว่าการหกล้มของเขาน้ันเป็นโชคอยา่ งย่ิงเพราะไดัพบว่า
เครอ่ื งป้ันดินเผา ทพี่ บนนั้ มีลักษณะคล้ายทำ� ขึ้นโดยเด็กนกั เรียนชน้ั ประถม ผิวไมไ่ ดข้ ัด และดนิ ทปี่ ้ันเหมือนปน้ั เปน็ กอ้ น
แล้วเอามาเรียงจัดให้เป็นรูป ท่ีผิวภาชนะนน้ั แปลกคอื มีลวดลายเขียนบนผิวด้วยสีแปลก ๆ ผดิ ไปจากธรรมชาติ ชึง่ ไม่เคย
พบเหน็ ที่ใดมาก่อนในประเทศไทย
นายสเตฟเฟน ยัง ได้เกบ็ เศษเครอื่ งปน้ั ดนิ เผาลายเขยี นสีดงั กล่าวมา และตอ่ มาไดน้ ำ� มามอบใหก้ รมศลิ ปากร
ซึ่งชณะน้ันนางสาวอะลิชาเบท ไลออนส์ (Elizabeth Lyons) ผู้เชี่ยวชาญของมูลนิธิฟอร์ดและที่ปรึกษาฝ่ายศิลปกรรม
๑ สุรพล ดำ� ริห์กุล (๒๕๔๐). บา้ นเชยี ง: มรดกทางวฒั นธรรม. กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร
64 หนังสอื ทรี่ ะลึกพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
ของกระทรวงต่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกาได้ส่งเศษเคร่ืองปั้นดินเผาไปหาอายุที่มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย โดยวิธี
เทอร์โมลูมิเนสเซนส์ (Thermoluminescense) และรายงานผลการก�ำหนดอายุคร้ังแรกว่ามีอายุ ๗,๐๐๐ ปี มาแล้ว
(สดุ แสงวเิ ชียร ๒๕๓๓, หนา้ ๑๗)
จากการท่ีเศษเคร่ืองปั้นดินเผาลายเขียนสีท่ีบ้านเชียงสามารถก�ำหนดอายุว่ามีความเก่าถึง ๗,๐๐๐ ปีน้ัน
ทำ� ใหเ้ ปน็ ทต่ี น่ื เตน้ ในแวดวงวชิ าการโบราณคดที วั่ โลก ทง้ั นเี้ นอื่ งจากแตเ่ ดมิ นกั วชิ าการโดยทวั่ ไปมคี วามเชอ่ื กนั วา่ วฒั นธรรม
ของมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนเอเชียอาคเนย์นั้นมีความล้าหลัง มีพัฒนาการท่ีเป็นไปอย่างเชื่องช้า
และพฒั นาการตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ นน้ั กเ็ นอ่ื งจากไดร้ บั การถา่ ยทอดมาจากวฒั นธรรมในดนิ แดนอน่ื โดยเฉพาะจากจนี และอนิ เดยี
(กรมศลิ ปากร ๒๕๓๔, หนา้ ๑๔) วทิ ยาการทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ ไดแ้ ก่ การเพาะปลกู และการใชโ้ ลหะ ซงึ่ สำ� รดิ และเหลก็ ไดป้ รากฏ
ขึน้ ในเอเชียอาคเนยพ์ ร้อมๆ กัน กเ็ นื่องมาจากมีแรงกระต้นุ และอิทธิพลจากดนิ แดนอ่นื โดยเฉพาะจนี พัฒนาการเหลา่ นี้
จึงเร่มิ เกิดขนึ้ เมอ่ื ราว ๒,๕๐๐ ปมี าแลว้ น้ีเอง (สุรพล นาถะพนิ ธุ ๒๕๓๐, หนา้ ๑๖) กรอบความคดิ เรื่องสังคม วฒั นธรรม
สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นสว่ นตา่ งๆ ของเอเชยี อาคเนยม์ คี วามลา้ หลงั นน้ั เปน็ ทย่ี ดึ ถอื กนั มาตลอด เมอ่ื ปรากฎมขี อ้ มลู ใหม่
ว่าแหล่งโบราณคดีที่บ้านเชียงน้ันมีความเก่าแก่ถึง ๗,๐๐๐ ปี อายุดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าชาวบ้านเชียงในอดีตน้ัน
มีพฒั นาการทางวฒั นธรรมอยา่ งสงู เปน็ สังคมทม่ี กี ารเลยี้ งสัตว์และปลูกขา้ ว รวมทง้ั การหลอ่ โลหะส�ำริดท่มี มี าก่อนแหล่ง
ใดๆ ในโลก ซ่ึงเป็นการเปล่ียนแปลงความเช่ือและทฤษฎีทางวิชาการอย่างส้ินเชิง จึงเป็นเร่ืองท่ีน่าต่ืนเต้นและท�ำให้
แหล่งโบราณคดบี า้ นเชยี งเป็นทส่ี นใจต่อวงการวชิ าการไปทวั่ ทง้ั โลก
ยงิ่ ไปกว่านัน้ อายุทเ่ี กา่ แกข่ องภาชนะดินเผาลายเขยี นสขี องบา้ นเชยี งดังกลา่ ว ไดเ้ ป็นแรงกระต้นุ ให้นักสะสม
โบราณศลิ ปวตั ถุตอ้ งการมีไว้ครอบครอง ท�ำใหม้ กี ารขดุ หาภาชนะดินเผาลายเขยี นสีบ้านเชียงเกดิ ขึ้นอย่างเป็นล่ำ� เปน็ สัน
มีการซ้ือขายกันในราคาค่อนขา้ งสงู ชว่ งระยะเวลาเพียงไม่นานนกั ภาชนะดนิ เผาลายเขยี นสีบ้านเชยี งไดไ้ ปปรากฎอย่ใู น
ตลาดโบราณวตั ถรุ ะหวา่ งประเทศมากมายจนนา่ เปน็ หว่ ง ในทส่ี ดุ รฐั บาลไทยภายใตก้ ารบรหิ ารของสภาบรหิ ารคณะปฏวิ ตั ิ
ในขณะน้ันไดป้ ระชมุ ปรกึ ษาเรือ่ งดงั กล่าวน้ีและได้ออกประกาศคณะปฏิวตั ิฉบบั ท่ี ๑๘๙ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๑๕
ห้ามขุดค้นหรือลักลอบท�ำลายแหล่งโบราณคดีวัฒนธรรมบ้านเชียง ในเขต ๙ ต�ำบลท่ีอยู่โดยรอบใกล้เคียงบ้านเชียง
ซ่ึงกท็ �ำใหส้ ามารถยบั ย้ังการลักลอบขดุ ท�ำลายได้บ้าง
เหตุการณ์ดังกล่าวท่ีเกิดข้ึน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทราบและให้ความสนพระทัยเป็นอย่างย่ิง
ไดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ โดยเฮลคิ อปเตอรพ์ รอ้ มดว้ ยสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ ไปบา้ นเชยี งและทอด พระเนตร
แหลง่ ขดุ คน้ ทางโบราณคดที บ่ี า้ นเชยี ง ชง่ึ กรมศลิ ปากรดำ� เนนิ การอยู่ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ มนี าคม ๒๕๑๕ ซงี่ ยงั ความปลาบปลมื้
ปีติและเป็นก�ำลังขวัญให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานการศึกษาและพิทักษ์รักษาแหล่งโบราณคดีอยู่ในขณะน้ันเป็นอย่างย่ิง
ด้วยพระบารมีของการท่ีเสด็จพระราชด�ำเนินในคร้ังนั้น ได้ส่งผลให้การด�ำเนินงานที่เกี่ยวกับบ้านเชียงได้รับความสนใจ
ใสใ่ จ และมกี ารศึกษาคน้ คว้าท่เี ป็นจรงิ เปน็ จงั มากข้ึน หลงั จากนั้นเปน็ ตน้ มาโครงการการศึกษาและขดุ ค้นทางโบราณคดี
ท้ังที่ด�ำเนินงานโดยนักโบราณคดีไทยและร่วมมือกับต่างประเทศได้เกิดข้ึนท�ำให้ได้ความรู้ที่เกี่ยวกับแหล่งโบราณคดี
บ้านเชียงเพ่ิมพนู มากข้ึน แม้ว่าการกำ� หนดอายุของแหลง่ โบราณคดีบ้านเชยี ง จะมอี ายุลดน้อยลงมาจากเดมิ แตก่ ระนน้ั
เร่ืองราวท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าของแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงท�ำให้บ้านเชียงคงเป็นแหล่งโบราณคดีที่ส�ำคัญของโลก
มาจนทุกวนั นี้
ภมู ิหลงั ของการศกึ ษาโบราณคดี
การศึกษาค้นคว้าทางโบราณคดีของดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในบริเวณผืนแผ่นดินใหญ่
(Main Land) น้นั อาจกลา่ วไดว้ ่า เร่มิ ขึน้ เม่ือราวร้อยกว่าปมี าน้ีเอง โดยเร่ิมตน้ จากการคน้ พบแหลง่ โบราณคดีสมยั กอ่ น
วดั มชั ฌมิ าวาส จงั หวัดอดุ รธานี 65
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
เสด็จทอดพระเนตรพพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาตพิ ระนคร ในพ.ศ. ๒๕๑๐
และทรงสนพระทยั โบราณวตั ถุท่ขี ดุ พบจากบ้านเชยี ง
ประวตั ศิ าสตรใ์ นแถบลมุ่ แมน่ าํ้ โขงตอนลา่ ง แตก่ ารศกึ ษาเรม่ิ จรงิ จงั และมคี วามชดั เจนมากขน้ึ เมอ่ื ไมก่ ที่ ศวรรษทผึ่ า่ นมานี้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโดยการสนับสนุนและด�ำเนินการตามแนวทางของส�ำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศ (L’ Ecole
Française d’Extreme Oriente) แหล่งโบราณคดีส�ำคัญ ๆ บางแหล่งท่ีนักโบราณคดีชาวฝรั่งเศสขุดค้น
เช่น แหล่งโบราณคดีของวัฒนธรรนฮัวบินเนียน แหล่งโบราณคดีของวัฒนธรรมบัคโซเนียน และแหล่งโบราณคดีของ
วฒั นธรรมดองซอน เปน็ ตน้ ซง่ึ เกอื บทง้ั หมดลว้ นอยใู่ นดนิ แดนประเทศเวยี ดนาม ดงั นนั้ เรอ่ื งราวของสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์
ของเอเชยี อาคเนยใ์ นชว่ งระยะเวลาทผี่ า่ นมา จงึ ไดอ้ าศยั ขอ้ มลู หลกั ฐานจากทน่ี กั โบราณคดชี าวฝรง่ั เศสขดุ คน้ ไวเ้ กอื บทงั้ สน้ิ
(กรมศลิ ปากร ๒๕๓๔, หนา้ ๑๒-๑๔)
เรื่องราวสมัยก่อนประวัติศาสตร์ฃองเอเชียอาคเนย์น้ัน เริ่มต้นจากการที่ได้พบหลักฐานของกลุ่มชนที่ใช้
เคร่อื งมือหนิ กะเทาะ ท�ำจากหนิ กรวดแมน่ ้ํา และมีการด�ำรงชีวติ อย่ดู ว้ ยการล่าสตั ว์ และหาพืชป่าเป็นอาหาร กลุ่มชนนี้
มอี ายอุ ยู่ในระยะหลงั ยคุ น�ำ้ แข็งคร้งั สุดท้าย (Post Pleistocene) ซงึ่ มีอายไุ ม่เกิน ๑๐,๐๐๐ ปีมาแลว้ วฒั นธรรมการใช้
เครอื่ งมอื หนิ กะเทาะจากหนิ กรวดแมน่ ำ�้ ดงั กลา่ ว แตกตา่ งจากเครอ่ื งมอื หนิ ทเี่ คยพบมากอ่ นในทอี่ น่ื ๆ และพบเปน็ ครงั้ แรก
ทกี่ ลมุ่ แหล่งโบราณคดีจังหวดั ฮวั บนิ หเ์ ปน็ ดังนั้น จึงตั้งช่ือวัฒนธรรมของคนสมยั ก่อนประวัติศาสตรท์ ่ใี ชเ้ คร่อื งมือหินนวี้ ่า
วฒั นธรรมฮัวบิเนยี น ระยะเวลาตอ่ มาได้พบว่าเมอื่ ประมาณระหวา่ ง ๑๐,๐๐๐-๔,๐๐๐ ปมี าแลว้ เครื่องมือกะเทาะได้มี
การขัดฝนเฉพาะส่วนคมและมนุษย์ในช่วงเวลาดังกล่าวรู้จักทำ� เคร่ืองปั้นดินเผามีลายเชือกทาบ ได้พบแหล่งโบราณคดีนี้
เป็นคร้ังแรกในแถบจังหวดั บคั ซอน จึงต้งั ชือ่ วฒั นธรรมแบบนวี้ ่า วัฒนธรรมบัคโซเนียน
ในส่วนที่เก่ียวกับพัฒนาการการใช้โลหะฃองมนุษย์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้น้ัน ได้หลักฐานจากการพบ
ครัง้ แรกทีห่ มู่บา้ นดองซอน ในบริเวณประเทศเวยี ดนาม นกั โบราณคดีชาวฝร่งั เศสได้พบแหลง่ โบราณคดีดังกลา่ ววา่ เปน็
ชุมชนใหญท่ ีม่ ีการใชโ้ ลหะทั้งส�ำริดและเหล็กอยา่ งมากมาย โดยท�ำเป็นเครือ่ งมอื อาวุธและเคร่ืองประดบั วตั ถุสำ� รดิ ท่มี ี
ลกั ษณะพเิ ศษและโดดเดน่ เป็นเอกลักษณ์ฃองวฒั นธรรมน้ีคอื กลองมโหระทกึ ซง่ึ มีความประณีตและแสดงถงึ เทคโนโลยี
66 หนังสอื ท่ีระลกึ พิธีถวายผา้ พระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
การทำ� สำ� รดิ ทม่ี พี ฒั นาการสงู นกั วชิ าการตา่ งลงความเหน็ วา่ วฒั นธรรมยคุ โลหะสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรข์ องเอเชยี อาคเนย์
เป็นวัฒนธรรมที่ใช้โลหะส�ำริดและเหล็กไปพร้อม ๆ กัน จึงต้ังช่ือวัฒนธรรมยุคโลหะดังกล่าวนี้ว่าวัฒนธรรมดองซอน
โดยกำ� หนดอายใุ ห้อย่รู ะหวา่ ง ๒,๕๐๐-๑,๙๐๐ ปีมาแล้ว
จากหลกั ฐานทมี่ ปี รมิ าณอนั จำ� กดั จากแหลง่ โบราณคดที พี่ บในประเทศเวยี ดนามดงั กลา่ ว ประกอบกบั ขอ้ จำ� กดั
ในวทิ ยาการกำ� หนดอายใุ นสมยั นน้ั เปน็ สาเหตทุ ที่ ำ� ใหม้ กี ารตคี วามภาพรวมของวฒั นธรรมสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นเอเชยี
อาคเนยว์ า่ มคี วามลา้ หลงั มพี ฒั นาการชา้ และพฒั นาการตา่ งๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ นน้ั กเ็ นอื่ งจากการไดร้ บั การถา่ ยทอดจากวฒั นธรรม
ของดินแดนอ่ืน โดยเฉพาะจากจีนและอินเดีย
กรอบความคดิ เรอ่ื งสงั คมวฒั นธรรมสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นสว่ นตา่ งๆ ของเอเชยี อาคเนยว์ า่ มคี วามลา้ หลงั
นัน้ เปน็ ที่ยดึ ถือกันมาตลอด จวบจนกระทงั่ พ.ศ. ๒๕๐๖ เป็นต้นมา หลงั จากที่ได้มกี ารศกึ ษาค้นควา้ ทางโบราณคดมี ากขึน้
โดยเฉพาะการขุดค้นทางโบราณคดีในประเทศไทย จึงเร่มิ มนี กั วชิ าการเสนอความเห็นคดั ค้านกรอบความคดิ น้มี ากขึ้น
การขุดค้นทางโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย ได้เร่ิมตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๓ เป็นต้นมา
แหลง่ โบราณคดที ่สี �ำคญั ๆ ท่ไี ด้มกี ารขุดคน้ คร้งั แรกๆ ได้แก่ แหล่งโบราณคดบี า้ นเกา่ อ�ำเภอเมือง จงั หวดั กาญจนบุรี ถดั นัน้ มา
กม็ แี หลง่ โบราณคดถี ำ�้ ผแี มน จงั หวดั แมส่ อ่ งสอน แหลง่ โบราณคดโี นนนกทา อำ� เภอภเู วยี ง จงั หวดั ขอนแกน่ แหลง่ โบราณคดี
โคกเจริญ จงั หวัดลพบรุ ี เป็นต้น
การขุดค้นแหล่งโบราณคดีถ้�ำผีแมน (Spirit Cave) จังหวัดแม่ส่องสอนซ่ึงด�ำเนินการโดย ดร.เชสเตอร์
กอร์แมน (Chester Gorman) เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๘ ไดพ้ บหลักฐานของคนสมยั กอ่ นประวัติศาสตร์ อายุเกือบ ๑๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว
ซ่ีงจัดเป็นสมัยไพลสโตซีนตอนปลาย และเป็นกลุ่มคนท่ีใช้เครื่องมือหินกะเทาะ ท�ำจากหินกรวดแม่น้�ำ ลักษณะเหมือน
เคร่ืองมือหินในวัฒนธรรมฮัวบิเนียน ในประเทศเวียดนาม หลักฐานจากถ้�ำผีแมนที่มีการกล่าวถึงกันมาก ได้แก่
เศษชน้ิ สว่ นของพชื บางชนดิ ซง่ึ พบในระดบั ชน้ั ทบั ถมของหลกั ฐานทก่ี ำ� หนดอายไุ ดร้ าว ๗,๐๐๐ ปมี าแลว้ และไดร้ บั การแปลความ
วา่ เปน็ หลักฐานแสดงนัยว่าการเพาะปลูกพืชเร่มิ พฒั นาข้ึนในเอเชยี อาคเนย์ต้ังแต่ระยะเวลาดังกลา่ วแลว้
ส่วนการขุดค้นแหล่งโบราณคดีโนนนกทา โดยศาสตราจารยว์ ลิ เฮล์ม จี.โซลไฮม์ (Wilhelm G. Solheim II)
และคณะ ของมหาวทิ ยาลัยฮาวาย สหรัฐอเมรกิ า ในครง้ั แรก เม่อื พ.ศ. ๒๕๐๙ และ ดร.ดอนน์ ที.เบเยิรด์ (Donn T.
