แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี (Best Practice)
Hibrary หอ้ งสมดุ ออนไลน์
โดย
นางกนษิ ฐา วงษม์ ี
บรรณารกั ษ์
ศูนย์การศึกษานอนระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบ้านตาก
สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ตาก
สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ
คานา
เอกสารสรุปการจัดทาแนวปฏิบัติที่ดี Best Practice ผลงานแนวทางปฏิบัติที่ดี เร่ือง Hibrary
ห้องสมุดออนไลน์ ของบรรณารักษ์ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบ้านตาก จังหวัดตาก
เป็นผลงานดา้ นการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชพี และพัฒนาแหล่งการเรียนรทู้ ี่มบี รรยากาศและสภาพแวดลอ้ มที่
เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศกั ยภาพการเรียนรู้ ให้เกิดขึ้นในสงั คมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น
พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้มีการบรกิ ารที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน
การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่พร้อมอุปกรณ์เพ่ือจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
และการเรียนรู้ที่หลากหลายใหบ้ ริการกับประชาชนในพ้ืนท่ตี ่างๆ อย่างท่วั ถึง สม่าเสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความ
พรอ้ มในดา้ นบุคลากร ส่ือ อปุ กรณ์เพ่ือสนบั สนุนการอา่ นและจัดกจิ กรรมเพื่อสง่ เสรมิ การอา่ นอย่างหลากหลาย
ผู้จัดทาแนวปฏิบัติท่ีดี ได้ดาเนินการสรุปผลการปฏิบัติที่ดี เรื่อง Hibrary ห้องสมุดออนไลน์
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจและศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการ
พฒั นาคุณภาพการจดั ผลงาน “แนวปฏบิ ตั ิท่ดี ”ี ตอ่ ไป
ผู้จดั ทา
กนิษฐา วงษม์ ี
สารบัญ
หน้า
คานา
สารบญั
ช่อื ผลงาน 1
วธิ ีการดาเนนิ งาน 1
ปจั จัยป้อน 3
เงอื่ นไข/ปัจจยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ ความสาเรจ็ 3
ปญั หา อปุ สรรค หรอื ขอ้ จากดั ท่ีเกดิ ขนึ้ ในการปฏิบตั ิงานและแนวทางแก้ไขให้ประสบความสาเรจ็ 3
ภาพประกอบ 4
-1-
1. Best Practice ผลงานแนวทางปฏบิ ตั ิท่ีดี เร่ือง Hibrary หอ้ งสมุดออนไลน์
2.จุดเดน่ /ความสาเรจ็ ทปี่ รากฏ
แนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ี Best Practice ผลงานแนวทางปฏิบตั ิทีด่ ี เรื่อง Hibrary ห้องสมดุ ออนไลน์ สอดคลอ้ ง
กับยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั และยุทธศาสตร์พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยแี ละ
นวตั กรรมทางการศึกษา แหลง่ เรยี นรู้ และรูปแบบการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ในทุกระดับทุกประเภท
ไดแ้ ก่ การพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ประเภทต่างๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science
Center/ Digital Library ศนู ย์การเรยี นรู้ทกุ ชว่ งวยั และศูนย์การเรียนรู้ตน้ แบบ กศน.(Co-Learning Space)
