The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางสาวปณิสรา โยธา ม4.2 เลขที่ 10 เเบด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kanyakorn Sakaeklang, 2020-10-05 05:48:32

นางสาวปณิสรา โยธา ม4.2 เลขที่ 10 เเบด

นางสาวปณิสรา โยธา ม4.2 เลขที่ 10 เเบด

คำนำ

รายงานกีฬาเเบดมินตนั ฉบบั นี ้เป็นสว่ นหนง่ึ ของวชิ าพละศกึ ษา ปัจจบุ นั กีฬาเเบดมินตนั เป็น
ที่แพร่หลาย และได้รับความสนใจเนื่องจากกีฬาแชร์บอลนนั้ เลน่ ได้ง่ายเหมาะกบั การสร้าง
ความสามคั คี ซงึ่ ในรายงานฉบบั นีป้ ระกอบด้วย ประวตั ิ กตกิ า อปุ กรณ์ และรายละเอียอ่ืนๆ
เกี่ยวกบั กีฬาแบดมนิ ตดั นทงั้ สิน้

จดั ทำโดย
นำงสำวปณิสรำ โยธำ

สารบัญ

เรื่อง หน้า

ความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั เเบดมินตนั 1
ทกั ษะการเล่นเเบดมินตนั 4
ประโยชนข์ องการเล่นเเบดมินตนั 6

1

ควำมรู้ท่ัวไปเก่ียวกับเเบดมนิ ตัน

ประวัตแิ บดมินตนั ในประเทศไทย

การเลน่ แบดมนิ ตนั ได้เข้ามาสปู่ ระเทศไทยในราวปี พ.ศ. 2456 โดยเร่ิมเลน่ กีฬาแบดมนิ ตนั แบบมี ตาขา่ ย โดยพระยา
นพิ ทั ยกลุ พงษ์ ได้สร้างสนามขนึ ้ ทีบ่ ้าน ซงึ่ ตงั้ อยรู่ ิมคลองสมเดจ็ เจ้าพระยาธนบรุ ี แล้วนิยมเลน่ กนั อยา่ งแพร่หลายออกไป
สว่ นมากเลน่ กนั ตามบ้านผ้ดู ีมีตระกลู วงั เจ้านาย และในราชสานกั การเลน่ แบดมินตนั ครัง้ นนั้ นยิ มเลน่ ข้างละ 3 คน ตอ่ มา
ประมาณปี พ.ศ. 2462 สโมสรกลาโหมได้เป็ นผ้จู ดั แขง่ ขนั แบดมนิ ตนั ทว่ั ไปขนึ ้ เป็ นครัง้ แรก โดยจดั การแขง่ ขนั 3 ประเภท
ได้แก่ ประเภทเดย่ี ว ประเภทคู่ และประเภทสามคน ปรากฏวา่ ทีมแบดมินตนั บางขวางนนทบรุ ี (โรงเรียนราชวิทยาลยั บาง
ขวางนนทบรุ ี) ชนะเลศิ ทกุ ประเภท นอกจากนี ้มีนกั กีฬาแบดมนิ ตนั ฝี มือดเี ดนิ ทางไปแขง่ ขนั ยงั ประเทศใกล้เคยี งอยบู่ อ่ ยๆ

