The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by แพร วา, 2023-06-19 21:30:36

ราชาศัพท์

ราชาศัพท์


ข ความหมายของคำ ราชาศัพท์และ วิธีวิธี การใช้คำ ราชาศัพท์ เรื่อ รื่ ง หน้า คำ นำ สารบัญ ข ก ๑ การใช้ทรงและการใช้พระบรม, พระราช, พระ ๒-๕ การใช้คําขึ้นต้นและคําลงท้าย ๕-๖ คำ ราชาศัพท์หมวดต่างๆ ๖-๙ ประโยชน์ของการเรีย รี นรู้คำ ราชาศัพท์ ๑๐-๑๑ คำ ราชาศัพท์ที่ใช้เป็นคำ กิริยริา ๑๒ อ้างอิง ค











เพราะเหตุที่ว่าสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่สูงสุดของ ประเทศมาแต่โบราณ พระเจ้าแผ่นดินทรงใกล้ชิดกับประชาชนอย่างแนบ แน่นประการหนึ่ง คำ ราชาศัพท์นั้นเป็นแบบอย่างวัฒนธรรมอันดีทางด้านการ ใช้ภาษาไทยประการหนึง และการอ่านหรือศึกษาวรรณคดีก็ดี การรับสาร สื่อมวลชนในปัจจุบันก็ดี เหล่านี้ล้วนต้องมีคำ ราชาศัพท์เกี่ยวข้องอยู่ด้วย เสมออีกประการหนึ่ง ดังนั้นการเรียนรู้คำ ราชาศัพท์จึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ทั้ง ทางตรงและทางอ้อมมากมาย ดังจะเห็นได้ดังต่อไปนี้ ประโยชน์น์ น์ ขน์ ของการเรีรี รี ยรี ยนรู้รู้รู้คำรู้คำคำคำราชาศัศั ศั พ ศั พท์ท์ ท์ท์ เป็นประโยชน์ที่เกิดจากการตั้งเป้าหมายไว้ล่วงหน้า อันได้แก่ 1. ประโยชน์จากการใช้คำ ราชาศัพท์ถูกต้อง ที่เรียกว่าใช้คำ ราชาศัพท์ถูกต้อง นั้น คือ ถูกต้องตามบุคคลที่ใช้ว่าบุคคลใดควรใช้ราชาศัพท์ขั้นไหน อย่างไร ประการหนึ่ง ถูกต้องตามโอกาส คือ โอกาสใดใชคำ ราชาศัพท์หรือไม่เพียงใด ประการหนึ่ง และถูกต้องตามวิธีการใช้คือ ใช้ถูกต้องตามแบบแผนที่นิยมนั้นก็ อีกประการหนึ่ง การใช้ราชาศัพท์ต้องใช้ทั้งความรู้และประสบการณ์เป็น ดุลยพินิจให้ถูกต้อง ประโยชน์น์ น์ ทน์ ทางตรง ๑๐


เป็นประโยชน์ผลพลอยได้ แม้ตั้งเป้าหมายไว้ล่วงหน้าหรือไม่ตั้งเป้าหมายไว้ ก็ตาม คือ เมื่อรู้คำ ราชาศัพท์ดี ถูกต้อง ฟังหรืออ่านเรื่องราวที่มีคำ ราชาศัพท์เข้าใจผลประโยชน์พลอยได้ ก็จะเกิดขึ้นเสมอ ดังนี้ 1. ธำ รงรักษาวัฒนธรรมอันดีงานของชาติไว้ คือ รักษาให้คงอยู่ไม่เสื่อมสูญ ถือเป็นการธำ รงรักษาวัฒนธรรมและความมั่นคงของประเทศชาติ 2. เพิ่มความมีเสน่ห์ในตัวบุคคล คือ บุคคลผู้รู้และใช้คำ ราชาศัพท์ได้อย่าง ถูกต้อง เป็นการแสดงออกซึ่งความมีวัฒนธรรมอันดีงามทางภาษา ประโยชน์น์ น์ ทน์ ทางอ้อ้ อ้ ออ้ อม 2. ประโยชน์จากการเข้าใจที่ถูกต้อง ไม่ว่าจากการอ่านหนังสือประเภท ต่างๆ เช่น วรรณกรรมทั่วไป วรรณคดี หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ทั้งหลาย โทรทัศน์ วิทยุ ตลอดจนสิ่งบันเทิงทั้งหลาย มีภาพยนต์ ละคร โขน ลิเก เป็นต้น เพราะการรับรู้ รับฟัง บางครั้งต้องมีสิ่งที่เรียกว่า คำ ราชาศัพท์ ร่วมอยู่ด้วยเสมอ ทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ ๑๑


เป็นคำ แสดงอาการ แบ่งเป็น 4 ชนิด 1.กริยาที่เป็นราชาศัพท์ในตัวเอง เช่น ตรัส(พูด) เสด็จ(ไป) กริ้ว(โกรธ) ประชวร (ป่วย) ประสูติ(เกิด) ทูล(บอก) เสวย(กิน) ถวาย(ให้) บรรทม(นอน) ประทับ(อยู่) โปรด(รัก,ชอบ) ทรงม้า(ขี่ม้า) ทรงดนตรี(เล่น ดนตรี) 2.ใช้ทรงนำ หน้ากริยาธรรมดา เช่น ทรงฟัง ทรงยืน ทรงยินดี 3.ห้ามใช้ทรงนำ หน้ากริยาที่มีนามราชาศัพท์ เช่น มีพระราชดำ ริ(ห้ามใช้ ทรงมีพระราชดำ ริ) มีพระบรมราชโองการ (ห้ามใช้ทรงมีพระบรม ราชโองการ) 4.ใช้เสด็จนำ หน้ากริยาบางคำ เช่นเสด็จกลับ เสด็จขึ้น เสด็จลง คำคำคำคำราชาศัศั ศั พ ศั พท์ท์ ท์ ที่ท์ ที่ ที่ใที่ ช้ช้ ช้ เ ช้ เป็ป็ป็ น ป็ นคำคำคำคำกิกิ กิ ริกิ ริ ริ ยริ ยา ๑๒ คำคำคำคำกริริ ริ ยริ ยาที่ที่ ที่ปที่ ระสมขึ้ขึ้ ขึ้ นขึ้ นใช้ช้ ช้ เ ช้ เป็ป็ป็ น ป็ นราชาศัศั ศั พ ศั พท์ท์ ท์ท์ ตามลำลำลำลำดัดั ดั บ ดั บชั้ชั้ ชั้ น ชั้ นบุบุบุ ค บุ คคล


อ้างอิง ค นางสาวพิมพิไล หล้าใจ./ (๙ ตุลาคม ๒๕๖๓./ คำ ราชาศัพท์./ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๖,/ จากเว็บไชต์: https://www.tps.ac.th/images/attachment_content/%E0%B 8%84%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8 A%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E 0%B8%97%E0%B9%8C.pdf


Click to View FlipBook Version