Bayard) จากมหาวทิ ยาลัยโอทาโก นวิ ซแี ลนด์ ในครงั้ ท่ี ๒ เม่อื พ.ศ. ๒๕๑๑ น้นั ไดพ้ บหลกั ฐานท่ีน�ำไปสขู่ ้อเสนอว่า
ในเอเชียอาคเนย์น้ันปรากฏมีชุมชนเกษตรกรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่ตั้งหลักแหล่งอยู่อาศัย เป็นหมู่บ้านถาวร
และมกี ารทำ� เครอื่ งมอื เครอ่ื งใช้ และเครอื่ งประดบั ดว้ ยโลหะสำ� รดิ มาตงั้ แตก่ วา่ ๙,๐๐๐ ปมี าแลว้ หลงั จากนนั้ อกี นบั พนั ปี
จึงมีพัฒนาการในการท�ำและใชเ้ คร่อื งมือเหลก็ เพ่มิ ข้นึ มา
ศาสตราจารย์วิลเฮล์ม โซลไฮม์ ได้ใช้หลักฐานจากแหล่งโบราณคดีถ�้ำผีแมนและโนนนกทา เป็นพื้นฐาน
สนบั สนนุ ความเหน็ วา่ ดนิ แดนเอเชยี อาคเนยม์ วี ฒั นธรรมสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรท์ พี่ ฒั นาจนอาจกลา่ วไดว้ า่ เปน็ ศนู ยก์ ลาง
ที่เก่าแก่แหง่ หน่ึงของโลก ในดา้ นการเกษตรกรรมและโลหกรรม
ด้วยเหตุน้ีจึงท�ำให้มีข้อโต้แย้งและข้อวิพากษ์วิจารณ์ทางวิชาการเกิดขึ้นตามมามากมาย หลังจากการเสนอ
หลักฐานและข้อสรุปท่ีแปลความจากหลักฐานขุดค้นพบที่โนนนกทา ท้ังน้ีเพราะลักษณะแบบแผนวัฒนธรรมของชุมชน
สมยั ก่อนประวัตศิ าสตรท์ ี่ใช้ส�ำริดแลว้ ของโนนนกทานน้ั มลี กั ษณะเป็นหมู่บ้านเกษตรกรรม ต่างจากแบบแผนวฒั นธรรม
ของชมุ ชนยคุ สำ� รดิ ของดนิ แดนอน่ื ๆ โดยเฉพาะตะวนั ออกกลางและแมแ้ ตจ่ นี ซง่ึ การใชส้ ำ� รดิ สมั พนั ธก์ บั การเกดิ สงั คมเมอื ง
อ�ำนาจการทหาร และการจัดระเบียบสังคมที่สมาชิกมีฐานะลดหล่ันกัน ดังนั้นจึงยังเป็นท่ีสงสัยว่าชุมชนเกษตรกรรม
สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรท์ ใ่ี ชส้ ำ� รดิ กอ่ นหนา้ เหลก็ และมลี กั ษณะวฒั นธรรมโนนนกทานน้ั อาจเปน็ เรอ่ื งกรณพี เิ ศษแหง่ เดยี ว
วัดมัชฌมิ าวาส จังหวดั อุดรธานี 67
เครอื่ งมอื หินกะเทาะยคุ หนิ เกา่ ทส่ี �ำรวจพบในเขตจังหวดั กาญจนบุรี
การขุดค้นทางโบราณคดที ี่บ้านเกา่ จังหวดั กาญจนบรุ ี ในระหว่าง พ.ศ. ๒๕๐๓-๒๕๐๕
การขุดค้นทางโบราณคดีที่จังหวัดแมอ่ ๋องสอน เมือ่ พ.ศ. ๒๕๐๘
68 หนงั สือทีร่ ะลกึ พิธีถวายผ้าพระกฐนิ พระราชทาน มศว ๒๕๖๓
และยังมีข้อสังเกตว่าการก�ำหนดอายุด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์อาจคลาดเคลื่อนเน่ืองจากลักษณะตัวอย่างจาก
โนนนกทาไม่สมบูรณพ์ อกไ็ ด้ (สรุ พล นาถะพนิ ธุ ๒๕๓๐, หน้า ๑๖-๑๗)
แต่ต่อมาก็ได้มีการพบหลักฐานสนับสนุนว่าแหล่งโบราณคดีลักษณะเดียวกันกับโนนนกทาน้ันยังมีอยู่อีก
ซง่ึ ชใี้ หเ้ หน็ วา่ วฒั นธรรมสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรแ์ บบโนนนกทานนั้ เปน็ ลกั ษณะวฒั นธรรมหนงึ่ ณ ชว่ งเวลาหนงึ่ ในอดตี ของ
ภาคอสี านไทยอย่างแนน่ อน หลกั ฐานสนับสนนุ ท่ีพบเพิม่ ขน้ึ ได้มาจากแหล่งโบราณคดที ่ี “บ้านเชยี ง” นัน่ เอง
ประวตั ิและที่ตั้งของบา้ นเชียง
บ้านเชียง เป็นหมู่บ้านท่ีอยู่ในเขตการปกครองของต�ำบลบ้านเชียง อ�ำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี
อยู่ห่างจากตัวจงั หวดั ไปทางทิศตะวันออก ตามเสน้ ทางถนนสายอดุ รธานี-สกลนคร ประมาณ ๖๐ กิโลเมตร ตัวหมูบ่ ้านตั้งอยู่
บนเนนิ ดนิ รปู ร่างคอ่ นข้างกลม เสน้ ผา่ ศนู ย์กลางประมาณ ๓๐๐ เมตร ยอดเนนิ อยสู่ ูงจากพื้นโดยรอบ ประมาณ ๖ เมตร
ประวัติความเป็นมาของชาวบ้านเชียงในปัจจุบัน กล่าวกันว่า บรรพบุรุษของชาวบ้านเชียงเป็นชาวไทยพวน
อพยพมาจากแขวงเชียงขวาง ประเทศลาว ในราว พ.ศ. ๒๓๒๗ (พิสิฐ เจรญิ วงศ์ ๒๕๑๖, หนา้ ๗๐-๗๓) ขา้ มแมน่ าํ้ โขง
เขา้ มาตั้งหลักแหลง่ อยู่ท่ีดงแพง ซง่ึ กค็ อื บรเิ วณบา้ นเชียงในปจั จบุ นั เม่อื ย้ายเข้ามาอยูน่ ้ัน ดงแพง เปน็ เมืองรา้ ง ซึ่งยงั พอ
มีซากต่าง ๆ หลงเหลืออยู่บ้าง มีเร่ืองเล่าสืบต่อกันมาว่า ดงแพงเดิมเป็นของขอม มีเมืองหลวงอยู่ที่บริเวณ
ตวั อำ� เภอหนองหาน ในกาลครงั้ นนั้ มชี ายหนมุ่ รปู งามคนหนง่ึ ชอื่ เชยี งงาม คำ� วา่ เชยี งงาม หมายถงึ ผทู้ เี่ คยบวชเปน็ สามเณร
มาแลว้ หนมุ่ นอ้ ยเชยี งงาม เปน็ ผทู้ ผ่ี หู้ ญงิ ทงั้ หลายชน่ื ชอบหลงใหลเปน็ ทสี่ ดุ แมแ้ ตม่ เหสขี องพระยาขอมกม็ าหลงรกั เมอ่ื ความ
ทราบถงึ พระยาขอม พระยาขอมจงึ พโิ รธ และได้มรี ับสง่ั ใหค้ ุมตวั เชียงงามไปประหาร ตดั หวั เสยี บประจานไว้กลางเมอื ง
ก่อนตายเชยี งงามไดต้ งั้ สตั ย์อธษิ ฐานใหเ้ ทพเจา้ เปน็ พยาน ถงึ ความซอ่ื สัตยข์ องตน ขอความบรสิ ทุ ธแิ์ ละสจั จะท่มี สี าปแชง่
พระยาขอมและนครของพระยาผู้น้ันให้ถึงแก่กาลวิบัติตามไป ต่อมานครขอมได้พินาศลงและร้างผู้คน จนเมื่อมีชาวลาว
พวนอพยพเข้ามาอยเู่ มื่อรอ้ ยกว่าปีท่ีผา่ นมา เรียกช่อื หมบู่ า้ นวา่ บา้ นเชียง มาจนทุกวนั น้ี
ส�ำหรับแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงน้ันก็คือเนินดินที่ต้ังบ้านเรือนอยู่อาศัยของชาวบ้านเชียงในปัจจุบันน่ันเอง
โดยปกติแล้วชาวบ้านเชียงจะพบเห็นเศษภาชนะดินเผา ลายเขียนสีกระจัดกระจายอยู่บนเนินดินที่ตั้งบ้านเรือนอยู่
โดยทั่วไป โดยทไ่ี ม่มผี ูใ้ ดจะให้ความสนใจมากนัก จนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ นายบรรลุ มนตรพี ทิ ักษ์ ชาวบา้ นเชียงนัน่ เองทไ่ี ดเ้ ร่ิม
ใหค้ วามสนใจภาชนะดนิ เผาลายเขยี นสที พ่ี บในหมบู่ า้ นตน ดว้ ยเหน็ วา่ เปน็ สง่ิ แปลกตา จงึ ไดร้ วบรวมมอบใหค้ รใู หญโ่ รงเรยี น
บ้านเชียงในเวลาน้นั เก็บรกั ษาไวใ้ หค้ นชมที่โรงเรียน นบั แต่นน้ั มาความสนใจท่จี ะศึกษาเก่ยี วกับบา้ นเชยี งไดม้ มี ากข้ึน
ล�ำดับของการด�ำเนินงานศึกษาแหล่งโบราณคดบี า้ นเชียง
แม้ว่าการค้นพบเศษเคร่ืองปั้นดินเผาลายเขียนสีของนายสเตฟเฟน ยัง เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๙ จะเป็นผลท�ำให้
ชอ่ื เสยี งของแหลง่ โบราณคดีบา้ นเชยี งเปน็ ทส่ี นใจและร้จู กั กันมากขึ้น แตโ่ ดยข้อเทจ็ จรงิ แลว้ เร่อื งราวเกย่ี วกับบา้ นเชียง
ไดร้ บั ความสนใจจากทางราชการและนกั วชิ าการชาวไทยมากอ่ นหนา้ นน้ั แลว้ ดงั จะไดล้ ำ� ดบั เหตกุ ารณ์ เกยี่ วกบั การศกึ ษา
คน้ คว้าแหล่งโบราณคดีทีบ่ ้านเชยี ง (สวุ ทิ ย์ ชยั มงคล ๒๕๓๔, หน้า ๗ - ๑๕) ดังน้ี
พ.ศ. ๒๕๐๓ นายเจริญ พลเดชา หัวหน้าหน่วยศิลปากรท่ี ๗ จังหวัดขอนแก่นในขณะนั้นได้ไปส�ำรวจที่
บา้ นเชยี งจงึ ไดท้ ราบเรอื่ งของการพบโบราณวตั ถใุ นเขตหมบู่ า้ นและไดร้ บั มอบเศษภาชนะดนิ เผาลายเขยี นสที พี่ บในบรเิ วณ
บา้ นเชยี ง จากนายพรหมี ศรีสุนาครัว ซึง่ ขณะน้นั เป็นครใู หญโ่ รงเรยี นบา้ นเชียง (ประชาเชดิ ) แต่เนอ่ื งจากคงเปน็ เพราะ
ในระยะเวลานั้นเรื่องโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ยังไม่เป็นท่ีรู้จักกันนักในประเทศไทย จึงไม่ปรากฏมีการด�ำเนิน
การใด ๆ กบั แหลง่ โบราณคดนี ้ี
วัดมชั ฌิมาวาส จังหวดั อดุ รธานี 69
พ.ศ. ๒๕๐๙ นายสเตฟเฟน ยัง นักศึกษาวิชามานุษยวิทยา บุตรชายอดีตเอกอัครราชทูตสหรัฐประจ�ำ
ประเทศไทย เดนิ ทางไปทีบ่ ้านเชียงเพอ่ื รวบรวมข้อมลู ในการทำ� วทิ ยานพิ นธ์และได้พบเศษภาชนะดนิ เผาภายในหมบู่ า้ น
จงึ น�ำตวั อย่างภาชนะดินเผาลายเขียนสีจำ� นวนหน่งึ มาใหศ้ าสตราจารยช์ ิน อย่ดู ี ตรวจสอบ และนางสาวอะลซิ าเบท ไลออนส์
ไดส้ ง่ ตัวอย่างเศษภาชนะดนิ เผาไปหาอายโุ ดยวธิ ีเทอร์โมลมู เิ นสเซนส์ท่ี MASCA (Museum Applied Science Center
for Archaeology) ทีพ่ ิพธิ ภัณฑ์ของมหาวทิ ยาลยั เพนซิลเวเนีย ปรากฏวา่ ได้อายปุ ระมาณ ๗,๐๐๐ ปมี าแล้ว
พ.ศ. ๒๕๑๐ นายประยูร ไพบูลยส์ ุวรรณ หัวหนา้ หน่วยศลิ ปากรที่ ๗ พร้อมด้วยนายวิรัช คุณมาศ นักวิชาการ
ไดเ้ ดนิ ทางไปสำ� รวจทบี่ า้ นเชยี งและในปเี ดยี วกนั นเ้ี อง นายวทิ ยา อนิ ทโกศยั นกั โบราณคดจี ากกองโบราณคดี กรมศลิ ปากร
ได้ท�ำการขุดค้นทางโบราณคดีที่บ้านเชียงในบริเวณท่ีดินของนายสิทธา ราชโหด2ี ๑ นับเป็นการขุดค้นทางโบราณคดี
คร้ังแรกท่ีบ้านเชียง การขดุ คน้ คร้งั น้นั พบโครงกระดูก ๑๔ โครง เครอ่ื งประดับสำ� รดิ ภาชนะดนิ เผาทงั้ แบบมีลายเขียนสี
และไม่มีลายเขียนสี ได้ส่งตัวอย่างเศษภาชนะดินเผาที่ได้จากการขุดค้นไปหาอายุที่ MASCA ซึ่งต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๑๒
นายวิลเลยี ม โคห์เลอร์ (William Kohler) ไดแ้ จ้งขา่ วใหท้ ราบว่าเศษภาชนะดนิ เผาดงั กลา่ วสามารถก�ำหนดอายโุ ดยวิธี
เทอรโ์ มลมู ิเนสเซนต์ ได้ราวระหวา่ ง ๖,๙๓๓-๕,๗๙๓ ปีมาแล้ว
ผลของการก�ำหนดอายุท่ีได้จากวิธีการเทอร์โมลูมิเนสเซนต์ดังกล่าว ท�ำให้เป็นเรื่องท่ีน่าตื่นเต้น และมี
นกั วชิ าการจำ� นวนมากไมเ่ ชอื่ ถอื เพราะอายดุ งั กลา่ วนน้ั หมายถงึ วา่ ดนิ แดนเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตจ้ ะเปน็ พนื้ ทแี่ หลง่ แรกๆ
ของโลกท่มี กี ารเพาะปลูกและเล้ียงสัตว์ ขณะเดียวกนั เร่มิ มชี าวต่างชาติและนกั สะสมของเกา่ จากกรงุ เทพฯ เข้ามาซือ้ หา
เครอื่ งปัน้ ดินเผาลายเขียนสที ่ีบา้ นเชียงมากข้ึน อยา่ งไรกต็ าม ใน พ.ศ. ๒๕๑๔ การหาอายุก็ไดร้ ับการยนื ยันอกี ครงั้ หนง่ึ
เมอ่ื นายยอรจ์ เดลส์ (George Dales) มอบเศษภาชนะดินเผาไปหาอายทุ ี่ MASCA กป็ รากฏผลเช่นเดียวกัน
พ.ศ. ๒๕๑๕ เจา้ หน้าทก่ี รมศลิ ปากรประกอบดว้ ย นายพจน์ เกือ้ กลู และนายนคิ ม สทุ ธริ กั ษ์ ได้ท�ำการขดุ คน้
ทางโบราณคดีที่บ้านเชียงอีกคร้ัง และในวันท่ี ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จ
พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถ ไดเ้ สด็จพระราชด�ำเนนิ ไปบ้านเชียงและทอดพระเนตรการขดุ ค้นคร้ังนี้
การขุดค้นคร้ังน้ีโบราณวัตถุท่ีพบมากคือ เคร่ืองประดับและขวานส�ำริด การหาอายุจากตัวอย่างถ่าน
หรือ คารบ์ อน 14 (Radio-Carbon dating) ทำ� ใหท้ ราบว่าอายุของส�ำรดิ ที่น่ึมีอายไุ มน่ อ้ ยไปกวา่ แหล่งอ่ืน ๆ ในโลกทำ� ใหม้ ีการ
สนใจสำ� ริดมากขน้ึ ซึง่ แต่เดิมจะสนใจแตภ่ าชนะดินเผาลายเขยี นสี
ในขณะเดียวกันคณะปฏิวัติได้ออกประกาศ ฉบับท่ี ๑๘๙ ห้ามขุดค้นหรือลักลอบ ท�ำลายแหล่งโบราณคดี
วฒั นธรรมบา้ นเชยี งในเขต ๙ ตำ� บล ไดแ้ ก่ ตำ� บลบา้ นเชยี ง ต�ำบลบ้านธาตุ ต�ำบลบ้านดงุ ตำ� บลศรีสทุ โธ ตำ� บลบา้ นชยั
และตำ� บลอ้อมกอ ของจงั หวัดอุดรธานี และตำ� บลมว่ งไข่ ต�ำบลแวง และตำ� บลพันนา ของจังหวัดสกลนคร
นอกจากน้ีไดม้ ีการสำ� รวจขดุ ค้นแหล่งโบราณคดวี ฒั นธรรมบ้านเชียงแหลง่ อนื่ ๆ พรอ้ มกันไป ได้แก่ บ้านธาตุ
ตำ� บลบา้ นยา อำ� เภอหนองหาน จงั หวดั อดุ รธานี บา้ นแวง ตำ� บลแวง อำ� เภอสวา่ งแดนดนิ จงั หวดั สกลนคร โดยนายวพิ ากษ์
ศรทัตต์ นักโบราณคดีของกรมศิลปากร และท่ีบ้านอ้อมแก้ว ต�ำบลบ้านเชียง อ�ำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี
โดยนายปรีชา กาญจนาคม อาจารย์คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
พ.ศ. ๒๕๑๖ นายฟรอลิช เรเนย์ (Froelich Rainey) ผูอ้ �ำนวยการพพิ ธิ ภณั ฑม์ หาวทิ ยาลยั ของมหาวิทยาลยั
เพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกาได้เดินทางมาท่ีบ้านเชียงและพบว่าเป็นแหล่งโบราณคดีที่น่าสนใจ หลังจากท่ีกลับ
๑ เนนิ ดนิ ทตี่ ง้ั หมบู่ า้ นบา้ นเชยี งในขณะนน้ั สว่ นใหญจ่ ะถกู ลกั ลอบขดุ คน้ หาโบราณวตั ถอุ อกขาย จนจะหาพนื้ ทท่ี จี่ ะขดุ คน้ ทางโบราณคดเี พอ่ื
ใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั วิชาการแทบไม่ได้ การทีช่ าวบ้านเชยี งรายหนง่ึ รายใดอนุญาตให้ทางราชการขุดค้นทางโบราณคดใี นที่ดินสว่ นตัวไดน้ ้ัน
ทางราชการจึงยกย่องใหเ้ กยี รตใิ นการต้งั ซือ่ แหล่งขุดค้นน้ันใหเ้ ปน็ ซือ่ เจ้าของท่ดี นิ
70 หนงั สอื ทีร่ ะลึกพธิ ีถวายผ้าพระกฐนิ พระราชทาน มศว ๒๕๖๓
จากบา้ นเชยี งแล้วได้เจรจาและตกลงกับกรมศลิ ปากรในความร่วมมอื ทีจ่ ะท�ำการศึกษาวิจัยทางโบราณคดรี ่วมกัน
พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๑๘ กรมศิลปากรร่วมกับพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย
ประเทศสหรฐั อเมรกิ า จดั ตง้ั โครงการโบราณคดภี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เพอื่ ดำ� เนนิ การขดุ คน้ ทางโบราณคดที บ่ี า้ นเชยี ง
โดยมี นายพสิ ิฐ เจริญวงศ์ เปน็ ผอู้ ำ� นวยการโครงการฝ่ายไทย และ ดร.เชสเตอร์ กอร์แมน (Chester Gorman) เปน็
ผอู้ ำ� นวยการโครงการฝา่ ยสหรฐั ฯ การดำ� เนนิ งานดงั กลา่ วเปน็ โครงการอยใู่ นระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๑๘ และเปน็ โครงการ
ลกั ษณะสหวทิ ยาการ (Multidisciplinary Research) มผี เู้ ชย่ี วชาญจากหลายสาขารว่ มกนั ขดุ คน้ เกบ็ ตวั อยา่ งไปวเิ คราะห์
ทงั้ เรอ่ื งกระดกู สตั ว์ เกสรพชื โลหกรรม ธรณสี ณั ฐานฯ รวมถงึ เทคนคิ การดำ� เนนิ งานขดุ คน้ ทางโบราณคดแี บบใหม่ ทำ� การบนั ทกึ
หลักฐานและการจดั เก็บโบราณวตั ถุ มีการขุดค้นจ�ำนวน ๖ หลุมในปี ๒๕๑๗ และอีก ๔ หลมุ ในปี ๒๕๑๘
การขุดค้นตามโครงการดังกล่าวพบโบราณวัตถุเป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะเศษภาชนะดินเผามีมากกว่า
๕,๐๐๐ ถงุ โครงกระดูก ๑๒๖ โครง และโบราณวัตถุอ่นื ๆ มากกว่า ๒,๐๐๐ ถุง เมอ่ื การดำ� เนินการขุดคน้ เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว
โบราณวตั ถตุ า่ ง ๆ เหลา่ นร้ี วมทง้ั ทข่ี ดุ ไดจ้ ากแหลง่ โบราณคดบี า้ นตอ้ ง และบา้ นผกั ตบ เขตอำ� เภอหนองหาน จงั หวดั อดุ รธานี
ได้สง่ มอบใหน้ ายวลิ เลยี ม ชาฟเลอร์ (William Schauffler) น�ำไปวเิ คราะห์ตา่ งประเทศ อาทิ โครงกระดูกมนษุ ย์สง่ ไปที่
มหาวิทยาลัยฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา กระดูกสัตว์ส่งไปวิเคราะห์ท่ีมหาวิทยาลัยโอทาโก ประเทศนิวซีแลนด์
ส่วนภาชนะดินเผาและอน่ื ๆ ส่งไปทพ่ี ิพธิ ภณั ฑ์มหาวทิ ยาลัยของมหาวทิ ยาลยั เพนซลิ เวเนีย ประเทศสหรัฐอเมรกิ า
ผลการวเิ คราะหแ์ ละกำ� หนดอายทุ ไ่ี ดจ้ ากการขดุ คน้ ครงั้ สำ� คญั น้ี มกี ารลำ� ดบั ขน้ั ความเจรญิ ทางวฒั นธรรมสมยั
ก่อนประวัตศิ าสตร์ทีบ่ า้ นเชียงออกเป็น ๖ สมัย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในดา้ นที่เกีย่ วกบั โลหกรรม ไดย้ นื ยนั ถงึ ความเก่าแก่
ของการรู้จักใช้โลหะของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์บ้านเชียงนี้ว่า เร่ิมปรากฏมีส�ำริดเป็นครั้งแรกเม่ือประมาณ
๔,๙๐๐-๕,๖๐๐ ปมี าแลว้ และเมอื่ ประมาณ ๓,๒๐๐-๓,๖๐๐ ปมี าแลว้ รจู้ กั ใชเ้ หลก็ แลว้ ซง่ึ อายดุ งั กลา่ วไดจ้ ากการหาอายุ
จากตวั อยา่ งถ่านในหลุมขดุ คน้ อายขุ องส�ำริดท่ีค้นพบแสดงให้เห็นวา่ การหล่อส�ำริดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ทำ� ข้นึ ก่อน
แหล่งอื่น ๆ ทั่วโลก ประชากรในภูมิภาคน้ีอาจมีการปลูกข้าวและเลี้ยงสัตว์ก่อนจีน ซึ่งผลของการก�ำหนดอายุดังกล่าว
ยงั เป็นปัญหาและขอ้ โต้แย้งกนั อีกมาก
พ.ศ. ๒๕๒๓ นายสด แดงเอียด นักโบราณคดี กองโบราณคดี กรมศิลปากร ได้ขุดค้นทางโบราณคดี
แหลง่ วฒั นธรรมบา้ นเชยี ง ทบ่ี า้ นแวง อำ� เภอสวา่ งแดนดนิ จงั หวดั สกลนคร และนายอำ� พนั กจิ งาม นกั โบราณคดี กองโบราณคดี
กรมศิลปากร ได้ขดุ คน้ ทางโบราณคดีอีกหลายแหง่ ได้แก่ เนนิ เกา่ นอ้ ย อำ� เภอไชยวาน โนนแตงแซง และบ้านเมอื งพรึก
อ�ำเภอกุมภวาปี จงั หวัดอดุ รธานี
พ.ศ. ๒๕๒๓ - ๒๕๒๔ ไดม้ กี ารขดุ ค้นครง้ั สำ� คญั ทบ่ี า้ นนาดี อำ� เภอหนองหาน จงั หวดั อดุ รธานี โดยนายชาร์ลส
ไฮแอม จากมหาวิทยาลัยโอทาโก ประเทศนิวซีแลนดแ์ ละนายอำ� พนั กิจงาม นักโบราณคดี กองโบราณคดี กรมศลิ ปากร
ผลการขดุ คน้ ไดแ้ บ่งชน้ั ดนิ ทางวฒั นธรรมออกเปน็ ๕ สมยั ก�ำหนดอายตุ ้ังแตส่ มยั แรกจนถงึ สมยั สุดท้ายได้ตัง้ แต่ประมาณ
๓,๔๕๐-๓,๒๐๐ ปีมาแลว้ อายสุ มยั ดังกล่าวมีความแตกตา่ งจากการก�ำหนดอายุของการขดุ คน้ ทบี่ า้ นเชียง เห็นได้ชัดจาก
หลักฐานด้านโลหกรรม กล่าวคือ ส�ำริดที่แหล่งโบราณคดีบ้านนาดี สมัยท่ี ๑ ซ่ึงเป็นสมัยแรกสุดน้ัน มีอายุประมาณ
๒,๔๕๐-๓,๔๕๐ ปมี าแลว้ ในขณะทเ่ี หลก็ เรม่ิ ปรากฏขน้ึ ในสมยั ท่ี ๒ ราว ๒,๐๕๐- ๒,๔๕๐ ปมี าแลว้ ซง่ึ หลกั ฐานเรอื่ งเหลก็
น้ีสอดคล้องกับการขุดค้นท่ีแหล่งโบราณคดีโนนชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ซึ่งขุดค้นโดย นายพิสิฐ เจริญวงศ์
เมอ่ื ปี ๒๕๒๐-๒๕๒๑ โดยเครือ่ งมือเหลก็ ในสมยั แรก กำ� หนดอายุได้ราว ๕๐๐-๓๕๐ ปกี ่อนครสิ ตศ์ กั ราช หรือประมาณ
๒,๕๐๐-๒,๑๕๐ ปมี าแล้ว
วัดมชั ฌมิ าวาส จังหวัดอุดรธานี 71
พ.ศ. ๒๕๒๕ นายสถาพร ขวัญยนื ขดุ ค้นทางโบราณคดีทแี่ หล่งโนนขก้ี ลง้ิ บา้ นหนองสระปลา ต�ำบลบ้านยา
อ�ำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี แล้วศึกษาเปรียบเทียบภาชนะดินเผากับแหล่งบ้านเชียงได้ตรงกับสมัยท่ี ๕
หรือ ๒,๕๐๐-๓,๐๐๐ ปีมาแลว้ และสมยั ที่ ๓ หรอื ๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว
ปีเดียวกันน้ีเอง ดร.จอยส์ ซ.ี ไวท์ (Joyce C. White) ซ่ึงเป็นผรู้ ับผดิ ชอบคนล่าสุดของงานการศกึ ษาวเิ คราะห์
หลกั ฐานทไ่ี ด้จากการขุดค้นทบี่ า้ นเชียงในระหวา่ งปี ๒๕๑๗ - ๒๕๑๘ น้นั ไดเ้ สนอผลของการศึกษาและการกำ� หนดอายุ
ของแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงออกมาใหม่ (White 1982) โดยแบ่งล�ำดับชั้นทางวัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์
ของบา้ นเชยี งออกไดเ้ ปน็ ๓ สมยั หลกั ๆ ตามลกั ษณะประเพณกี ารฝงั ศพและรปู แบบภาชนะดนิ เผาทฝี่ งั ไวร้ วมกบั โครงกระดกู
คนในหลุมฝงั ศพ ดังนี้
๑. สมยั ต้น (Early Period) มีอายุต้งั แตร่ าว ๕,๖๐๐ ปีมาแลว้ ถงึ ราว ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว
๒. สมัยกลาง (Middle Period) มอี ายตุ ัง้ แตร่ าว ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว ถึงราว ๒,๓๐๐ ปมี าแลว้
๓. สมยั ปลาย (Late Period) มีอายตุ งั้ แต่ราว ๒,๓๐๐ ปมี าแล้ว ถงึ ราว ๑,๘๐๐ ปมี าแล้ว
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เก่ียวกับโลหะนั้นได้เสนอว่าในช่วงระยะเวลาราว ๔,๐๐๐-๓,๕๐๐ ปีมาแล้วเป็น
อยา่ งนอ้ ยเรม่ิ ปรากฏเครอื่ งมอื สำ� รดิ ขน้ึ ทบ่ี า้ นเชยี งโดยสำ� รดิ รนุ่ แรก ๆ ดงั กลา่ วนน้ั มที ง้ั ใบหอก กำ� ไลขอ้ มอื และกำ� ไลขอ้ เทา้
พ.ศ. ๒๕๓๔ นายสุรพล นาถะพนิ ธุ และคณะนักโบราณคดี กองโบราณคดี กรมศิลปากร ด�ำเนินงานส�ำรวจ
แหลง่ วฒั นธรรมบา้ นเชยี งในเปา้ หมายการกำ� หนดขอบเขตของแหลง่ วฒั นธรรม และศกึ ษาในรายละเอยี ดของแตล่ ะแหลง่
ทำ� ใหพ้ บแหลง่ โบราณคดีวฒั นธรรมบ้านเชยี งขนึ้ อีกหลายสบิ แหง่ และขอบเขตของวฒั นธรรมขยายออกไป
อย่างไรก็ตาม ข้อโต้แย้งที่เกี่ยวกับการก�ำหนดอายุของแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงก็ยังคงมีอยู่อีกเป็นอันมาก
ดังจะเห็นได้จากรายงานผลการก�ำหนดอายุของพิพิธภัณฑ์โบเวอร์ท่ีก�ำหนดอายุด้วยกระดูกมนุษย์ท่ีได้จากการขุดค้นใน
แหลง่ โบราณคดบี า้ นเชยี ง ปรากฏวา่ ไดอ้ ายเุ พยี ง ๒,๗๔๕-๒,๒๑๐ ปมี าแลว้ (Labbe 1985) และรองศาสตราจารยศ์ รศี กั ร
วลั ลโิ ภดม ได้กลา่ วสรุปถึงข้อปญั หาดังกล่าวน้ี (ศรีศักร วลั ลิโภดม ๒๕๓๕, หนา้ ๒๗-๓๐) ไวด้ ังนี้
“ในเรื่องท่ีเกี่ยวกับอายุของชุมชนหมู่บ้านของสังคมวัฒนธรรมบ้านเชียงในแอ่งสกลนครน้ี
ในชั้นแรก ๆ ก็มีการเสนอไวต้ า่ ง ๆ นานานับแตป่ ระมาณ ๗,๐๐๐-๘,๐๐๐ ปีลงมาจนถึง ๖,๐๐๐ ปี
โดยเฉพาะในเรอ่ื งการพบโบราณวตั ถทุ เ่ี ปน็ สำ� รดิ นน้ั กเ็ คยมผี เู้ สนอวา่ มอี ายไุ มต่ ำ�่ กวา่ ๖,๐๐๐ ปี
ซึ่งแก่กว่ายุคส�ำริดในตะวันออกกลางในประเทศอินเดียและจีน ต่อมามีนักโบราณคดีของ
อเมรกิ นั มาสมทบรว่ มขดุ ค้นทางโบราณคดีกบั นกั โบราณคดีไทยของกรมศลิ ปากรอกี ไดก้ �ำหนด
อายุของการมีโลหะส�ำริดใช้ในบ้านเชียงประมาณ ๕,๖๐๐ ปีมาแล้ว หรืออีกนัยหน่ึงประมาณ
๓,๖๐๐ ปกี อ่ นครสิ ตกาล มกี ารออกขา่ วไปทวั่ โลกวา่ แหลง่ โบราณคดที บ่ี า้ นเชยี งนนั้ แสดงใหเ้ หน็
ว่าคนท้องถ่ินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เคยมีอารยธรรมมาช้านาน สามารถหล่อส�ำริด
ข้ึนใช้เป็นเครื่องมือและเคร่ืองประดับก่อนชาติใด ๆ ในโลก ไม่ว่าจะเป็นตะวันออกกลาง จีน
หรอื อินเดยี ทเ่ี คยเชอื่ กนั วา่ เปน็ แหล่งส�ำริดทีเ่ กา่ แกม่ าก่อน”
“ในระยะหลัง ๆ ลงมาก็มีการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงในเร่ืองอายุของการมีโลหะส�ำริดใช้ใน
บา้ นเชยี งกนั ใหญโ่ ตโดยบรรดานกั โบราณคดแี ละนกั วชิ าการจากหลายประเทศตา่ งกเ็ รม่ิ ปฏเิ สธอายุ
ที่เก่าแก่ที่สุดในโลกของการมีวัตถุส�ำริดใช้ที่ชุมนุมซนหมู่บ้านโบราณที่บ้านเชียงกัน โดยเฉพาะ
ในกลมุ่ นกั โบราณคดชี าวอเมรกิ นั ทเ่ี คยกำ� หนดอายไุ ว้ ๕,๖๐๐ ปกี ป็ ระกาศเปลย่ี นแปลงลดลงมา
เป็น ๔,๐๐๐ ปี หรอื ๒,๐๐๐ ปีก่อนคริสตกาลแทน โดยแกไ้ ขว่าอายุ ๕,๖๐๐ ปนี ้ัน แท้ท่ีจริงเป็น
72 หนังสอื ทรี่ ะลกึ พิธีถวายผา้ พระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
อายขุ องคนบา้ นเชยี งทเี่ ปน็ เจา้ ของภาชนะเครอื่ งปน้ั ดนิ เผาสดี ำ� ทมี่ ลี วดลายขดขดี ซง่ี พบในชน้ั ดนิ
ตา่ํ สดุ แทน สว่ นเครอื่ งสำ� รดิ นน้ั พบในชน้ั ดนิ ทอี่ ยเู่ หนอื ขนึ้ มารว่ มกบั บรรดาเครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาชนดิ
ทม่ี ลี ายเขียนส”ี
“กระน้ันก็มีบรรดานักโบราณคดีชาติอ่ืน เช่น ญี่ปุ่นและจีน ก็ยังไม่เชื่อเรื่องอายุของยุคส�ำริด
ทบี่ า้ นเชยี งทม่ี กี ารเสนอใหมน่ ี้ ไดม้ กี ารเสนอในลกั ษณะโตแ้ ยง้ วา่ มกี ารนำ� รปู แบบของบรรดาวตั ถุ
ส�ำรดิ ที่พบท่ีบ้านเชยี งและแหลง่ โบราณคดีใกลเ้ คียงไปศึกษาเปรียบเทียบกบั บรรดาโบราณวตั ถุ
ส�ำริดท่ีพบในเขตประเทศจีนตอนใต้โดยเฉพาะในมณฑลยูนนานและในเขตประเทศเวียดนาม
แล้วมีหลายแห่งทีเดียวที่คล้ายคลึงกัน สามารถก�ำหนดอายุในลักษณะท่ีสัมพันธ์กันได้ว่า
เครอ่ื งสำ� รดิ ในแหลง่ โบราณคดที บี่ า้ นเชยี งในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทยมอี ายอุ ยา่ งเกา่
แกท่ ี่สดุ ไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ ปกี อ่ นคริสตกาลหรอื อกี นยั หนงึ่ ประมาณ ๓,๐๐๐ ปีมาแล้วเท่านน้ั เอง
จึงไมม่ อี ะไรทจี่ ะบอกไดว้ า่ เกา่ แก่ทสี่ ุดในโลก”
“เพราะฉะนนั้ เรอื่ งอายแุ ละสมยั เวลาของชมุ ชนหมบู่ า้ นยคุ แรกเรมิ่ ในสงั คมวฒั นธรรมบา้ นเชยี ง
ท่ีพบในแถบลุ่มแม่น้ําสงครามตอนบนในแอ่งสกลนครของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
ประเทศไทยยงั เปน็ เรือ่ งทห่ี าขอ้ ยุตไิ มไ่ ด้ ตอ้ งมีการค้นคว้าและศกึ ษาเพ่ือหาข้อเทจ็ จริงตอ่ ไป”
“แต่สิ่งท่ีน่าต้ังข้อสังเกตอย่างหนึ่งในท่ีนี้ก็คือ การก�ำหนดอายุสังคมหมู่บ้านท่ีสูงถึง ๕,๖๐๐ ปี
หรอื ๔,๐๐๐ ปนี น้ั ดเู หมอื นโดดเดน่ อยแู่ ตเ่ พยี งทบ่ี า้ นเชยี งเปน็ สว่ นใหญแ่ ตบ่ รรดาแหลง่ โบราณคดี
ทเ่ี กีย่ วกบั สงั คมหมบู่ า้ นอ่นื ๆ ทพ่ี บในบริเวณอ่ืน ๆ ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือโดยเฉพาะใน
แอง่ โคราชกบั ในเขตภาคกลางนน้ั ไมว่ า่ นกั โบราณคดที งั้ ชาวตา่ งประเทศและชาวไทยกลบั กำ� หนด
อายุราว ๓,๐๐๐ ปี หรือประมาณ ๒,๕๐๐ ปี ซึง่ เทา่ กับ ๑,๐๐๐ ปีก่อนครสิ ตกาล หรือ ๕๐๐ ปี
ก่อนคริสตกาลลงมาเกือบท้ังนั้น ท�ำให้เกิดช่วงเวลาที่ว่างระหว่างชุมชนสมัย ๕,๖๐๐ ปี
หรือ ๔,๐๐๐ ปี กับชุมชนสมัย ๓,๐๐๐ ปีลงมาเป็นอย่างมาก ยังไม่มีการอธิบายให้แน่ชัดว่า
ลักษณะสงั คมในช่วงหน่งึ พันปีท่อี ยู่ระหวา่ งชมุ ชนทีม่ ีอายุ ๔,๐๐๐ ปกี ับชมุ ชนทม่ี ีอายุ ๓,๐๐๐ ปี
ว่ามลี กั ษณะเชน่ ใด และมคี วามสมั พันธ์และสืบเน่ืองตอ่ กันอยา่ งใด”
“แต่กอ่ น ๆ เคยมนี กั โบราณคดชี าวตา่ งประเทศเสนอวา่ กลุม่ ชนทอ่ี ย่รู ่วมกนั ในสงั คมวฒั นธรรม
บ้านเชียงในแอ่งสกลนครท่ีถือว่าเก่าแก่ที่สุดนั้นมีการเคลื่อนย้ายและแพร่กระจายมาต้ังถ่ินฐาน
ในแอ่งโคราชซ่ึงอยู่ตํ่าลงมาทางใต้ แต่ปัจจุบันน้ีบรรดานักโบราณคดีเหล่านั้นก็ดูเหมือนล้มเลิก
การเสนอขอ้ คดิ เหน็ เหลา่ นนั้ แลว้ เพราะในการขดุ คน้ แหลง่ โบราณคดชี มุ ชนหมบู่ า้ นในระยะแรก
เร่มิ ในแอ่งโคราชและบรเิ วณอน่ื ๆ แตล่ ะแหลง่ ล้วนมีรปู แบบของบรรดาโบราณวัตถุโดยเฉพาะ
พวกเครอ่ื งป้ันดินเผาที่ใช้เปน็ ภาชนะเซน่ ศพแตกต่างไมเ่ หมอื นกนั ท้งั สิ้น ซ่ึงแสดงใหเ้ ห็นว่ากลมุ่
ชนในแต่ละแหล่งนั้นไม่ใชค่ นพวกเดียวกนั ”
“ข้อยุตทิ ่นี า่ จะประมาณได้ในขนั้ นี้กอ่ นคอื สังคมหม่บู ้านในระยะแรกเรมิ่ ในดินแดนประเทศไทย
พัฒนาขนึ้ กอ่ นในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือของประเทศไทยราว ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว ท้ังในบรเิ วณ
แอ่งสกลนครและแอง่ โคราช
วดั มัชฌิมาวาส จงั หวดั อดุ รธานี 73
หลุมขุดค้นทางโบราณคดที ่ีวดั โพธ์ิศรีใน ในเขตหมู่บา้ นบ้านเชยี ง
การขุดค้นทางโบราณคดีท่ีบา้ นเชยี ง ฅตามโครงการร่วมมอื ระหว่างกรมศิลปากร-มหาวิทยาลัย
เพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ใน พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๑๘
หลุมขุดคน้ ทางโบราณคดที ี่บา้ นเชียง ใน พ.ศ.๒๕๑๗-๒๕๑๘
74 หนังสือท่รี ะลกึ พิธีถวายผ้าพระกฐนิ พระราชทาน มศว ๒๕๖๓
วฒั นธรรมสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรบ์ ้านเชียง
อยา่ งไรกต็ ามผลของการศกึ ษาวเิ คราะหห์ ลกั ฐานทไ่ี ดจ้ ากการขดุ คน้ ทางโบราณคดี โดยเฉพาะจากการขดุ คน้
ในระหว่าง พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๑๘ ซึ่งเป็นการขุดค้นระดับใหญ่ที่เป็นโครงการร่วมมือระหว่างกรมศิลปากรกับพิพิธภัณฑ์
มหาวิทยาลยั ของมหาวิทยาลยั เพนซิลเวเนยี ประเทศสหรัฐอเมรกิ านั้น ความรู้ทไี่ ด้จากแหล่งโบราณคดบี า้ นเชียงเทา่ ทมี่ ี
การน�ำเสนอจนถงึ ขณะนี้ แสดงให้เหน็ ว่าวัฒนธรรมบ้านเชยี งเรมิ่ ตน้ ขนึ้ เมอื่ ราว ๕,๖๐๐ ปมี าแล้วและมีความต่อเน่ืองมา
จนถึงราว ๑,๘๐๐ ปมี าแลว้ ในช่วงระยะเวลายาวนานนับพนั ๆ ปขี องวัฒนธรรมบ้านเชียงมีการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
ตลอดเวลา ซึ่งสะท้อนออกมาให้เห็นได้อย่างง่าย ๆ ในวัตถุและพฤติกรรมเน่ืองในวัฒนธรรม ซึ่งได้แก่ภาชนะดินเผา
และประเพณกี ารฝังศพ ซงึ่ รายละเอียดของผลการศกึ ษาในแตล่ ะด้านนั้น พอสรปุ ไดด้ งั น้ี
อายสุ มัยของบ้านเชียง
ในครงั้ แรก ๆ นน้ั ผอู้ ำ� นวยการขดุ คน้ รว่ มในโครงการรว่ มมอื ระหวา่ งกรมศลิ ปากรและมหาวทิ ยาลยั เพนซลิ เวเนยี
(Gorman and Chareonwongsa, 1976, 1978) ได้เผยแพรผ่ ลการศึกษาและแบง่ วัฒนธรรมสมัยกอ่ นประวัติศาสตร์
บา้ นเชยี งออกเปน็ ๖ สมยั ยอ่ ย แตต่ อ่ มาไดม้ กี ารนำ� ลำ� ดบั อายสุ มยั ดงั กลา่ วนนั้ มาทบทวนและแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดย ดร.จอยซ์
ซี. ไวท์ (Joyce c. White) ได้ประมวลผลสรปุ เสนอใหมไ่ วว้ ่า ลำ� ดับชัน้ ทางวัฒนธรรมสมัยกอ่ นประวัติศาสตรข์ องบ้าน
เชียงแบ่งออกเป็น ๓ สมัยหลัก ๆ ตามลักษณะประเพณกี ารฝงั ศพและรปู แบบภาชนะดนิ เผาทีฝ่ งั ไวร้ วมกับโครงกระดูก