ในปี พ.ศ. 2494 พระยาจินดารักษ์ได้ก่อตงั้ สมาคมช่ือวา่ “สมาคมแบดมินตนั แหง่ ประเทศไทย” เมอ่ื แรกตงั้ มอี ยู่ 7
สโมสร คอื สโมสรสมานมิตร สโมสรบางกอก สโมสรนิวบอย สโมสรยนู ิตี ้สโมสร ส.ธรรมภกั ดี สโมสรสงิ ห์อดุ ม และ
สโมสรศริ ิบาเพญ็ บญุ ซง่ึ ในปัจจบุ นั นเี ้หลอื เป็ นสโมสรสมาชิกของสมาคมอยเู่ พียง 2 สโมสร คือ สโมสรนิวบอย และสโมสร
ยนู ิตเี ้ทา่ นนั้ และในปี เดยี วกนั สมาคมแบดมินตนั แหง่ ประเทศไทยก็ได้สมคั รเข้าเป็ นสมาชิกของสหพนั ธ์แบดมินตนั
นานาชาตดิ ้วย สมาคมแบดมนิ ตนั แหง่ ประเทศไทยมนี กั กีฬาแบดมนิ ตนั ที่มีฝี มือดีอยมู่ าก ซง่ึ ได้สร้างช่ือเสยี งให้กบั ประเทศ
ไทยจากการลงแขง่ ขนั ใน รายการตา่ ง ๆ ของโลกเป็ นอยา่ งมาก ทงั้ โธมสั คพั อเู บอร์คพั และการแขง่ ขนั ออลอิงแลนด์ โดย
วงการแบดมินตนั ของไทยยกยอ่ ง นายประวตั ิ ปัตตพงศ์ (หลวงธรรมนญู วฒุ กิ ร) เป็ นบิดาแหง่ วงการแบดมินตนั ของ
ประเทศไทย

1. สนำมและอุปกรณ์สนำม

1.1 สนามจะเป็ นรูปสเ่ี หลยี่ มผนื ผ้าประกอบด้วยเส้นกว้างขนาด 40 มิลลเิ มตร

1.2 เส้นทกุ เส้นต้องเดน่ ชดั และควรทาด้วยสขี าวหรือสเี หลอื ง

1.3 เส้นทกุ เส้นเป็ นสว่ นประกอบของพืน้ ทซี่ งึ่ กาหนดไว้

1.4 เสาตาขา่ ยจะต้องสงู 1.55 เมตรจากพนื ้ สนาม และตงั้ ตรงเมอื่ ขงึ ตาขา่ ยให้ตงึ ตามทีไ่ ด้กาหนดไว้ในกตกิ า ข้อ 1.10 โดย
ที่จะต้องไมม่ ีสว่ นหนงึ่ สว่ นใดของเสาย่นื เข้ามาในสนาม (เฉพาะรายการทรี่ ับรองโดย IBF จะต้องใช้ระเบยี บนี ้จนกระทง่ั 1
สงิ หาคม พ.ศ. 2547 ทกุ รายการทีแ่ ขง่ ขนั จะต้องยดึ ตามระเบียบน)ี ้

1.5 เสาตาขา่ ยจะต้องตงั้ อยบู่ นเส้นเขตข้างของประเภทคู่ ตามที่ได้แสดงไว้ในภาพผงั ก. โดยไมต่ ้องคานึงวา่ จะเป็ น
ประเภทเดย่ี วหรือเลน่ คู่

2
1.6 ตาขา่ ยจะต้องถกั ด้วยเส้นด้ายสเี ข้ม และมีขนาดตากว้างไมน่ ้อยกวา่ 15 มลิ ลเิ มตร และไมเ่ กิน 20 มิลลเิ มตร
1.7 ตาขา่ ยต้องมีความกว้าง 760 มลิ ลเิ มตร และความยาวอยา่ งน้อย 6.1 เมตร
1.8 ขอบบนของตาขา่ ยต้องมีแถบผ้าสขี าวพบั สอง ขนาดกว้าง 75 มิลลเิ มตร ทบั บนเชือกหรือลวดท่ีร้อยตลอดแถบผ้าขาว
1.9 เชือกหรือลวดต้องมีขนาดพอที่จะขงึ ให้ตงึ เตม็ ทก่ี บั หวั เสา
1.10 สดุ ขอบบนตาขา่ ยต้องสงู จากพนื ้ ท่ีตรงก่ึงกลางสนาม 1.524 เมตร และ 1.55 เมตร เหนือเส้นเขตข้างของประเภทคู่
1.11 ต้องไมม่ ชี อ่ งวา่ งระหวา่ งสดุ ปลายตาขา่ ยกบั เสา ถ้าจาเป็ นต้องผกู ร้อยปลายตาขา่ ยทงั้ หมดกบั เสา