เพื่อให้สามารถ“เรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งท่วั ถงึ ทุกท่ีทกุ เวลา”
3. วธิ ีการดาเนินการ
การจัดกิจกรรมโดยการแอพพลิเคชน่ั Hibrary นาเสนอในเพจ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี
อาเภอบา้ นตาก ตามแนวทางวงจรเดมม่ิง (Demning Cycte : PDCA)
ด้านการวางแผน (P)
1. ศึกษาสภาพปัญหาและวิเคราะหข์ ้อมูลอยา่ งมสี ่วนร่วมของผใู้ ช้บรกิ ารห้องสมดุ โดยการสารวจความ
ตอ้ งการของผ้ใู ช้บรกิ าร แลว้ นามาวางแผนการจดั กิจกรรมที่สอดคล้องกับความตอ้ งที่แท้จริงของของผูใ้ ชบ้ รกิ าร
2. วิเคราะหง์ านบทบาทหน้าท่ี และความสอดคล้องกบั สภาพบรบิ ทของการจดั กจิ กรรม
3. ค้นคว้า Best-Practice โดยพจิ ารณา ดงั น้ี
- เป็นเร่ืองท่เี กย่ี วข้องกบั ภารกจิ ตามบทบาทหนา้ ที่
- สนองนโยบายและจดุ เนน้ ของสานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
- ผลผลิต/ความสาเรจ็ เพิ่มข้นึ สามารถนาไปใช้เป็นมาตรฐานการทางานตอ่ ไปได้
- มีการพัฒนาและปรบั ปรุงตอ่ ไป
จากการพิจารณาประเด็นดังกล่าว เพื่อการค้นคว้า Best-Practice ในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ของประเทศไทยมีแนวโน้มท่ีดี
ข้นึ อยา่ งต่อเนื่อง ดังนั้น เพื่อลดผลกระทบต่อประชาชนดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม และความมัน่ คง รฐั บาลไดร้ ับฟัง
ความคิดเห็นจากหลายภาคส่วน ทั้งด้านสาธารณสุขความม่ันคง เศรษฐกิจผู้ประกอบการและประชาชน
จึงเห็นสมควรให้มีการผ่อนคลายการบังคับใช้มาตรการ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา
๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ภายใต้การดาเนินการตามมาตรการป้องกันโรคและคาแนะนาท่ีทางราชการกาหนด
อย่างเคร่งครัด พร้อมท้ังมีการกากับ ดูแล ติดตามจากภาครัฐอย่างต่อเนื่อง โดยให้ปฏิบัติตนตามมาตรการ
DMHT ป้องกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) D-Distancing –เว้นระยะห่าง M -Mask
Wearing –สวมหน้ากากH -Hand washing -ล้างมือบ่อยๆและT -Testing –ตรวจอุณหภูมิก่อนเข้าห้องเรียน
หรือร่วมกิจกรรมอ่ืนๆของสถานศึกษาและประกอบกับสานักงาน กศน. ได้กาหนดนโยบายและจุดเน้นการ
ดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ภายใต้วิสัยทศั น์ คนไทยทกุ ช่วงวยั ไดร้ ับโอกาสทางการศึกษา
-2-
และการเรยี นรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภา และสมรรถนะทส่ี อดรับกับทศิ ทางการพัฒนาประเทศสามารถดารงชีวิต
ได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจุดเน้นการดาเนินงานข้อท่ี๓พัฒนา
หลกั สูตร ส่ือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาแหลง่ เรียนรู้ และรูปแบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้
ในทุกระดับทุกประเภทได้แก่ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่างๆ อาทิ Digital Science Museum/
Digital Science Center/ Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศนู ย์การเรยี นรู้ต้นแบบ กศน.
