The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-12-02 08:04:02

1FFAB92B-ED05-420D-9BAA-60D0A40039D1

1FFAB92B-ED05-420D-9BAA-60D0A40039D1

วิวัฒนาการ วิวัฒนาการละครไทย
ละครไทย

จัดทำโดย นางสาว นันทิชา ระบอบ
ม.6/11 เลขที่ 20

ละครไทย

สมัยน่านเจ้า
สมัยสุโขทัย
สมัยกรุงศรีอยุธยา
สมัยธนบุรี
สมัยรัตนโกสินทร์

ละครไทย 1
2
ละครไทยคืออะไร 3
สมัยน่านเจ้า 4
สมัยสุโขทัย 5
สมัยกรุงศรีอยุธยา 6
สมัยธนบุรี
สมัยรัตนโกสินทร์

1

~ละครไทยคืออะไร~

“ละคร คือ การแสดงประเภทหนึ่งซึ่งแสดงเรื่องราวความเป็นไปของชีวิตที่ปรากฏใน
วรรณกรรม มีศิลปะการแสดงและดนตรีเป็นสื่อสำคัญ ละคร ตามความหมายนี้หมาย
ถึงละครรำ เพราะว่าเป็นการแสดงออกทางความคิดโดยมุ่งเน้นถึงลักษณะท่าทาง
อิริยาบถในขณะเคลื่อนไหวตัวในระหว่างการรำ”

2

~สมัยน่านเจ้า~

(สมัยน่านเจ้า พ.ศ. ๑๑๖๑ – ๑๑๙๔)
จากการค้นคว้าหาหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า สมัยอาณาจักรน่านเจ้า ไทยมีนิยายเรื่องหนึ่งคือ

“มโนห์รา” ซึ่งปัจจุบันนี้ก็ยังมีอยู่ หนังสือทีเขียนบรรยายถึงเรื่องของชาวจีนตอนใต้ และเขียนถึงนิยายการเล่นต่างๆ
ของจีนตอนใต้ มีอยู่เรื่องหนึ่งที่ชื่อเหมือนกับนิยายของไทย คือเรื่อง “นามาโนห์รา” และอธิบายไว้ด้วยว่าเป็นนิยายของ
พวกไต ซึ่งจีนถือว่าเป็นชนกลุ่มน้อยอยู่ทางใต้ของประเทศจีน ไตเป็นน่านเจ้าสมัยเดิม คำว่า “นามาโนห์รา” เพี้ยนมาจาก
คำว่า “นางมโนห์รา” ของไทยนั่นเอง

พวกไต คือ ประเทศไทยเรา แต่เป็นพวกที่ไม่อพยพลงมาจากดินแดนเดิม ชีวิตและความเป็นอยู่ของพวกไต
เป็นแบบชาวเหนือของไทยประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ พวกไทยนี้สืบเชื้อสายมาจากสมัยน่านเจ้า เหตุแวดล้อมดังกล่าวจึง
ชวนให้เข้าใจว่าเป็นชาติที่มีศิลปะมาแล้วแต่ดั้งเดิม ซึ่งได้รักษาขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมไว้อย่างเดียวกับไทย
ภาคเหนือมีหมู่บ้านอยู่ทาง
ทิศตะวันออกของมณฑลยูนนานในปัจจุบัน ฝรั่งเรียกว่า “สวนมรกต” มีแม่น้ำสายหนึ่งไหลผ่าน ออกเสียงแบบไทยว่า
“แล่นชน” หรือ “ล้านช้าง” การละเล่นของไทยในสมัยน่านเจ้า นอกจากเรื่องมโนห์รา ยังมีการแสดงระบำต่างๆ เช่น
ระบำหมวก ระบำนกยูง ซึ่งปัจจุบันจีนถือว่าเป็นการละเล่นของชนกลุ่มน้อยในประเทศของเขา