2. ลูกขนไก่

2.1 ลกู ขนไกอ่ าจทาจากวสั ดธุ รรมชาติ หรือวสั ดสุ งั เคราะห์ ไมว่ า่ ลกู นนั้ จะทาจากวสั ดชุ นดิ ใดก็ตาม ลกั ษณะวถิ ีวงิ่ ทว่ั ไป
จะต้องเหมือนกบั ลกู ซง่ึ ทาจากขนธรรมชาติ ฐานเป็ นหวั ไม้ก๊อก ห้มุ ด้วยหนงั บาง
2.2 ลกู ขนไกต่ ้องมีขน 16 อนั ปักอยบู่ นฐาน
2.3 วดั จากปลายขนถึงปลายสดุ ของฐาน โดยความยาวของขนในแตล่ ะลกู จะเทา่ กนั หมด ระหวา่ ง 62 มิลลเิ มตร ถึง 70
มลิ ลเิ มตร
2.4 ปลายขนแผเ่ ป็ นรูปวงกลม มเี ส้นผา่ ศนู ย์กลางระหวา่ ง 58 มลิ ลเิ มตร ถงึ 68 มิลลเิ มตร
2.5 ขนต้องมดั ให้แนน่ ด้วยเส้นด้าย หรือวสั ดอุ ่ืนทเ่ี หมาะสม
2.6 ฐานของลกู ต้องมเี ส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง 25 มลิ ลเิ มตร ถงึ 28 มลิ ลเิ มตร และสว่ นลา่ งมนกลม
2.7 ลกู ขนไก่จะมนี า้ หนกั ตงั้ แต่ 4.74 ถึง 5.50 กรัม
2.8 ลกู ขนไกท่ ี่ไมใ่ ช้ขนธรรมชาติ

2.8.1 ใช้วสั ดสุ งั เคราะห์แทนขนธรรมชาติ
2.8.2 ฐานลกู ดงั ท่ีได้กาหนดไว้ในกติกาข้อ 2.6
2.8.3 ขนาดและนา้ หนกั ของลกู ต้องเป็ นไปตามทไี่ ด้กาหนดไว้ในกติกาข้อ 2.3, 2.4 และ 2.7 อยา่ งไรก็ตาม ความ
แตกตา่ งของความถว่ งจาเพาะ และคณุ สมบตั ขิ องวสั ดสุ งั เคราะห์โดยการเปรียบเทยี บกบั ขนธรรมชาติ ยอมให้มคี วาม
แตกตา่ งได้ถงึ 10%

3
2.9 เน่อื งจากมไิ ด้กาหนดความแตกตา่ งในเร่ืองลกั ษณะทวั่ ไป ความเร็วและวถิ ีวง่ิ ของลกู อาจมีการเปลยี่ นแปลง
คณุ ลกั ษณะดงั กลา่ วข้างต้น ได้โดยการอนมุ ตั จิ ากองค์กรแหง่ ชาตทิ ่ีเกี่ยวข้องในทีซ่ ง่ึ สภาพความกดอากาศสงู หรือสภาพดิน
ฟ้ าอากาศ เป็ นเหตใุ ห้ลกู ขนไกต่ ามมาตรฐานทก่ี าหนดไว้ไมเ่ หมาะสม

กตกิ ำกำรเล่นแบดมินตนั

1. การออกนอกเส้น มกี ารกาหนดเส้นออกแตง่ ตา่ งกนั ในกรณีเลน่ เด่ยี วและเลน่ คู่
2. การเสริ ์ฟลกู ตามกติกา ที่ถกู ต้อง คอื

1. หวั ไม้ขณะสมั ผสั ลกู ต้องต่ากวา่ ข้อมอื อยา่ งเหน็ ได้ชัด
2. หวั ไม้ขณะสมั ผสั ลกู ต้องต่ากวา่ เอวอยา่ งเห็นได้ชดั
3. ผ้เู ลน่ ต้องไมถ่ ว่ งเวลา หรือเสริฟช้า หรือเสริฟ 2 จงั หวะ การเสริฟ ต้องเสริฟไปด้วยจงั หวะเดียว
4. ขณะเสริ ์ฟ สว่ นใดสว่ นหนงึ่ ของเท้าทงั้ 2 ข้างต้องสมั ผสั พนื ้ ตลอดเวลา
5. การเสริ ์ฟลกู ทถ่ี กู ต้อง ต้องให้แร็กเก็ตสมั ผสั กบั หวั ลกู ก่อน หากโดนขนก่อนถือวา่ ผิดกตกิ า
3. ขณะตลี กู โต้กนั ห้ามนาสว่ นหนงึ่ สว่ นใดของร่างกายหรือไม้แบดไปสมั ผสั กบั เนท็
4. ห้ามตีลกู ทีฝ่ ั่งตรงข้ามโต้กลบั มาในขณะทลี่ กู ยงั ไมข่ ้ามเนท็ มายงั แดนเรา(Over net)

