The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by narongsakpitt, 2020-04-10 02:36:20

charm silk buriram

charm silk buriram

01 เสน่ห์ไหมบรุ ีรมั ย์

คำ�นิยม

นายธัชกร หตั ถาธยากูล

ผ้วู า่ ราชการจังหวดั บุรีรัมย์

การปลกู หมอ่ นเลย้ี งไหมและทอผ้าไหม เป็ นวถิ ชี วี ติ ของราษฎรชาวบรุ ีรัมยท์ ป่ี ฏบิ ัติสบื ตอ่ กัน
มาชา้ นาน โดยมีหลักฐานปรากฏวา่ มกี ารสง่ เสริมการปลกู หมอ่ นเลย้ี งไหมทจ่ี ังหวดั บุรีรัมย์ มา
ต้งั แตร่ ัชสมัยรัชกาลที่ ๕ เนื่องจากในหว้ งระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๔๔๐ – ๒๔๔๕ ประเทศสยามในสมยั
น้ันได้ส่งั ซ้ือเครื่องแพรไหมจากต่างประเทศมมี ลู ค่ากวา่ ๖ ลา้ นบาท ดว้ ยเหตนุ ้ี พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงมีพระราชด�ำ ริใหส้ ง่ เสริมการเลย้ี งไหมข้นึ และได้โปรดเกล้าฯ
ให้ กรมหม่นื พชิ ยั มหติ โรดม พระราชโอรสลำ�ดบั ท่ี ๓๘ เป็ น อธิบดีกรมชา่ งไหม คนแรกของ

ประเทศไทย
ในคราว กรมหมื่นพชิ ยั มหติ โรดม ได้ทรงเสดจ็ ตรวจเยย่ี มการทำ�ไหมในมณฑลอสี าณ ท่ี
จังหวดั บรุ ีรัมยโ์ ดยทางเกวยี น ซ่ึงในระหวา่ งท่เี สดจ็ ตอ้ งประทบั แรมในเกวยี น ในบรรยากาศ
ค่�ำ คืนท่เี งียบเหงา ทำ�ใหพ้ ระองคท์ รงแตง่ เพลง “ลาวดำ�เนินเกวยี น” ข้ึน ปั จจุบนั เรียกวา่
“เพลงลาวดวงเดอื น” ซ่ึงนับวา่ เป็ นเพลงท่มี คี วามไพเราะ และ มีตำ�นานเก่ยี วพันกับไหมบรุ ีรัมย์
มาชา้ นาน และไดโ้ ปรดใหจ้ ัดต้งั ศูนยห์ ตั กรรมพน้ื บ้านท่อี �ำ เภอนาโพธิ์ข้นึ
ผา้ ไหมบรุ ีรัมย์ เป็ นผา้ ไหมทีม่ สี สี นั ลวดลายหลากหลาย ตามความนิยมชาวบรุ ีรัมยท์ ่มี ี

ชนเผา่ ๔ ชนเผา่ ได้แก่

๑) ชนเผ่าไทยเขมร นิยมผา้ ไหมลายหางกระรอก ลายอัลปรม ลายโฮล ลายลูกแกว้ ฯลฯ
๒) ชนเผ่ากยู นิยมแต่งกายแบบชาวไทยเขมร นิยมผ้าไหมกระเนียวลายริ้ว เป็ นทางยาว
ซ่ินท่มี หี วั และตนี ซิน่ และ นิยมผ้าไหมลายลูกแกว้ ยอ้ มมะเกลอื เป็ นสดี �ำ

๓) ชนเผา่ ไทยโคราช นิยมผา้ ไหมลายหางกระรอก
๔) ชนเผ่าไทยลาว นิยมผา้ ยอ้ มคราม และ ไหมลายมดั หมี่ ลวดลายตา่ งๆ ท่มี ีชอ่ื เสยี งและ
ได้รับการยอมรับวา่ เป็ นผ้าเอกลกั ษณ์ประจำ�จังหวดั บรุ ีรัมย์ ได้แก่ “ผา้ ซ่ินตนี แดง”

จังหวดั บรุ ีรัมย์ จึงไดจ้ ัดงานเดินแบบผา้ ไหมบรุ ีรัมย์ ในงานกาชาดและไหมบุรีรัมย์ ประจำ�
ปี ๒๕๖๓ โดยมผี ูเ้ ดินแบบผ้าไหมจากทกุ ภาคสว่ น ท้งั ภาครัฐ เอกชน ซ่ึงแสดงออกถึงวถิ ีชวี ติ
ภมู ิ ปั ญญา อัตลกั ษณ์ทส่ี ง่างามของคนบุรีรัมย์

เสนห่ ์ไหมบุรรี ัมย์ ๐๓

ค�ำ นำ�

จังหวดั บุรีรัมยต์ ้ังอยู่บนเสน้ ทางอารยธรรมขอมแต่โบราณ ต้ังแตอ่ ดีตสมัยกรุงศรีอยธุ ยา
ถงึ สมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร์ตอนตน้ ซ่ึงพน้ื ทจ่ี ังหวดั บุรีรัมยเ์ ป็ นทต่ี ้งั หวั เมืองทส่ี �ำ คัญ ๔ หวั เมอื ง

ไดแ้ ก่
๑) เมืองตลุง ต้ังอยู่บริเวณอำ�เภอประโคนชยั ในปั จจุบนั ผคู้ นสว่ นใหญเ่ ป็ นชาติพันธ์ุเขมร

และ กยู
๒) เมืองนางรอง ต้ังอยบู่ ริเวณอ�ำ เภอนางรองในปั จจุบนั ผู้คนสว่ นใหญ่เป็ นชาตพิ นั ธุ์
ไทยเด้งิ
๓) เมืองพทุ ไธสง ต้ังอย่บู ริเวณอ�ำ เภอพทุ ไธสงในปั จจุบัน ผู้คนสว่ นใหญเ่ ป็ นชาติพนั ธุ์ลาว
๔) เมืองแปะ ต้ังอยบู่ ริเวณอ�ำ เภอเมืองบุรีรัมย์ในปั จจุบัน ผู้คนสว่ นใหญ่เป็ นเขมร
แต่ละหวั เมืองจะมผี ูค้ นที่อพยพยา้ ยถ่นิ ฐานมาจากหลายแหง่ และจากการทผ่ี คู้ นอพยพมา
จากหลายชาติพันธุ์ บง่ บอกถงึ พฤติกรรม ความเชอ่ื สงิ่ แวดลอ้ ม และวถิ กี ารด�ำ รงชวี ติ ของผทู้ อ
ในแต่ละหว้ งเวลาได้ผา้ เอกลกั ษณ์ทส่ี �ำ คัญของชาติพันธ์ุผูค้ นจังหวดั บุรีรัมยใ์ นแตล่ ะพ้นื ท่ี
ความนิยมผ้าไหมลายเอกลักษณ์ของชาวบุรีรัมย์ซ่ึงมีความแตกต่างกันตามชาติพันธ์ุ

และแหล่งกำ�เนิดของอารยธรรม จึงท�ำ ใหก้ ารพฒั นาผ้าไหมบุรีรัมย์ ขาดความเป็ นเอกภาพ
จนกระท่งั ได้มีการพฒั นาผ้าเอกลกั ษณ์ประจำ�จังหวดั ข้นึ มาใหม่ เม่อื ปี ๒๕๕๖ โดยการผสม
ผสานอัตลักษณ์ของผ้าเอกลักษณ์เดิมผ้าลายหางกระรอกคู่และผ้าซิ่นตีนแดงเป็ นผ้าลาย
เอกลักษณ์ใหมท่ ่เี รียกวา่ “ผ้าหางกระรอกคตู่ นี แดง” ซ่ึงเป็ นท่นี ิยมอยา่ งแพร่หลายของชาว
บุรีรัมยท์ ่วั ท้งั จังหวดั ทกุ เชอื้ ชาติ
ลวดลายบนผืนผ้าที่มีการสืบต่อภูมิปั ญญาการถักทอมาอย่างยาวนานน้ันล้วนเชื่อมโยงกับ

ประวตั ิศาสตร์และความเป็ นตวั ตนของชาวบุรีรัมยอ์ ย่างแยกกนั ไมอ่ อก จังหวดั บรุ ีรัมย์จึงไดม้ กี าร
คิดคน้ อนุรักษ์และพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง ท้งั การดา้ นลวดลายบนผนื ผา้ เทคนิคการถักทอ ตลอดจน
การพัฒนาคณุ ภาพของผ้าไหมใหม้ คี วามโดดเดน่ ทันสมัย แตย่ ังคงความเป็ นเอกลักษณ์ และสอ่ื ถึง
ตัวตนของชาวบรุ ีรัมย์ซ่ึงยงั คงไวด้ ้วยเสน่ห์ โดยผสมผสานความทันสมยั กบั กลน่ิ ไอความเป็ นผืนผ้า

แหง่ ความภาคภูมใิ จของเข้าไวด้ ้วยกัน
หนังสือเสน่ห์ไหมทำ�ข้ึนเพื่อเป็ นส่วนหน่ึงในการประชาสัมพันธ์ในงานมหัศจรรย์บุรีรัมย์
(งานกาชาดและไหมบรุ ีรัมย์) ประจำ�ปี ๒๕๖๓ ซ่ึงได้รวบรวมเอาเร่ืองราว ต�ำ นานไหมใตร้ ่ม
พระบารมี ซ่ึงผูกโยงเรื่องราวการกำ�เนิด และ สบื สานการพัฒนาผนื ผา้ ภายใต้ร่มพระบารมีและ
พระมหากรุ ณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์แต่คร้ังอดีตกระท่ัง
ถึงปั จจุบนั และเรื่องราวการสบื สานพัฒนา ตลอดจนความภาคภมู ิใจในความเป็ นเลือดเน้ือ วถิ ีชวี ติ
ความสามัคคี ผสานเขา้ ไวใ้ นลายผ้าแต่อดีตจนปั จจุบัน จึงถอื เป็ นอีกหน่ึงความภาคภูมิใจร่วมกนั
ของชาวบุรีรัมย์ ท่จี ะร่วมกันสบื สานต�ำ นานผ้าไหมบรุ ีรัมย์ ใหค้ งความงดงาม และ ย่งิ ใหญ่

ในสายธาร แหง่ กาลเวลาตราบนานเท่านาน

คณะผูจ้ ัดท�ำ

ส�ำ นักงานพฒั นาชมุ ชนจังหวดั บุรีรัมย์

๐๔ เสนห่ ์ไหมบุรรี ัมย์

สารบญั

เร่ือง หน้า

คำ�นิยม ๒
คำ�นำ� ๓
สารบัญ ๔
สบื สานตำ�นานไหมใต้ร่มพระบารม ี ๕
ตำ�นานผา้ เอกลกั ษณ์ประจำ�จังหวดั บุรีรัมย ์ ๙
ผวู้ า่ ราชการจังหวดั บุรีรัมย์ ๑๕
รองผวู้ า่ ราชการจังหวดั บุรีรัมย์และภริยา ๑๖
ผู้พพิ ากษาหวั หน้าศาลจังหวดั บรุ ีรัมย์ ๑๙
ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกท่ี ๒๖ ๒๐
ผู้บงั คบั การตำ�รวจภธู รจังหวดั บุรีรัมย์ ๒๑
ปลดั จังหวดั บุรีรัมย ์ ๒๒
พัฒนาการจังหวดั บุรีรัมย ์ ๒๒
หวั หน้ากลุ่มฝ่ ายพัฒนาชมุ ชนจังหวดั บุรีรัมย์ ๒๓
ภาพถ่ายคูเ่ ดนิ แบบ ๒๔
ประมวลภาพกจิ กรรม ๔๘
ภาพถา่ ยรวมชดุ ผ้าไหมพฒั นาการอำ�เภอ ๕๘