ในหลมุ ฝังศพ ดงั น้ี (สรุ พล นาถะพนิ ธุ ๒๕๓๐, หนา้ ๒๑-๒๗)
๑. บ้านเชียงสมัยต้น (Early Period) เร่ิมต้ังแต่ เม่ือราว ๕,๖๐๐ ปีมาแล้ว จนถึงราว ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว
ประเพณกี ารฝังศพของสมยั ตน้ มีอยา่ งนอ้ ย ๓ แบบ คือ
- แบบท่ี ๑ วางศพในลักษณะนอนหงายเหยียดยาว (Extended) โดยมีภาชนะดินเผาวางไว้บริเวณขา
หรอื ศรี ษะ
- แบบที่ ๒ วางศพในลกั ษณะนอนงอเขา่ (Flexed) มที ้งั ศพทม่ี แี ละไมม่ สี ิ่งของเครอ่ื งใชฝ้ ังไว้ด้วย
- แบบที่ ๓ เอาศพใส่ในภาชนะดนิ เผาขนาด ใหญ่ แล้วจงึ น�ำไปฝัง การฝังแบบนใ้ี ช้กับศพเด็กเทา่ นนั้
๒. สมัยกลาง (Middle Period) อายรุ าว ๓,๐๐๐-๒,๓๐๐ ปีมาแลว้
การฝงั ศพของสมยั กลางเปน็ แบบวางศพในลกั ษณะนอนหงายเหยยี ดยาว มภี าชนะดนิ เผาทที่ บุ ใหแ้ ตกแลว้
โรยคลมุ ศพ
๓. สมัยปลาย (Late Period) อายุราว ๒,๓๐๐-๑,๘๐๐ ปมี าแล้ว
การฝังศพของสมัยปลายจะวางศพในลกั ษณะนอนหงายเหยียดยาว แล้ววางภาชนะดินเผาทับไว้บนศพ
มนุษย์ผเู้ ป็นเจ้าของวฒั นธรรมบ้านเชยี ง
ดร. ไมเคิล ปีทรูเซฟสกี้ (Michael Pietrusewsky) และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาวาย สหรัฐอเมริกา
ใช้เวลา ๖ ปี ศึกษาโครงกระดูกมนษุ ยท์ ีข่ ดุ ไดจ้ ากบ้านเชยี งเกอื บ ๑๓๐ โครง (Pietrusewsky, M. 1984) ปรากฏผลดงั น้ี
เพศ พบว่าโครงกระดกู เป็นชายมากกว่าเปน็ หญิง ในระยะท้าย ๆ มีโครงกระดกู ของเด็กอ่อนมากกว่าการฝัง
ในระยะตน้ ๆ
อายุ ชาวบา้ นเชียงโบราณมีอายุเฉลย่ี ไมเ่ กนิ ๓๑ ปี เปรยี บเทียบกบั โครงทีพ่ บในรุน่ หลงั พบว่ารนุ่ แรกมอี ายุ
น้อยกวา่ เล็กนอ้ ย
ความสูง ชาวบ้านเชียงโบราณเป็นประชากรที่มีร่างค่อนข้างสูง ขายาว และมีกล้ามเนื้อเจริญดี ชายจะสูง
ระหวา่ ง ๕ ฟตุ ๕ นิ้ว ถงึ ๕ ฟุต ๙ นว้ิ หญงิ จะสูง ระหวา่ ง ๔ ฟุต ๑๑ นวิ้ ถึง ๕ ฟตุ ๒ นิว้ ชายท่สี งู ท่สี ุดวดั ไดถ้ ึง ๖ ฟตุ
วดั มชั ฌมิ าวาส จงั หวัดอุดรธานี 75
ภาชนะดนิ เผาบรรจศุ พเดก็ ทารก วฒั นธรรมบา้ นเชียงสมัยต้น อายุประมาณ ๔,๕๐๐ – ๔,๐๐๐ ปมี าแล้ว
๒ นว้ิ และหญงิ อาจเตย้ี เพยี ง ๔ ฟตุ ๘ นวิ้ มีร่องรอยของการน่งั โดยวธิ ขี ัดสมาธิเพราะพบสแควททิง้ ฟาเซท์ส (Squatings
Facets) มีสันกระดกู (Bony Spurs) และกระดกู ยาวมรี ูปแบน (Long Bone Flattening) แสดงว่าชาวบา้ นเชยี งชอบวธิ ี
นงั่ แบบน้ียงิ่ กว่าในทา่ อืน่ ๆ
ลกั ษณะของฟนั เปรียบกบั ฟันของคนทย่ี งั มชี ีวิตอยู่และจากโครงที่ฝงั อยู่ของประชากรของเอเชียตะวนั ออก
เฉียงใต้ ชาวบ้านเชียงโบราณไม่มีฟันใหญ่กว่าบุคคลและโครงเหล่าน้ัน ฟันของคนรุ่นแรกโตกว่าฟันของคนรุ่นหลังเพียง
เลก็ นอ้ ย ฟนั สกึ มากจากการเค้ยี ว มีฟนั ผุและเป็นโรคเหงือกอักเสบคอ่ นขา้ งมาก ฟนั หนา้ เปน็ รูปจอบ (Shovel Shaped
incisors)3๒ พบไดบ้ อ่ ย ฟันมีรอยเปอ้ื น (staining) สันนษิ ฐานว่าเนอ่ื งจากการเคีย้ วหมาก การมฟี นั สึกและผุมากแสดงว่า
ใชเ้ คย้ี วอาหารทเ่ี ปน็ อาหารพวกแปง้ มากและเปน็ อาหารคอ่ นขา้ งหยาบทำ� ใหส้ นั นษิ ฐานวา่ เปน็ ลกั ษณะของการกนิ อยกู่ อ่ น
จะมีการเพาะปลกู หรอื เป็นแบบผสม (Mixed or Preagricultural Economy)
พยาธสิ ภาพ ชาวบา้ นเชยี งโบราณมขี ้ออักเสบมาก (Osteoarthritis) มรี อยของก้อนทูมทก่ี ะโหลก
ศาสตราจารย์ปีทรูเซฟสกี้ดูจะให้ความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับการผิดปกติของสีเลือดท่ีเป็นโรคประจ�ำทาง
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทคไทย เพราะฉะนั้นเม่ือได้พบกะโหลกส่วนบน (Skull vault) หนาขึ้นก็กล่าวถึง
โรคธัลลสั ซเี มยี และเฮโมโกลบนิ อี และกลา่ วเลยไปถึงว่าผทู้ ่มี ีสเี ลือดผดิ ปกตนิ ้จี ะมกี ารต้านทานต่อการเปน็ ไข้มาลาเรยี และได้น�ำ
ผลงานจากการศึกษากะโหลกของชาวบ้านเชียงโบราณไปเปรียบเทียบกับกะโหลกของโครงกระดูกของแหล่งโบราณคดี
โนนนกทา ของบา้ นเกา่ และโครงกระดกู มนษุ ยส์ มยั หนิ ใหมท่ พี่ บทป่ี ระเทศลาวและเวยี ดนาม ไดผ้ ลสรปุ วา่ โครงกระดกู ของ
ชาวบ้านเชียงโบราณนั้นเป็นกลุ่มชนท่ีอยู่ในกลุ่มของสมัยหินใหม่ที่อาศัยอยู่ในแถบนี้มาต้ังแต่ก่อนประวัติศาสตร์
(Prehistoric South East Asia) และใกลเ้ คยี งกบั หมชู่ นทอี่ าศยั อยใู่ นหมเู่ กาะของเอเชยี ตะวนั ออก (สดุ แสงวเิ ชยี ร ๒๕๒๘,
หนา้ ๘๗-๙๑)
๒ ซงึ่ ถือเป็นลกั ษณะของชนเชื้อชาตมิ องโกลอยด์โดยเฉพาะชาวจนี
76 หนังสอื ที่ระลึกพิธถี วายผ้าพระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
ภาชนะดินเผาบา้ นเชียง
ดร.จอยซ์ ซี. ไวท์ (Joyce c. White) ได้ศึกษารูปแบบภาชนะดินเผาที่พบในหลุมฝังศพสมัยต่าง ๆ
ของบ้านเชียง และสรุปว่าสมัยต้น สมัยกลาง และสมัยปลายของบ้านเชียงนั้น มีภาชนะดินเผาแบบเดิมเฉพาะตัวของ
แต่ละสมยั แตกตา่ งกันไป ดงั นี้
๑. สมยั ต้น (Early Period)
- ภาชนะดนิ เผาลกั ษณะเดน่ ๆ หรอื ประเภทเด่น ๆ ของบา้ นเชียงสมัยตน้ สรุปไดด้ งั นี้
(๑) ในระยะเริ่มแรกของสมัยต้นอายุประมาณ ๕,๖๐๐-๔,๕๐๐ ปีมาแล้ว มีภาชนะประเภทเด่น
คือ ภาชนะมเี ชงิ หรือฐานเต้ีย ๆ (Short ring foot) สว่ นใหญ่เปน็ ภาชนะสีดำ� สว่ นครงึ่ บนของภาชนะมกั ตกแตง่ ดว้ ยเสน้
ขีดเป็นลายขด (หรือลายเส้นคดโค้ง) และมีลายกดเป็นขุดหรือเส้นสั้น ๆ เติมพ้ืนท่ีระหว่างลายขีดให้เต็ม ส่วนคร่ึงล่าง
ภาชนะมักตกแตง่ ด้วยลายเชอื กทาบ
ภาชนะดินเผาสีด�ำมลี ายขดี วฒั นธรรมบ้านเชยี งสมยั ต้นระยะแรก อายปุ ระมาณ ๕,๖๐๐ - ๔,๕๐๐ ปมี าแลว้
(๒) ระยะที่ ๒ ของสมยั ต้น อายปุ ระมาณ ๔,๕๐๐-๔,๐๐๐ ปีมาแลว้ มภี าชนะประเภทเดน่ ท่ีปรากฏ
เพม่ิ ขนึ้ มาคอื ภาชนะขนาดใหญท่ ใ่ี ชใ้ สศ่ พเดก็ กอ่ นนำ� ไปฝงั และภาชนะขนาดเลก็ อน่ื ๆ ซง่ึ มกี ารตกแตง่ เสน้ ขดี เปน็ ลวดลาย
คดโคง้ บนผิวสว่ นใหญ่ของภาชนะ จงึ ดวู า่ มปี ริมาณลายตกแตง่ หนาแนน่ กวา่ ลายขดี บนภาชนะดินเผาของระยะเรม่ิ แรก
ภาชนะดินเผาลายเชือกทาบ วัฒนธรรมบา้ นเชยี งสมยั ตน้ ระยะทส่ี อง อายุประมาณ ๔,๕๐๐ – ๔,๐๐๐ ปีมาแลว้
วดั มัชฌมิ าวาส จังหวดั อดุ รธานี 77
(๓) ระยะท่ี ๓ ของสมยั ตน้ อายปุ ระมาณ ๔,๐๐๐-๓,๕๐๐ ปมี าแลว้ เรมิ่ ปรากฏมภี าชนะทด่ี า้ นขา้ งตรง
หรอื เกอื บตรง (ทำ� ใหด้ ูเป็นภาชนะทรงกระบอก Beaker) และภาชนะตกแตง่ ด้วยลายเชือกทาบทง้ั ใบท่ีมีส่วนคอภาชนะ
ต้งั ตรง กน้ ภาชนะกลม
ภาชนะดินเผาทรงบีกเกอร์ วัฒนธรรมบ้านเชยี งสมยั ต้นระยะทส่ี าม อายปุ ระมาณ ๔,๐๐๐ – ๓,๕๐๐ ปมี าแล้ว
(๔) ระยะสดุ ทา้ ยของสมยั ตน้ อายปุ ระมาณ ๓,๕๐๐-๓,๐๐๐ ปมี าแลว้ เรมิ่ ปรากฏมภี าชนะดนิ เผาแบบ
“บ้านอ้อมแก้ว” ซึ่งหมายถึง ภาชนะทรงก้นกลมตกแต่งบริเวณไหล่ภาชนะด้วยลายขีดเป็นเสันคดโค้งผสมกับการเขียน
สแี ดง และตกแต่งสว่ นอืน่ ๆ ท่ีอยู่ใต้ลงมาด้วยลายเชือกทาบ สาเหตุทเ่ี รยี กภาชนะดินเผาแบบนีว้ ่าแบบ “บ้านออ้ มแก้ว”
ก็เพราะได้พบว่า เป็นประเภทหลักท่ีพบในช้ันดินล่างสุด หรือระยะการอยู่อาศัยเริ่มแรกของแหล่งโบราณคดีท่ี
บ้านออ้ มแกว้ ซง่ึ อยไู่ ม่ไกลจากบา้ นเชยี งนัก
ภาชนะดินเผาลายเชือกทาบ มีลายขีดทาสีแดง วัฒนธรรมบ้านเชยี งสมยั กลาง อายุประมาณ ๓,๐๐๐ – ๒,๓๐๐ ปีมาแลว้
78 หนงั สอื ที่ระลกึ พิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
๒. สมัยกลาง (Middle Period) อายปุ ระมาณ ๓,๐๐๐-๒,๓๐๐ ปมี าแลว้
ภาชนะดินเผาประเภทเด่นของสมัยกลาง คือภาชนะผิวนอกสีขาว ท�ำส่วนไหล่ภาชนะให้เป็นสันหักมุม
(Carinated Pot) มีทั้งแบบก้นภาชนะกลมและแหลม บางชิ้นมีการตกแต่งด้วยลายขีดผสมกับลายเขียนสีท่ีบริเวณไหล่
ภาชนะ ตอนปลาย ๆ ของสมัยกลางเริ่มมีการตกแต่งภาชนะแบบนด้ี ้วยการทาสีแดงท่บี ริเวณปากภาชนะ
ภาชนะดินเผาผิวเรยี บสขี าว วฒั นธรรมบ้านเชยี งสมัยกลาง อายปุ ระมาณ ๓,๐๐๐ – ๒,๓๐๐ ปมี าแลว้
๓. สมัยปลาย (Late Period) อายุประมาณ ๒,๓๐๐ - ๑,๘๐๐ ปมี าแลว้
ช่วงต้น ๆ ของสมัยปลายมีภาชนะชนดิ เขียนลายสีแดงบนพื้นสนี วล (Red-on-buff painted Pottery)
เปน็ ภาชนะดนิ เผาประเภทเดน่ ทเี่ รมิ่ ปรากฏขนึ้ มาตอนกลางของสมยั จงึ เรมิ่ มภี าชนะชนดิ เขยี นลวดลายสแี ดงบนผวิ สแี ดง
(Red Pot Painted with red designs) ระยะสุดท้ายของสมัยจึงมีภาชนะดินเผาฉาบผิวนอกด้วยน้ําโคลนสีแดง
แลว้ ขัดมนั (Red slipped and burnished Pot) เพิ่มข้ึนมา
ภาชนะดินเผาลายเขียนสี วฒั นธรรมบ้านเชยี งสมัยปลาย อายปุ ระมาณ ๒,๓๐๐ – ๑,๘๐๐ ปีมาแล้ว
วัดมัชฌิมาวาส จงั หวดั อดุ รธานี 79
การโลหกรรมของบา้ นเชยี ง
การโลหกรรมของบ้านเชียงเริ่มต้นโดยใช้ส�ำริด เมื่อประมาณ ๔,๕๐๐-๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว หลังจากน้ัน
ในราว ๒,๗๐๐-๒,๕๐๐ ปีมาแลว้ จงึ เร่ิมมกี ารใชเ้ หลก็ (กรมศิลปากร ๒๕๓๔, หนา้ ๓๑)
วัตถุเกี่ยวเน่ืองกับการโลหกรรมด้านส�ำริดท่ีพบท่ีบ้านเชียงน้ันมีตั้งแต่เบ้าดินเผาส�ำหรับหลอมโลหะ
แมพ่ ิมพห์ ินทรายสำ� หรบั หลอ่ โลหะใหเ้ ปน็ วตั ถแุ ละตวั วตั ถุส�ำริดประเภทต่าง ๆ เชน่ ใบหอก หัวขวาน หัวลูกศร ก�ำไลขอ้
มอื ข้อเท้า เบด็ ตกปลา ฯลฯ
วตั ถสุ ำ� รดิ ชนิ้ ทมี่ อี ายเุ กา่ แกท่ ส่ี ดุ เทา่ ทพี่ บจากการขดุ คน้ แหลง่ โบราณคดบี า้ นเชยี งถงึ ขณะนกี้ ค็ อื ใบหอกทม่ี สี ว่ น
ปลายงอพบั ซ่ึงพบฝังอยู่ในหลมุ ฝังศพที่ก�ำหนดอายไุ ด้ราว ๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว ผลการวิเคราะห์พบว่าใบหอกชิน้ นีม้ กี รรมวิธี
การท�ำ คือเร่ิมต้นด้วยการหล่อโดยใช้แม่พิมพ์ชนิด ๒ ชิ้นประกบกัน จากน้ันถูกน�ำไปตีเพื่อตกแต่งรูปร่างให้สมบูรณ์
เสรจ็ แลว้ จงึ นำ� ไปเผาไฟจนรอ้ นแดงแลว้ ปลอ่ ยทง้ิ ไวใ้ หเ้ ยน็ ตวั ลงอยา่ งชา้ ๆ เพอื่ ลดความเปราะทเี่ กดิ ขนึ้ เนอื่ งจากการตตี กแตง่
กรรมวธิ เี ชน่ น้แี สดงให้เหน็ ว่าช่างสำ� ริดรุ่นแรก ๆ ทบี่ ้านเชียงมคี วามเขา้ ใจพน้ื ฐานของการโลหกรรมส�ำรดิ เป็นอย่างดยี ่ิง
อนึ่ง ส�ำริดเป็นโลหะผสมระหว่างทองแดงและดีบุกซึ่งเป็นโลหะท่ีไม่มีอยู่ตามธรรมชาติในบริเวณบ้านเชียง
ดังน้ัน ช่างส�ำริดท่ีบ้านเชียงน่าจะได้โลหะท้ังสองชนิดน้ีมาจากชุมชนอื่น ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าการติดต่อแลกเปลี่ยนค้าขาย
ระหวา่ งชมุ ชนตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบจะตอ้ งเกดิ ขนึ้ แลว้ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของไทย ตงั้ แตไ่ มน่ อ้ ยกวา่ ๔,๐๐๐ ปี
มาแล้ว
การใช้เหลก็ ทีบ่ ้านเชียงเร่มิ ขึ้นเม่ือราว ๒,๗๐๐- ๒,๕๐๐ ปมี าแล้ว ผลการวิเคราะห์แสดงว่าเหล็กทีใ่ ชต้ ัง้ แต่
คร้ังแรก ๆ น้ันไม่ใช่เหล็กจากอุกกาบาต แต่เป็นเหล็กท่ีได้มาจากการถลุงสินแร่เหล็กให้ได้เป็นก้อนโลหะเหล็กก่อน
แลว้ จงึ นำ� ไปตขี นึ้ รปู ใหเ้ ปน็ สง่ิ ของมรี ปู รา่ งตามตอ้ งการ ขน้ั ตอนสดุ ทา้ ยในการทำ� เครอื่ งมอื เหลก็ กค็ อื การชบุ ใหเ้ หลก็ แขง็ ขนึ้
ด้วยการเผาใหร้ ้อนแดงแล้วจุม่ ลงไปในนํา้ เย็นทันที
เคร่ืองมือเหล็กท่ีพบในแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงนั้นส่วนใหญ่จะเป็นใบหอก หัวขวาน และหัวลูกศร
นอกจากนั้นก็มเี คยี วและมีด
ลำ� ดบั วฒั นธรรมกอ่ นประวตั ศิ าสตรส์ มยั ยอ่ ยของบา้ นเชยี งดงั กลา่ วขา้ งตน้ สรปุ เปน็ ตารางเพอื่ ใหด้ เู ขา้ ใจไดง้ า่ ย
ดังนี้
ใบหอกและเบ็ดส�ำรดิ อายุประมาณ ๔,๐๐๐ – ๓,๐๐๐ ปมี าแล้ว ปลอ้ งแขนส�ำรดิ วัฒนธรรมบา้ นเชยี ง
สว่ นก�ำไลและขวานส�ำรดิ อายปุ ระมาณ ๒,๓๐๐ – ๑,๘๐๐ ปมี าแล้ว อายปุ ระมาณ ๒,๓๐๐ – ๑,๘๐๐ ปมี าแลว้
80 หนงั สือทีร่ ะลึกพธิ ถี วายผ้าพระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
ตารางที่ ๑ สมยั ต้น (Early Period) อายุประมาณ ๕,๖๐๐-๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว
ลกั ษณะการฝงั ศพ ลักษณะ/ประเภทของภาชนะดนิ เผาเด่น ๆ การใช้โลหะ
พบว่ามีอยา่ งนอ้ ย ๓ แบบ ในระยะเริม่ แรกของสมัยต้น (ราว ๕,๖๐๐-๔,๕๐๐ ปี โลหะสำ� รดิ เรมิ่ ปรากฏในระยะ
- คอื ฝงั ในลกั ษณะนอนหงาย มาแล้ว) มีภาชนะดนิ เผาสีด�ำมเี ชิงเตี้ย ๆ ตกแต่งด้วย ที่ ๓ ของสมัยต้น อายุราว
เหยยี ดยาวโดยมภี าชนะดนิ เสันขีดเป็นลายขด (หรือเส้นคดโค้ง) และมีลายกด ๒,๐๐๐ ปกี อ่ นครสิ ตกาล หรอื
เผาวางไว้บริเวณขาหรือ เปน็ จดุ หรอื เสน้ สนั้ ๆ เตมิ ระหวา่ งเสน้ ลายขดี สว่ นใหญ่ ราว ๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว หรือ
ศรี ษะ ตกแต่งด้วยวิธีดังกล่าวเฉพาะคร่ึงบนของภาชนะ ระยะท่ี ๓ ของสมยั ตน้ น้ี
- ฝังในลักษณะวางศพนอน ส่วนครงึ่ ลา่ งตกแต่งด้วยลายเชือกทาบ
งอเข่า บางครั้งมีและไม่มี ระยะท่ี ๒ ของสมยั ตน้ (ราว ๔,๕๐๐-๔,๐๐๐ ปมี าแลว้ )
สิง่ ของฝงั ลงไปด้วย เร่ิมมีภาชนะดินเผาตกแต่งด้วยเส้นขีดเป็นลายขด
- ศพเด็กใส่ภาชนะดินเผาแล้ว ในปริมาณหนาแน่นกวา่ ของสมัยแรก
ฝัง ระยะท่ี ๓ ของสมยั ดน้ (ราว ๔,๐๐๐-๓,๕๐๐ ปมี าแลว้ )
เรมิ่ ปรากฏมภี าชนะดนิ เผาแบบทรงกระบอก (Beaker)
ปากผายเล็กน้อย และภาชนะตกแต่งด้วยลายเชือก
ทาบทั้งใบ มีส่วนคอภาชนะตั้งตรงและก้นภาชนะ
กลม
ระยะสดุ ทา้ ยของสมยั ตน้ (ราว ๓,๕๐๐-๓,๐๐๐ ปีมา
แล้ว) ซ่ึงต่อเนื่องกับระยะแรกของสมัยกลาง
เรม่ิ ปรากฏมภี าชนะทรงกลมตกแตง่ ดว้ ยลายเชอื กทาบ
แตม่ กี ารตกแตง่ ดว้ ยลายขดี เปน็ เสน้ คดโคง้ ผสมทบั การ
เขยี นสเี ฉพาะบรเิ วณไหลภ่ าชนะ หรอื ทเี่ รยี กวา่ ภาชนะ
แบบ “บา้ นออ้ มแก้ว”
ตารางท่ี ๒ สมยั กลาง (Middle Period) อายปุ ระมาณ ๓,๐๐๐-๒,๓๐๐ ปีมาแล้ว
ลกั ษณะการฝงั ศพ ลกั ษณะ/ประเภทของภาชนะดนิ เผาเด่น ๆ การใช้โลหะ