กำรนับคะเเนน

สหพนั ธ์ แบดมินตนั นานาชาติ ( IBF) ได้กาหนดให้ ทดลองใช้ระบบการนบั คะแนนการแขง่ ขนั กีฬาแบดมนิ ตนั ใหม่ ใน
ระบบ 3 x 21 คะแนน ตงั้ แต่ วนั ที่ 1 มกราคม 2549 เป็ นต้นไป
รำยละเอยี ดของกตกิ ำกำรนับคะแนนมดี งั นี้
1. แมทช์หนง่ึ ต้องชนะให้ได้มากที่สดุ ใน 3 เกม
2. ทกุ ประเภทของการแขง่ ขนั ฝ่ ายทไ่ี ด้ 21 คะแนนก่อนเป็ นฝ่ ายชนะในเกมนนั้ ยกเว้นเมอื่ ได้ 20 คะแนนเทา่ กนั ต้องนบั ตอ่
ให้มีคะแนนหา่ งกนั 2 คะแนน ฝ่ ายใดได้คะแนนนา 2 คะแนนก่อนเป็ นผ้ชู นะ แตไ่ มเ่ กิน 30 คะแนน หมายความวา่ หากการ
เลน่ ดาเนินมาจนถึง 29 คะแนนเทา่ กนั ฝ่ ายใดได้ 30 คะแนนกอ่ น เป็ นผ้ชู นะ
3. ฝ่ ายชนะเป็ นฝ่ ายสง่ ลกู ตอ่ ในเกมตอ่ ไป

4
4. ฝ่ ายชนะการเสย่ี งสทิ ธ์ิเป็ นฝ่ ายสง่ ลกู ได้ก่อน หากฝ่ ายตรงข้ามทาลกู “เสยี ” หรือลกู ไมไ่ ด้อยใู่ นการเลน่ ผ้เู ลอื กสง่ ลกู
กอ่ นจะได้คะแนนนา 1-0 และได้สง่ ลกู ตอ่ แตห่ ากผ้สู ง่ ลกู ทาลกู “เสยี ” หรือลกู ไมอ่ ยใู่ นการเลน่ ฝ่ ายตรงข้ามจะได้คะแนน
ตามมาทนั ทเี ป็ น 1-1 และฝ่ ายตรงข้ามจะได้สทิ ธ์ิสง่ ลกู แทน ดาเนนิ เชน่ นตี ้ อ่ ไปจนจบเกม
5. ประเภทคใู่ ห้สง่ ลกู ฝ่ ายละ 1 ครัง้ ตามคะแนนทไี่ ด้ ขณะทีเ่ ปลยี่ นฝ่ ายสง่ ลกู หากคะแนนเป็ นจานวนค่ี ผ้อู ยคู่ อร์ด
ด้านซ้ายเป็ นผ้สู ง่ ลกู หากคะแนนเป็ นจานวนคผู่ ้อู ยคู่ อร์ดด้านขวาเป็ นฝ่ ายสง่ ลกู

หมายเหตุ ศกึ ษากตกิ าโดยละเอยี ดได้ท่ีเว็บไซต์ สมาคมแบดมินตนั แหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
การดวิ ส์
หาก ผ้เู ลน่ ทงั้ สองฝ่ ายทาคะแนนได้เทา่ กนั ในคะแนนท่ี 20 จะมีการเลน่ ตอ่ จนกวา่ วา่ จะมีคะแนนมากกวา่ ฝ่ ายตรงข้าม 2
คะแนน แตถ่ ้ายงั ไมส่ ามารถทาคะแนนหา่ งกนั 2 แต้มได้ จะเลน่ ตอ่ ไปเร่ือยๆ แต่ เมอ่ื แต้มได้ 29 เทา่ กนั ใครทท่ี าได้แต้ม 30
ก่อนจะเป็ นฝ่ ายชนะ