เสน่ห์ไหมบรุ ีรัมย์ ๐๕

สบื สานต�ำ นานไหมบรุ ีรัมย์ใตร้ ่มพระบารมี

ด้วยความก้าวหน้าการท�ำ ไหมของบุรีรัมย์ จะมีการเสด็จออกตรวจเยย่ี มการท�ำ ไหมของชาว
บรุ ีรัมยจ์ ากเจ้านายและเสนาบดีฝ่ ายในหลายคร้ัง เป็ นต้นวา่ เม่อื วนั ท่ี ๒ กมุ ภาพันธ์ พุทธศักราช
๒๔๕๐ สมเดจ็ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพเสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย ขณะเสดจ็ กลับจากการ
ตรวจราชการมณฑลอีสาน ได้แวะเย่ยี มการทำ�ไหมทห่ี น่วยเมอื งพุทไธสง และ ไดเ้ ลือกบริเวณโรง
เล้ยี งไหมท่พี ทุ ไธสง ซ่ึงกค็ อื สวนหมอ่ นพทุ ไธสง เป็ นจุดต้งั ท่พี ักของพระองค์และคณะในคราน้ัน ซ่ึง
บริเวณดงั กล่าว ไดถ้ กู ต้งั ข้นึ เป็ นหอ้ งสมดุ ประชาชนพุทไธสง และ ต่อมาถกู ร้ือออกและสร้างเป็ น
โรงพยาบาลพุทไธสงแทน

ราว ๙๕๐ ปี มาแล้วในปี พทุ ธศักราช ๒๔๔๐ ถึง ๒๔๔๕ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ประเทศสยามไดส้ ่งั ซ้ือเครื่องแพรไหมจากต่างประเทศมีมลู คา่ ถงึ ๖ ลา้ น
บาทต่อปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั ทรงเหน็ วา่ หากปล่อยใหม้ ีการส่งั ซ้ือ
แพรไหมจากต่างประเทศเชน่ น้ีทกุ ปี ประเทศสยามจะเสยี เปรียบทางการคา้ กับตา่ งประเทศอยู่ร่ำ�
ไป จึงทรงมีพระราชด�ำ ริใหม้ ีการสง่ เสริมการผลติ ผ้าไหมข้นึ ใชเ้ องในประเทศ โดยยกฐานะแผนก
ใหม่ในกระทรวงเกษตราธิการข้นึ เป็ น กรมชา่ งไหม และทรงโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มใหก้ รม
หม่นื พชิ ยั มหติ โรดม ข้ึนเป็ นอธิบดี เนื่องจากพระองค์ทรงเหน็ วา่ พระราชโอรสทรงจบการศึกษา

๐๖ เสน่ห์ไหมบรุ รี ัมย์

จากภาควชิ าการเกษตรจากโรงเรียน Wellington Hall ทม่ี ีชอ่ื เสยี งของประเทศองั กฤษ และไดจ้ ้าง
ผู้เชี่ยวชาญไหมชาวญ่ีป่ ุนมาทำ�การทดลองปลูกหม่อนเล้ียงไหมข้ึนคร้ังแรกท่ีตำ�บลทุ่งศาลาแดง
กรุงเทพมหานคร ในปี พทุ ธศักราช ๒๔๔๑ ถึงปี ๒๔๔๘ มีการจัดต้งั สถานีเล้ยี งหมอ่ นปลูกไหม
ข้นึ ท่บี รุ ีรัมย์ โดยต้ังโรงเล้ยี งไหมข้นึ ณ ที่วา่ การอำ�เภอและศาลาวดั ในพ้นื ทท่ี ่มี ีการปลกู หม่อน
เลย้ี งไหม เชน่ บ้านนาโพธ์ิ และกรมชา่ งไหมได้สง่ พนักงานเข้าไปประจำ�ทกุ อําเภอเพอ่ื ตอ่ ยอดให้
กุลบตุ ร กลุ ธิดา เรียนรู้วธิ ีอนั ทันสมัย มีการจัดต้งั หน่วยเล้ยี งไหมทเ่ี มอื งพุทไธสง และ เมืองบรุ ีรัมย์
มนี ายโกโยตา และนายอสิ ติ า ชาวญ่ปี ่ ุน เข้ามาจัดต้งั โรงเล้ยี งไหมข้นึ ทเ่ี มืองพทุ ไธสง ท�ำ ใหก้ ารท�ำ
ผา้ ไหมของท้งั ๒ หน่วย ประสบความส�ำ เร็จเป็ นอยา่ งมาก ในปี พทุ ธศักราช ๒๔๕๑ กรมชา่ งไหม ได้
ยา้ ยการทดลองเล้ยี งไหมจากกรุงเทพฯ มาสมทบกับหน่วยเล้ยี งไหมในมณฑลอีสาน และใหแ้ ตล่ ะ
หน่วยข้นึ ตรงต่อหน่วยเมืองบุรีรัมย์ จึงท�ำ ใหเ้ มอื งบุรีรัมยม์ ีชอ่ื เสยี งนับแต่น้ันเป็ นต้นมา
ราวปี พทุ ธศักราช ๒๔๕๓ กรมหม่นื พิชยั มหติ โรดม อธิบดกี รมชา่ งไหม ได้ทรงเสดจ็ ทาง
เกวยี นมาตรวจเยย่ี มการทำ�ไหมทบ่ี รุ ีรัมย์ ขณะเดนิ ทางมาบุรีรัมย์ พระองค์ประทับแรมในเกวยี น
มาตลอดทาง ท่ามกลางบรรยากาศยามค�ำ่ คนื เงียบเหงาทำ�ใหพ้ ระองค์ทรงหวนคดิ ถึงความรักท่ี
ไมส่ มประสงค์กบั เจ้าชน่ื ชม ธิดาของเจ้านครเชยี งใหม่ จึงทรงแตง่ “เพลงลาวด�ำ เนินเกวยี น” ข้ึนซ่ึง
มีเน้ือหาทว่ งท�ำ นองอันไพเราะจับใจ ซ่ึงจากการรอนแรมดงั กล่าวทำ�ใหพ้ ระองค์ทรงพระประชวร
และสน้ิ พระชนม์ด้วยพระชนมายุเพยี ง ๒๘ พรรษา ปั จจุบนั จึงเรียกขานชอ่ื เพลงดงั กล่าววา่ “เพลง
ลาวดวงเดอื น” จึงนับวา่ เพลงลาวดวงเดือนมเี กย่ี วพนั กับไหมบุรีรัมยแ์ ต่น้ันมา
ในปี พทุ ธศักราช ๒๔๕๖ การเลย้ี งไหมในจังหวดั บรุ ีรัมยไ์ ด้ชะงกั ลง เน่ืองจากไหมเกิด

โรคระบาด รัฐบาลขาดงบประมาณและเกดิ สงครามโลกคร้ังท่ี ๒ จนกระท่งั ปี พุทธศักราช ๒๕๐๐

รัฐบาลจึงจัดตัง้ สถานีเลย้ี งไหมข้นึ ท่จี ังหวดั บรุ ีรัมยอ์ ีกคร้ัง ท�ำ ใหม้ กี ารปลกู หม่อนเลย้ี งไหมกนั อยา่ ง
แพร่หลาย ในจังหวดั บุรีรัมย์เร่ือยมา
ในปี พทุ ธศักราช ๒๕๑๘ มกี ารรวมกลมุ่ ทอผ้าไหม จัดต้งั กล่มุ สตรีอาสาทอผ้าไหมข้นึ ท่ี
บ้านนาโพธ์ิ อำ�เภอนาโพธ์ิ จังหวดั บุรีรัมย์ กลมุ่ มีฝี มือทอผา้ ไหมไดล้ วดลายประณีตสวยงาม จึงได้
รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ ในรัชกาลท่ี ๙ ทรงรับ

เข้าเป็ นสมาชกิ มูลนิธิสง่ เสริมศิลปาชพี ในพระองค์ และ จัดสง่ ผชู้ �ำ นาญการทางผ้าไหมมาฝึ กย้อม
เทคนิคการฟอกและการทอให้ อกี ท้งั ยงั สง่ มอบเงินจำ�นวน ๙๐,๐๐๐ บาท ใหจ้ ัดสร้างโรงทอผ้าไหม
บนท่ดี ินของนางประจวบ จันทร์นวล ประธานกลุ่ม เพอ่ื ควบคุมคณุ ภาพการทอ นอกจากน้ี สมเด็จ
พระนางเจ้าสริ ิกิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ ในรัชกาลท่ี ๙ ยงั ทรงรับเอา กล่มุ ทอผ้าไหมบ้านล�ำ ดวน

อำ�เภอกระสงั และ กลมุ่ ทอผา้ ไหมบ้านผไทยรวมพล อำ�เภอละหานทราย เข้ามาเป็ นสมาชกิ มลู นิธิ

สง่ เสริมศิลปาชพี ในพระองค์อีกด้วย

เสนห่ ์ไหมบรุ ีรัมย์ ๐๗

ตอ่ มาในปี พทุ ธศักราช ๒๖๓๐ ประเทศไทยไดป้ ระสบภาวะแหง้ แลง้ อยา่ งหนัก พระบาท
สมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช รัชกาลท่ี ๙ ทรงมีรับส่งั ใหส้ �ำ รวจและศึกษาขอ้ มูลพ้นื ท่ี
ทแ่ี หง้ แลง้ ทส่ี ดุ ของประเทศไทย จึงพบวา่ อำ�เภอนาโพธิ์เป็ นพน้ื ท่แี หง้ แล้งท่สี ดุ ของประเทศไทย ณ
ขณะน้ัน และต่อมา สมเด็จพระเทพพระรัตนราชสดุ าสยามบรมราชกมุ ารี ทรงรับเอาพน้ื ทอ่ี �ำ เภอ
นาโพธ์ิไวใ้ นโครงการสว่ นพระองค์ เพอ่ื ทรงด�ำ เนินการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของราษฎร ทรงเสดจ็
เย่ยี มราษฎรอ�ำ เภอนาโพธ์ิ ในหว้ ง ๘ ปี ถึง ๕ คร้ัง และทรงรับเอาศูนยห์ ตั ถกรรมพ้นื บา้ น อ�ำ เภอ
นาโพธ์ิ ซ่ึงมฝี ี มอื การทอผ้าไหมท่มี ีชอ่ื เสยี ง เป็ นแผนงานหน่ึง ในโครงการสว่ นพระองค์

ดว้ ยพระมหากรุณาธิคุณดงั กล่าว จึงท�ำ ใหผ้ ้าไหมบรุ ีรัมย์ ไดร้ ับการสง่ เสริมพัฒนา
อย่างจริงจังต่อเน่ืองจนกระท่งั ปั จจุบัน จนมีความประณีตสวยงามมชี อ่ื เสยี งมีคณุ ภาพ เป็ นท่ี
ยอมรับท้งั ในและต่างประเทศ มีรายไดจ้ ากการจำ�หน่ายผ้าไหมไมน่ ้อยกวา่ ๓๐๐ ล้านบาทต่อปี

ชาวบรุ ีรัมย์จึงด�ำ รงชวี ติ ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ พอเพยี งทา่ มกลางภูมิปั ญญาขนบธรรมเนียมและ
วฒั นธรรม ประเพณีทีห่ ลากหลายไดอ้ ยา่ งลงตวั
เนื่องจากจังหวดั บุรีรัมย์ มีชนหลายเชอื้ ชาติ ท้งั ไทยบรุ ีรัมย์ ชาวเขมร สว่ ยลาว และ
ไทนางรอง ท�ำ ใหล้ วดลายของผ้าไหมทใ่ี ชใ้ นชวี ติ ประจำ�วนั ของผา้ ไหม มคี วามแตกต่างกนั
เป็ นต้นวา่ คนไทยบุรีรัมย์เชอ้ื สายเขมรและสว่ ยอาศัยอยบู่ ริเวณอ�ำ เภอเมือง บา้ นด่าน หว้ ยราช
กระสงั ประโคนชยั นิยมผา้ ลายหางกระรอก ซ่ึงเป็ นผ้าท่ที อสง่ กรุงศรีอยธุ ยา ซ่ึงใชเ้ ป็ นเบย้ี หวดั
ส�ำ หรับขา้ ราชบริพาร และผ้าหางกระรอกน้ัน ได้รับการประกาศเป็ นผา้ ลายเอกลกั ษณ์จังหวดั
บรุ ีรัมยเ์ ม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๔๖