3

~สมัยสุโขทัย~ ในสมัยสุโขทัย ได้คบหากับชาติที่นิยมอารยธรรมของอินเดีย เช่น พม่า มอญ ขอม
และละว้า ไทยได้รู้จักเลือกเฟ้นศิลปวัฒนธรรมของชาติที่สมาคมด้วย แต่มิได้
ในสมัยสุโขทัยเรื่องละคร ฟ้อนรำ สันนิษฐานได้จากศิลาจารึก หมายความว่า ชาติไทยแต่โบราณจะไม่รู้จักการละครฟ้อนรำมาก่อน เรามีการแสดง
ของพ่อขุนรามคำแหงหลักที่ ๑ กล่าวถึง ระบำ รำ เต้น มาแต่สมัยดึกดำบรรพ์แล้ว เมื่อไทยได้รับวัฒนธรรมด้านการละครของ
การละเล่นเทศกาลกฐินไว้เป็นความกว้างๆ ว่า ”เมื่อจักเข้า อินเดียเข้ามา ศิลปะแห่งการละเล่นพื้นเมืองของไทย คือ รำ และระบำ ก็ได้
เวียงเรียงกัน แต่อรัญญิกพู้นท่านหัวลาน ดํบงคํกลอยด้วย วิวัฒนาการขึ้น มีการกำหนดแบบแผนแห่งศิลปะการแสดงทั้ง ๓ ชนิดไว้เป็นที่
เสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื้อย เสียงขับ ใครจักมักเหล้น แน่นอน และบัญญัติคำเรียกศิลปะแห่งการแสดงดังกล่าวว่า “โขน ละคร ฟ้อนรำ”
เหล้น ใครจักมัก หัว หัว ใครจักมักเลื้อน เลื้อน”
ละครแก้บนกับละครยก อาจมีสืบเนื่องมาแต่สมัยสุโขทัย สมเด็จฯกรมพระยาดำรง
ราชานุภาพ ทรงอธิบายไว้ในสาส์นสมเด็จว่า หญิงแก้วมีจดหมายเล่าว่ามีละครเขมร
ตรงหน้าปราสาทนครวัด ให้พวกท่องเที่ยวชมในเวลากลางคืน เรื่องนี้เรารู้กันอยู่แล้ว
ที่ปราสาทนครวัด และปราสาทหินเทวสถานแห่งอื่นหลายแห่ง มีเวทีทำด้วยศิลา
กล่าวกันว่าทำไว้สำหรับฟ้อนรำบวงสรวง อันการฟ้อนรำบวงสรวง ตลอดจนการเล่น
โขน เป็นคติทางศาสนาพราหมณ์ แต่ห้ามทางฝ่ายพระพุทธศาสนา หม่อมฉันได้อ่าน


หนังสือพรรณนาว่าด้วยเทวสถานในอินเดียว่า แม้ในปัจจุบันเทวสถานที่สำคัญยังมี

หญิงสาวชั้นสกุลต่ำ ไปสมัครอยู่เป็น “เทวทาสี” สำหรับฟ้อนรำบวงสรวงเป็นอาชีพ
และให้ใช้ต่อไปว่าสำหรับปฏิบัติพวกพราหมณ์ที่รักษาเทวสถาน หรือแม้บุคคลภายนอก
ด้วย ตามปราสาทหินที่สำคัญในเมืองเขมรแต่โบราณก็คงมีหญิงพวกเทวทาสี เช่น
นั้น หม่อมฉันเห็นว่าประเพณีที่ไทยเราเล่นละครแก้บน เห็นจะมาจากคติเดียวกัน
นั่นเอง แต่เลยมาถึงเล่นละครบวงสรวงในพระพุทธศาสนา เมื่อฉันยังเป็นเด็กได้เคย
เห็นละครชาตรีเล่นแก้บนที่หน้าพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และได้ยินว่าที่วัด
บวรนิเวศวิหาร ก็เคยมีละครแก้บนพระพุทธชินสีห์ เพิ่งในสมัยรัชกาลที่ 5 ประเพณี
ไทยเล่นละครแก้บนแต่ก่อนเห็นจะหยุดชะงัก จึงมีผู้คิดทำตุ๊กตา เรียกว่า “ละครยก”
สำหรับคนจนแก้บนถ้าจะนับเวลาเห็นจะเป็นตั้งพันปีมาแล้ว