ฝังในลักษณะนอนหงาย ภาชนะมไี หลเ่ ปน็ สนั หกั มมุ (Carinated Pot) มที ง้ั แบบ เรมิ่ มกี ารใชเ้ หลก็ โดยพบกำ� ไล
เหยยี ดยาว โดยนำ� ภาชนะ ดนิ ก้นภาชนะแหลมและกลม ผิวภาชนะสีขาว บางครง้ั มี ส�ำริดมีเส้นเหล็กพันรอบ
เผาทบุ ใหแ้ ตกแลว้ วางลงคลมุ การตกแต่งด้วยลายขีดผสมกับลายเขียนสีแดง และใบหอกทำ� ดว้ ยโลหะ ๒ ชนดิ
บนศพ ตอนปลายของสมัยกลางจงเร่ิมมีการตกแต่งภาชนะ ในช่วงอายุระหว่าง ๘๐๐-
แบบน้ดี ้วยการทาสแี ดงท่ขี อบปาก ๔๐๐ ปีก่อนคริสตกาล หรือ
๒,๘๐๐-๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว
หรือตอนกลางของสมัยน้ี
วัดมัชฌมิ าวาส จงั หวดั อดุ รธานี 81
ตารางที่ ๓ สมยั ปลาย (Late Period) อายุประมาณ ๒,๓๐๐-๑,๘๐๐ ปีมาแล้ว
ลกั ษณะการฝังศพ ลักษณะ/ประเภทของภาชนะดนิ เผาเด่น ๆ การใช้โลหะ
ฝังในลักษณะนอนหงาย ในระยะแรก ๆ ของสมัยปลายมภี าชนะดนิ เผาเขยี นสี มีการใช้เหล็กท�ำเคร่ืองมือ
เหยยี ดยาว โดยวางภาชนะดนิ แดงบนพนื้ สนี วล ตอนกลางของสมยั เรมิ่ มภี าชนะเขยี น ใชส้ อยกนั อยา่ งแพรห่ ลายและ
เผาไว้บนศพ ลายสีแดงบนภาชนะผิวสีแดง ระยะสุดท้ายของสมัย มกี ารพฒั นาทางดา้ นโลหวทิ ยา
จงึ มีภาชนะฉาบน้ํา,โคลนสแี ดงแลว้ ขดั มนั เพ่ิมขึ้นมา ท่ี ส� ำ คั ญ คื อ ก า ร ท� ำ ส� ำ ริ ด
ท่ีมีดีบุกปริมาณสูงเกิดขึ้น
โ ด ย ก า ร ท� ำ เ ค รื่ อ ง ป ร ะ ดั บ
ประเภทห่วงคอ เป็นตน้
ผ้าในวฒั นธรรมบ้านเชียง
หลกั ฐานทางโบราณคดแี สดงให้เหน็ ว่าชมุ ชนโบราณในแหลง่ วัฒนธรรมบา้ นเชียงมคี วามเจรญิ ทางวฒั นธรรม
และเทคโนโลยมี าเป็นเวลายาวนานหลายพันปี นอกจากจะพบเครือ่ งมอื เครอ่ื งใช้ อาวุธและเครอ่ื งประดับทีส่ วยงามแล้ว
ยงั พบหลกั ฐานท่แี สดงถึงเทคโนโลยใี นการทอผา้ อีกด้วย (กรมศลิ ปากร ๒๕๓๔, หน้า ๓๒-๓๔)
เทคโนโลยีในการทอผ้าถือก�ำเนิดมาจากการท�ำเชือก เส้ือและเคร่ืองจักสาน เครื่องปั้นดินเผาลายเชือกทาบ
เป็นหลกั ฐานที่แสดงใหเ้ หน็ ว่าชมุ ชนโบราณในแหล่งวฒั นธรรมบ้านเชยี งรจู้ กั ทำ� เชอื กมานานไมต่ าํ่ กวา่ ๕,๖๐๐ ปมี าแล้ว
เครอื่ งปน้ั ดนิ เผาท่มี ลี ายจกั สานทาบอยู่บนผิว (อายุประมาณ ๓,๐๐๐-๒,๓๐๐ ปีมาแล้ว) เป็นหลกั ฐานส�ำคญั ท่แี สดงถึง
เทคโนโลยใี นการจกั สาน นอกจากนยี้ งั มรี ายงานวา่ พบหนิ ทบุ ผา้ เปลอื กไมจ้ ำ� นวน ๑ อนั จากการลกั ลอบขดุ แมว้ า่ หลกั ฐาน
ช้ินนีจ้ ะไม่สามารถใหข้ อ้ มูลทช่ี ัดเจน แตอ่ ยา่ งน้อย ๆ ก็แสดงว่าคงมกี ารใช้ผ้าเปลอื กไมก้ นั บา้ ง
หลกั ฐานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การผลติ เสน้ ดา้ ยหรอื ผนื ผา้ ทพี่ บเสมอในแหลง่ วฒั นธรรมบา้ นเชยี ง คอื แวดนิ เผาซง่ึ เปน็
เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการปน่ั ดา้ ย และหลกั ฐานทแี่ สดงถงึ เทคโนโลยใี นการทอผา้ ปรากฏแจม่ ชดั ขนึ้ ในยคุ โลหะมกี ารพบผา้ และ
ร่องรอยของผ้าบนเครอื่ งส�ำรดิ และเครื่องมือเหลก็ ผ้าเหลา่ น้ันคงสภาพอย่ไู ด้เน่อื งจากสนมิ ของส�ำรดิ ที่ผ้าน้นั ๆ สัมผสั อยู่
ลกู กลง้ิ ดินเผาแบบตา่ งๆ ท่เี ชื่อกันวา่ จะใชส้ ำ� หรบั ทำ� ลวดลายบนผา้ ในวฒั นธรรมบา้ นเชียง
อายุประมาณ ๒,๓๐๐ – ๑,๘๐๐ ปมี าแล้ว
82 หนังสอื ทรี่ ะลึกพิธีถวายผา้ พระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
การตรวจสอบเส้นใยโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ไม่พบร่องรอยของสีย้อม ผลการวิเคราะห์เส้นใยด้ายโดยวิธี
วิทยาศาสตร์พบว่า ผ้าจากแหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียงส่วนใหญ่เป็นผ้าท่ีทอจากเส้นใยป่านกัญชา (Hemp หรือ
Cannabis sativa) และส่วนนอ้ ยทอจากใยฝา้ ย ผ้าปา่ นกญั ชาสว่ นใหญเ่ ป็นผ้าเนือ้ หนาและหยาบ ในขณะท่ผี ้าฝา้ ยมกั มี
เนื้อละเอยี ดและบางกว่า บางตัวอย่างพบวา่ มกี ารใชป้ ่านกญั ชาและฝา้ ยในผา้ ชน้ิ เดียวกัน
เปน็ ทน่ี า่ เสยี ดายทผี่ า้ จากแหลง่ วฒั นธรรมบา้ นเชยี งสว่ นใหญไ่ ดจ้ ากการลกั ลอบขดุ ทำ� ใหไ้ มท่ ราบทม่ี าทแี่ นน่ อน
ไม่มีข้อมูลท่ีจ�ำเป็นในการก�ำหนดอายุสมัย มีเพียงไม่ก่ีตัวอย่างท่ีได้จากการขุดค้นอย่างเป็นทางการ อย่างไรก็ตาม
หลักฐานเหล่านื้มีคุณค่าย่ิงในฐานะท่ีเป็นหลักฐานโดยตรงท่ีแสดงเทคโนโลยีในการทอผ้าของชุมชนโบราณ
ในแหลง่ วฒั นธรรมบ้านเชียง
สงั คมและสิง่ แวดล้อมในสมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตรท์ บี่ า้ นเชยี ง
ชนกลมุ่ แรกทเ่ี ข้ามาต้ังถิน่ ฐานอยู่อาศัยบนเนินดนิ บ้านเชยี งเมื่อประมาณ ๕,๐๐๐ ปมี าแล้วนน้ั เปน็ กล่มุ ชน
ที่พัฒนาแล้ว มีเทคโนโลยีการท�ำภาชนะดินเผา มีการเล้ียงสัตว์บางชนิด คือ วัว หมู หมา และไก่ รวมทั้ง
ยงั ท�ำการเพาะปลูกขา้ วแลว้
การเพาะปลูกขา้ วของคนสมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์รนุ่ แรก ๆ ที่บา้ นเชียงน้นั คงจะเป็นการทำ� นาหวา่ นในทล่ี ุ่ม
มนี ้ําขงั ตอ่ มาในสมยั หลัง ๆ ราว ๓,๐๐๐ ปีมาแลว้ จึงอาจพฒั นามาท�ำการเพาะปลูกข้าวโดยการทำ� นาด�ำในแปลงนาข้าว
ทีต่ ้องไถพรวนเตรยี มไว้
นอกเหนอื จากการเพาะปลกู และเลย้ี งสัตว์แลว้ คนสมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตรท์ บ่ี ้านเชียงยงั คงท�ำการล่าสตั วป์ ่า
เชน่ เกง้ กวาง สมนั เสอื แรด หมูปา่ นม่ิ ชะมด พังพอน นาก กระรอก กระต่าย และสตั วน์ ้าํ นานาชนดิ เชน่ จระเข้ เตา่
ตะพาบ กบ ปลาดุก ปลาชอ่ น และหอยหลายชนดิ ฯลฯ
ร่องรอยของหลุมเสาบ้านท่ีพบช้ีให้เห็นว่าชุมชนก่อนประวัติศาสตร์ที่บ้านเชียงนั้นประกอบด้วยบ้านใต้ถุนสูง
ผงั รูปส่ีเหลี่ยมผนื ผา้ ปลกู อยู่รวมกันเปน็ หมบู่ า้ นถาวรบนเนินดนิ สูงทล่ี ้อมรอบดว้ ยทร่ี าบลุ่ม
ในสังคมนี้คงจะมีผู้ชำ� นาญงานหรือช่างฝีมือในงานเฉพาะด้านบางด้านอยู่ด้วย อย่างน้อยก็พบหลักฐานว่าใน
ระยะแรก ๆ มนี ายพรานผ้ชู �ำนาญการลา่ สัตว์ มชี า่ งทำ� ภาชนะดินเผา และในระยะหลัง ๆ มชี ่างโลหะสำ� รดิ และช่างเหลก็
เพมิ่ ข้นึ มา
หลุมฝงั ศพหลายหลุมพบว่ามีสงิ่ ของ เคร่อื งใชส้ อย เคร่อื งประดับ รวมท้ังของมคี า่ อื่น ๆ ฝังอยดู่ ว้ ยในปริมาณ
ท่ีต่าง ๆ กัน แสดงให้เห็นว่าในสังคมก่อนประวัติศาสตร์ท่ีบ้านเชียงน่าจะประกอบด้วยสมาชิกท่ีมีฐานะแตกต่างกัน
(กรมศลิ ปากร ๒๕๓๔, หน้า ๒๙)
ขอบเขตของแหล่งวัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศาสตรบ์ ้านเชยี ง
แหลง่ โบราณคดสี มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรว์ ฒั นธรรมแบบบา้ นเชยี ง ดงั ทไี่ ดก้ ลา่ วมาแลว้ นน้ั มไิ ดพ้ บมอี ยแู่ ตเ่ พยี ง
บรเิ วณทเี่ ปน็ ทตี่ งั้ หมบู่ า้ นบา้ นเชยี งในปจั จบุ นั นเ้ี ทา่ นนั้ แตย่ งั พบอยกู่ ระจายทว่ั ไปในบรเิ วณทรี่ าบสงู โคราชตอนเหนอื หรอื
แอ่งสกลนคร และเนื่องจากรูปแบบของวัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ดังกล่าวได้ค้นพบครั้งแรกที่บ้านเชียง ดังนั้น
จึงต่างพากันเรียกรูปแบบวัฒนธรรมก่อนประวัติศาสตร์ดังกล่าวว่า วัฒนธรรมบ้านเชียง และเพ่ือเป็นเกียรติแก่สถานที่
ดังกล่าวท่ีอาจถอื วา่ เปน็ แหลง่ โบราณคดที ีส่ ำ� คญั แห่งหน่ีงของโลกอีกดว้ ย
จากการสำ� รวจของกรมศลิ ปากรจนกระทั่งถงึ พ.ศ. ๒๕๓๔ พบว่ามแี หล่งโบราณคดีวัฒนธรรมแบบบา้ นเชยี ง
จ�ำนวน ๑๒๗ แหง่ มีแหลง่ ทีไ่ ดท้ �ำการขดุ ตรวจตามหลกั วชิ าการแล้ว ๑๒ แห่ง คอื บา้ นเชียง บา้ นออ้ มแกว้ บ้านธาตุ
วัดมัชฌมิ าวาส จงั หวดั อุดรธานี 83
บ้านต้อง โนนขี้กลิ้ง โนนเก่าน้อย บ้านเมืองพรึก บ้านผักตบ บ้านโนนนาสร้าง บ้านสะแบง ในเขตจังหวัดอุดรธานี
บ้านโคกคอน และบ้านสรา้ งคู่ ในเขตจงั หวดั สกลนคร
สว่ นท่เี หลอื เปน็ เพยี งแหลง่ ทพ่ี บไดจ้ ากการส�ำรวจซง่ึ ขอ้ มลู ท่ไี ด้สว่ นใหญจ่ ะมาจากหลักฐานทีก่ ระจดั กระจาย
ตามผิวดนิ จากหลมุ ท่ถี กู ลักลอบขดุ และจากการสมั ภาษณ์
โดยภาพรวมแล้ว แหล่งโบราณคดีกลุ่มวัฒนธรรมบ้านเชียงเหล่าน้ี จะกระจายอยู่เป็นกลุ่ม ๆ ตามเนินดิน
ในบรเิ วณลุ่มแม่นาํ้ สายตา่ ง ๆ ของแอง่ สกลนคร สว่ นใหญ่แล้วมักจะมีทำ� เลอยู่ใกล้ ๆ กบั ล�ำนาํ้ สาขายอ่ ย ๆ ตรงบริเวณที่มี
ล�ำนํ้าอย่างน้อยสองสายไหลมาบรรจบกัน และเป็นบริเวณท่ีมีดินอุดมสมบูรณ์เหมาะในการเพาะปลูกข้าวอยู่รอบ ๆ
เนนิ ดนิ เหลา่ นม้ี กั จะตงั้ อยใู่ นบรเิ วณทม่ี สี ภาพพน้ื ทเ่ี ปน็ แบบทรี่ าบขน้ั บนั ไดตำ่� และทร่ี าบแบบขนั้ บนั ไดกลาง โดยจะอยใู่ นระดบั
ความสูงจากระดบั นาํ้ ทะเลระหวา่ ง ๑๕๘-๑๙๐ เมตร (รชั นี บรรณานรุ กั ษ์, อาณตั ิ บ�ำรุงวงศ์ ๒๕๓๔)
แหล่งโบราณคดกี ลุ่มวฒั นธรรมบา้ นเชียง สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ ๗ กลมุ่ ดงั นี้
๑. กลมุ่ ลำ� นำ้� สวย พบแหลง่ โบราณคดี ๓ แหง่ อยใู่ นบรเิ วณอำ� เภอเพญ็ แหลง่ โบราณคดเี หลา่ นเ้ี ปน็ แหลง่
ที่มภี าชนะแบบสดี ำ� คลา้ ยกบั ท่ีบา้ นเชียงสมัยต้น
๒. กลุ่มต้นน้ําห้วยด่าน พบแหล่งโบราณคดี ๒๑ แห่ง ในเขตอ�ำเภอหนองหาน และอ�ำเภอเมือง
จังหวัดอุดรธานี แหล่งโบราณคดีเหล่าน้ีมีหลายสมัยด้วยกัน ต้ังแต่สมัยบ้านเชียงตอนต้นจนถึงสมัยบ้านเชียงตอนปลาย
แหลง่ ทที่ �ำการขดุ คน้ แลว้ คอื บ้านผกั ตบ บา้ นนาสรา้ ง บ้านสะแบง นอกจากนีย้ ังพบแหล่งผลติ เกลือด้วย คือ ท่ีโนนมะค่า
และโนนวงั น้าํ ขาว อ�ำเภอหนองหาน จังหวัดอดุ รธานี
๓. กลมุ่ แม่น้ําสงครามตอนบน พบแหลง่ โบราณคดี ๑๕ แห่ง ในเขตอำ� เภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี
และ อ�ำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร แหล่งที่ท�ำการขุดค้นแล้วคือบ้านเชียง บ้านอ้อมแก้ว บ้านธาตุ บ้านต้อง
และโนนขก้ี ลงิ้ แหล่งโบราณคดีเหลา่ นีอ้ ายุต้งั แตส่ มยั บา้ นเชียงตอนต้นจนถงึ สมยั ปลาย
๔. กลุ่มหว้ ยหลวง-แม่นา้ํ สงคราม พบแหล่งโบราณคดี ๑๒ แห่ง ตามแนวล�ำห้วยทวน (สาขาของแมน่ ำ้�
สงคราม) ในกลุ่มน้ียังไม่เคยพบแหล่งท่ีมีอายุเก่าถึงสมัยบ้านเชียงตอนต้น พบแต่ภาชนะลายเขียนสี ลายเชือกทาบ
แบบเคลอื บสแี ดงขดั มนั ซงึ่ ตรงกบั บา้ นเชยี งตอนกลางและตอนปลาย หากมกี ารขดุ คน้ หรอื สำ� รวจเพม่ิ เตมิ อาจจะพบแหลง่
ที่มอี ายุร่วมสมยั กบั ท่บี ้านเชียงยุคแรก ๆ
๕. กลมุ่ หนองหานกมุ ภวาปี พบแหลง่ โบราณคดี ๒๙ แหง่ กระจายอยรู่ อบ ๆ หนองหาน แหลง่ โบราณคดี
เหลา่ นส้ี ำ� รวจพบโดยโครงการโบราณคดภี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และมหาวทิ ยาลยั โอทาโก ประเทศนวิ ซแี ลนด์ ทที่ ำ� การ
ขุดตรวจแลว้ มี ๓ แหง่ คือ บา้ นนาดี บา้ นเมอื งพรึก และโนนเกา่ นอ้ ย แหลง่ โบราณคดีเหล่าน้มี อี ายตุ ้งั แตบ่ ้านเชยี งสมัย
ต้นตอนปลาย-สมยั ปลาย ยกเวน้ ทีโ่ นนเก่านอ้ ยอาจมีอายุร่วมสมัยกับบ้านเชยี งตอนต้น
๖. กลมุ่ หว้ ยยาม-หว้ ยปลาหางตอนบน (ทง้ั ๒ หว้ ยเปน็ สาขาของแมน่ า้ํ สงคราม) พบแหลง่ โบราณคดคี อ่ นขา้ ง
หนาแน่นกว่ากลุ่มอื่น ๆ และเป็นกลุ่มที่มีการลักลอบขุดหาโบราณวัตถุอย่างมาก แหล่งโบราณคดีท่ีส�ำรวจพบแล้ว
๓๗ แหง่ ทที่ ำ� การขดุ คน้ แลว้ คอื ทบ่ี า้ นสรา้ งตู่ ในกลมุ่ นไี้ มพ่ บแหลง่ ทมี่ หี ลกั ฐานคลา้ ยกบั บา้ นเชยี งสมยั แรก พบแตภ่ าชนะ
ในสมัยหลงั ๆ ทีม่ ีการเขยี นสีแล้ว ทีน่ า่ สนใจคือในกลมุ่ หว้ ยยาม-หว้ ยปลาหางตอนบนนี้ ภาชนะลายเขยี นสมี ลี วดลายงาม
มาก และบางแหล่งมีลักษณะเปน็ เนนิ ดินเลก็ ๆ เตยี้ ๆ เข้าใจวา่ ใชเ้ ปน็ ท่ฝี งั ศพแตเ่ พียงอยา่ งเดยี ว เนินดินเลก็ ๆ เหล่าน้ี
มกั จะอยู่ไมไ่ กลจากแหล่งโบราณคดีที่มขี นาดใหญ่
๗. กลุ่มห้วยศาลจอด พบแหล่งโบราณคดี ๖ แห่ง เป็นกลุ่มของแหล่งโบราณคดีอยู่ใกล้กับห้วยศาลจอด
(สาขาของแม่น้ําสงคราม) ซึ่งเป็นลุ่มแม่น้ําท่ีอยู่ระหว่างแม่นํ้าสงครามและล�ำห้วยยาม ที่บ้านโคกดอน ต�ำบลโคกสี
84 หนงั สือทร่ี ะลกึ พธิ ถี วายผ้าพระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
อ�ำเภอสว่างแดนดิน จังหวดั สกลนคร เคยมีการขดุ คน้ โดยหน่วยศลิ ปากรท่ี ๗ เม่อื ราว พ.ศ. ๒๕๑๖-๒๕๑๗ โบราณวัตถทุ ่พี บ
ส่วนใหญ่คล้ายกับบา้ นเชียงสมัยกลางและสมัยหลงั
นอกจาก ๗ กลมุ่ นแ้ี ลว้ ยงั พบแหลง่ โบราณคดโี ดด ๆ เชน่ แหลง่ สรา้ งคอม กงิ่ อำ� เภอสรา้ งคอม4๓ จงั หวดั อดุ รธานี
แหล่งเตาไห ต�ำบลเตาไห อ�ำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี แหล่งโนนแคน ต�ำบลเชียงพิณ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
แหลง่ บา้ นโคกโนนยาง ต�ำบลค�ำบอ่ อ�ำเภอวารชิ ภมู ิ จังหวดั สกลนคร เป็นต้น
การแปลความบางประการท่ีเกี่ยวกับวัฒนธรรมสมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ของบ้านเชียง
ผลของการศึกษาวิเคราะห์หลักฐานท่ีได้จากการขุดค้นทางโบราณคดีที่บ้านเชียงและแหล่งใกล้เคียงในระยะ
เวลาที่ผ่านมา อาจแปลความหมาย (Interpretation) เพ่ืออธิบายภาพบางประการของชุมชนและวัฒนธรรมสมัยก่อน
ประวตั ศิ าสตรท์ บ่ี ้านเชียงอย่างกว้าง ๆ ได้ (สุรพล นาถะพนิ ธุ ๒๕๓๐, หน้า ๓๑-๓๓) ดังน้ี
เม่อื ราวกว่า ๕,๐๐๐ ปมี าแลว้ ได้มกี ลุม่ เกษตรกรท่ีทำ� การเพาะปลูกข้าวและเลย้ี งสัตว์ เคลอื่ นย้ายเขา้ มาอยู่
อาศัยบรเิ วณเนนิ ดนิ ทเ่ี ปน็ บ้านเชียงปัจจุบนั ในขณะน้ียังไมส่ ามารถกล่าวได้อยา่ งแนน่ อนวา่ ชนกลุม่ นี้เคล่ือนยา้ ยมาจาก
จดุ ใด แตน่ า่ จะเปน็ พนื้ ท่ใี นเขตภมู ปิ ระเทศแบบทีร่ าบล่มุ ภายในแอง่ สกลนครของที่ราบสูงโคราชน่เี อง
ครนั้ เลอื กพ้นื ท่ตี ั้งชุมชนแล้ว จงึ เริม่ ลงมอื หกั รา้ ง ถางปา่ และถากถางพื้นท่ีลุ่มหรอื พื้นท่ีแอ่งนา้ํ ตืน้ ๆ ที่มีอยู่
รอบ ๆ เนิน เพ่ือเปลี่ยนให้เป็นพื้นที่ปลูกข้าว ในคร้ังแรกๆ นั้น อาจเป็นการท�ำนาแบบเลื่อนลอยในที่น�้ำขัง (Wed