คนไทยบุรีรัมย์เชอื้ สายลาวอาศัยอยบู่ ริเวณอ�ำ เภอนาโพธ์ิ พุทไธสง บ้านใหมไ่ ชยพจน์
แคนดง นิยมผ้าซ่ินตีนแดง ซ่ึงเป็ นผา้ ท่เี ชอ่ื กันวา่ นิยมสวมใสใ่ นค้มุ พระยาเสนาสงคราม
เจ้าเมอื งพุทไธสงคนแรก ซ่ึงเกือบจะสญู ไป แตด่ ว้ ยความสวยงามและโดดเด่นของ สสี นั และรูป
แบบของผา้ ซ่ินตนี แดง ซ่ึงทอท้งั ผืน โดยไม่ไดเ้ ยบ็ ต่อหวั ซ่ินตนี ซ่ิน ภายหลงั ได้เกิดความนิยมขยาย
ไปท่วั ท้งั จังหวดั บรุ ีรัมย์ ซ่ึงเกอื บทุกบ้านต้องมไี วป้ ระจำ�บา้ นและผา้ ซ่ินตีนแดงไดร้ ับการประกาศ
เป็ นผา้ ลายเอกลักษณ์จังหวดั บุรีรัมย์เม่อื ปี ๒๕๔๖ และคนไทยบุรีรัมย์เชอ้ื สายโคราชซ่ึงเรียกตัว

เองวา่ ไทยนางรอง อาศัยอยู่บริเวณอ�ำ เภอนางรอง ไมน่ ิยมผา้ ไหมลวดลายใดเป็ นการเฉพาะ

๐๘ เสนห่ ์ไหมบรุ ีรัมย์

จากความนิยมผ้าไหมลายเอกลกั ษณ์ของชาวบรุ ีรัมย์ซ่ึงมคี วามแตกตา่ งกนั จึงทำ�ใหก้ าร
พฒั นาผ้าไหมบรุ ีรัมยข์ าดความเป็ นเอกภาพ ตอ่ มาจังหวดั บรุ ีรัมย์ ได้มกี ารพฒั นาผา้ เอกลักษณ์
ประจำ�จังหวดั บรุ ีรัมย์ข้นึ มาใหม่ เม่ือปี พทุ ธศักราช ๒๕๕๖ โดยผสมผสานอัตลักษณ์ของผา้
เอกลักษณ์ เดิมคอื ผ้าลายหางกระรอกคู่และผา้ ซ่ินตีนแดง เป็ นผ้าลายเอกลกั ษณ์ใหม่ ทเ่ี รียก
วา่ “ผ้าหางกระรอกคู่ตนี แดง” ซ่ึงเป็ นท่นี ิยมอย่างแพร่หลายของชาวบรุ ีรัมย์ท่วั ท้งั จังหวดั
ทกุ เชอ้ื ชาติ นับแต่น้ันเป็ นต้นมา จังหวดั บุรีรัมยไ์ มเ่ คยหยุดย้งั การผลติ ผา้ ไหม จึงได้มกี าร
ออกแบบรวมท้งั ได้คิดค้นลายผา้ ไหมใหม่ๆอยูเ่ สมอ เชน่ ลายผังพนม โดยมอี าจารย์สมบัติ
ประจญสานส์ จากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จังหวดั บุรีรัมย์เป็ นผู้ออกแบบ ไดน้ ำ�ภาพผังพ้นื ประสาท
องคป์ ระธานของปราสาทพนมรุ้งมาออกแบบประยกุ ตเ์ ป็ นลายผ้าไหมก่วย
และในปี พุทธศักราช ๒๕๕๗ จังหวดั บรุ ีรัมยไ์ ด้กำ�หนดวสิ ยั ทัศน์ไหมบรุ ีรัมย์ คือ “ไหม
พน้ื บ้านสสู่ ากล ม่งุ ผลติ ไหมปลอดภยั และ เป็ นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม” มกี ารสง่ เสริมการฟอกยอ้ ม
ดว้ ยสคี ณุ ภาพอย่างจริงจัง มุ่งผลติ เป็ นของฝากของท่รี ะลึก รองรับนักท่องเทย่ี ว และยกระดับ
หม่บู า้ น ทีม่ กี ารผลิตไหมครบวงจรจำ�นวน ๖ หมบู่ ้าน ใน อำ�เภอพุทไธสง อำ�เภอนางรอง อำ�เภอ
เมอื งบุรีรัมย์ และ อ�ำ เภอหว้ ยราช เป็ นหมู่บ้านท่องเที่ยวผลิตภณั ฑไ์ หม เปิ ดชอ่ งทางการจำ�หน่าย
ผลิตภณั ฑไ์ หม ท่กี ลมกลืนกบั วถิ ีชวี ติ ชมุ ชน ซ่ึงนักท่องเทีย่ วสามารถสมั ผสั กบั วถิ ีชวี ติ การปลกู
หม่อนเล้ยี งไหม และการทอผา้ ไหมด้วยตนเอง ซ่ึงล้วนเป็ นกล่นิ อายทางวฒั นธรรมแตโ่ บราณ
ทช่ี าวบรุ ีรัมย์ทุกเชอื้ สายยงั คงอนุรักษส์ บื ต่อกันมา แตโ่ บราณ

เสน่ห์ไหมบรุ ีรัมย์ ๐๙

ต�ำ นานผ้าเอกลักษณ์ประจำ�จังหวดั บรุ ีรัมย์

จังหวดั บุรีรัมยต์ ้ังอยบู่ นเสน้ ทางอารยธรรมขอมแตโ่ บราณ ในอดีตสมยั กรุงศรีอยุธยาถงึ
สมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น จังหวดั บุรีรัมย์เป็ นหวั เมืองทส่ี �ำ คญั ๔ หวั เมอื ง ซ่ึงแตล่ ะหวั เมือง
จะมผี คู้ นทอ่ี พยพย้ายถ่นิ ฐานมาจากหลายแหง่ มีชาตพิ นั ธ์ุที่ส�ำ คญั ๆ แบง่ เป็ น ๔ ชาตพิ นั ธุ์ ไดแ้ ก่
เมอื งตลงุ ต้งั อยู่บริเวณอ�ำ เภอประโคนชยั ในปั จจุบัน ผ้คู นสว่ นใหญ่เป็ นชาติพนั ธ์ุเขมรและกยู
เมอื งนางรอง ต้งั อยู่บริเวณอ�ำ เภอนางรองในปั จจุบนั ผูค้ นสว่ นใหญ่เป็ นชาตพิ ันธุ์ไทยเด้งิ
เมอื งพทุ ไธสง ต้งั อยบู่ ริเวณอำ�เภอพทุ ไธสงในปั จจุบัน ผคู้ นสว่ นใหญ่เป็ นชาติพนั ธุ์ลาว
เมอื งแปะ ต้งั อยู่บริเวณอำ�เภอเมอื งบรุ ีรัมยใ์ นปั จจุบัน ผคู้ นสว่ นใหญเ่ ป็ นเขมร
จากความหลากหลายชาตพิ นั ธ์ุ ทม่ี ีภูมปิ ั ญญาการทอผา้ ตดิ ตวั มาดว้ ย ซ่ึงลวดลายท่ี
ทอเป็ นผืนผ้า ท่แี สดงถึงเอกลกั ษณ์หรือตวั ตนแหง่ ชาติพนั ธ์ุ ทบ่ี ่งบอกถงึ พฤตกิ รรม ความเชอ่ื
สง่ิ แวดล้อม และ วถิ กี ารด�ำ รงชวี ติ ทแ่ี สดงผ่านลวดลายบนผนื ผา้ เอกลักษณ์ทส่ี �ำ คญั ของชาติพนั ธุ์
ผู้คนจังหวดั บรุ ีรัมย์ในแตล่ ะพน้ื ท่ี ได้แก่
ผา้ หางกระรอก เป็ นผา้ เอกลักษณ์ ของ ชาตพิ ันธุ์ไทเดง้ิ หรือไทยนางรอง เป็ นผา้ ท่ที อ
เสน้ พุ่งดว้ ยเสน้ ไหมควบหรือเสน้ ไหมตเี กลยี วตา่ งสี ๒-๓ เสน้ เสน้ ไหมท่คี วบแลว้ จึงเป็ นเสน้ ประ
เล็กๆ เม่อื ทอเป็ นผืนผา้ แลว้ จะปรากฏเป็ นเสน้ ประเลก็ ๆกระจาย คล้ายลายคล่นื เลก็ ๆ ท่ัวผนื ผา้
ท�ำ ใหแ้ ลดนู ุ่มฟรู าวปุยขนของหางกระรอก ซ่ึงผ้าหางกระรอกยังเป็ นทน่ี ิยมของชาตพิ ันธ์ุเขมร

อีกดว้ ย มักนิยมใชเ้ ป็ นผา้ นุ่ง ผ้าโจงกระเบน ปั จจุบนั มีการทอผลติ น้อยลง แตย่ งั คงมกี ารทอใน
พน้ื ทอ่ี �ำ เภอหว้ ยราช กระสงั และเมอื งบุรีรัมย์

๑๐ เสนห่ ์ไหมบุรรี ัมย์

ผ้าหางกระรอกคู่ เป็ นผ้าลายร้ิว ทส่ี ร้างลวดลายดว้ ยเสน้ ไหมต่างสี หรือ เสน้ ไหมพิเศษ
ทางเสน้ พ่งุ โดยทอเสน้ พ่งุ ด้วยไหมควบ ๒ เสน้ สลับกับการทอดว้ ยเสน้ ไหมสพี ้นื ชว่ งละ ๒ เสน้ ๔
เสน้ ตามแบบแผน เม่ือเป็ นผืนผา้ จึงมีความสวยงามเป็ นมนั วาว ชาติพันธ์ุเขมรบุรีรัมยแ์ ละเขมร
กมั พูชานิยมใชม้ าแต่โบราณ ชาวบุรีรัมยเ์ รียกวา่ ผ้าสมปั กร้ิวหรืออนั ลยู ซึมจ๊ะปั นชวั ร์ ซ่ึงมีมา
ต้งั แตส่ มัยอยุธยา ใชเ้ ป็ นเบีย้ หวดั ส�ำ หรับขา้ ราชบริพาร จะสวมใสผ่ า้ พระราชทานน้ีในโอกาส
ส�ำ คัญๆ โดยจะนุ่งผา้ อน่ื มาจากบ้านกอ่ น และ ใหน้ ายหน้าหอถอื ผ้าใสพ่ านเดินตาม เมื่อถึงเขต
พระราชฐานจึงจะเปล่ยี นนุ่งผา้ นี้แทน และจากการท่มี รี ูปแบบการทอทเ่ี ป็ นแบบแผน ผู้ทอมัก
เลือกใชเ้ สน้ ไหมขนาดเลก็ ทม่ี คี วามสม�ำ่ เสมอเป็ นพิเศษ จึงท�ำ ใหผ้ า้ มีความสวยงามมันวาวท้งั ผืน
เป็ นทน่ี ิยมสวมใสข่ องชาวบุรีรัมย์ชาติพันธุ์เขมร
เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๕ จังหวดั บุรีรัมย์ จึงไดเ้ ลอื กผ้าลายร้ิวน้ีเป็ นผา้ ลายเอกลักษณ์ประจำ�
จังหวัดบุรีรัมย์โดยเรียกช่ือตามกระบวนการผลิตว่า“ผ้าลายหางกระรอกคู่”ซ่ึงเป็ นผ้า
เอกลักษณ์ประจำ�จังหวดั บุรีรัมย์รูปแบบแรกและเม่อื ปี ๒๕๔๗ ได้ปรับปรุงสขี องผา้ ใหส้ ามารถ
แสดงความเป็ นอัตตลกั ษณ์ของจังหวดั บรุ ีรัมย์มากข้นึ โดยก�ำ หนดเน้ือผา้ เป็ นลายตารางเลก็ ๆ
เป็ นเมด็ ทรายในเนื้อผา้ ดว้ ยการทอผ้า ๒ หน้า ใชโ้ ทนสหี นิ ทรายชมพขู องปราสาทพนมรุ้ง
เรียกวา่ “ผ้าอนั ลูยซีมทรายชมพ”ู ปั จจุบนั ได้มีการพัฒนาสผี ้าลายหางกระรอกคู่ใหม้ ีความ
หลากหลาย สวยงาม นิยมนำ�ไปตดั เป็ นเสอื้ บุรุษ ชดุ สตรี และแปรรูปเป็ นของใช้ ของฝาก ของท่ี
ระลกึ พ้นื ท่ที ม่ี ีการผลติ มาก ได้แก่ อ�ำ เภอกระสงั และอำ�เภอหว้ ยราช

