The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Praew Kittiya, 2022-05-09 03:29:42

รายงานประจำปี2564

รายงานประจำปี2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

สารบญั 1
3
สารอธกิ ารบด ี 13
ข้อมลู พืน้ ฐานมหาวทิ ยาลัย 25
ประวตั มิ หาวทิ ยาลัย 31
ผูบ้ รหิ ารมหาวิทยาลยั 39
งบประมาณ 71
บคุ ลากรและสารสนเทศของมหาวิทยาลัย 81
โครงการตา่ ง ๆ 85
ด้านงานวิจัย 89
ด้านการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 93
ด้านการพฒั นาอาจารย์และบุคลากรทางการศกึ ษา 95
ด้านการพัฒนาหลักสูตร 101
ดา้ นด้านการบรกิ ารวิชาการแกช่ มุ ชนและสังคม 109
ด้านท�ำ นบุ �ำ รงุ ศิลปวฒั นธรรมและอนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ ม 117
ผลงานสรา้ งช่อื ตามอัตลักษณแ์ ละเอกลักษณ์
การลงนามความรว่ มมอื (MOU)
การพัฒนาการประกนั คุณภาพการศกึ ษา



สารบัญตาราง

ตารางที ่ 1 การได้รับจัดสรรเงนิ งบประมาณแผ่นดินและเงนิ รายได้ ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2564 33
ตารางที่ 2 แสดงจำ�นวนบคุ ลากรตามประเภทบคุ ลากร จำ�แนกตามพ้นื ท่กี ารศกึ ษา 40
ตารางท่ ี 3 แสดงจำ�นวนบคุ ลากรจำ�แนกตามตำ�แหนง่ ทางวชิ าการแยกตามคณะ พน้ื ที่ ปีงบประมาณ 2564 43
ตารางที ่ 4 แสดงจ�ำ นวนบคุ ลากรสายสนับสนุนจำ�แนกตามสังกัดหนว่ ยงาน พ้ืนทกี่ ารศึกษา ประเภทบุคลากร
และวฒุ ิการศกึ ษา ปีงบประมาณ 2564 46
ตารางที่ 5 กองทนุ เงินใหก้ ู้ยืมเพอ่ื การศกึ ษาของรฐั บาล (กยศ.) 53
ตารางที่ 6 กองทนุ เงนิ ให้กู้ยืมที่ผกู พนั กับรายไดใ้ นอนาคต (กรอ) 53
ตารางที่ 7 ทุนการศกึ ษาที่ไม่มภี าระผูกพันสำ�หรบั นักศึกษา 54
ตางรางท ี่ 8 นักศกึ ษารับใหม่ จ�ำ แนกตามพื้นทก่ี ารศึกษา กลุม่ สาขาวชิ า และหลักสูตรปริญญา 66
ตารางที่ 9 เปรยี บเทยี บนักศกึ ษาทงั้ หมด หลกั สูตรปรญิ ญาตรี จ�ำ แกนตามคณะ วทิ ยาลัย ปีการศึกษา
กลมุ่ สาขาวิชา และหลักสตู รปรญิ ญา เปรยี บเทยี บระหวา่ งปีการศึกษา 2563 – 2564 67
ตารางท ่ี 10 เปรยี บเทยี บนกั ศึกษาท้งั หมด หลกั สูตรบัณฑิตศึกษา จำ�แนกตามคณะ วทิ ยาลัย ปกี ารศึกษา
กลมุ่ สาขาวิชา และหลักสตู รปริญญา เปรียบเทียบระหวา่ ง ปีการศกึ ษา 2563 - 2564 69
ตารางท ี่ 11 จ�ำ นวนโครงการ เงนิ งบประมาณ และแหลง่ เงินทุนวิจัย ปี 2562 – 2564 72
ตารางท ่ี 12 แสดงจ�ำ นวนโครงการ เงนิ งบประมาณรายจา่ ยประจำ�ปี (ทนุ วิจัยดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วจิ ัย 75
และนวัตกรรม (ววน.)) แยกตามคณะ/หน่วยงาน ปีงบประมาณ 2564

สารบญั ตาราง (ต่อ)

ตารางที่ 13 จ�ำ นวนโครงการ เงนิ งบประมาณเงินรายได้ แยกตามคณะ/หนว่ ยงาน ปงี บประมาณ 2564 76
ตารางท ่ี 14 จำ�นวนโครงการ เงนิ งบภายนอกอืน่ ๆ แยกตามคณะ/หนว่ ยงาน ปีงบประมาณ 2564 77
ตารางท่ ี 15 สรปุ ผลการดำ�เนนิ งานการตรวจประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับคณะ/วิทยาลัย 118
ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2563