4

ทักษะกำรเล่นแบดมนิ ตัน

ลกู โยน(Lob or Clear)

คอื ลกู ท่ีตีพงุ่ โดง่ ข้ามไปในระดบั สงู และย้อยตกลงมาในมมุ 90 องศาในแดนตรงกนั ข้ามเป็ นลกู ทีต่ จี ากเหนอื ศีรษะ หรือ
ลกู ที่งดั จากลา่ งก็ได้ ตไี ด้ทงั้ หน้ามอื โฟร์แฮนด์ และหลงั มอื แบ็คแฮนด์

ลกู โยนหน้ำมือ

แรงทีต่ ีเกิดจากการประสานงานของแรงทเี่ หวี่ยง แรงตวดั การสะบดั ของลาแขนข้อมือจงั หวะฟตุ เวริ ์คที่ถกู ต้อง บวกกบั การ
เปลย่ี นนา้ หนกั ตวั จากเท้าหลงั ไปสเู่ ท้าหน้า โดยท่ีแรงตที ผี่ า่ นแร็กเก็ตไปสมั ผสั ลกู ในช่วงวนิ าทีทถ่ี จู งั หวะจะโคน รวมแรงดีด
ผลกั ดนั ให้ลกู พงุ่ สงู โดง่ ไปยงั สนามตรงข้าม ตามเป้ าหมายท่ีต้องการ

ลูกโยนหลังมอื

แรงตีเกิดจากการ ประสานงานเชน่ เดียวกนั กบั การตลี กู หน้ามือ แตก่ ารวางฟตุ เวิร์คสลบั กนั และไมม่ แี รงท่โี ถมทมี่ าจากการ
เปลย่ี นนา้ หนกั ตวั จากเท้าหลงั ไปสเู่ ท้าหน้า แรงตีลกู หลงั มือเกือบทงั้ หมดจงึ มาจากแรงเหว่ียง แรงตวดั และการสะบดั ลา
แขน กบั ข้อมือเทา่ นนั้

ลกู งดั โยน

คอื การตีลกู โดยช้อนตวดั ตลี กู จาก ลา่ งสะบดั ขนึ ้ ด้านบนเป็ นการช้อนตีลกู จากตา่ ไปสู่สงู เป็ นทล่ี กู ทไ่ี มต่ ้องใช้แรงเหวี่ยงตี
มากเทา่ ไหร่ ใช้ข้อกระตกุ หรือสะบดั ลกู ก็จะปลวิ ออกจากแร็กเก็ตอยา่ งง่ายดาย สว่ นมากจะเป็ นลกู ทเี่ ข้าประชิดด้านหน้า
ของสนามเชน่ การเข้ารับลกู แตะหยอดหรือลกู หยอดท่ีฝ่ ายตรงข้ามสง่ ข้ามมา หรือการรับลกู ตบเป็นต้น

ลูกตบ (Smash)

ในเกมแบดมนิ ตนั ลกู ตบเป็ นลกู ท่เี ดด็ ขาดทีต่ จี ากเบอื ้ งสงู กดลงสเู่ ป้ าหมายให้พงุ่ สพู่ นื ้ ในวิถีตรงที่รุนแรง และเร็วทีส่ ดุ เป็ น
ลกู ทพ่ี งุ่ ไปสเู่ ป้ าหมายด้วยความเร็วที่สดุ สงู กวา่ เกมเลน่ อื่น ๆ ทใ่ี ช้แร็กเก็ต เป็ นลกู ท่ีใช้บบี บงั คบั ให้คตู่ อ่ ส้ตู ้องตกเป็ นฝ่ ายรับ
มเี วลาจากดั สาหรับการเตรียมตวั ตอบโต้ ลกู ตบเป็ นลกู ฆา่ เป็ นลกู ทาแต้มทไ่ี ด้ผลถ้ารู้จกั ใช้อยา่ งถกู ต้อง