4

~สมัยกรุงศรีอยุธยา~

ละครรำสมัยกรุงศรีอยุธยามีต้นกำเนิดจากการเล่นโนรา และละคร
ชาตรีที่นิยมกันในภาคใต้ของประเทศไทย แต่เดิมมีละครชื่อขุนศรัทธา
เป็นละครในสมัยกรุงศรีอยุธยา ส่วนระบำหรือฟ้อนเป็นศิลปะโดยอุปนิสัย
ของคนไทยสืบต่อกันมา ละครรำของไทยเรามี ๓ อย่าง คือ ละครชาตรี
ละครนอก และละครใน ละครชาตรีเป็นละครเดิม ละครนอกเกิดขึ้นโดย
แก้ไขจากละครชาตรี แต่ละครในนั้นคือละครผู้หญิง เมื่อครั้งรัชกาล
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ยังไม่มีปรากฏ มาปรากฏว่ามีละครผู้หญิง
ในหนังสือบุณโณวาทคำฉันท์ ซึ่งแต่งในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรม
โกศ พ.ศ. ๒๒๗๕ – ๒๓๐๑ เป็นครั้งแรก เพราะฉะนั้นละครผู้หญิงจึง
เกิดขึ้นในระหว่างรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา พ.ศ.๒๒๓๑ – ๒๒๔๖ มา
จนรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ในระหว่าง ๗๐ ปีนี้ รัชกาล
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศได้มีละครผู้หญิงเล่นคือเรื่อง “อิเหนา” ซึ่ง
เป็นละครใน

สำหรับละครผู้หญิงของหลวงครั้งกรุงเก่า เห็นจะเป็นของโปรดอยู่
เพียงในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เมื่อสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บรมโกศสวรรคตแล้ว ทำนองจะละเลยมิได้ฝึกซ้อมเสมอเหมือนแต่ก่อน
สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์จะทอดพระเนตรละคร จึงห้ามหาผู้ชายเข้าไปเล่น
เมื่อพิเคราะห์ดูทางตำนาน ดูเหมือนละครผู้หญิงของหลวงซึ่งมีขึ้นครั้ง
กรุงเก่า จะได้เล่นอยู่ไม่ช้านานเท่าใดนัก ก็ถึงเวลาเสียกรุงแก่พม่า

~สมัยธนบุรี~ 5

สมัยนี้เป็นช่วงต่อเนื่องหลังจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อปี รำมโนราห์
พ.ศ. 2310 เหล่าศิลปินได้กระจัดกระจายไปในที่ต่างๆ เพราะผลจาก
สงคราม บางส่วนก็เสียชีวิต บางส่วนก็ถูกกวาดต้อนไปอยู่พม่า ครั้น รำบำหมวก
พระเจ้ากรุงธนบุรีได้ปราบดาภิเษกในปีชวด พ.ศ. 2311 แล้ว ทรงส่ง
เสริมฟื้ นฟูการละครขึ้นใหม่ และรวบรวมศิลปินตลอดทั้งบทละครเก่าๆ
ที่กระจัดกระจายไปให้เข้ามาอยู่รวมกัน ตลอดทั้งพระองค์ได้ทรงพระ
ราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ขึ้นอีก 5 ตอน คือ ตอนหนุมาน
เกี้ยวนางวานริน ตอนท้าวมาลีวราชว่าความ ตอนทศกัณฐ์ตั้งพิธีทราย
กลด (เผารูปเทวดา) ตอนพระลักษณ์ถูกหอกกบิลพัท ตอนปล่อยม้า
อุปการ มีคณะละครหลวง และเอกชนเกิดขึ้นหลายโรง เช่น ละคร
หลวงวิชิตณรงค์ ละครไทยหมื่นเสนาะภูบาล หมื่นโวหารภิรมย์
นอกจากละครไทยแล้วยังมีละครเขมรของหลวงพิพิธวาทีอีกด้วย