เสนห่ ์ไหมบุรีรัมย์ ๑๑
ผ้าซ่ินตีนแดงหรือผ้าหัวแดงตีนแดงเป็ นผ้าท่ีพบในกลุ่มชาติพันธ์ลาวท่ีอยู่ในพ้ืนที่เดียว
กับชาติพนั ธุ์กยู เชอ่ื วา่ เกดิ ในสมัยทวาราวดี พบคร้ังแรกประมาณ ๒๐๐ ปี มาแลว้ ในสมยั
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ของราชวงศ์จักรี เดมิ เรียกวา่ “ผา้ มดั หม่ี
ลายขอทาสตนี ปูม” ผลติ โดยชา่ งฝี มอื ทอผ้าในคมุ้ ของพระยาเสนาสงคราม (เจ้าเมืองพทุ ไธสง
คนแรก ) ท่บี ้านศรีษะแรตและบ้านมะเฟื อง อ�ำ เภอพุทไธสง จังหวดั บรุ ีรัมย์ มีเอกลักษณ์เฉพาะ
ตวั คอื ทอดว้ ยไหมท้งั ผนื หวั ซิ่นและตีนซิ่นเป็ นสแี ดงสด (สปี ูม) ตอนกลางของผ้าจะเป็ นลายมดั
หม่ี เรียกวา่ “หมข่ี อ” นิยมใชส้ ดี �ำ สนี ำ้�ตาลเขม้ หรือเหลือบทอง มเี ม็ดมะขาม ทอเป็ นผนื เดยี วกนั
ไมใ่ ชก้ ารตดั ตอ่ ระหวา่ งตวั ซ่ิน หวั ซ่ินและตีนซิ่น
สมัยโบราณมกั ใหห้ ญิงสาววยั แรกรุ่นสวมใส่ เพราะมีสสี ดใสมาก ตอ่ มาได้ปรับปรุงการ
ทอส�ำ หรับผูใ้ หญ่ เน่ืองจากเป็ นผ้าท่มี ีสแี ดงสดใสทหี วั ซิ่น ตนี ซิ่น จึงมคี วามโดดเด่นสวยงาม
เป็ นทส่ี ะดดุ ตา ปั จจุบนั จึงเป็ นผา้ ทีช่ าวบุรีรัมยน์ ิยมอยา่ งกวา้ งขวาง ผลติ มากทอ่ี �ำ เภอพุทไธสง
นาโพธ์ิ บา้ นใหมช่ ยั พจน์ แคนดง คเู มือง ซ่ึงชาวบรุ ีรัมยท์ ุกชาติพันธุ์นิยมสวมใส่ จะมีไวป้ ระจำ�
ทกุ บา้ น ผา้ ซิ่นตีนแดงจึงได้รับการยอมรับเป็ น “ผ้าเอกลกั ษณ์ประจำ�จังหวดั บรุ ีรัมย์” ต้งั แต่
ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็ นตน้ มา จึงเป็ นผา้ เอกลักษณ์ประจำ�จังหวดั บุรีรัมยร์ ูปแบบท่ี ๒
ปั จจุบนั ผ้าซิ่นตนี แดง เป็ น OTOP ทีม่ ีชอ่ื เสยี งของจังหวดั บรุ ีรัมย์ มยี อดจำ�หน่ายสงู เป็ นท่ี
นิยมกระจายไปยังพ้นื ทอ่ี ่นื ๆทกุ ภมู ิภาค
ผา้ ซ่ินกว่ ย เป็ นผา้ ลายร้ิวขนาดใหญ่ เป็ นการทออยา่ งมแี บบแผน สร้างลวดลายด้วยเสน้
ไหมทางพ่งุ มักนิยมใชส้ นี ำ�ตาลเข้ม แดงเข้ม สดี �ำ เป็ นผา้ เอกลักษณ์ของชาตพิ ันธ์ุกยู ปั จจุบนั
มกี ารทอน้อยลง จะเหน็ ไดว้ า่ รูปแบบของผ้าจากภูมปิ ั ญญาของแต่ละชาตพิ ันธุ์ ยังมคี วาม
เก่ยี วโยงสมั พนั ธ์กัน เชน่ ผา้ หางกระรอกคู่มีความเป็ นผา้ หางกระรอกอย่ดู ้วย ผา้ ซ่ินกว่ ย มี
ความเป็ นผ้าลายริ้วของผ้าหางกระรอกคู่อยู่ด้วย ผา้ ซ่ินตีนแดง ซ่ึงมีมัดหม่ที ต่ี ีนซ่ินของความ
เป็ นซ่ินก่วย อยูด่ ว้ ย แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความเก่ยี วโยงทางภูมสิ งั คม ของชาตพิ ันธ์ุต่างๆในเสน้ ทาง
อารยธรรมขอมได้อย่างชดั เจน

๑๒ เสนห่ ์ไหมบรุ รี ัมย์
จากผ้าลายเอกลักษณ์เดมิ สผู่ ้าลายเอกลกั ษณ์ใหม่
จากความหลากหลายและโดดเด่นของผ้าทอมือบุรีรัมย์ จึงทำ�ใหผ้ ้าทอมอื จังหวดั บุรีรัมย์
มีชอ่ื เสยี งไดร้ ับความนิยมอย่างแพร่หลาย แต่ชาวบุรีรัมย์ ก็ยงั คงมีการพัฒนาผ้าทอมืออยา่ ง
ตอ่ เน่ือง แต่การพฒั นาผ้าเป็ นไปอย่างไม่มีเอกภาพ เน่ืองจากมีหลากหลายหลายชาติพันธุ์
ผา้ ของบางชาติพันธุ์มโี อกาสทางการตลาดสงู ผ้าบางชาติพันธุ์มีโอกาสทางการตลาดน้อย
เพ่ือให้การพัฒนาผ้าเอกลักษณ์จังหวัดบุรีรัมย์เป็ นไปอย่างมีเอกภาพเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
และสามารถกระจายการผลิตและกระจายรายไดแ้ ก่คนท้งั จังหวดั อย่างเท่าเทยี มกัน
ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ จังหวดั บุรีรัมย์ โดยส�ำ นักงานพฒั นาชมุ ชนจังหวดั บุรีรัมย์ จึงได้จัดให้
ภมู ปิ ั ญญาทอผ้าเอกลกั ษณ์ฝี มือดีของท้งั ๔ ชาตพิ นั ธุ์ ร่วมกบั หน่วยงานราชการท่เี กย่ี วข้อง
ร่วมกนั ออกแบบผ้าลายเอกลกั ษณ์ใหม่ โดยผสมผสานความเป็ นเอกลักษณ์ ของทกุ ชาติพันธ์
รวมเป็ นหน่ึงเดยี ว ใหแ้ สดงความเป็ นบรุ ีรัมยไ์ ด้อย่างสอดคลอ้ งสวยงาม โดยมีส�ำ นักงานพฒั นา
ชมุ ชนจังหวดั บุรีรัมยเ์ ป็ นเจ้าภาพหลักในการสง่ เสริม สนับสนุน และ ประสานงาน โดยนำ�
จุดเดน่ ของผา้ ลายหางกระรอกคู่ ซ่ึงมีความเป็ นผา้ หางกระรอกรวมอยูด่ ว้ ย ผสมผสานกับจุด
เดน่ ของหวั ซิ่นตนี ซ่ินสแี ดงสดของผา้ ซ่ินตนี แดง ซ่ึงมคี วามเป็ นเอกลกั ษณ์ของซิ่นก่วยรวมอยู่
ดว้ ย เป็ นรูปแบบของผา้ ลายเอกลักษ์จังหวดั บุรีรัมย์ รูปแบบท่ี ๓ เรียกชอ่ื วา่ “ผา้ หางกระรอกคู่
ตนี แดง” ซ่ึงได้รับความนิยมสวมใสอ่ ย่างแพร่หลายทุกวยั ทกุ หมู่เหลา่ กระจายไปในทกุ อำ�เภอ
โดยออกแบบเป็ น ๓ รูปแบบ ได้แก่

ผา้ ไหมหางกระรอกคตู่ นี แดง ก�ำ หนดรหสั บร ๐๑ ผูร้ ิเร่ิมคิดค้นออกแบบและผลิตเป็ น
ผ้าตน้ แบบคร้ังแรก เม่อื เดอื นตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๕ โดย นางสงวน มโี ชค ภูมิปั ญญาการทอผ้า
ไหมท่ฝี ี มอื ดีของอ�ำ เภอกระสงั จังหวดั บุรีรัมย์ โดยการนำ�อัตลกั ษณ์ทโ่ี ดดเดน่ ของ “ผา้ ลายหาง
กระรอกค”ู่ เปรียบเป็ น ผ้าพอ่ และ “ผา้ ซ่ินตนี แดง”เปรียบเป็ น ผา้ แม่ มาผสมผสานเป็ นลาย
ใหม่ ที่ยังคงความเป็ นผ้าลายร้ิวของลายหางกระรอกคู่ ตามแบบวฒั นธรรมเขมรทส่ี อ่ื ถงึ เสน้
ทางแหง่ ความเจริญรุ่งเรือง และตนี ซ่ินสแี ดงสดแบบผา้ ซิ่นตีนแดงตามแบบวฒั นธรรมลาว ที่
สอ่ื ถงึ ความเจริญรุ่งเรือง และ ม่งั ค่งั รวมถงึ สที รายชมพูของหนิ ทส่ี ร้างปราสาทพนมรุ้ง ท่สี อ่ื ถึง
ความเป็ นศิริมงคล และ การปกปั กรักษาจากสงิ่ ศักด์สิ ทิ ธ์ิของผทู้ ไ่ี ด้สวมใส่ อยา่ งเหมาะสม ผา้
ชนิดน้ีมเี ฉพาะลายริ้วลว้ นๆ ไมม่ ลี ายมัดหม่บี นผืนผา้ เน่ืองจากไดร้ ับเหน็ ชอบจากท่ปี ระชมุ คณะ
ผูอ้ อกแบบลาย ใหผ้ ลติ ข้ึนกอ่ นผา้ ลายเอกลักษณ์ใหม่รูปแบบอ่นื และ เป็ นทีน่ ิยมของบุรุษ จึงได้
ฉายาวา่ “ผา้ ลูกชายคนโต”