1. เมือ่ คตู่ อ่ ส้โู ยนลกู ข้ามตาขา่ ยเพยี งคร่ึงสนามหรือสง่ ลกู มาไมถ่ งึ หลงั
5

2. เมือต้องการบีบให้คตู่ อ่ ส้เู สยี หลกั ผละออกจากจดุ ศนู ย์กลาง
3. เม่อื ต้องการให้คตู่ อ่ ส้กู งั วลใจ พะวงอยกู่ บั การตงั้ รับ
4. เพอื่ ผลของการหลอกลอ่ เมื่อคตู่ อ่ ส้เู กิดความกงั วลใจ ทาให้ประสทิ ธิผลของการใช้ลกู หลกั อนื่ ๆ เพิ่มมากขนึ ้
5. เมอื่ ต้องการเผดจ็ ศกึ ยตุ กิ ารตอบโต้ หรือใช้เม่อื คตู่ อ่ ส้เู ผลอตวั หรือเสยี หลกั การทรงตวั บกุ ทาคะแนนด้วยลกู

เดด็ ขาด

ลูกดำด (Drive)
คือลกู ทพ่ี งุ่ เฉียดข้ามตาขา่ ย มีวถิ ีพงุ่ ข้ามขนานไปกบั พนื ้ สนาม ผ้เู ลน่ ตลี กู ดาดสงู ในระดบั อก ตไี ด้ทงั้ หน้ามอื โฟร์แฮนด์ และ
หลงั มอื แบค็ แฮนด์ทงั้ จากด้านซ้าย ขวาของลาตวั ลกู ดาดทต่ี ีจากระดบั ต่า ลกู ทข่ี ้ามไปจะลอยสงู ไมข่ นานกบั พนื ้ สนาม

ลกู หยอด (Drop)
คือลกู ทตี่ ีจากสว่ นตา่ ง ๆ ของสนามให้พงุ่ ย้อยข้ามตาขา่ ย และตกลงสพู่ นื ้ สนามด้านตรงข้ามดดยไมเ่ กินเส้นสง่ ลกู สนั้ จะ
หยอดด้วยด้วยลกู หน้ามอื ก็ได้ หรือหลงั มือก็ได้ เวลาตีลกู หยอดต้องให้แขนตงึ ตามองลกู ท่จี ะหยอด
เม่อื หน้าไม้จะสมั ผสั ลกู ขนไก่ให้เอยี งหน้าไม้ไปในทศิ ทางท่ีต้องการให้ลกู ไปตกพร้อมทงั้ กระดกข้อมอื เมือ่ ไม้สมั ผสั กบั ลกู ขน
ไก่ลกู ทห่ี ยอดจะเป็ นการหยอดจากหน้ามอื หรือหลงั มือก็ได้