(Co-Learning Space) เพอ่ื ใหส้ ามารถ “เรยี นรไู้ ดอ้ ย่างท่ัวถึง ทุกที่ ทกุ เวลา
จงึ มกี ารวางแผนตามบทบาทและภารกจิ ดงั น้ี
1. บรรณารกั ษ์/ผู้ใช้บรกิ ารมีส่วนรว่ มในการวางแผนและออกกิจกรรม เพ่ือสอดคล้องกับสภาพปัญหา
และความต้องการของผใู้ ช้บรกิ าร โดยมผี ู้เข้าร่วมกจิ กรรม คือประชาชนในพืน้ ทอ่ี าเภอบา้ นตาก
2. ศกึ ษาข้อมลู เก่ียวกบั แอพพลิเคช่นั Hibrary
3. บรรณารักษด์ าเนนิ การรวบรวมข้อมลู ทีผ่ ู้ใชบ้ ริการต้องการในการใหบ้ รกิ าร
4. การนาขอ้ มูลการวเิ คราะห์และการพิจารณาจากข้อ 1 – 3 มากาหนดเปน็ กรอบการดาเนินงานท่ี
พิจารณา แล้วว่ามาเป็นแนวปฏบิ ัติท่ีดี (Best-Practice) โดยดาเนนิ การดังน้ี
1. กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
2. กาหนดตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็
3. กาหนดวิธดี าเนินการ
4. กาหนดวิธกี ารประเมินผลและเคร่ืองการประเมินผล
ด้านการวางแผน ( D )
เผยแพร่ประชาสมั พันธ์แอพพลเิ คชัน่ Hibraryโดยการใหค้ วามรูแ้ ละการฝึกปฏบิ ตั ิจรงิ ดงั นี้
- จัดกิจกรรมการประชาสัมพันธ์แอพพลิเคช่ัน Hibrary มีการดาเนินการโดยบรรณารักษ์ เป็น
วิทยากรให้ความรู้และสาธติ การใชแ้ อพพลเิ คช่ัน
ด้านการตรวจสอบและประเมนิ ผล ( C )
1. ประเมนิ ผลการดาเนินกจิ กรรมจากการเป็นสมาชกิ
2. บรรณารักษ์ทาแบบติดตามจากกู้เก้ลิ ฟอรม์
3. สรุปผลการดาเนินโครงการท่ีได้จากการติดตามผู้เรียนหลังสิ้นสุดโครงการ นาเสนอผลการจัด
กิจกรรมและจุดที่ควรพัฒนา รวมท้ังข้อเสนอแนะ และการจัดทารายงานเพื่อเสนอแนวปฏิบัติที่ดี (Best-
Practice)
4. เผยแพรแ่ นวปฏิบัติท่ีดี (Best-Practice) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการจัดกิจกรรมคร้ังต่อไป
รวมท้ังการนาเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่น การนาเสนอผ่านเว็บเพจของห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”
อาเภอบา้ นตาก
-3-
ด้านการปรบั ปรงุ และพฒั นาผลการปฏิบัตงิ าน (A )
การนาเสนอแนะของผู้ใช้บรกิ ารมาพัฒนา ปรบั ปรุงการทาวดี ีโอในครง้ั ตอ่ ไป
4.ปจั จยั ปอ้ น
4.1 จากนโยบาย และจดุ เนน้ การดาเนินงานของสานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ 2564 กศน. ด้านการศึกษาตามอัธยาศัย พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มี
บรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้
เกดิ ขึน้ อย่างกว้างขวางและท่ัวถงึ เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทกุ แห่งให้มีการบริการที่ทันสมยั ส่งเสริมและ
สนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่พร้อม
อุปกรณ์เพ่ือจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพ้ืนที่ต่างๆ
อย่างท่วั ถึง สมา่ เสมอ รวมท้ังเสริมสร้างความพร้อมในด้านบคุ ลากร สื่อ อุปกรณ์เพื่อสนับสนนุ การอา่ นและจัด
กิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมการอา่ นอย่างหลากหลาย