เสนห่ ์ไหมบุรีรมั ย์ ๑๓
ผ้าไหมมดั หมหี่ างกระรอกคู่ตนี แดง ก�ำ หนดรหสั บร ๐๒ เป็ นผา้ ลายเอกลักษณ์ใหม่
จังหวดั บรุ ีรัมย์ ท่เี ร่ิมคิดคน้ ออกแบบเป็ นผา้ ต้นแบบคร้ังแรก เมื่อเดือนตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๕ โดย
คณุ แมด่ อกไม้ และ นางวไิ ลกร พรไธสง บตุ รสาว ภูมปิ ั ญญาการทอผ้าไหมฝี มือดขี องอ�ำ เภอ
นาโพธ์ิ จังหวดั บุรีรัมย์ โดยใหอ้ อกแบบลายมัดหม่บี นผืนผ้าเป็ นลายดอกบวั แปดกลีบ-ลาย
จำ�หลักท่อี ยู่บนพน้ื ทางข้นึ ปราสาทพนมรุ้ง แต่เน่ืองจากลายดังกลา่ วมีความโค้งละเอียด จึง
มัดหม่ไี ดย้ าก ผอู้ อกแบบจึงประยกุ ตม์ ัดหม่เี ป็ นลายดอกฝ้ ายค�ำ ทเ่ี บง่ บานบนปราสาทพนมรุ้ง
ทกุ ปี แทน มลี กั ษณะใกล้เคียงกบั ดอกบัวแปดกลีบเชน่ กัน และยงั คงสที รายชมพขู องหนิ ทส่ี ร้าง
ปราสาทพนมรุ้งที่สอ่ื ถึงความเป็ นศิริมงคลและการปกปั กรักษาจากสงิ่ ศักด์สิ ทิ ธ์ิ ซ่ึงท�ำ ใหผ้ นื ผา้
สวยงามดอู ่อนหวานข้นึ ทำ�ใหเ้ ป็ นทีน่ ิยมของสตรี จึงฉายาวา่ “ผา้ ลกู สาว”
ผา้ ดา้ ยหางกระรอกค่ตู นี แดง ก�ำ หนดรหสั บร ๐๓ เป็ นผ้าลายเอกลักษณ์ใหมจ่ ังหวดั
บุรีรัมย์ ทเ่ี ร่ิมออกแบบคิดคน้ และผลิตเป็ นผา้ ต้นแบบคร้ังแรก เม่อื เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕
โดยนางส�ำ เริง โกฏิรัมย์ ภมู ปิ ั ญญาการทอผ้าไหมท่ฝี ี มอื ดีของบ้านสนวนนอก อ�ำ เภอหว้ ยราช
จังหวดั บรุ ีรัมย์ ทอดว้ ยดา้ ยมเี ฉพาะลายร้ิวไมม่ ลี ายมดั หม่บี นผนื ผ้า แบบแผนการทอเหมือนกับ
บร ๐๑ และ ไดผ้ ลิตข้นึ ภายหลังผ้า บร ๐๑ และ ๐๒ เพื่อใหผ้ ูบ้ ริโภคมที างเลือกซ้ือผ้าในราคา
ไม่แพง จึงเป็ นที่นิยมอย่างกวา้ งขวาง ฉายาวา่ “ผา้ ลูกชายคนเลก็ ”
ปั จจุบนั ผา้ ลายเอกลักษณ์ใหม่ บร ๐๑ ๐๒ ๐๓ มกี ารพัฒนาการทอและสสี นั ต่างๆอยา่ ง
สวยงามหลากหลายตามความต้องการของผู้ซ้ือและหน่วยงานซ่ึงสามารถสร้างรายได้ให้
ภูมปิ ั ญญาทอผ้าชาวบรุ ีรัมยม์ ีรายไดแ้ ละมีคุณภาพชวี ติ ท่ดี ขี ้นึ อยา่ งย่งั ยนื

นอกจากผ้าเอกลักษณ์ประจำ�จังหวดั ดังกล่าว จังหวดั บุรีรัมยย์ ังมีผ้าทีม่ เี อกลักษณ์ประจำ�
ถน่ิ อีกหลายชนิดท่ชี าวบรุ ีรัมย์ภาคภมู ใิ จ เป็ นต้นวา่
ผ้าภอู ัคนี บา้ นเจริญสขุ อ�ำ เภอเฉลิมพระเกยี รติ ซ่ึงย้อมจากดินภูเขาไฟองั คาร
เป็ นภเู ขาไฟทด่ี บั สนิทแลว้ ๑ ใน ๖ ลกู ของจังหวดั บรุ ีรัมย์
ผา้ ไหมเปลือกนอก บา้ นหนองตาไก้ อ�ำ เภอนางรอง
ผา้ บารายพนั ปี บา้ นโคกเมอื ง อำ�เภอประโคนชยั ซ่ึงยอ้ มสจี ากเปลือกไม้หรือสธี รรมชาติ
แลว้ นำ�หมกั โคลนจากสระนำ�้ ดินแดนถน่ิ ปราสาทขอมโบราณ “ปราสาทเมืองตำ�่ ” อายรุ าว
๑,๐๐๐ ปี ทน่ี ำ�้ ไม่เคยเหอื ดแหง้
ผา้ ลายผกั กดู บา้ นโคกเมอื ง อำ�เภอประโคนชยั
ผา้ ขะมา้ ขดิ ลายชา้ ง มา้ อำ�เภอหว้ ยราช เป็ นต้น

๑๔ เสนห่ ์ไหมบุรรี มั ย์

ไมว่ า่ กาลเวลาจะผนั เปลยี่ นไปเพยี งใดกต็ ามแตผ่ า้ เอกลกั ษณ์ของจงั หวดั บรุ รี มั ย์
กย็ ังคงมมี นตเ์ สน่หท์ ่อี ย่เู คียงคูก่ บั วถิ ชี วี ติ ชมุ ชนชาวบรุ ีรัมย์อยู่ตลอดไป และ พร้อม
ปรับตัวพัฒนาให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงและความต้องการของผู้บริโภค
อยู่ตลอดเวลา แตก่ ารพฒั นาในทกุ มติ ิ กย็ งั คงความเป็ นอตั ลักษณ์ท่เี ป็ นตวั ตนของ
จังหวดั บรุ ีรัมย์ ไวอ้ ยา่ งไมเ่ สอ่ื มคลาย

-----------------------------------------------

เสน่ห์ไหมบุรรี ัมย์ ๑๕

นายธัชกร หตั ถาธยากูล ผวู้ า่ ราชการจังหวดั บรุ ีรัมย์
นางธัญลกั ษณ์ หตั ถาธยากูล นายกเหล่ากาชาด
น้องขา้ วตู เด็กหญิงธัญญาภรณ์ หตั ถาธยากูล
ผา้ ไหมหางกระรอก

๑๖ เสน่ห์ไหมบรุ ีรัมย์

นายด�ำ รงชยั เนรมิตตกพงศ์ แพทย์หญิงกุสมุ า เนรมิตตกพงษ์

รองผู้วา่ ราชการจังหวดั บุรีรัมย์ รองนายกเหล่ากาชาดจังหวดั บรุ ีรัมย์
ผ้าไหมมดั หม่ตี นี แดง ผ้าไหมมัดหม่ตี นี แดง

เสนห่ ์ไหมบรุ ีรมั ย์ ๑๗

นางกัญญา จุนถิระพงศ์ นายไชยวฒั น์ จุนถิระพงศ์
รองนายกเหล่ากาชาดจังหวดั บุรีรัมย์ รองผวู้ า่ ราชการจังหวดั บรุ ีรัมย์
ผา้ ไหมตนี แดง
ผา้ ไหมตีนแดง

๑๘ เสนห่ ์ไหมบุรีรมั ย์

นายอนุพงศ์ สขุ สมนิตย์
รองผู้วา่ ราชการจังหวดั บุรีรัมย์

ผ้าลายหางกระรอกคตู่ ีนแดง

เสนห่ ์ไหมบุรรี มั ย์ ๑๙

นายจิรภัทร จันทรา
ผู้พพิ ากษาหวั หน้าศาลจังหวดั บรุ ีรัมย์

ผา้ ไหมพน้ื เรียบ

๒๐ เสนห่ ์ไหมบรุ ีรมั ย์

พล.ต.ศราวธุ มาศิริ พนั เอกหญงิ กมลชนก มาศิริ ประธานสมาคม
ผูบ้ ญั ชาการมณฑลทหารบกท่ี ๒๖ แมบ่ ้านทหารบก สาขามณฑลทหารบกท่ี 26
ผ้าไหมพ้นื เรียบ
ผ้าไหมพน้ื เรียบ

เสน่ห์ไหมบุรีรมั ย์ ๒๑

พล.ต.ต.ชาญชยั พงษพ์ ชิ ติ กุล
ผูบ้ ังคับการต�ำ รวจภธู รจังหวดั บรุ ีรัมย์

ผ้าไหมพ้นื เรียบ

๒๒ เสนห่ ์ไหมบุรีรมั ย์

นายยทุ ธนา พทิ ยานันทกุล
นายอ�ำ เภอนางรอง รักษาราชการแทนปลัดจังหวดั บรุ ีรัมย์

ผ้าไหมพ้นื เรียบ

นางบญุ ยง่ิ เทศน้อย
พัฒนาการจังหวดั บุรีรัมย์

ผา้ ไหมพน้ื เรียบ

เสน่ห์ไหมบรุ รี มั ย์ ๑๓

นายเดโช วนั ทนาพิทกั ษ์ นายกรองศักดิ์ โอยสวสั ด์ิ

หวั หน้ากลมุ่ งานยทุ ธศาสตร์การพัฒนาชมุ ชน หวั หน้ากลุ่มงานสง่ เสริมการพฒั นาชมุ ชน
ผ้าไหมมดั หม่ตี นี แดง ผ้าไหมพน้ื เรียบ

นายทองใจ ปุยไธสง นางสาวเพญ็ โฉม สแี สด
หวั หน้าฝ่ ายอำ�นวยการ
หวั หน้ากล่มุ งานสารสนเทศการพฒั นาชมุ ชน ผ้าไหมหางกระรอกคตู่ นี แดง
ผา้ ไหมพ้นื เรียบ

๒๔ เสนห่ ์ไหมบุรีรมั ย์

พันเอกทนิ กร ประสรี ะเตสงั นางเพ็ญแข ประสรี ะเตสงั คุณศิริรัตน์ ศรีจันทึก พันต�ำ รวจเอกสมั ภาษณ์ ศรีจันทกึ

รองเสนาธิการมณฑลทหารบกท่ี ๒๖ เลขาสมาคมแม่บา้ นทหารบกสาขา ภริยาผู้ก�ำ กบั การสถานีต�ำ รวจภธู รอำ�เภอสตกึ ผกู้ �ำ กบั การสถานีต�ำ รวจภธู รอ�ำ เภอสตกึ
ผ้าไหมพน้ื เรียบ มณฑลทหารบกท่ี ๒๖ ผา้ ไหมมัดหม่ี
ผา้ ไหมมดั หม่ตี นี แดง
ผา้ ไหมมัดหม่ี

นางอัจจิมา ภัณฑะประทปี พันตำ�รวจโทศักยว์ ริศ ภัณฑะประทีป คุณวรวฒุ ิ นิยมทรัพย์ นางสาวอนัญญา รัตนเกษม

ดารา-นักแสดงภริยารองผกู้ �ำ กับการสบื สวนสถานีตำ�รวจภธู รพลับพลาชยั รองผกู้ ำ�กับการสบื สวนสถานีตำ�รวจภธู รพลบั พลาชยั นางสาวนครพนมปี ๒๕๖๒
ผ้าไหมมัดหม่ี
ผา้ ไหมพน้ื เรียบ+มดั หม่ี ผา้ ไหมมัดหม่ตี ีนแดง ผ้าไหมมดั หม่ตี ีนแดง

เสนห่ ์ไหมบรุ รี มั ย์ ๒๕

คุณพัชร์นันท์ โลเ่ จริญวานิช คุณธมนพัชร์ โล่เจริญวานิช คุณปิ ยนาฎ กลางพนม คณุ สรุ พงษ์ ทิพยโ์ อสถ
เจ้าของร้านเพรชคุณหลวง
ผ้าไหมหางกระรอก เจ้าของร้านเพรชคุณหลวง ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานคณะกรรมการ รองผู้อำ�นวยการส�ำ นักงานคณะ
ผ้าไหมมัดหม่ี การเลอื กต้งั จังหวดั บุรีรัมย์ กรรมการการเลอื กต้งั จังหวดั บุรีรัมย์