~สมัยรัตนโกสินทร์~ 6

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์การละครต่างๆ ล้วนได้รับการสนับสนุนจากพระมหากษัตริย์แห่ง สำหรับละครที่มิใช่ของหลวง มีข้อยกเว้นคือ ห้ามใช้รัดเกล้ายอด เครื่องแต่งตัวลงยา และพานทองหีบ
พระบรมราชจักรีวงศ์สืบเนื่องต่อกันมาเป็นลำดับตั้งแต่การละครต่างๆ ล้วนได้รับการ ทองเป็นเครื่องยกบททำขวัญห้ามใช่แตรสังข์ หัวช้างห้ามทำสีเผือก ยกเว้นหัวช้างเอราวัณ มีประกาศ
สนับสนุนจากพระมหากษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์สืบเนื่องต่อกันมาเป็นลำดับตั้งแต่ กฎหมายภาษีมหรสพ พ.ศ. 2402 เก็บจากเจ้าของคณะละครตามประเภทการแสดง และเรื่องที่แสดง
สมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การละครในยุคนี้เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง
สมัยรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ทรงฟื้ นฟูรวบรวมสิ่ง เนื่องจากการละครแบบตะวันตกหลั่งไหลเข้าสู้วงการนาฏศิลปะ ทำให้เกิดบทละครประเภทต่างๆขึ้น
ต่างๆที่สูญเสีย และกระจัดกระจายให้สมบูรณ์ ในรัชสมัยนี้ได้มีการรวบรวมตำราฟ้อนรำ มากมาย เช่น ละครพันทาง ละครดึกดำบรรพ์ ละครร้อง ละครพูด และลิเก ทรงส่งเสริมการละครโดย
ขึ้นไว้เป็นหลังฐานสำคัญที่สุดในประวัติการละครไทย มีบทละครที่ปรากฏตามหลักฐานอยู่ เลิกกฏหมายการเก็บอากรามหรสพเมื่อ พ.ศ. 2450 ทำให้กิจการละครเฟื่ องฟูขึ้นกลายเป็นอาชีพได้
4 เรื่อง คือ บทละครเรื่องอุณรุฑ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ บทละครเรื่องดาหลัง และ เจ้าของโรงละครทางฝ่ายเอกชนมีหลายราย นับตั้งแต่เจ้านายมาถึงคนธรรมดา
บทละครเรื่องอิเหนา สมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในสมัยนี้ได้ชื่อว่าเป็นสมัยที่การละคร และ
การดนตรีทั้งหลายได้เจริญรุ่งเรื่องถึงขีดสุด นับได้ว่าเป็นยุคทองศิลปะการละครยุคที่ 2 พระองค์ได้
สมัยรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นสมัยที่วรรณคดีเจริญ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกรมมหรสพขึ้น เพื่อบำรุงวิชาการนาฏศิลปะ และการดนตรี และยัง
รุ่งเรื่องเป็นยุคทองแห่งศิลปะการละคร มีนักปราชญ์ราชกวีที่ปรึกษา 3 ท่าน คือ กรม ทรงเป็นบรมครูของเหล่าศิลปิน ทรงพระราชนิพนธ์บทโขน ละคร ฟ้อนรำ ไว้เป็นจำนวนมาก
หมื่นเจษฎาบดินทร์ กรมหลวงพิทักษ์มนตรี และสุนทรภู่ มีบทละครใน สมัยรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การเมืองเกิดภาวะคับขัน และเศรษฐกิจของ
ที่เกิดขึ้น ได้แก่ เรื่องอิเหนา ซึ่งวรรณคดีสโมสรยกย่องว่าเป็นยอดของบทละครรำ และ ประเทศทรุดโทรม เสนาบดีสภาได้ตกลงประชุมกันเลิกกรมมหรสพ เพื่อให้มีส่วนช่วยกูการเศรษฐกิจ