Swidden Agriculture) ซ่ึงหมายถึงต้องมีการเปลี่ยนต�ำแหน่งแปลงปลูกข้าวหมุนเวียนไปมาในช่วงเวลาที่คิดว่าสมควร
ชนพวกนี้มีการลา่ สัตว์และจบั ปลามาเปน็ อาหารเสรมิ จากพชื ทเ่ี พาะปลกู และสัตว์ท่เี ลี้ยงเอง
การวิเคราะห์กระดูกสัตว์พบว่า สัตว์ที่ชาวบ้านเชียงสมัยก่อนประวัติศาสตร์เลี้ยงนั้นอย่างน้อยก็มีวัว หมู
และหมา สว่ นสตั วท์ ไี่ มไ่ ดเ้ พาะเลยี้ งแตส่ ามารถลา่ หรอื หามาได้ มที งั้ สตั วข์ นาดใหญ่ (เชน่ ชา้ ง แรด) สตั วข์ นาดกลาง (เชน่ เสอื
กวาง สมัน) และสัตว์ขนาดเล็ก (เช่น เก้ง อีเห็น พังพอน เต่า กบ ปลา หอย ฯลฯ) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคนพวกนี้
มีความชำ� นาญและค้นุ เคยกับสภาพแวดล้อมแบบป่าดงดิบแล้ง (Dry Deciduous Forest) ท่อี ยรู่ อบ ๆ พ้นื ทีบ่ า้ นเชียง
เมอ่ื กวา่ ๕,๐๐๐ ปมี าแลว้ จงึ รจู้ กั พชื และสตั วน์ านาชนดิ ทมี่ อี ยใู่ นสภาพแวดลอ้ มตามธรรมชาตขิ องตนเปน็ อยา่ งดี จนสามารถ
ประสบความสำ� เร็จในการดึงเอาประโยชน์ (Exploitation) มาจากส่งิ แวดล้อมถึงระดบั ทส่ี ามารถพาใหส้ ังคม วฒั นธรรม
ชมุ ชนอยรู่ อดได้ในถ่ินฐานใหม่ ทง้ั ยงั พัฒนาสบื ต่อมาดงั เหน็ ได้จากหลักฐานของสมัยถดั มา โดยเฉพาะจากภาชนะดนิ เผา
และการใชโ้ ลหะ
ในช่วงระยะเวลาราว ๔,๐๐๐-๓,๕๐๐ ปีมาแล้วเป็นอย่างน้อย เริ่มปรากฏเคร่ืองมือส�ำริดขึ้นท่ีบ้านเชียง
เครอื่ งสำ� รดิ รุ่นแรก ๆ ดังกลา่ วนนั้ มีทั้งใบหอก กำ� ไลข้อมอื และก�ำไลข้อเทา้
โดยทั่วไปแล้ว ส�ำริด (Bronze) ในทางโบราณคดี หมายถืง โลหะผสม (Alloy) ที่มีทองแดงและดีบุกเป็น
องค์ประกอบหลัก โดยดีบกุ น้นั เปน็ สิง่ ที่ช่างส�ำรดิ ตงั้ ใจผสมลงไปอย่างน้อย ๑ เปอรเ์ ซ็นต์ข้นึ ไป
ในที่ราบสูงโคราชนั้น ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นท่ีราบมีตะกอนล�ำน้ํา (Alluvium) เป็นวัตถุต้นก�ำเนิดดิน
ไม่มีแหล่งแรท่ องแดงและดบี กุ ขนาดใหญ่ ๆ แต่แร่โลหะทั้งสองพบได้แถบขอบของทรี่ าบสูงโคราช เชน่ แรท่ องแดงพบได้
แถบรมิ แมน่ าํ้ โขง ในจงั หวดั หนองคาย และในจงั หวดั เลย สว่ นแหลง่ แรด่ บี กุ ทใ่ี กลท้ ร่ี าบสงู โคราชทสี่ ดุ คอื แถบเวยี งจนั ทน์
ในประเทศลาว ทั้งนี้ยงั ไมน่ ับแหลง่ แรด่ บี กุ ทีย่ ังมีอยอู่ กี มากในพนื้ ที่ส่วนตา่ ง ๆ ของประเทศไทยปจั จบุ ัน
๓ ยกฐานะเป็นอำ� เภอเมื่อพ.ศ. ๒๕๓๓ จนเม่ือ พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะรัฐมนตรีมีความเห็นชอบอนุมัติให้ร่างพระราชกฤษฎีกายกฐานะของก่ิง
อำ� เภอขน้ึ เป็นอ�ำเภอทง้ั หมด ปจั จุบัน ประเทศไทยจงึ ไมม่ ีเขตการปกครองในระดบั กงิ่ อ�ำเภอ
วัดมชั ฌมิ าวาส จงั หวัดอุดรธานี 85
ดังนั้น การพบโบราณวัตถุท�ำด้วยส�ำริดท่ีบ้านเชียงและอาจรวมแหล่งโบราณคดีโนนนกทาด้วยนั้นจึงชี้ว่า
น่าจะมีการติดต่อสัมพันธ์กันระหว่างชุมชนต่าง ๆ มาต้ังแต่ประมาณ ๔,๐๐๐-๓,๕๐๐ ปีมาแล้ว หรืออีกนัยหน่ึงก็คือ
นา่ จะมชี มุ ชนกอ่ นประวตั ศิ าสตรอ์ ายรุ ว่ มสมยั กบั ระยะแรก ๆ ของบา้ นเชยี ง (และโนนนกทา) อยอู่ กี หลายแหง่ ซงึ่ บางชมุ ชน
มีการผลิตหรืออาจเป็นถึงข้ันศูนย์กลางของวัตถุดิบที่จ�ำเป็นส�ำหรับโลหวิทยาด้านส�ำริดก็ได้ เหมืองทองแดงสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ที่ภูโล้น อ�ำเภอสังคม จังหวัดหนองคาย อาจเป็นที่มาของทองแดงส่วนหน่ึงท่ีใช้กันในท่ีราบสูงโคราช
เมอื่ สมยั กอ่ นประวัตศิ าสตร์ระยะแรก ๆ ก็ได้
ความเห็นน้ีเป็นพ้ืนฐานของข้อสันนิษฐานท่ีว่าโลหวิทยาด้านส�ำริดเกิดข้ึนในที่ราบสูงโคราชหรือบริเวณใด
บรเิ วณหน่ึง (ของภมู ิภาคเอเชยี อาคเนย์) ทม่ี แี หลง่ วตั ถดุ บิ ทจ่ี ำ� เป็น (คือทองแดง และดบี กุ ) มาตงั้ แต่ ๔,๐๐๐ ปมี าแล้ว
อย่างแนน่ อน ท้ังยังอาจเกิดข้นึ ก่อนหนา้ นั้นกเ็ ปน็ ได้
ต่อมาราว ๒,๗๐๐-๒,๕๐๐ ปมี าแล้ว จงึ เริม่ มีการใช้เหล็กทบ่ี า้ นเชียง โดยในตอนแรก ๆ อาจยงั คงเป็นโลหะ
ท่ีผลิตได้ยากและมีค่าจึงใช้ในลักษณะเป็นของประดับตกแต่ง เครื่องส�ำริดสิ่งของท�ำด้วยโลหะ ๒ ซนิด (Bimetallic)
คือ สำ� รดิ ประกอบกับเหลก็ มีทัง้ ที่เปน็ ใบหอกและก�ำไลข้อมอื ปรากฏขึน้ บา้ งในขณะทก่ี ารท�ำส�ำรดิ มีพัฒนาการขึ้นมาก
ในระยะต่อมาไม่นาน จึงมีการใช้เหล็กเป็นวัสดุท�ำเครื่องมือ เครื่องใช้ อาวุธอย่างแพร่หลาย รวมทั้ง
ยังมีการใชส้ ่งิ ของจากวสั ดุประเภทอื่น เช่น ลกู ปดั แกว้ ดว้ ย
การเพาะปลกู ขา้ วและการโลหกรรม คอื ประเดน็ สำ� คญั ทท่ี ำ� ใหน้ กั โบราณคดที วั่ โลกใหค้ วามสนใจตอ่ บา้ นเชยี ง
จนชื่อน้ีกลายเป็นตัวแทนของยุคก่อนประวัติศาสตร์ช่วงหนึ่งของประเทศไทยเปรียบเทียบกับวัฒนธรรมสมัยก่อน
ประวัตศิ าสตร์ ชว่ งท่ที �ำการเกษตรกรรมแล้วของดนิ แดนอื่น ๆ เพอ่ื ศกึ ษาหาค�ำอธิบายเก่ยี วกบั กระบวนการเปล่ยี นแปลง
พฒั นาในสงั คม วฒั นธรรม พฤตกิ รรม และสงิ่ แวดลอ้ มของมนุษยท์ ้งั ในดา้ นสาเหตกุ ารเกดิ และการคลคี่ ลายในพฒั นาการ
ของสังคมมนษุ ย์
จงึ กลา่ วโดยสรปุ ไดว้ า่ วฒั นธรรมบา้ นเชยี งหรอื วฒั นธรรมแบบบา้ นเชยี ง ซง่ึ มคี วามครอบคลมุ แหลง่ โบราณคดี
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยอีกนับร้อยแห่งน้ัน “ไม่ได้หมายถึงวัฒนธรรมของกลุ่มชนโบราณที่มีการประดิษฐ์
เครื่องส�ำรดิ และภาชนะดินเผาลายเขยี นสที สี่ วยงามแปลกตามานบั เป็นหลายพนั ปจี นอาจนับไดว้ ่าเกา่ แกท่ ่สี ุดของโลก”
ตามที่เคยเข้าใจกัน แต่วัฒนธรรมบ้านเชียงหรือวัฒนธรรมแบบบ้านเชียง “หมายถึง วัฒนธรรมของชุมชนสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ในบริเวณหน่ึงของเอเชียอาคเนย์ท่ีเร่ิมข้ึนตั้งแต่กว่า ๕,๐๐๐ ปีมาแล้วเป็นอย่างน้อย และเป็นวัฒนธรรม
ของชุมชนท่ีปรับตัวเขา้ กบั สภาพภมู ิประเทศแบบท่ีราบลุม่ จนถึงข้ันสามารถประสบความส�ำเรจ็ เป็นอยา่ งดีทง้ั การดึงเอา
ประโยชนจ์ ากสิง่ แวดลอ้ มท่ปี ระกอบด้วยปา่ ผสมที่ลุ่ม และในการดดั แปลงสภาพแวดลอ้ มธรรมชาตบิ างสว่ นใหก้ ลายเป็น
สภาพแวดล้อมระบบใหม่ท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับท�ำการเพาะปลูกข้าวให้เป็นที่มาของเศรษฐกิจหลัก ซึ่งการดัดแปลงน้ัน
ประสบความสำ� เรจ็ จนสงั คมวฒั นธรรมมนั่ คง จงึ พฒั นาตอ่ ๆ มาเปน็ ระยะเวลายาวนานนบั พนั ๆ ปี โดยมพี ฒั นาการทางเทคโนโลยี
บางประการ โดยเฉพาะในการโลหกรรม การท�ำภาชนะดินเผา ฯลฯ เกิดขึ้นด้วยเป็นครั้งคราวในแต่ละช่วงเวลา
ของวฒั นธรรมนี้
บา้ นเชียงในปัจจบุ ัน
บา้ นเชยี งในทกุ วนั นกี้ ย็ งั คงเปน็ หมบู่ า้ นหนง่ึ ในเขตตำ� บลบา้ นเชยี ง อำ� เภอหนองหาน จงั หวดั อดุ รธานี จากเดมิ
ที่เคยเป็นหมู่บ้านท่ีอยู่ในถ่ินกันดาร การคมนาคมติดต่อกับโลกภายนอกเป็นไปด้วยความยากล�ำบาก นับต้ังแต่เร่ืองราว
ของภาชนะดินเผาลายเขียนสีบ้านเชียงและชื่อเสียงของแหล่งโบราณคดีที่บ้านเชียงโด่งดังออกไป ได้ก่อให้เกิด
การเปลย่ี นแปลงตอ่ หมบู่ า้ นและชาวบา้ นเชยี งอยา่ งใหญห่ ลวง เรม่ิ ตน้ ตง้ั แตไ่ ดม้ กี ารปรบั ปรงุ เสน้ ทางคมนาคมเขา้ สบู่ า้ นเชยี ง
86 หนงั สือทีร่ ะลึกพธิ ีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
ดีข้ึน ถนนราดยาง ไฟฟ้า โทรศัพท์ สถานีอนามัย ที่ท�ำการไปรษณีย์ ขณะนี้บ้านเชียงได้รับการประกาศให้เป็น
เขตสุขาภบิ าล5๔ มีโรงเรยี นระดบั ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา ตลาดนดั วันละ ๒ เวลา เชา้ และเยน็ มีผคู้ นจากตา่ งหมบู่ ้าน
ตา่ งต�ำบล และตา่ งอำ� เภอ เดนิ ทางเขา้ มาเยย่ี มชมและซ้อื ขายแลกเปล่ยี นสนิ คา้ เป็นอนั มากทุกวัน
ความเจรญิ เตบิ โตของบา้ นเชยี งนน้ั คงไมอ่ าจปฏเิ สธไดว้ า่ เปน็ ผลพวงทส่ี บื เนอื่ งมาจากความมชี อื่ เสยี งของแหลง่
โบราณคดีบ้านเชียง นอกเหนือจากนักวิชาการทั่วโลกจะมุ่งให้ความสนใจเดินทางเข้ามาด�ำเนินกิจกรรมเก่ียวข้องกับ
บ้านเชียงแล้ว บรรดานักท่องเท่ียวทั้งชาวไทยและต่างประเทศอีกเป็นอันมากก็ได้หล่ังไหลเดินทางเข้ามาเย่ียมชมและ
ช่ืนชมกับแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง ซึ่งแน่นอนส่วนหน่ึงเข้ามาท่องเที่ยวด้วยความอยากรู้อยากเห็น และอีกส่วนหนึ่ง
ต้องการจะเสาะแสวงหาโบราณวัตถุจากบ้านเชียง ด้วยเหตุน้ีบ้านเชียงจึงต้องมีหลายอย่างเพ่ือตอบสนองผู้คนเหล่านั้น
จึงมีการผลติ ของทีร่ ะลกึ ภาชนะดินเผาลายเขยี นสีเลยี นแบบบ้านเชียง เป็นตน้ จงึ นับได้วา่ อดตี ของบา้ นเชียงนนั้ มีคุณคา่
สามารถรบั ใช้สังคมปัจจบุ ันไดเ้ ป็นอย่างดยี ง่ิ
หลมุ คน้ ทางโบราณคดหี รอื พพิ ธิ ภณั ฑก์ ลางแจง้ ในแหลง่ โบราณคดที ว่ี ดั โพธศิ์ รี ในทต่ี งั้ อยชู่ ายเนนิ ของหมบู่ า้ น
บา้ นเชยี ง ซงึ่ กรมศลิ ปากรไดด้ ำ� เนนิ การขดุ คน้ ทางโบราณคดไี วใ้ นปี ๒๕๑๕ และพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็
พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำ� เนินทอดพระเนตรเมื่อวันที่ ๒๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ปจั จุบันยงั คง
สภาพเดิมของหลุมขุดค้นโดยมีหลังคาคลุมไว้เพื่อแสดงหลักฐานของโครงกระดูกและโบราณวัตถุในลักษณะเดิม
นบั เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑก์ ลางแจง้ แหง่ แรกของประเทศไทยและเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ของการกำ� เนดิ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาตทิ บ่ี า้ นเชยี ง
และเปน็ แรงดงี ดดู ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วเดนิ ทางเขา้ ไปสหู่ มบู่ า้ นบา้ นเชยี ง จนทำ� ใหบ้ า้ นเชยี งเจรญิ เตบิ โตเกดิ กจิ กรรมและกจิ การ
ต้อนรับผูค้ นทีห่ ลั่งไหลไปสูบ่ า้ นเชียง
มุมหนง่ึ ของร้านคา้ ขายของท่รี ะลกึ ท่บี า้ นเชยี งในปจั จุบัน
๔ ปจั จบุ ันคอื เทศบาล
วัดมัชฌมิ าวาส จังหวัดอุดรธานี 87
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง ถูกจัดตั้งขึ้นท่ีบ้านเชียง เพ่ือจัดแสดงและเผยแพร่เรื่องราวเกี่ยวกับ
โบราณวตั ถุ และโบราณคดขี องบา้ นเชยี งในอดตี เมอื่ พ.ศ. ๒๕๒๔ เปน็ ตน้ มา โดยในชนั้ แรกมกี ารกอ่ สรา้ งและการจดั แสดง
ณ อาคารชนั้ เดยี วเพยี งหนงึ่ หลงั ตอ่ มา ใน พ.ศ. ๒๕๒๘ ไดก้ อ่ สรา้ งอาคารเพมิ่ เตมิ อกี หนงึ่ หลงั ซงึ่ สว่ นหนงึ่ ไตร้ บั การสนบั สนนุ
จากมูลนธิ ิจอหน์ เอฟ. เคเนด้ี แห่งประเทศไทย บริจาคเงนิ พร้อมอุปกรณ์จัดแสดงและสมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราช
ชนนี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระนามาภไิ ธย “สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนน”ี เป็นชอื่ อาคาร
หลังท่ี ๒ และโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาเสด็จพระราชด�ำเนินทรงประกอบพิธีเปิด
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง เม่ือวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๐ นับแต่น้ันมาบ้านเชียงได้กลายเป็น
แหล่งท่องเที่ยวท่ีส�ำคัญแห่งหน่ึง มีผู้คนท้ังชาวไทยและต่างประเทศเดินทางไปสู่บ้านเชียงเป็นอันมาก จากสถิติผู้เข้าชม
พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ซาตบิ า้ นเชยี งในแตล่ ะปมี จี ำ� นวนทส่ี งู กวา่ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาตใิ ด ๆ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
น้นั เปน็ เครอ่ื งยนื ยันให้เหน็ วา่ ช่อื เสียงของบ้านเชียงยังอยู่ในความทรงจำ� ของผู้คนมิลมื เลือน
ช่ือเสียงและความส�ำคัญของแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงดูเหมือนว่าจะมิหยุดอยู่เพียงแค่น้ัน เมื่อวันท่ี ๑๓
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ คณะกรรมการมรดกโลกในองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ
ยเู นสโก ไดป้ ระชมุ ณ เมอื งซานตาเฟ รฐั นวิ เมก็ ซโิ ก ประเทศสหรฐั อเมรกิ า มมี ตปิ ระกาศยกยอ่ งแหลง่ โบราณคดบี า้ นเชยี ง
ให้เป็นมรดกโลก นับเป็นเกียรติภูมิอันน่าภาคภูมิใจของคนไทยเป็นอย่างย่ิง สิ่งเหล่าน้ีเป็นเคร่ืองยืนยันให้เห็นว่าแหล่ง
โบราณคดบี า้ นเชยี งและความรทู้ ไี่ ดจ้ ากแหลง่ โบราณคดบี า้ นเชยี งนน้ั มคี ณุ คา่ มเิ พยี งแตส่ ำ� หรบั ประชาชนคนไทย แตย่ งั มี
คา่ สำ� หรบั มวลมนษุ ยชาตทิ ง้ั โลกอกี ดว้ ย นา่ เสยี ดายทแ่ี หลง่ โบราณคดใี นวฒั นธรรมบา้ นเชยี งไดถ้ กู ทำ� ลายไปเกอื บหมดสนิ้
เสยี แลว้ ดว้ ยนา้ํ มอื ของคนไทยดว้ ยกนั เอง แตค่ วามรทู้ ไี่ ดจ้ ากการขดุ คน้ ศกึ ษาเพยี งไมก่ แ่ี หง่ นน้ั ยงั มคี ณุ คา่ และความสำ� คญั
ถงึ เพยี งนี้ หากแหลง่ โบราณคดเี หลา่ นน้ั ไมถ่ กู ทำ� ลายแลว้ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ประเทศชาตแิ ละมวลมนษุ ยชาตสิ กั เพยี งไหน
สิ่งทีเ่ กดิ ขน้ึ แม้จะไม่อาจเรยี กร้องให้ความดีงามท้งั หลายท้งั ปวงพลกิ ฟ้ืนกลับคนื มาได้ แตก่ ็ควรจะเปน็ บทเรียนท่ชี ใ้ี ห้เห็น
ถงึ ความสญู เสยี อยา่ งใหญห่ ลวงของมรดกวฒั นธรรมไทยและมรดกโลกทนี่ า่ อบั อายยงิ่ และเหตกุ ารณท์ เ่ี ปน็ ประวตั ศิ าสตร์
ดังกล่าวนไี้ มค่ วรจะย้อนรอยเกิดข้ึนในบา้ นเมืองของเราอกี ครั้ง
เอกสารอา้ งองิ
ชิน อยู่ดี. วัฒนธรรมบ้านเชียงในสมัยก่อนประวัติศาสตร์. กรมศิลปากรจัดพิมพ์ในการเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
ขอนแกน่ , ๒๕๑๕.
พิสิฐ เจริญวงศ.์ บ้านเชียง. พิมพค์ รงั้ ท่ี ๒. กรุงเทพฯ : สำ� นกั พิมพ์พฆิ เณศ, ๒๕๑๖.