ผ้าไหมมัดหม่ี ผา้ ไหมพน้ื เรียบ

คณุ สริ ิพงษ์ ววิ ฒั น์เกษมชยั คณุ สถุ ัตรา ววิ ฒั น์เกษมชยั นายสมบูรณ์ สธุ ีระกูล นางชตุ ิมา สธุ ีระกูล
พาณิยชยจ์ ังหวดั บุรีรัมย์ ท้องถ่นิ จังหวดั บุรีรัมย์ ภริยา ทอ้ งถ่นิ จังหวดั บุรีรัมย์
ผา้ ภอู คั นี ภริยาพาณิยชยจ์ ังหวดั บรุ ีรัมย์ ผา้ ไหมพน้ื เรียบ
ผ้าไหมมัดหม่ี ผ้าไหมมดั หม่ี

๒๖ เสนห่ ์ไหมบุรีรัมย์

คุณนิตยา หลว่ิ วริ ัช คุณพทั ธ์จีรา วรางวงศ์กติ ติ นางผ่องศรี ค�ำ พฑิ รู ย์ นายคารม ค�ำ พทิ ูรย

เจ้าของหา้ งทองทรงศิลป์ เจ้าของหา้ งทองกิจเจริญล�ำ ปลายมาศ นายกกง่ิ กาชาดอ�ำ เภอละหานทราย นายอำ�เภอละหานทราย
ผ้าไหมพ้นื เรียบ ผา้ ซ่ินตนี แดง ผ้าไหมพ้นื เรียบ+มดั หมี ผ้าไหมพน้ื เรียบ

นางธัญญลักษณ์ วงศ์สขุ สวสั ด์ิ นางปราณี นิเวศสวรรค์ นายกนั วลินทร์ เมอื งแก้ว คณุ กรกนกอร กณั หา
ผา้ ไหมมดั หม่ตี นี แดง
กรรมการกาชาดจังหวดั บรุ ีรัมย์ กรรมการกาชาดจังหวดั บรุ ีรัมย์ นายอำ�เภอนาโพธ์ิ

ผ้าไหมตีนแดง ผา้ ไหมพน้ื เรียบ+มดั หม่ตี ีนแดง ผ้าไหมมัดหม่ี

เสน่ห์ไหมบรุ รี ัมย์ ๒๗

นางภาลนิ ี ประสงค์ทรัพย์ นายวฒุ ินันท์ ประสงค์ทรัพย์ นางสมทรง ปุยะติ นางเบญจวรรณ ระวไี ชยวงศ์
ภริยา นายกองค์การบริหาร นายกองคก์ ารบริหารสว่ นตำ�บล คณะกรรมการพัฒนาสตรี คณะกรรมการพัฒนาสตรี
อำ�เภอประโคนชยั
สว่ นตำ�บลเยย้ ปราสาท เย้ยปราสาท อำ�เภอประโคนชยั ผ้าไหมตนี แดง
ผ้าไหมมัดหม่ี ผา้ ไหมพิมพ์ลาย ผ้าไหมตนี แดง

น.ส.อรทัย เทวอนรัมย์ นางสมปอง พวงแก้ว นางสภุ าพร กลั ยาพานิช
คณะกรรมการขับเคล่อื นกองทุน นายบุญเต็ม กลั ยาพานิช นายกก่งิ กาชาดอ�ำ เภอล�ำ ปลายมาศ
คณะกรรมการขบั เคลอ่ื น
พัฒนาสตรี จังหวดั บรุ ีรัมย์ นายอำ�เภอล�ำ ปลายมาศ ผ้าไหมมดั หม่ี
กองทุนพฒั นาสตรี จังหวดั บุรีรัมย์ ผา้ หางกระรอกคูต่ นี แดง ผ้าไหมพ้นื เรียบ
ผา้ ไหมมดั หม่ี

๒๘ เสนห่ ์ไหมบรุ ีรัมย์

นายเทิดพันธ์ ครอบทอง แพทย์หญิงภัทรี เลาติเจริญ นายอนุชา เรืองอมรววิ ฒั น์ น.ส.สปุ รียา โสประโคน
นักศึกษา
นายอ�ำ เภอโนนดินแดง ผูอ้ ำ�นวยการโรงพยาบาลอำ�เภอโนนดนิ แดง นายอำ�เภอพลบั พลาชยั
ผ้าไหมมดั หม่ตี นี แดง ผา้ ไหมพ้นื ถน่ิ (โสร่งสรัย) ผา้ ลายหางกระรอกคู่ตีนแดง หางกระรอกคู่

นายคำ�เคลอ่ื น พณะชยั นางเยาวพรรณ พณะชยั นางพรรณนิภา เต็มบณั ฑิต นางนันทยา คัมภรี าวฒั น์
นายอ�ำ เภอกระสงั นายกกง่ิ กาชาดอำ�เภอกระสงั ก่งิ กาชาดอ�ำ เภอล�ำ ปลายมาศ ก่งิ กาชาดอำ�เภอลำ�ปลายมาศ
ผา้ หางกระรอกคตู่ ีนแดง
ผา้ หางกระรอกคตู่ ีนแดง ไหมมดั หม่ลี ายสายนำ�้สฟี ้ าเทา ไหมมัดหม่ลี ายสายนำ�้ สฟี ้ าเทา

เสน่ห์ไหมบรุ รี ัมย์ ๒๙

นายกองโท เสนีย์ มะโน นางภาคนิ ี ต้ังตรงเวชกิจ นายจำ�รูณ บาริศรี นางกติ ติมา บาริศรี
นายกเทศมนตรีตำ�บลหนิ เหล็กไฟ จำ�รูณพานิชย์-จำ�รูณคอนกรีต
นายอ�ำ เภอคูเมือง จำ�รู ณคอนกรีต-จำ�รู ณคอนกรีต
ผ้าไหมพ้นื เรียบ ผา้ ไหมตนี แดง ผา้ ไหมสายตาราง ผ้าไหมมัดหม่ี

นางละมอ่ ม แสงสวา่ ง นางอมั พร สกลุ รักความสขุ นายอภริ มย์ รุ่งเรือง นางธิดารัตน์ สบื เหลา่ งว้ิ
รองนายกกง่ิ กาชาดอำ�เภอหนองหงส์ สตดู โิ อหงสท์ องเวดดง้ิ
ข้าราชการครู เกษียณ รองนายกก่งิ กาชาด อำ�เภอหนองหงส์
ผ้าไหมพน้ื เรียบ ผา้ ไหมมดั หม่ี ผ้าไหมมัดหม่ี ผ้าไหมมดั หม่ี

๓๐ เสนห่ ์ไหมบรุ รี ัมย์

นายหนูกัน ลสี ม นางเกษร โตสกลุ นางละมุน บุญปั ญญา นางละเอียด พรหมทา

กรรมการก่งิ กาชาดอำ�เภอหนองหงส์ กรรมการกง่ิ กาชาดอำ�เภอหนองหงส์ ประธานกรรมการพัฒนาสตรีอำ�เภอหนองหงส์ ธุรกิจสว่ นตัว
ผ้าไหมพน้ื เรียบ ผ้าไหมพ้นื เรียบ ผา้ ไหมมัดหม่ี
ผา้ ไหมเปลือกนอก

นายอนุชา วเิ ศษชาติ น.ส.สมบัติ ศรีคลงั นางละเมือย ตงุ้ ประโคน นางนัฐฐิณีย์ ช�ำ นาญยา
ผ้าหมักโคลนบารายพันปี
อ.หนองหงส์ อ.หนองหงส์ นายกก่งิ กาชาดอ�ำ เภอประโคนชยั
ผ้าไหมพ้นื เรียบ+มัดหมี่ ผ้าไหมพน้ื เรียบ+ผ้าไหมตนี แดง ผ้าบารายพนั ปี (ยอ้ มสธี รรมชาติ)

เสน่ห์ไหมบรุ ีรัมย์ ๓๑

นายเอกวฒั น์ พวงประโคน นางสาวสดุ ารัตน์ สวสั ดี นายประเสริฐ แมนไธสง นางสมจิตร แมนไธสง
ก�ำ นันตำ�บลชมุ เหด็ สท.เทศบาลเมืองชมุ เหด็
ปลดั อำ�เภอหวั หน้ากลุ่มงานบริหารงาน เจ้าหน้าท่ธี ุรการโรงเรียนไตรคาม ผา้ ไหมมัดหม่ตี ีนแดง ผ้าไหมพ้นื เรียบ+ผ้าไหมตีนแดง

ปกครองอ�ำ เภอลำ�ปลายมาศ สามัคควี ทิ ยา

ผ้ามดั หม่ี ผ้าไหมพน้ื เรียบ+ผา้ ไหมตนี แดง

นางสมศรี ศังขจันทรานนท์ นายนภทั ร ทศั นะ นายพัฒนชยั ลิมไธสง น.ส.สนุ ันทา สขุ ลอ้ ม

รองนายกเทศมนตรีเมอื งชมุ เหด็ นิตกิ รเทศบาลเมอื งชมุ เหด็ บริษัทประชารัฐรักสามคั บี รุ ีรัมย์ บริษัทประชารัฐรักสามัคบี ุรีรัมย์
ผา้ ไหมมดั หม่ตี ีนแดง (วสิ าหกจิ เพือ่ สงั คม) จำ�กัด (วสิ าหกิจเพือ่ สงั คม) จำ�กดั
ผา้ ไหมพ้นื เรียบ+ผา้ ไหมมดั หม่ตี นี แดง
ผ้าไหมภูอคั นี ผา้ ไหมภอู คั นี

๓๒ เสนห่ ์ไหมบรุ รี มั ย์

นายอชติ ะ สมบรู ณ์ธรรม นางสาวพรกนกวรรณ หงษา นางวาสนา ปาละสาร นางแดง ดนุชนาม

ผจู้ ัดการธันเดอร์เรท สาขานางรอง ประธานบริษัทคงิ สเ์ มมเบอร์ ประธานเครือขา่ ย OTOP จังหวดั บุรีรัมย์ รองประธานเครือข่าย OTOP จังหวดั บุรีรัมย์
ผ้าไหมพน้ื เรียบ ผา้ ไหมมดั หม่ี ผา้ ไหมพน้ื เรียบ+มัดหม่ตี ีนแดง ผ้าไหมพ้นื เรียบ+มัดหม่ตี นี แดง

นายอมรินทร์ ทพิ ยอ์ ักษร นางสาววไิ ลวรรณ์ แพร่งสวุ รรณ์ คุณพสั มณฑ์ อุดมแก้ว ด.ญ.อังศุมาลิน ศรีเสริม
บุตรสาว
ปลัดอำ�เภอช�ำ นิ รองปลัดเทศบาลตำ�บลหนองปล่อง แมบ่ ้านตำ�รวจสถานีภูธรเมอื งบรุ ีรัมย์
ผ้าไหมมัดหม่ี ผ้าซ่ินตนี แดง ผ้าไหมพ้นื เรียบ+มดั หม่ตี ีนแดง ผา้ ไหมพน้ื เรียบ

เสน่ห์ไหมบรุ รี มั ย์ ๓๓

คณุ นนทกานต์ บรรยงค์ ด.ญ.นลินญา บรรยงค์ คณุ กญั ตมิ า ปะรินรัมย์ ด.ช.ภภู ูมิ ปะรินรัมย์
บตุ รสาว บตุ รชาย
แมบ่ ้านต�ำ รวจสถานีต�ำ รวจภูธรหว้ ยราช แมบ่ า้ นต�ำ รวจสถานีต�ำ รวจภธู รบา้ นใหมไ่ ชยพจน์
ผ้าไหมพน้ื เรียบ ผ้าไหมพน้ื เรียบ+มดั หม่ตี ีนแดง
ผ้าไหมพน้ื เรียบ+มัดหม่ตี นี แดง ผ้าไหมพ้นื เรียบ+มัดหม่ตี ีนแดง