เรื่องรามเกียรติ์ ส่วนบทละครนอก ได้แก่ เรื่องไกรทอง คาวี ไชยเชษฐ์ สังข์ทอง และ ของประเทศ และต่อมาจึงกลับฐานะมาเป็นกองขึ้นอีก จนกระทั่งเมื่อ พ.ศ. 2478 กองมหรสพจึงอยู่ใน
มณีพิชัย สังกัดกรมศิลปากร ข้าราชการศิลปินจึงย้ายสังกัดมาอยู่ในกรมศิลปากร ในสมัยนี้มีละครแนวใหม่เกิด
ขึ้นคือ ละครเพลง หรือที่เป็นที่รู้จักกันว่า “ละครจันทโรภาส” ตลอดทั้งมีละครหลวงวิจิตรวาทการเกิด
สมัยรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นยุคที่ละครหลวงซบเซา ขึ้น
เนื่องจากพระองค์ไม่สนับสนุน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลิกละครหลวงเสีย แต่มิได้ สมัยรัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอนันทมหิดล สมัยนี้พันตรีหลวงวิจิตรวาทการ ได้ให้
ขัดขวางผู้จะจัดแสดงละคร ทำให้เกิดคณะละครของเจ้านาย และขุนนางขึ้นแพร่หลาย กำเนิดละครหลวงวิจิตรซึ่งเป็นละครปลุกใจให้รักชาติ และสร้างแรงจูงใจให้คนไทยหันมาสนใจ
หลายคณะ หลายโรง และมีบทละครเกิดขึ้นมากมาย นาฏศิลป์ไทย ส่งเสริม ทำนุบำรุง เผยแพร่นาฏศิลป์ไทยให้เป็นที่ยกย่องนานาอารยประเทศ ทำให้ศิลปะ
โขน ละคร ระบำ รำ ฟ้อน ยังคงสืบทอดเป็นแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนาสืบต่อมา
สมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมัยนี้ได้เริ่มมีการติดต่อกับ สมัยรัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช นาฎศิลป์และการละคร อยู่ในความรับ
ชาวต่างชาติ โดยเฉพาะชาวยุโรปบ้างแล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึง ผิดชอบของรัฐบาล คือ กระทรวงวัฒนธรรม มีการส่งเสริมให้ผู้เชี่ยวชาญนาฎศิลป์ไทยคิดประดิษฐ์ท่า
ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ฟื้ นฟูละครหลวงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง พร้อมทั้งออกประกาศสำคัญเป็นผล รำ ชุดใหม่ๆ และการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ
ให้การละครไทยขยายตัวอย่างกว้างขวาง ดังมีความโดยย่อ คือ พระราชทานพระบรมรา
ชานุญาต ให้คนทั่วไปมีละครชาย และหญิง เพื่อบ้านเมืองจะได้ครึกครื้นขึ้น เป็น
เกียรติยศแก่แผ่นดิน แม้จะมีละครหลวง แต่คนที่เคยเล่นละครก็ขอให้เล่นต่อไป ห้าม
บังคับผู้คนมาฝึกละคร ถ้าจะมาขอให้มาด้วยความสมัครใจช

แหล่งที่มา

นางสาวศุภิสชา มะลิวัลย์.//(2562).//วิวัฒนาการละคร
ไทย.//30/พ.ย/64,จาก
(https://filmsupitcha.blogspot.com/2019/09/blog-
post.html?m=1)
stampnewblue .//การละครไทย.//30/พ.ย/64,จาก
(https://sites.google.com/site/bluestampnew/bth-thi-1-
kar-lakhr-thiy)


Click to View FlipBook Version