ศรีศักร วัลลิโกดม ดร. “สยามประเทศ : ภูมิหลังของประเทศไทยต้ังแต่ยุคดึกด�ำบรรพ์ จนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาราช
อาณาจกั รสยาม”, ศิลปวฒั นธรรมฉบบั พเิ ศษ. พิมพ์คร้ังที่ ๒. ๒๕๓๕.
ศลิ ปากร, กรม. มรดกวัฒนธรรมบ้านเชียง. เอกสารกองโบราณคดี หมายเลข ๘/๒๕๓๔ กรมศลิ ปากรจัดพมิ พ,์ ๒๕๓๔.
สดุ แสงวเิ ชยี ร. “การศึกษาเพิ่มเติมจากบ้านเชยี ง”, วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีท่ี ๙ ฉบบั ท่ี ๑ (มกราคม-มถิ ุนายน
๒๕๓๓), ๑๕-๓๗.
__________. “เกยี่ วกบั บ้านเชยี ง”, นิตยสารศลิ ปากร. ปที ่ี ๒๙ เลม่ ๒. กรมศลิ ปากรจัดพิมพ์ (พฤษภาคม ๒๕๒๘),
๘๗-๙๑.
สมุ ิตร ปตี พิ ฒั น์ และปรีชา กาญจนาคม. บ้านเชยี ง : อดตี และปัจจุบัน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์,
๒๕๑๗.
สรุ พล นาถะพนิ ธุ. บ้านเชียง. กรมศลิ ปากรจดั พิมพ,์ ๒๕๓๐.
88 หนงั สือท่ีระลึกพิธีถวายผา้ พระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
สวุ ฒั น์ วาธิเทศ. “บา้ นเชียง”, ศลิ ปวฒั นธรรมฉบับพิเศษ. มีนาคม, ๒๕๓๐.
สวุ ิทย์ ชัยมงคล. นติ ยสารศลิ ปากร. ปีท่ี ๓๔ เล่ม ๕. กรมศิลปากรจัดพิมพ,์ ๒๕๓๔.
Gorman and Chareonwongsa. Ban Chiang : Mosaic of Impression from the first two years, Expedition
18 (4), P. 14-26, 1976.
Labbe, A.J. Ban Chiang, Art and Prehistory of Northeast Thailand. Bower’s Museum, 1985.
Pietrusewsky, M. People of Ban Chiang (Abstract). เอกสารประกอบการบรรยาย, กรมศิลปากร (๖
พฤศจกิ ายน ๒๕๒๗), 1984.
Toufexis, A. “Hidden treasure at a dead end”. Time. November, 19, p.6๐, 1984,
White, J. Ban Chiang : Discovery of a Lost Bronze Age. The University Museum, University of
Pennsylvania, 1982.
วดั มชั ฌมิ าวาส จังหวดั อดุ รธานี 89
วดั ป่าภกู อ้ น
วัดป่าภูก้อน ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่านายูงและป่าน้�ำโสม ท้องท่ีบ้านนาค�ำ ต�ำบลบ้านก้อง อ�ำเภอ
นายงู จงั หวัดอดุ รธานี อันเปน็ รอยตอ่ แผน่ ดนิ ๓ จงั หวดั คอื อดุ รธานี เลย และหนองคาย กำ� เนดิ ขนึ้ จากพทุ ธบริษทั สี่
ผตู้ ระหนกั ถงึ คุณประโยชนอ์ นั ย่งิ ใหญ่ของธรรมชาติและปา่ ต้นน�้ำล�ำธาร ซงึ่ ก�ำลังถูกทำ� ลาย
โดยใน พ.ศ. ๒๕๒๗ พระเดชพระคุณหลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร ไดเ้ มตตาปรากฏในทพิ ยนมิ ติ สง่ั ให้ไปธดุ งค์ทางภาค
อีสานเป็นเวลา ๑๐ วัน คุณปิยวรรณและคุณโอฬาร วีรวรรณ พร้อมคณะได้เดินทางมาธุดงค์แถบจังหวัดสกลนคร
และอดุ รธานี เกดิ ความเลอ่ื มใสในปฏปิ ทาของพระปา่ จงึ ไดเ้ ขา้ ชว่ ยเหลอื ทา่ นพระอาจารยอ์ นิ ทรถ์ วาย สนั ตสุ สฺ โก สำ� นกั สงฆ์
บา้ นนาค�ำนอ้ ย ในการขออนญุ าตใช้พืน้ ทป่ี ่าสงวนแหง่ ชาติจดั ตัง้ เปน็ วัดป่านาคำ� น้อย และปลกู ป่าทดแทนฟื้นฟูสภาพป่า
เส่ือมโทรมกว่า ๗๕๐ ไร่ อย่างถูกต้องตามระเบียบของกรมป่าไม้ เพ่ือใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติธรรมและอยู่อาศัยของ
พระสงฆ์ จากนั้นท่านพระอาจารย์อินทรถ์ วายได้พาไปดปู า่ ภูก้อนที่กำ� ลงั ถูกสัมปทานตีตราตดั ไม้ คณะศรทั ธาจึงไดต้ ดั สิน
ใจสร้างวัด โดยกราบอาราธนาท่านพระอาจารย์ชาลี ถิรธัมโม (ปัจจุบันเป็นพระครูจิตตภาวนาญาณ) เป็นประธาน
และขวญั กำ� ลงั ใจในการกอ่ สรา้ ง และไดท้ ำ� เรอื่ งขอใชท้ ดี่ นิ ในเขตปา่ สงวนแหง่ ชาตนิ ายงู -นำ�้ โสม เพอ่ื สรา้ งวดั ในเนอื้ ท่ี ๑๕ ไร่
จากกรมป่าไม้ จนได้รบั อนญุ าตเม่อื วนั ที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๐ ตอ่ มาได้ดำ� เนนิ การตามข้ันตอนของกรมการศาสนา
จนไดร้ ับอนญุ าตใหส้ รา้ งวัดในวันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ และมีประกาศกระทรวงศึกษาธกิ ารตง้ั เป็น “วดั ปา่ ภูก้อน”
ข้ึนในพระพทุ ธศาสนาเมอ่ื วันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๐
เพอ่ื รกั ษาบรเิ วณวดั ใหค้ งสภาพปา่ อยา่ งสมบรู ณ์ คณะศรทั ธาจงึ พยายามอยา่ งหนกั ทจ่ี ะขออนญุ าตใชพ้ นื้ ทป่ี า่
สงวนแห่งชาติท่ีอยู่โดยรอบวัดด้วย ด้วยความเมตตากรุณาเป็นที่สุดของผู้ใหญ่ผู้มีพระคุณหลายท่านในกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์และกระทรวงมหาดไทย อันได้แก่ ท่านปลัดเถลิง ธ�ำรงนาวาสวัสด์ิ ท่านปลัดจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
ท่านปลัดอนนั ต์ อนันตกูล ทา่ นอธบิ ดีจำ� นงค์ โพธิเสโร ทเ่ี หน็ คณุ คา่ ของปา่ และความต้งั ใจจริงของคณะศรัทธาท่ีจะรกั ษาปา่
จึงได้สนับสนนุ ช่วยเหลอื จนเปน็ ผลส�ำเร็จ จนในท่สี ุดในวันท่ี ๒๒ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๓๑ ไดร้ ับหนังสอื อนญุ าตใหเ้ ข้าท�ำ
ท่มี า : https://watpaphukon.org/history/
90 หนงั สอื ทรี่ ะลึกพิธถี วายผา้ พระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
ทมี่ า : https://watpaphukon.org/history/
ประโยชน์หรืออยู่อาศัยในเขตป่าสงวนแห่งชาติเพ่ือจัดตั้งพุทธอุทยานมีเนื้อท่ี ๑,๐๐๐ ไร่ และได้รับขนานนามว่า
“พทุ ธอทุ ยานมหารกุ ขปารชิ าตภิ กู อ้ น” ภายหลงั ยงั ไดร้ บั ความสนบั สนนุ จากอธบิ ดกี รมปา่ ไม้ อธบิ ดกี รมชลประทาน ทา่ นตอ่ ๆ มา
ตลอดจนทา่ นผ้ใู หญใ่ นกรมต�ำรวจ กองทพั บก กองทัพอากาศ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค องคก์ ารโทรศพั ท์ อีกหลายท่าน
วัดปา่ ภกู อ้ นไดร้ บั พระราชทานวสิ งุ คามสีมา ในวันที่ ๗ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๓๒ คณะศรทั ธาจงึ ไดพ้ ร้อมใจกนั
จัดงานฝังลูกนิมิต โดยได้รับเกียรติจากท่านจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในขณะน้ัน
เป็นประธานในพธิ ตี ัดลูกนมิ ติ และผกู พัทธสมี า ณ วัดปา่ ภกู อ้ น เมอื่ วนั ท่ี ๑๓-๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๓ และรวบรวมปัจจัย
ในงานจัดต้ังมลู นิธิ “ปิยธรรมมลู นิธ”ิ ข้นึ เพอื่ เกอ้ื กลู พระภิกษุสามเณรในวัดและงานสาธารณประโยชน์ต่างๆ ในท้องถนิ่
พทุ ธอทุ ยานแหง่ นยี้ งั เคยเปน็ สถานทธี่ ดุ งควตั รของพระนวกะ จากโรงเรยี นนายรอ้ ยทง้ั ๔ เหลา่ ทพั ซง่ึ อปุ สมบท
ในภาคฤดูร้อน โดยสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก โปรดเกล้าฯ บรรพชาท่ีวัดบวร
นิเวศฯ แล้วประทานอนุญาตให้มาอบรมกรรมฐานทว่ี ดั ป่าภูก้อน ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๕๓๔ เป็นเวลา ๕ ปีติดต่อกัน
ปจั จบุ นั นว้ี ดั มศี าลาอโุ บสถ ๒ ชนั้ ๑ หลงั ซงึ่ เปน็ ทป่ี ระกอบพธิ สี งฆช์ นั้ บนและเปน็ ทฉี่ นั ชนั้ ลา่ ง มกี ฏุ พิ ระ ๔๕ หลงั
เรือนครัว ๑ หลัง เรือนพักฆราวาส ๖ หลัง ถังเก็บน�้ำคอนกรีต ๒๐ ถัง และห้องน้�ำจ�ำนวนมาก โดยใช้ระบบประปา
ภเู ขา จากฝายเกบ็ นำ้� ดนิ ขนาดเลก็ ทเ่ี ปน็ แหลง่ ตน้ นำ้� ซบั และนำ้� ตกในวดั ซงึ่ ตอ่ มากรมชลประทานไดบ้ รู ณะถวายใหแ้ ขง็ แรง
ถาวรใน พ.ศ. ๒๕๓๘ และวัดยังได้ต่อระบบประปาไปถึงหมู่บ้านนาค�ำที่อยู่ห่างจากวัดไป ๔ กม. เพ่ือให้ชาวบ้าน
มีแหล่งน�้ำใช้อย่างสะดวกและสะอาด
ดว้ ยความสงา่ งามและความศกั ดสิ์ ทิ ธขิ์ องอาณาเขตพทุ ธอทุ ยาน และปา่ สงวนแหง่ ชาตบิ นเนอ้ื ทกี่ วา่ ๓,๐๐๐ ไร่
ทกี่ รมป่าไม้ไดใ้ หว้ ดั ปา่ ภกู อ้ นชว่ ยดูแลงานดา้ นปา่ ไม้ (เพิ่มข้ึนจากพน้ื ที่พทุ ธอุทยานเดมิ อกี ๒,๐๐๐ ไร)่ เพื่อรักษาปอ้ งกัน
ไฟปา่ และการบกุ รกุ ทำ� ลายปา่ ลา่ สตั ว์ วดั ปา่ ภกู อ้ นจงึ เปน็ ทสี่ งบสปั ปายะ วเิ วก ควรแกก่ ารบำ� เพญ็ ภาวนารกั ษากาย วาจา
และจิตใจในกรรมฐานเป็นท่ีสุด ดังมีผ้ไู ด้พบเห็นหลักฐานความอศั จรรยข์ องธรรมชาติแห่งนอ้ี ยู่เสมอ คณะศรทั ธา จึงรว่ ม
กนั ด�ำรสิ รา้ งพระมหาเจดยี ์ นามวา่ “พระปฐมรตั นบรู พาจารยม์ หาเจดีย์” โดยมวี ตั ถปุ ระสงคส์ �ำคญั คือ อญั เชญิ พระบรม
สารรี กิ ธาตขุ นึ้ ประดษิ ฐานในสถานทอ่ี นั สมควรเพอื่ สกั การะบชู า และแสดงกตญั ญกู ตเวทติ าแดค่ ณุ ของพระพทุ ธ พระธรรม
วดั มัชฌิมาวาส จงั หวัดอดุ รธานี 91
ทมี่ า : https://watpaphukon.org/history/
ทม่ี า : https://watpaphukon.org/history/
พระสงฆ์ และบูรพอาจารย์กรรมฐานในแถบอีสาน ท้ังยังเป็นมงคลสถานที่พุทธศาสนิกชนจะได้ตระหนักถึงคุณค่า
และความสำ� คญั ของปา่ ไมอ้ นั ใหป้ ระโยชนท์ งั้ ทางโลกและทางธรรม เปน็ ทป่ี ฏบิ ตั ขิ ดั เกลาจติ ใจ และเปน็ ศนู ยร์ วมจติ ใจของ
ชาวอสี าน ซึง่ ควรร่วมกนั ส่งเสริมรักษาอยา่ งจรงิ จงั ตลอดไป
องคพ์ ระมหาเจดยี แ์ หง่ นี้ เปน็ ๑ ใน “โครงการเฉลมิ พระเกยี รติ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เนอื่ งในวโรกาส
พระราชพธิ มี หามงคล เฉลมิ พระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๒” และไดอ้ ญั เชญิ ตราสญั ลกั ษณ์ และพระรปู
หล่อพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั มาประดิษฐานภายในองค์พระมหาเจดยี ์ด้วย
92 หนงั สอื ทร่ี ะลึกพธิ ถี วายผา้ พระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
ทมี่ า : https://watpaphukon.org/history/
ในโอกาสนี้ท่านปลัดกระทรวงมหาดไทยได้กราบทูลอัญเชิญ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี เสด็จฯ มาเป็นองค์ประธานประกอบพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในพระเกศ “พระร่วงรุ่งโรจน์ศรีบูรพา”
พระประธานหนา้ องคพ์ ระมหาเจดยี ์ ทรงลงพระนามาภไิ ธยและปลกู ตน้ สาละไว้ เมอื่ วนั ที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๔ และ
วัดป่าภูก้อนยังได้รับมอบประกาศนียบัตรจากกรมป่าไม้ เป็นวัดอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ดีเด่น ระดับจังหวัด
ประจ�ำปี ๒๕๔๔ ประเภทดแู ลรกั ษาป่าดงั้ เดมิ ตงั้ แต่ ๕๐๑ ไร่ขน้ึ ไป
ในปจั จบุ นั น้ี วดั ปา่ ภกู อ้ นดำ� รงคงอยดู่ ว้ ยความสมดลุ ของปา่ ไมท้ ท่ี วคี วามอดุ มสมบรู ณข์ น้ึ ทกุ คนื วนั โดยบคุ คล
ผมู้ คี วามศรทั ธาและระลกึ คณุ ของสรรพสง่ิ ทงั้ หลายของชาตแิ ละแผน่ ดนิ อนั เปน็ ทกี่ ำ� เนดิ แหง่ ชวี ติ โดยมคี ณุ พระพทุ ธศาสนา
เปน็ เครอ่ื งสำ� นกึ และมพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระมหากษตั รยิ ท์ ชี่ าวไทยทกุ คนควรทดแทน เปน็ กำ� ลงั ใจสง่ เสรมิ พระสงฆ์
ผปู้ ฏบิ ตั ดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบให้ด�ำรงปฏิปทาของพระป่ากรรมฐานเพื่อบูชาคณุ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ จนถงึ ทสี่ ุด
สิง่ ศักด์สิ ิทธ์ิภายในวดั
องคพ์ ระปฐมรัตนบูรพาจารย์มหาเจดีย์
ชั้นบนยอด บรรจุพระบรมสารรี ิกธาตุ สูงสุดดว้ ยความเคารพเหนือเศยี รเหนือเกล้า
ชนั้ สอง อัญเชิญรปู หล่อเหมอื นบูรพาจารย์ อนั เป็นพอ่ แมค่ รูบาพระอาจารย์ใหญ่ในสายกรรมฐานสถติ อยใู่ ห้
กราบระลกึ บูชา
ช้นั หนง่ึ อญั เชญิ รปู พอ่ แมค่ รูบาพระอาจารยอ์ ยใู่ นปจั จุบนั ดว้ ยความเคารพอย่างเรียนเพยี รตายด้วย
องคพ์ ระปฐมรตั นบรู พาบชู าคณุ จดั สรา้ งขนึ้ เมอื่ มมี นษุ ยผ์ มู้ ศี รทั ธาความเชอ่ื ในสง่ิ ทคี่ วรเชอ่ื มวี ริ ยิ ะในสงิ่ ทค่ี วรเพยี ร
มีสติในสิ่งที่ควรระลึกได้ มีสมาธิในสิ่งที่ควรต้ังมั่น มีปัญญาในส่ิงที่ควรรอบรู้ มีทุนทรัพย์สร้างในส่ิงท่ีเป็นอริยทรัพย์
เป็นกองทัพธรรมกรรมฐานสมดุลกันแล้ว ย่อมเป็นช้างสารมหาก�ำลังใหญ่ท่ีจะปกป้องคุ้มครองพระไตรปิฎกของ
พระพทุ ธศาสนาด้วยชีวติ คร้งั พทุ ธกาลท่านได้ทรงยกยอ่ งปา่ และวัดเปน็ ปา่ มาก อุดมด้วยสัตวป์ ่านานาชนดิ ท้ังนนั้ มหิ น�ำซ�ำ้ เป็นที่
ประสูติขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้และแสดงธรรมจักรถึงปรินิพพาน ย่อมเป็นป่าเต็มภูมิ ตลอดถึง
วัดมชั ฌมิ าวาส จังหวดั อุดรธานี 93
ทมี่ า : https://watpaphukon.org/prathomrattanabhurapajhan/
พระวนิ ยั อนสุ าสนแ์ ละพระสตู รตา่ งๆ แทบทกุ สตู รขอ้ งเกย่ี วกบั ปา่ ๆ ดงๆ ภเู ขา เพราะเปน็ ทสี่ ปั ปายะ สำ� หรบั บำ� เพญ็ ภาวนา
เปน็ ปรากฏการณท์ างธรรมชาตอิ นั ทรงพลงั แหง่ กองทพั ธรรมกรรมฐาน อนั กมั ปนาทแสนยานภุ าพแหง่ คณุ พระศรรี ตั นตรยั
ทรงสถติ ไวใ้ นโลกมาจนถึงทกุ วัน
ปัจจุบนั สถานที่นีแ้ ละปา่ อืน่ ๆ ดำ� รงอยูง่ ดงามดว้ ยฝีมอื ของมนุษยอ์ ันมี ศลี สมาธิ ปัญญา ศรทั ธา ความเพยี ร
อันใหญย่ ่งิ ทจ่ี ะสบื ทอด ยอยก รกั ษา บ�ำรุง ส่งเสริมดว้ ยความกตัญญู รูถ้ งึ คณุ พระมหากรณุ าธิคุณตอ่ สัตว์โลกอันย่งิ ใหญ่
ไพศาลของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์น้ัน เหตุฉะนั้น พวกเราชาวพุทธควรท่ีจะรักษาป่าประดุจรักษาชีวิต เพ่ืออนุชน
ของเราจะได้สืบ จะได้รัก จะได้ส่งเสริมป่า เพ่ือชีวิตของพวกเขาเอง ย่ิงนานวันคุณค่าแห่งความขลังย่ิงทวีอานุภาพเพิ่ม
มากข้ึน อิฐทุกก้อน ดินทุกก�ำ คือประวัติศาสตร์ และอารยธรรมแห่งคุณความดี ของความเป็นไทยอย่างเต็มภาคภูมิ
ความสงา่ งามของพญานาคทองสมั ฤทธิ ๔ ตนนย้ี งั คงผงาดอยปู่ ระกาศศรทั ธาบชู าคณุ สวนกระแสลมแหง่ ความเปลย่ี นแปลง
ที่กรรโชกรุนแรง อย่างมั่นคงตราบจิรกาล
ประวัตเิ จ้าอาวาส
พระครูสงั ฆรกั ษ์ พทุ ธิพงศ์ อภิชาโต มชี ่อื เดิมวา่ นาย “พทุ ธพิ งศ”์ นามสกลุ “วอ่ งพานชิ ” เกิดเม่ือวนั อาทิตย์
ท่ี ๒ เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๑ ตรงกับวันพฤหสั บดี ขน้ึ ๗ ค�ำ่ เดือน ๗ ปีวอก ราศีพฤษภ ณ โรงพยาบาลหวั เฉยี ว ถนน
บ�ำรุงเมอื ง แขวงคลองมหานาค เขตปอ้ มปราบศตั รูพา่ ย กรุงเทพมหานคร โยมบิดาชือ่ “นายไพโรจน์ วอ่ งพานชิ ” โยม
มารดาชื่อ “นางปิยวรรณ ปฐมรัตน์(วีรวรรณ)” ท่านเป็นลูกคนกลางโดยมีพ่ีชายและน้องสาวคือ นายเกียรติศักด์ิ และ
นางสาวโศรยา วอ่ งพานชิ ประวตั ทิ า่ นไดใ้ ชช้ วี ติ ในวยั เดก็ ทจี่ งั หวดั นครปฐม ไดร้ บั การศกึ ษาภายในโรงเรยี นวดั มาโดยตลอด
จนถงึ พ.ศ. ๒๕๒๙ ไดเ้ ขา้ มาศกึ ษาตอ่ ภายในกรงุ เทพฯ ทโี่ รงเรยี นปทมุ คงคา ซง่ึ เปน็ ปแี รกทไี่ ดเ้ รมิ่ มกี ารกอ่ สรา้ งวดั ปา่ ภกู อ้ น
ดังนนั้ ในช่วงวนั หยุดเสาร์อาทิตยข์ องทุกสปั ดาหซ์ งึ่ ไม่มเี รยี นหนงั สือ ท่านและคณุ แม่ปยิ วรรณต้องเดินทางจากกรงุ เทพฯ
มาทีพ่ ้นื ทก่ี ่อสรา้ งวัดปา่ ภูก้อนเพอื่ ส่งของ วสั ดุก่อสรา้ ง รวมถงึ เครอื่ งอปุ โภคบรโิ ภคต่างๆ และต้องรบี กลบั เขา้ กรงุ เทพฯ
กอ่ นเชา้ วนั จนั ทรเ์ พ่อื ใหท้ นั เรียนหนังสอื เปน็ เช่นนี้ตลอดช่วงการกอ่ สรา้ งวัด
94 หนังสอื ท่รี ะลกึ พธิ ถี วายผ้าพระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
ทม่ี า : https://watpaphukon.org/prathomrattanabhurapajhan/
ช่วงต้น พ.ศ. ๒๕๓๕ ท่านได้มีโอกาสตามคุณแม่ปิยวรรณไปกราบนมัสการพระราชนิโรธรังสีคัมภีร์ปัญญา
วศิ ิษฏ์ หรอื หลวงปูเ่ ทสก์ เทสรงั สี เป็นพระภกิ ษฝุ ่ายวปิ ัสสนาธุระสายหลวงปู่มัน่ ภูริทตโฺ ต และเม่อื พบกับหลวงปู่เทสก์
แล้วก็ได้เกิดธรรมนิมิตเกดิ ความคิดต้องการท่ีจะบวชอย่างแรงกลา้ ในวันท่ี ๒๗ เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๓๕ อายุ ๒๔ ปี
ท่านไดอ้ ปุ สมบทครง้ั แรก ณ วัดหนิ หมากเปง้ ตำ� บลพระพุทธบาท อำ� เภอศรเี ชยี งใหม่ จงั หวดั หนองคาย โดยมพี ระธรรมไตร
โลกาจารย์ (รักษ์ เรวโต) เปน็ พระอปุ ัชฌาย์ พระอาจารยว์ ินัย เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์ทรงวุฒิ ธรรมวโร
เป็นพระอนุสาวนาจารย์ และไดร้ บั ฉายาวา่ “อนตุ ฺตโร”1๑
เม่ืออุปสมบทแล้วพระพุทธิพงศ์ก็ได้จ�ำพรรษาแรกที่วัดหินหมากเป้ง ในพรรษาที่สองและสามก็ได้ตามไป
อุปัฏฐากหลวงปู่เทสก์ท่ีถ�้ำขาม จวบจนถึงวาระสุดท้ายที่หลวงปู่เทสก์ได้ละสังขาร หลังจากเสร็จสิ้นพิธีพระราชทาน
เพลิงศพ พระพุทธิพงศ์ก็ได้ไปจ�ำพรรษาทางใต้บ้าง เข้ามาในกรุงเทพบ้าง จนถึงวัดบรมนิวาสและได้ลาสิกขาไปเม่ือได้
พรรษาที่ ๘ ในเดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๒ หลังจากทา่ นไดใ้ ชช้ วี ติ ในเพศฆราวาสกเ็ กิดความเบอ่ื หน่าย จึงไดอ้ ปุ สมบท
ในบวรพทุ ธศาสนาอกี ครง้ั ในวนั ท่ี ๕ เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ณ วดั พระราม ๙ กาญจนาภเิ ษก แขวงบางกะปิ เขตหว้ ยขวาง
กรุงเทพมหานคร โดยมี พระเทพญาณวิศิษฏ์ (พระธรรมบัณฑิต อภิพล อภิพโล) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครู
ปลัดสุวฒั นพรหมจริยคุณ เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ พระครปู ลดั บญุ ยนื ปุญญพโล เป็นพระอนสุ าวนาจารย์ และไดร้ ับ
ฉายาคือ “อภชิ าโต” ณ วนั ที่ ๕ เดือน ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
มหาราช บรมนาถบพติ ร ผทู้ รงพระคณุ อนั ประเสรฐิ ไดม้ พี ระบรมราชโองการ โปรดพระราชทานเลอ่ื นสมณศกั ดิ์ พระเทพ
ญาณวศิ ษิ ฏ์ ขน้ึ เปน็ พระราชาคณะชน้ั ธรรม ท่ี พระธรรมบณั ฑติ สามารถตง้ั ฐานานกุ รมจงึ แตง่ ตงั้ ให้ พระพทุ ธพิ งศ์ อภชิ าโต
ดำ� รงต�ำแหน่ง “พระครสู งั ฆรักษ”์ ณ วันที่ ๑๓ เดือน มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๓ หลังจากอปุ สมบทแลว้ พระครสู ังฆรักษ์ พทุ ธิพงศ์
อภชิ าโต ไดศ้ ึกษาพระปรยิ ัติธรรม จนสอบได้นักธรรมช้ันเอก จากส�ำนักเรียนวัดศรสี ุมังคล์ จังหวัดขอนแก่น เมอ่ื วันที่ ๓๐
เดือน ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
๑ วดั ปา่ ภูกอ้ น. (ไม่ปรากฏป)ี . ประวัติและปฏปิ ทาเจ้าอาวาส. ออนไลน์
วัดมัชฌมิ าวาส จงั หวัดอุดรธานี 95
วันท่ี ๑ เดอื น มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๑ พระครสู ุทธปิ ัญญาวฒั น์ เจ้าคณะอำ� เภอนายูง (ธรรมยุต) ไดอ้ าศยั อำ� นาจ
ตามกฎมหาเถรสมาคม ออกตามความในพระราชบญั ญัติคณะสงฆ์ แต่งตั้งให้ พระครสู งั ฆรักษ์ พทุ ธพิ งศ์ อภชิ าโต ด�ำรง
ตำ� แหน่ง รักษาการเจ้าอาวาสวัดป่าภูก้อน จวบจนปัจจบุ นั
บรรณานกุ รม
หนังสอื
ณัฐวฒุ ิ สทุ ธิสงคราม. (๒๕๖๑). พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงประจกั ษ์ศิลปาคม ผ้ถู วายชีวติ รักษาแผน่ ดนิ อสี าน. พมิ พ์
ครง้ั ที่ ๒. กรงุ เทพฯ: อมรินทรพ์ ร้ินต้งิ แอนพับลชิ ชิ่ง.