พ.ต.อ.กัมพล วงษส์ งวน คณุ ชลธิชา จึงม่ันคง พ.ต.อ.ทีฆโชติ ชยั พชรโชติ คณุ ประภาพร ชยั พชรโชติ
สพา.ตร.วอตั .ทรีฆใหโชญต่สิ ชถยัานพีตช�ำ รรโวชจตภิ ูธร
ผ้กู �ำ กบั การสถานีตำ�รวจภูธรบ้านกรวด แม่บา้ นต�ำ รวจสถานีต�ำ รวจภธู รบ้านกรวด สถาารววรตั รใหญส่ ถานีตำ�รวจภธู รถาวร แมบ่ ้าคนณุ ตป�ำ รรวะจภสาถพารนชีตยั �ำ พรชวจรภโชธู ตริ
ผา้ ไหมพน้ื เรียบ ผา้ ไหมมดั หม่ี แมบ่ ้านตำ�รวจสถานีต�ำ รวจภธู รถถาาววรร
ผ้าไหมพน้ื เรียบ+หางกระรอก
ผ้าไหมมดั หม่ี

๓๔ เสน่ห์ไหมบุรรี มั ย์

คุณกญั ญารัตน์ ต้งั ตรงเวชกิจ พ.ต.ท.ศิริวฒั น์ สมกจิ ศิริ ร.ต.ท.กิตติพัฒน์ ลาเกดิ ร.ต.ท.หญงิ พิชญานิน ปล่งั กลาง

แม่บ้านตำ�รวจสถานีตำ�รวจภธู ร รองผ้กู �ำ กบั การผ่ายป้ องกันปราบปราม รองสารวตั รสอบสวน สถานี รองสารวตั รสอบสวน สถานี
ตำ�รวจภูธรเมืองบรุ ีรัมย์
เมอื งบรุ ีรัมย์ สถานีต�ำ รวจภูธรเมืองบรุ ีรัมย์ ตำ�รวจภูธรเมอื งบุรีรัมย์
ผา้ ไหมมดั หม่ี ผา้ ไหมมดั หม่ี ผ้าไหมมัดหม่ี ผา้ ไหมมดั หม่ตี นี แดงประยุกต์

ร.ต.ท.ศุภกฤต กติ ตสิ ริ ิวบิ ลู ย์ ร.ต.ท.หญิง ชนิกานต์ สนิ ธุสกุลชยั ส.ต.อ.ภคั คินันท์ ภูเขียว ส.ต.อ.หญิง ไอลดา สวุ รรณมกุ ต์

รองสารวตั รสอบสวน สถานีต�ำ รวจ รองสารวตั รสอบสวน สถานีตำ�รวจ ผู้บังคับหม่ตู ำ�รวจภูธรจังหวดั บรุ ีรัมย์ ผ้บู ังคบั หมตู่ ำ�รวจภูธรจังหวดั บรุ ีรัมย์
ผ้าไหมมดั หม่ตี ีนแดง
ภูธรเมืองบรุ ีรัมย์ ภูธรเมอื งบุรีรัมย์ ผา้ ไหมพ้นื เรียบ
ผา้ ไหมมดั หม่ตี นี แดง ผ้าไหมมดั หม่ี

เสน่ห์ไหมบุรีรัมย์ ๓๕

น.ส.ญาวรี ์ ภูริภัทรเศรษฐ์ น.ส.กญั ญา โยโพธ์ิ ดร.สายกุหลาบ เจริญศิรไพศาล น.ส.สพุ ตั รา มะโนบาล
ชมรมแมบ่ ้านหญงิ จังหวดั บรุ ีรัมย์ ชมรมแมบ่ า้ นหญงิ จังหวดั บรุ ีรัมย์ ชมรมแม่บ้านหญิงจังหวดั บุรีรัมย์
ชมรมแม่บา้ นหญิงจังหวดั บรุ ีรัมย์
ชดุ ราตรีไหม ผ้าไหมพ้นื เรียบ ผ้าไหมพน้ื เรียบ+มดั หม่ี
ผา้ ไหมมัดหม่ตี นี แดง

นางรุ่งนภา ชว่ ยรัมย์ น.ส.ไพรัตน์ บญุ ทวี นางสาวพรทพิ ย์ แหงสงู เนิน นางส�ำ เริง คนัยรัมย์
ชมรมแมบ่ ้านหญงิ จังหวดั บรุ ีรัมย์ ชมรมแมบ่ ้านหญงิ จังหวดั บุรีรัมย์ ตลาดประชารัฐ คนไทยยม้ิ ได้
ชดุ ราตรีผา้ ไหม เครือข่ายผ้ปู ระกอบการ OTOP อำ�เภอเมอื งบุรีรัมย์
ชดุ ราตรีผ้าไหม ผา้ ไหมมัดหม่ี
ผ้าไหมมัดหม่ี

๓๖ เสน่ห์ไหมบรุ รี มั ย์

นายนครินทร์ การรัมย์ น.ส.ฐิตารัตน์ ดีพันธ์ นางสาวอภิญญา ส�ำ รวมจิตต์ นางสมบัติ ทรายสวุ รรณ

ส�ำ นักงานสถิตจิ ังหวดั บุรีรัมย์ ส�ำ นักงานสถติ ิจังหวดั บรุ ีรัมย์ เครือข่ายกองทุนหมบู่ า้ นอำ�เภอเมืองบรุ ีรัมย์ เครือข่ายกองทุนหมู่บ้านอำ�เภอเมอื งบรุ ีรัมย์
ผา้ ไหมพน้ื เรียบ ผา้ ไหมมัดหม่ี ผา้ ไหมพ้นื เรียบ+มัดหม่ี ผา้ ไหมพน้ื เรียบ+มดั หม่ี

นางนภาพร จันทร์ศรี นางสาวนัชชา รุจิรานฤภทั ร นางสาวเมธวี แควน้ ไธสง นางณัฐชา สมิสสนั

ร้านใหเ้ ชา่ ผ้าไหมนภาพร (อ.พุทไธสง) ร้านใหเ้ ชา่ ผา้ ไหมนภาพร (อ.พทุ ไธสง) เครือขา่ ยกองทนุ หมบู่ า้ นอ�ำ เภอพุทไธสง เครือขา่ ยกองทนุ หมูบ่ า้ นอำ�เภอพุทไธสง
ผ้าไหมมดั หม่ี
ผา้ ไหมมดั หม่ี ผา้ ไหมมัดย้อม ชดุ ล�ำ ลอง ผา้ ไหม

เสนห่ ์ไหมบรุ รี ัมย์ ๓๗

นายอริยพล กลองชยั นางสาวศุภาพิชญ์ เพียวงศ์ นายองอาจ บญุ เจษฎารักษ์ นางสาวปวติ รา แสวงชยั

เครือข่ายผ้ปู ระกอบการ OTOP อ�ำ เภอพุทไธสง เครือข่ายผูป้ ระกอบการ OTOP อ�ำ เภอพทุ ไธสง จนท.ปกครองอ�ำ เภอพทุ ไธสง คณะกรรมการพฒั นาสตรีอำ�เภอพุทไธสง
ผ้าไหมมัดหม่ี ผ้าไหมพน้ื เรียบ+ผา้ ไหมมัดหม่ตี นี แดง
ผ้าไหมมดั หม่ี ผา้ ไหมมดั หม่ี

นางลุนวดี อินจันดา นางวไิ ลวรรณ ศรไชย นางเมอื ง โยยรัมย์ นางวนั ดี บญุ มี
ชมรมผ้ใู หญบ่ า้ นอำ�เภอสตกึ
กรรมการพัฒนาสตรีอ�ำ เภอสตึก กรรมการพัฒนาสตรีอำ�เภอสตึก เครือข่าย OTOP อำ�เภอสตึก
ชดุ กระโปรงผ้าไหมพน้ื เรียบสมี ว่ ง ชดุ ชาวกวย
ชดุ กระโปรงผา้ ไหมพ้นื เรียบสเี หลือง ชดุ สทู ท�ำ งานจากผา้ ไหมย้อมสธี รรมชาติ

๓๘ เสน่ห์ไหมบรุ รี มั ย์

น.ส.ธิติกาณจน์ พฒั นะจิระวงศ์ นางแดง คะนุชนาม ด.ญ.เพ็ญทพิ า วอหลา้ ด.ญ.ขวญั กลั ยา สายสขุ

สนง.สาธารณสขุ อ.สตกึ ,ธกส.อ.สตกึ คณะกรรมการเครือข่าย OTOP อ.สตกึ ชมุ ชนท่องเที่ยว OTOP นวตั วถิ ี บ้านสวายสอ ชมุ ชนทอ่ งเทีย่ ว OTOP นวตั วถิ ี บ้านสวายสอ
ชดุ ราตรียาวผ้าไหมมัดหม่ลี ายโฮลโบราณ ชดุ ราตรียาวผา้ ไหมลายโบราณ ผา้ ประจำ�ถน่ิ
ผ้าประจำ�ถ่นิ

นางสาวปารวตี วรเชษฐ นางสาวสรุ ีรัตน์ โวนรัมย์ นายมงคล ดว่ นทับรัมย์ นางสาวสายธาร บุญญารัตน์

กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรีอ�ำ เภอเมอื งบรุ ีรัมย์ กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรีอ�ำ เภอเมอื งบรุ ีรัมย์ ชมรมอาสาพัฒนาชมุ ชนอ�ำ เภอเมอื งบุรีรัมย์ ชมรมอาสาพัฒนาชมุ ชนอำ�เภอเมืองบุรีรัมย์

ชดุ กระโปรงผ้าไหมมัดหมี่ ชดุ กระโปรงผ้าไหมมัดหม่ี ผา้ ไหมมดั หม่ตี ีนแดง ผ้าไหมมดั หม่ี

เสนห่ ์ไหมบรุ รี ัมย์ ๓๙

นางทิพวรรณ แขกรัมย์ นางวาสนา ท่วั ประโคน นายชชั วาล ช�ำ นาญรัมย์ น.ส.รัตนาภรณ์ ปะนามะทัง

เครือขา่ ยกองทุนแม่ของแผน่ ดนิ อ.เมืองบรุ ัรมย์ เครือข่ายกองทนุ แม่ของแผ่นดิน อ.เมอื งบุรัรมย์ คณุ ครูโรงเรียนหนองกพ่ี ทิ ยาคม คุณครูโรงเรียนหนองก่พี ทิ ยาคม

ผา้ ไหมมัดหม่ตี นี แดงประยกุ ต์ ผ้าไหมมดั หม่ตี นี แดงประยกุ ต์ ผ้าไหมมัดหม่ตี ีนแดง ผา้ ไหมมัดหม่ตี นี แดง

นางรักษิณา แรงจริง นางปิ ยะธิดา ลม้ิ ไธสง นางสาวศศิธร ดวงนิล นางมะลวิ รรณ ชมุ สขุ
ต.ทุ่งกระตาดพัฒนา อ.หนองก่ี
คณะกรรมการพฒั นาสตรีอ�ำ เภอหนองก่ี คณะกรรมการพฒั นาสตรีอ�ำ เภอหนองก่ี ผ้ใู หญบ่ ้าน ต.ทุง่ กระตาดพฒั นา อ.หนองก่ี
ผา้ ไหมมัดหม่ี
ผา้ ไหมพน้ื เรียบมดั หม่ี ผ้าไหมมัดหม่ตี นี แดง ผ้าไหมมัดหม่ี

๔๐ เสนห่ ์ไหมบรุ รี มั ย์

ดร.พิชญช์ ญา พลรัมย์ นางธัญทพิ ย์ จิระวชั รวรพงษ์ น.ส.เพญ็ นภา พุ่มพะยอม
ส�ำ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา บุรีรัมย์ เขต ๔ กล่มุ ทอผา้ ภูอัคนี พนง. อบต. เจริญสขุ
ผา้ ภูอัคนี ผ้าภูอัคนี
ผา้ ไหมมัดหม่ตี นี แดง