6

ประโยชน์ของกำรเล่นเเบบมนิ ตัน

ประโยชน์ในระยะสัน้

1. ทาให้ร่างกายแขง็ แรงและอวยั วะทกุ สว่ นได้พฒั นาอยเู่ สมอโดยเฉพาะข้อมือ แขน ขา และ สายตา
2. เป็ นกีฬาทต่ี ้องใช้สมรรถภาพทางร่างกายที่ดี สมรรถภาพทางร่างกายดงั กลา่ ว คือความแขง็ แรง ความอดทน การ
ทางานสมั พนั ธ์กนั ของระบบประสาทกบั ระบบกล้ามเนอื ้ พลงั ความยืดหยนุ่ ของอวยั วะตา่ ง ๆ ความคลอ่ งตวั ความทนทาน
ของกล้ามเนอื ้ และระบบไหลเวยี นเลอื ด ดงั นนั้ จงึ ทาให้ผ้เู ลน่ มีร่างกายแข็งแรงอยเู่ สมอ
3. ถ้าเลน่ แบดมินตนั เพ่อื ความอดทน จะชว่ ยให้ระบบยอ่ ยอาหารทางานดีขนึ ้ เพมิ่ อตั ราการเผาผลาญอาหารให้สงู ขนึ ้
เพิ่มอตั ราการเต้นของหวั ใจ และอตั ราการหายใจให้ลกึ และดขี นึ ้ ด้วย
4. แบดมินตนั มวี ธิ ีการตลี กู หลายแบบ จึงมเี ทคนิคเลน่ มากมายทที่ าให้ได้ การฝึกฝนการใช้สติปัญญาอยตู่ ลอดเวลา
5. เป็ นกีฬาท่ตี ้องใช้ความฉลาด ไหวพริบ และการสอ่ หลอกประกอบกนั จึงกลา่ วได้วา่ การเลน่ แบดมนิ ตนั เป็ นการทา
สงครามด้วยความฉลาด เพราะการเลน่ มีการรุก – รับตลอดเวลา
6. ช่วยผอ่ นคลายความตรึงเครียดและสร้างความพอใจให้ผ้เู ลน่ เพราะคนทวั่ ๆ ไปต้องการเลน่ ให้สนกุ สนานปลอ่ ยอารมณ์
ไปกบั การเคลอ่ื นไหวตามชนดิ ตา่ ง ๆ ของกจิ กรรม ตามหลกั จติ วิทยาแล้วแบดมนิ ตนั ยงั ช่วยเสริมสร้างและรักษาจิตใจได้อีก
ด้วย จติ แพทย์คาร์ล เมนนนิ เยอร์(Dr.Karl Menninger)หวั หน้าหนว่ ยงานTopekaซงึ่ เป็ นหนว่ ยงานระดบั โลก ได้แนะนา
ให้ใช้กีฬาแบดมินตนั เป็ นกิจกรรมนนั ทนาการสาหรับคนไข้ทผี่ ดิ ปกติทางอารมณ์ และไมใ่ ช่แตจ่ ะทาให้สขุ ภาพจิตของคน
ป่ วยดีขนึ ้ เทา่ นนั้ คนปกตกิ ด็ ขี นึ ้ ด้วยเชน่ กนั
7. เป็ นกีฬาทีส่ ร้างเสริมมนษุ ย์สมั พนั ธ์ มิตรภาพ และการแสดงออกทแ่ี สดงถงึ ความมีนา้ ใจนกั กีฬาอยา่ งแท้จริง เพราะ
การเลน่ ต้องเลน่ ร่วมกบั คนอืน่ ๆ ได้มกี ารพบปะสงั สรรค์ทงั้ เดก็ และผ้ใู หญ่ทงั้ ผ้หู ญิงและผ้ชู าย จะได้รับประโยชน์เทา่ ๆ กนั
8. เป็ นกีฬาท่มี คี นนยิ มมาก มีรางวลั สงู มกี ารแขง่ ขนั ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ ทาให้ได้เห็นเกมส์แบดมินตนั ดี ๆ อยู่
เสมอ

ประโยชน์ระยะยำว

1.ผ้มู สี ว่ นร่วมในกีฬาแบดมินตนั จะได้รับประโยชน์ทงั้ ทางด้านสรีรวิทยา จิตวิทยา และสงั คมวทิ ยา เป็ นอยา่ งมาก

7

2.โลกในปัจจบุ นั มีการเปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา และเพ่อื เป็ นการลดความกดดนั ลงบ้าง งานอดเิ รกจึงจาเป็ นและสาคญั
สาหรับมนษุ ยชาติ กีฬาแบดมินตนั จงึ เป็ นกีฬาทใ่ี ช้เป็ นงานอดิเรกได้ดยี งิ่ มีทงั้ ความตืน่ เต้น สนกุ สนานในชีวติ ประจาวนั
และแม้วา่ จะอายถุ งึ 60-70 ปี ก็ยงั สามารถเลน่ ได้อยู่

3. เป็ นกีฬาทช่ี ว่ ยเสริมสร้างความแขง็ แรง สมบรู ณ์ของร่างกาย โดยการเลน่ เป็ นประจา

4.เป็ นกีฬาประเภทบคุ คล จงึ ไมจ่ าเป็ นต้องใช้หรือรอคอยสว่ นประกอบอน่ื ๆ มากนกั และไมต่ ้องใช้อปุ กรณ์มากด้วย


Click to View FlipBook Version