4.2 บรรณารักษม์ คี วามรู้ ความเขา้ ใจในการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในรปู แบบต่างๆทส่ี อดคล้องกับ
นโยบายและจดุ เนน้
5.เงือ่ นไข/ปัจจยั ทสี่ ่งผลต่อความสาเร็จ
5.1 การมสี ่วนรว่ มของบรรณารกั ษ์ และผู้ใชบ้ รกิ าร ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลพื้นฐาน ทาใหร้ ู้สภาพปญั หา
และความต้องการพัฒนาใหไ้ ปสู่เปา้ หมายท่ีตอ้ งการได้
5.2 การจัดกิจกรรม ตามแนวทางวงจรเดมมิง่ (Demning Cycte : PDCA)ซง่ึ เปน็ การดาเนิน อย่างเป็น
ระบบ สามารถตรวจสอบได้ทุกข้ันตอน ต้ังแต่การวิเคราะห์สภาพปัญหา และความต้องการของผู้ใช้บริการ
และภูมิปัญญา ตลอดจนมีการติดตามประเมินผลทุกขั้นตอน จึงทาให้สามารถทาให้บรรลุตามตัวช้ีวัด
ความสาเร็จของโครงการ
6.ปญั หา อปุ สรรค หรือข้อจากัดทเ่ี กิดขน้ึ ในการปฏบิ ัตงิ านและแนวทางแก้ไขให้ประสบความสาเรจ็
- ไมม่ ี
7.ขอ้ เสนอเนะวธิ ปี ฏบิ ตั ิงานท่ีจะทาให้ดยี งิ่ ขึน้
7.1 ควรมกี ารเผยแพรแ่ ละประชาสมั พันธ์ให้ผู้ที่สนใจ สามารถศกึ ษาขอ้ มลู ผ่านช่องทางอื่นๆ
-4-
8.ภาพประกอบ
- เข้าร่วมอบรมบุคลากร "เทคนิคการพฒั นาสอ่ื เทคโนโลยี และการจดั กิจกรรมห้องสมดุ ออนไลน์ ผา่ น
ระบบ online ( Zoom Meeting)
- วางแผนการดาเนนิ งาน
แนะนาผา่ นเพจห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี อาเภอบ้านตากและเพจ กศน.ตาบล
ประชาสมั พนั ธ์ให้กบั ผใู้ ช้บรกิ ารในหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อาเภอบา้ นตาก
-5-
ประชาสมั พันธ์และรับสมคั รสมาชกิ ใหก้ บั นกั ศึกษา กศน.อาเภอบ้านตาก
วันท่ี 7 เดือน กรกฎาคม 2564 บรรณารักษ์หอ้ งสมดุ ประชาชน”เฉลิมราชกมุ ารี”อาเภอบ้านตาก
แนะนาการใช้งาน แอพพลเิ คชัน Hibrary ห้องสมดุ ออนไลน์ ใหก้ บั นกั ศกึ ษา กศน.อาเภอบ้านตาก เพือ่ สมคั ร
เป็นสมาชิก ห้องสมุดออนไลน์
-6-
วันที่ 16 เดอื น กรกฎาคม 2564 บรรณารักษห์ ้องสมุดประชาชน”เฉลิมราชกุมารี”อาเภอบ้านตาก
แนะนาการใช้งาน แอพพลเิ คชนั Hibrary หอ้ งสมดุ ออนไลน์ ให้กบั นกั ศกึ ษา กศน.อาเภอบ้านตาก เพือ่ สมคั ร
เปน็ สมาชิก หอ้ งสมดุ ออนไลน์ ณ กศน.ตาบลตากตก
-7-
การไดม้ าของเน้อื หาตามหวั ขอ้ ข่างตน้ ใช้วธิ ีการถอดบทเรียน โดยใช้แนวคิดเชงิ ระบบ (Input-Process-
Output) แลว้ ต้ังคาถามย้อนกลับจากขวาไปซา้ ย
Input (ปจั จยั ปอ้ น) Process (กระบวนการ) Output (ผลผลิต)
4.1 จากนโยบาย และจดุ เนน้ การ การจัดกจิ กรรมการใช้ ผู้ใช้บริการมีความรู้ ความเข้าใจ
ดาเนินงานของสานักงานส่งเสริม แอพพลเิ คชัน่ Hibrary ได้ และความเข้าใจแอพ พ ลิเคช่ัน
การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ดาเนินการ ตามแนวทางวงจรเดม Hibrary ได้
ตามอัธยาศยั ประจาปีงบประมาณ ม่ิง (Demning Cycte : PDCA)
2564
4.2 บรรณารักษ์มีความรู้ ความ
เข้าใจในการจัดการศึกษาตาม
อัธยาศยั ในรปู แบบต่างๆที่
สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เน้น