นายปฏิพล กองคำ� นายนึก ภูอังคาร นายณัฐวฒุ ิ สนั สา นางณัฐหทัย สงิ หค์ ง

กรรมการหมู่บ้าน OTOP เพ่อื การทอ่ งเทีย่ ว กรรมการหมู่บ้าน OTOP เพอ่ื การท่องเที่ยว ส�ำ นักงานสาธารณสขุ จังหวดั บุรีรัมย์ ส�ำ นักงานสาธารณสขุ จังหวดั บรุ ีรัมย์
ผ้าไหมมัดหม่ตี ีนแดง
ผา้ ภูอคั นี ผ้าภอู ัคนี ผา้ ไหมมัดหม่ตี นี แดง

เสนห่ ์ไหมบรุ ีรัมย์ ๔๑

นายมนต์รัก พวงสวุ รรณ นางศิริพร สวุ รรณไตรภูมิ นางธนวรรณ ใยสงิ ห์ นางสาวสมพร แดงสี

คณะกรรมการพฒั นาสตรี อ�ำ เภอนางรอง คณะกรรมการพฒั นาสตรี อ�ำ เภอนางรอง ส�ำ นักงานพัฒนาชมุ ชนอำ�เภอนางรอง ส�ำ นักงานพฒั นาชมุ ชนอ�ำ เภอนางรอง
ผ้าไหมมัดหม่ี
ผา้ ไหมพ้นื เรียบ ผ้าไหมพน้ื เรียบ ผ้าไหมมดั หม่ี

คุณสนุ ันท์ เธียรวรรณ คุณพลิ าฏลกั ษณ์ พินิจนรชาญ นายสเุ มธี จิตต์ปภสั สร นางสาวรุ่งฤดี สายปั ญญา

ส�ำ นักงานพฒั นาชมุ ชนอ�ำ เภอนางรอง ส�ำ นักงานพัฒนาชมุ ชนอำ�เภอนางรอง ท่ที �ำ การปกครองอ�ำ เภอโนนดินแดง ท่ีท�ำ การปกครองอ�ำ เภอโนนดนิ แดง
ผา้ ไหมมัดหม่ี
ผ้าไหมพน้ื เรียบมดั หม่ตี ีนแดง ผ้าไหมพ้นื เรียบ ผ้าหางกระรอก

๔๒ เสน่ห์ไหมบรุ รี ัมย์

นางสงั วาน ประดับศรี นางรัตน์ตภิ รณ์ ชนะคา้ น.ส.ดลนภา ชนะคา้ น.ส.ศิริประภา ไชยขนั ธ์

สมาคมฌาปนกจิ สงเคราะห์ สมาคมฌาปนกจิ สงเคราะห์ สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ สมาคมฌาปนกจิ สงเคราะห์

กลุ่มสตรีแมบ่ า้ นอ�ำ เภอแคนดง กลมุ่ สตรีแมบ่ า้ นอำ�เภอแคนดง กลุ่มสตรีแมบ่ า้ นอ�ำ เภอแคนดง กล่มุ สตรีแมบ่ า้ นอ�ำ เภอแคนดง
ผา้ ไหมพน้ื เรียบหางกระรอกประยกุ ต์ ผา้ ไหมพน้ื เรียบ ผา้ ขาวมา้ ไหม ผ้าไหมมัดหม่ตี ีนแดง

นายวนิ ัย วชิ ยั รัมย์ คณุ บัณฑติ า สลับรัมย์ นายธีระวฒั น์ ยุทไธสง คุณปาริตา ฝื นจัตรุ ัส

สนง.สง่ เสริมการปกครองทอ้ งถน่ิ จ.บุรีรัมย์ โรงแรมเดอะศิตา ปร้ีนเซศ บรุ ีรัมย์ โรงแรมเดอะศิตา ปรี้นเซศ บุรีรัมย์ โรงแรมเดอะศิตา ปร้ีนเซศ บรุ ีรัมย์
ผ้าไหมมดั หม่ี ผ้าไหมพ้นื เรียบ ผ้าไหมพ้นื เรียบ
ผ้าไหมพน้ื เรียบ

เสน่ห์ไหมบุรีรัมย์ ๔๓

น.ส.จิราภรณ์ ปุญญารัศม์ น.ส.ไพลิน ดษิ ญเกษม นางสาววไิ ลลักษณ์ โพธ์ินา นางสาวนันท์นภัส สายทอง
ผช.พนังงานวเิ คราะหน์ โยบายและแผน
จพน.สง่ เสริมการปกครองท้องถ่นิ ปฏิบตั ิงาน คณะกรรมการพัฒนาสตรีตำ�บลทุ่งจังหนั คณะกรรมการพฒั นาสตรีตำ�บลทุ่งจังหนั
สง่ เสริมการปกครองทอ้ งถ่นิ จังหวดั บรุ ีรัมย์ ทต.พลับพลาชยั
ผา้ ไหมมัดหม่ตี นี แดง ผา้ ไหมมดั หม่ตี ีนแดง ผ้าไหมมัดหม่ตี ีนแดง ผา้ ไหมมดั หม่ตี นี แดง

น.ส.ณิชากานต์ เรือนไทย น.ส.ลัดดาวลั ย์ จันทร์มี นายอดิศักด์ิ ผะดาศรี นายอรรถชยั สวนไธสง

ผู้นำ� อช. อ.คูเมอื ง ผูน้ ำ� อช. อ.คูเมอื ง ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกยี รติ จ.บุรีรัมย์ ศูนย์หมอ่ นไหมเฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย์
ผ้าไหมมัดหม่ตี ีนแดง ผา้ ไหมมัดหม่ตี นี แดง ผ้าไหมมดั หม่ตี ีนแดง ผา้ ไหมมดั หม่ตี ีนแดง

๔๔ เสน่ห์ไหมบรุ ีรัมย์

น.ส.พินทุ์พัชชา อนันตน์ พชยั น.ส.กานต์พิชชา สวุ รรณศรี นางสาวชญาภา ปาโสรักษ์
ชมุ ชนท่องเที่ยว OTOP นวตั วถิ ี บ้านทุ่งสวา่ ง อ.กระสงั นวช.พัฒนาชมุ ชนปฏิบัตกิ าร
จนท.สมาคมฌาปนกจิ กทบ. อ.ปะค�ำ
ผา้ ไหมมดั หม่ี ส�ำ นักงานพัฒนาชมุ ชนอ�ำ เภอปะค�ำ
ผา้ ไหมพ้นื เรียบ
ผา้ ไหมมดั หม่ี

นายพงศ์สวสั ดิ์ จ่างจิตต์ นางบวั รินฑร์ พินาศภัย คุณศศิมาพร เทียนศิริวงศากุล คุณเนตรนภา ศิลากุล
ผู้อ�ำ นวยการศูนย์ กศน. ประธานคณะกรรมการพฒั นา คณะกรรมการกง่ิ กาชาดอ�ำ เภอบ้านกรวด
ผ้าขาวม้าไหม รองนายกกง่ิ กาชาดอ�ำ เภอบา้ นกรวด
สตรีอำ�เภอช�ำ นิ ชดุ ผ้าไหมตนี แดง
ชดุ ผา้ ไหมตีนแดง ชดุ ราตรีผา้ ไหม

เสนห่ ์ไหมบุรีรมั ย์ ๔๕

คุณราตรี สวสั ด์ริ ัมย์ คณุ สมพร ค�ำ จร น.ส.พชั รากร กฤษณการ นายไพโรจน์ แก้วผา
ส�ำ นักงาน กศน. จังหวดั บรุ ีรัมย์
คณะกรรมการกง่ิ กาชาดอำ�เภอบ้านกรวด คณะกรรมการก่งิ กาชาดอำ�เภอบา้ นกรวด ส�ำ นักงาน กศน. จังหวดั บรุ ีรัมย์
ผ้าไหมมดั หม่พี ้นื ดิบ ผา้ ไหมมัดหม่ตี ีนแดง ผา้ ไหมตนี แดง
ผา้ ไหมพน้ื เรียบ

น.ส.ววิ ราภรณ์ ยอดนำ้�คำ� นางศุภารัตน์ วรรณโท นางวราภรณ์ มิสา นางเพ็ญศรี โพธิ์เงนิ
ส�ำ นักงานคลัง จ.บุรีรัมย์ นว.พช.ช�ำ นาญการ อ.นาโพธิ์ พฒั นาการอำ�เภอนาโพธ์ิ
ส�ำ นักงานคลัง จ.บุรีรัมย์
ผ้าไหมมดั หม่ตี ีนแดง ผา้ ไหมมดั หม่ี ผ้าหางกระรอกคตู่ นี แดงลายลูกสาว (บร๐๑) ผา้ ไหมมัดหม่ตี นี แดงเขยี นทองลายนพเกา้

๔๖ เสนห่ ์ไหมบุรีรัมย์

นางอนามิภา พิมพา นางขมุ ทรัพย์ ปุราชะกา นางสาวมธุรส ศรีมหาพรม นางมณี ส�ำ เภาเงิน
ปลัดอำ�เภอนาโพธ์ิ เครือขา่ ยสตรี อ.นาโพธ์ิ นว. พช. ปฏบิ ัติการ อ.นาโพธิ์ ก�ำ นันต�ำ บลศรีสวา่ ง อ.นาโพธิ์
ชดุ ผา้ ซ่ินตีนแดงหม่ลี า่ ย ชดุ ผ้าซ่ินตีนแดงลูกแก้วลายนาคจำ�ปา
ชดุ ผ้าซ่ินตีนแดงลูกแก้วลายนาคมณี ชดุ ผ้าซ่ินตีนแดงลายขจรเชงิ เทียนเก็บตีนดาว

นายวทิ ยา ละครจันทร์ น.ส.ศรีสดุ า ศรีละ คณุ พรสวรรณ์ ลอยลม

ส�ำ นักงานเกษตรจังหวดั บรุ ีรัมย์ ส�ำ นักงานเกษตรจังหวดั บุรีรัมย์ คณะกรรมการพฒั นาสตรี จ.บรุ ีรัมย์
ผ้าไหมพน้ื เรียบมดั หม่ี
ผ้าไหมหางกระรอกประยุกต์ ผ้าไหมมดั หม่ี

เสน่ห์ไหมบุรรี มั ย์ ๔๗

นายเกรียงไกร คะเชนรัมย์ นางสาวธิญาดา พนั ธ์ศรี นายทวสี ทิ ธิ์ ศรีสรุ ิยชยั นางธินีนารถ ศรีสรุ ิยชยั
ส�ำ นักงานปศุสตั ว์ จ.บุรีรัมย์
ส�ำ นักงานพฒั นาชมุ ชนอ�ำ เภอบา้ นด่าน ส�ำ นักงานพัฒนาชมุ ชนอำ�เภอบา้ นด่าน ส�ำ นักงานปศุสตั ว์ จ.บรุ ีรัมย์
ผา้ ไหมมดั หม่ตี นี แดง ผา้ ไหมมดั หมีตีนแดง ผ้าไหมมัดหมีตีนแดง
ผ้าไหมมดั หม่ตี ีนแดง

นายศิรวธุ นุชสาย น.ส.สริ ินธร สาจันทร์ คณุ แฮร่ี กิตติ แฮดงิ แฮม คณุ ลลิ ล่ี อรปรียา แฮดงิ แฮม
มสิ เตอร์ยูนิเวสสรุ ินทร์ ๒๐๑๙ มสิ แกรนดศ์ รีษะเกษ ๒๐๑๙ ลิลล่ี แฮร์ สปา ลิลล่ี แฮร์ สปา
ผา้ ไหมปูมปั กดนิ โลหะ
ผ้าซ่ินตนี แดง ผา้ ไหมหางกระรอกประยกุ ต์ ผา้ ไหมมดั หม่ตี นี แดง

๔๘ เสนห่ ์ไหมบรุ ีรมั ย์

เสนห่ ์ไหมบุรรี มั ย์ ๔๙

๕๐ เสนห่ ์ไหมบรุ ีรมั ย์


Click to View FlipBook Version