พระธรรมปริยตั โิ มลี. (๒๕๓๖). ประวัติวัดมัชฌิมาวาส จงั หวดั อุดรธาน.ี พิมพค์ รงั้ ท๓ี่ . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณ
ราชวทิ ยาลัย วดั มหาธาตุ ทา่ พระจันทร.์
ออนไลน์
กระทรวงวัฒนธรรม. (๒๕๕๘). วัดมัชฌิมาวาส จังหวัดอุดรธานี. สืบค้นเม่ือวันท่ี ๔ สิงหาคม ๒๕๖๓, จาก https://
www.m-culture.go.th/travel/ewt_news.php?nid=271&filename=index
พระสังฆาธกิ าร. (ไมป่ รากฎป)ี . พระเทพวิสทุ ธาจารย์ (บุญ ปุญฺญสิร)ิ . สบื คน้ เม่ือ ๓ สงิ หาคม ๒๕๖๓, จาก https://
sangkhatikan.com/monk_view.php?ID=15356
วัดป่าภกู อ้ น. (ไมป่ รากฏปี). ประวตั ิและปฏปิ ทาเจ้าอาวาส. สืบค้นเมอ่ื วันท่ี ๓ สิงหาคม ๒๕๖๓, จาก https://watpa-
phukon.org/dean/
Thailand Tourism Directory. (ไมป่ รากฏป)ี . อนสุ าวรยี ก์ รมหลวงประจักษศ์ ลิ ปาคม. สืบคน้ เมอ่ื วันที่ ๔ สิงหาคม
๒๕๖๓, จาก https://thailandtourismdirectory.go.th/th/info/attraction/compare/itemid/1249
96 หนังสอื ทร่ี ะลกึ พธิ ีถวายผา้ พระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
วังนาคนิ ทร์คำ� ชะโนด
ปา่ ต้นชะโนด
ที่มา : https://travel.kapook.com/view174532.html
วงั นาคนิ ทรค์ ำ� ชะโนดคอื สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วสำ� คญั แหง่ หนง่ึ ของจงั หวดั อดุ รธานี ตง้ั อยทู่ างทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ของอ�ำเภอบ้านดุง มีช่ือเสียงโด่งดังและเป็นท่ีนิยมของนักท่องเที่ยวที่ศรัทธาในพญานาค มีลักษณะทางกายภาพเป็น
เกาะกลางบงึ พื้นทปี่ ระมาณ ๕๐ ไร่ ชาวบ้านเชื่อวา่ สถานทแ่ี หง่ นี้เปน็ ดนิ แดนศักดส์ิ ทิ ธเิ์ ป็นท่ปี ระทบั ของพญานาคผู้ทรง
อิทธฤิ ทธิ์ คอื พอ่ ปศู่ รสี ทุ โธและแม่ยา่ ศรีปทมุ มา เหตทุ ี่มีช่อื ว่าค�ำชะโนดน้ัน เน่ืองจากในภาษาถน่ิ คำ� หมายถึงพนื้ ทท่ี ่มี ีนำ�้
ท่วมขัง และมีตน้ ชะโนดขึ้นอยหู่ นาแนน่
ต�ำนานค�ำชะโนด
ตามตำ� นานเลา่ วา่ เดิมพอ่ ปศู่ รีสทุ โธนาคราชและบรวิ ารอาศยั อย่ทู ี่หนองแสร่วมกับพญาสุวรรณนาคราชและ
บรวิ าร ทง้ั สองฝา่ ยตา่ งมไี มตรตี อ่ กนั และตกลงระหวา่ งกนั วา่ ถา้ ฝา่ ยหนง่ึ ฝา่ ยใดหาอาหารไดก้ จ็ ะนำ� มาแบง่ ปนั วนั หนง่ึ พญา
ศรสี ุทโธนาคราชหาช้างมาได้ ๑ ตวั และน�ำมาแบ่งให้พญาสุวรรณนาคราชผเู้ ป็นสหาย วนั ตอ่ มาพญาสุวรรณนาคราช หา
เม่นมาได้ ๑ ตัว กน็ ำ� มาแบง่ ใหพ้ ญาศรสี ทุ โธนาคราชเชน่ กนั แตพ่ ญาศรสี ุทโธนาคราชกลับไมพ่ อใจเน่ืองจากมองเห็นแต่
เพียงขนเมน่ และเขา้ ใจผิดไปวา่ พญาสวุ รรณนาคราชเอาเปรียบตน
ในคราวท่ีพญาศรีสทุ โธนาคราชหาเหย่อื มาได้ สัตว์ชนิดนน้ั มขี นเส้นเล็กนิดเดียว แต่รา่ งกายกลับใหญ่โตเชน่
ช้าง ในขณะที่สัตว์ที่พญาสุวรรณนาคราชหามาได้นั้นกลับมีขนยาวกว่าใหญ่กว่ามาก ชะรอยว่าสัตว์ชนิดนี้
นา่ จะมขี นาดใหญม่ หมึ าเปน็ แน่ ทำ� ใหพ้ ญาศรสี ทุ โธนาคราชและพญาสวุ รรณนาคราชเกดิ หมางใจตอ่ กนั และสรู้ บกนั นาน
ถงึ ๗ ปี ๗ เดือน ๗ วนั สรรพสัตวท์ อี่ าศยั อย่ใู นหนองน�ำ้ นน้ั ต่างไดร้ บั ความทกุ ข์ยากเดอื ดรอ้ นบาดเจ็บและลม้ ตายเปน็
จำ� นวนมาก
วดั มชั ฌมิ าวาส จงั หวดั อดุ รธานี 97
เกาะคำ� ชะโนด
ที่มา : https://thailandtourismdirectory.go.th/th/info/attraction/detail/itemid/1237
ความเดือดร้อนน้ีลามไปถึงพระอินทร์ จึงต้องลงมาหาทางไกลเกล่ียให้พญานาคทั้งสองสงบศึก
พระอินทร์มีเทวโองการให้พญานาค ๒ ตนขุดแม่น้�ำแข่งกัน พญาศรีสุทโธนาคราชรับบัญชาแล้วรีบลงมือขุดแม่น้�ำทันที
โดยไมร่ อชา้ พนื้ ทใ่ี ดเปน็ หนิ พญาศรสี ทุ โธนาคราชกเ็ วน้ ไวแ้ ละเลย่ี งไปขดุ บรเิ วณทเี่ ปน็ ดนิ ทรายแทนทำ� ใหแ้ มน่ ำ้� มลี กั ษณะ
โคง้ ไปมา มีความเชือ่ ว่าเปน็ ทมี่ าของนามแม่น�ำ้ ว่าแมน่ ้�ำโขง ซึ่ง “โขง” มาจากคำ� ว่าโคง้ นนั่ เอง
ส่วนพญาสุวรรณนาคราชน้ันใจเย็นกว่าจึงค่อยๆ ขุดแผ่นดินจนเกิดเป็นแม่น�้ำที่มีลักษณะเป็นเส้นตรง
ไม่เลย่ี งพนื้ ท่ที ีเ่ ป็นหิน จึงเป็นสาเหตุหลักท่ที �ำให้ใชเ้ วลานานมากถึงจะขดุ เสร็จ จึงทำ� ให้แม่น�ำ้ สายน้ไี ด้ชื่อวา่ “น่าน” มา
จากคำ� วา่ นานน่นั เอง
เมื่อผลการแข่งออกมา ปรากฏว่าพญาศรีสุทโธนาคราชขุดแม่น้�ำเสร็จก่อนพญาสุวรรณนาคราชนั้น
จึงถือว่าเป็นผู้ชนะ พระอินทร์จึงทรงประทาน “ปลาบึก” ให้มาอาศัยอยู่ในล�ำน�้ำโขง และให้ค�ำชะโนดแห่งนี้
เปน็ ทางขน้ึ ลงระหวา่ งโลกมนุษยแ์ ละเมืองบาดาลของพญานาค ซงึ่ ทางขึ้นลงนบ้ี า้ งกว็ า่ มี ๓ แหง่ คอื ๑ พรหมประกายโลก
หรอื คำ� ชะโนด ๒ พระธาตหุ ลวงนครเวียงจันทน์ และ ๓ พระธาตุค�ำนครเวียงจันทน์
อกี เรอื่ งเลา่ ของชาวบา้ นนนั้ เชอ่ื วา่ สถานทแ่ี หง่ นน้ี อกจากจะมคี วามศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ เปน็ ทอี่ ยขู่ องบรรดาพญานาคแลว้
ยังมีความเชอ่ื เรอื่ งเมืองบังบดลับแลดว้ ย
ครั้งหน่ึงมีสุภาพสตรีสองคนแต่งกายคล้ายหญิงชาววังเดินออกมาจากเมืองค�ำชะโนด มาขอยืมต�ำหูก
ซ่ึงเป็นอุปกรณ์ทอผ้าจากชาวบ้านเมืองไพร ท่ีอยู่ห่างจากค�ำชะโนดไปประมาณ ๔ กิโลเมตร สตรีท้ังสองน้ีได้พูดคุยกับ
เจา้ ของบา้ นอยา่ งถกู คอ จนเวลาลว่ งเลยไปมากเจา้ ของบา้ นจงึ ชวนคา้ งคนื ดว้ ย เมอ่ื เจา้ ของบา้ นจดั ทหี่ ลบั ทนี่ อนเสรจ็ แลว้
จงึ เชญิ แขกเขา้ พกั ตามธรรมเนยี ม แตส่ ตรที ง้ั สองนกี้ ลบั ขอใหช้ ว่ ยปทู น่ี อนไวใ้ นเพนยี ดกระเชอใบใหญท่ อ่ี ยใู่ ตถ้ นุ บา้ นแทน
ซงึ่ เจา้ ของก็ไมข่ ดั ขอ้ งหากแตย่ งั เก็บความสงสัยไว้ เมือ่ ตกดกึ เจา้ ของบ้านจึงไดส้ ่องไฟลงมาดูสตรที ง้ั สอง แต่กลบั ต้องพบ
ว่าในเพนียดน้ันเป็นงูใหญ่สองตัวนอนขดอยู่ ที่เป็นเช่นน้ีเพราะพญานาคจะกลับคืนร่างเดิมในเวลานอนหลับเสมอ
เมื่อรงุ่ เช้าสตรีทง้ั สองกเ็ ดนิ จากไป
98 หนังสอื ทีร่ ะลกึ พธิ ีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน มศว ๒๕๖๓
ป่าค�ำชะโนดจึงมีชื่อเสียงโด่งดังรู้จักกันดีในฐานะ “เมืองพญานาค” เช่ือกันว่าเป็นทางเช่ือมต่อระหว่างโลก
มนุษย์กับเมืองบาดาล โดยมีพญานาคราชพ่อปู่ศรีสุทโธและแม่ย่าศรีปทุมมา คอยปกปักษ์รักษา ซึ่งนอกจากต�ำนาน
พญานาคแลว้ ภายในวงั นาคนิ ทรค์ ำ� ชะโนดก็ยงั มสี ถานทน่ี ่าสนใจอกี หลายจดุ ไดแ้ ก่
ศาลของพ่อปูศ่ รสี ทุ โธและแมย่ ่าศรปี ทมุ มา
คือศาลส�ำหรับสักการะผู้ปกครองวังนาคินทร์ค�ำชะโนด ซ่ึงเป็นส่ิงศักดิ์สิทธิ์สูงสุดของสถานท่ีแห่งนี้
เปน็ แต่ละวนั จะมผี ู้คนทีเ่ คารพศรัทธาเดนิ ทางมาขอพรกันเปน็ จ�ำนวนมาก
ศาลของพ่อป่ศู รีสุทโธและแมย่ า่ ศรีปทมุ มา
ท่มี า : https://travel.kapook.com/view174532.html
บอ่ นำ้� ศักดิ์สทิ ธิ์
เป็นความจริงท่ีว่าบ่อน�้ำแห่งนี้ไม่เคยเหือดแห้ง อ้างอิงจากระดับน้�ำในบ่อท่ีไม่เคยหายไป ซ่ึงเช่ือกันว่า
เป็นสถานที่เชื่อมต่อระหว่างเมืองบาดาลกับโลกมนุษย์ของเหล่าพญานาค บางคนเช่ือว่าน้�ำจากบ่อสามารถรักษาโรคภัย
ไขเ้ จบ็ และขจดั สงิ่ อปั มงคลได้ และประชาชนสว่ นใหญย่ งั ตกั นำ�้ ใสข่ วด เพอื่ เกบ็ กลบั ไปสกั การะ เพราะเชอ่ื วา่ เปน็ สริ มิ งคล
แกช่ วี ิต โดยในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๖๒ ก็ได้น�ำน้�ำจาก
บ่อน้ำ� ศกั ด์สิ ิทธิ์แห่งน้ีไปเป็นน้ำ� อภิเษกของจังหวดั อุดรธานี
วดั มัชฌมิ าวาส จงั หวัดอดุ รธานี 99
บอ่ น้ำ� ศกั ดิส์ ิทธ ิ์
ที่มา : https://siamrath.co.th/n/80458
ตน้ มะเดอ่ื ยกั ษ์
ต้นมะเด่ือขนาดใหญ่อายุราว ๑๐๐ ปี มีความเช่ือว่าเป็นขุมทรัพย์ของพ่อปู่ศรีสุทโธและแม่ย่าศรีปทุมมา
ซึ่งในช่วงใกล้วันออกผลสลากกินแบ่งรัฐบาล จะมีบรรดานักเส่ียงโชคมากราบไหว้ขอพรจากต้นมะเด่ือยักษ์
กันอย่างเนอื งแนน่
ตน้ มะเด่ือยักษ ์
ทีม่ า : https://travel.kapook.com/view174532.html
100 หนังสือทีร่ ะลกึ พธิ ถี วายผ้าพระกฐนิ พระราชทาน มศว ๒๕๖๓
ต้นชะโนด
ด้วยความที่ปา่ คำ� ชะโนดเป็นปา่ พรุ มีสภาพพืน้ ท่อี ดุ มสมบรู ณ์ ผนื ดนิ มีความช้นื สูงและเปยี กตลอดปี เหมาะ
กับการเจริญเติบโตของพืชพิเศษชนิดหนึ่งซ่ึงก็คือ “ต้นชะโนด” พืชชนิดน้ีพบได้ท่ีเกาะค�ำชะโนดเพียงแห่งเดียวเท่าน้ัน
มีลกั ษณะคลา้ ยตน้ ตาล ต้นมะพรา้ ว และตน้ หมากอยใู่ นตน้ เดียวกัน เมื่อเติบโตเตม็ ทจ่ี ะมขี นาดเท่าตน้ มะพรา้ ว มีกาบห่อ
หุ้มรอบๆล�ำต้นและมีหนามแหลมยาว ออกผลเป็นทะลายคล้ายมะพร้าว แต่ผลเล็กกว่า ไม่นิยมน�ำมารับประทาน
เพราะมยี างเหนยี ว หากสัมผสั โดนผิวหนงั จะทำ� ให้เกดิ อาการระคายเคอื งได้
ตน้ ชะโนด
ท่ีมา : https://thailandtourismdirectory.go.th/th/info/attraction/detail/itemid/1237
เนือ่ งจากแรงศรัทธาจากทัว่ ทุกสารทศิ ที่เดนิ ทางไปยังปา่ คำ� ชะโนดเป็นจำ� นวนมาก จึงทำ� ให้คณะกรรมการได้
ออกกฎระเบยี บ ๖ ข้อ ได้แก่
๑. ห้ามจดุ ธปู เทียนบูชาในป่าค�ำชะโนด
๒. ให้นำ� พานบายศรหี รอื เครือ่ งเซ่นไหวก้ ลบั ไปดว้ ย เพอ่ื เปน็ การลดขยะ
๓. งดโยนเหรียญลงบอ่ น้�ำศกั ดิส์ ิทธิ์
๔. งดปล่อยปลาและสัตวน์ �้ำลงไปในแหลง่ น�้ำ