ตารางที่ 16 สรุปผลการด�ำ เนนิ งานการตรวจประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั หนว่ ยงานสายสนบั สนุน 118
ประจำ�ปกี ารศึกษา 2563
ตารางท่ ี 17 เปรยี บเทยี บผลการบริหารงานคณะ/วทิ ยาลัย/สถาบนั ปีการศกึ ษา 2562 - 2563 119
ตารางท่ี 18 เปรยี บเทียบผลการบริหารงานหน่วยงานสนับสนุน ปีการศึกษา 2562 - 2563 119
ตารางท่ ี 19 ระดบั คณะ/วทิ ยาลัย ประจำ�ปีการศกึ ษา 2563 แยกตามองประกอบ 120
ตารางที่ 20 คะแนนเฉล่ยี ท้ังหมดของทกุ คณะ/วิทยาลยั แตล่ ะตัวบ่งช้ี ปีการศึกษา 2563 121
ตารางท่ี 21 ระดับหนว่ ยงานสนับสนุนประจำ�ปีการศึกษา 2563 122


สารบญั แผนภมู ิรปู ภาพ

แผนภูมทิ ี่ 1 เปรยี บเทยี บงบประมาณรายจ่ายงบประมาณแผ่นดินประจำ�ปงี บประมาณ 2560 – 2564 34
แผนภูมิท ่ี 2 แสดงจำ�นวนงบประมาณโดยรวม จ�ำ แนกตามงบรายจา่ ย ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 – 2564 34
แผนภมู ทิ ่ี 3 เปรยี บเทยี บสดั ส่วนจำ�นวนบุคลากรประจ�ำ ปี 2564 จำ�แนกตามสายงาน 40
แผนภมู ทิ ่ี 4 แสดงจ�ำ นวนบคุ ลากรประจ�ำ ปี 2564 จ�ำ แนกตามประเภทบุคลากร 41
แผนภมู ิที่ 5 แสดงเปรียบเทียบสัดส่วนจ�ำ นวนบคุ ลากร จ�ำ แนกตามประเภทบุคลากร 41
ในปีงบประมาณ 2562 - 2564
แผนภมู ิท ่ี 6 เปรียบเทียบสัดส่วนจำ�นวนบคุ ลากรสายวิชาการ จำ�แนกตามวฒุ กิ ารศกึ ษา ในปงี บประมาณ 2564 42
แผนภูมิที่ 7 เปรยี บเทียบสดั สว่ นจ�ำ นวนบคุ ลากรสายสนบั สนนุ จำ�แนกตามวุฒกิ ารศกึ ษา ในปงี บประมาณ 2564 45
แผนภูมิท ่ี 8 เปรยี บเทียบสดั สว่ นจำ�นวนนักศกึ ษาใหม่ จำ�แนกตามพ้ืนที่การศึกษา 66
และกลุ่มสาขาวิชา ในปีการศกึ ษา 2564
แผนภมู ิท ่ี 9 เปรียบเทยี บนกั ศึกษาทงั้ หมด หลกั สูตรปรญิ ญาตรี จำ�แนกตามคณะ วทิ ยาลัย 68
ระหว่างปกี ารศกึ ษา 2563 - 2564
แผนภูมิท่ี 10 เปรียบเทยี บนกั ศกึ ษาท้ังหมด หลกั สูตรบัณฑติ ศกึ ษา จำ�แนกตามคณะ วทิ ยาลยั 69
กลุ่มสาขาวชิ า และหลกั สูตรปรญิ ญา ระหวา่ ง ปีการศกึ ษา 2563 – 2564
แผนภูมทิ ี่ 11 เปรยี บเทียบสัดส่วนจำ�นวนโครงการวิจยั ปี 2562 – 2564 72
แผนภมู ิท่ี 12 เปรยี บเทยี บสัดส่วนจ�ำ นวนเงินงบประมาณ ปี 2562 – 2564 73
แผนภูมิท่ี 13 เปรยี บเทียบสัดสว่ นโครงการวจิ ัย ปี 2562 74
แผนภมู ิที่ 14 เปรียบเทยี บสดั สว่ นโครงการวจิ ัย ปี 2563 74
แผนภมู ทิ ่ี 15 เปรียบเทียบสัดสว่ นโครงการวจิ ัย ปี 2564 74
แผนภูมทิ ี่ 16 เปรียบเทียบจำ�นวนบทความท่ีตพี ิมพ์ในวารสารวิชาการ ปีงบประมาณ 2561 - 2564 78

สารอธิการบดี

ขอขอบคุณ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ผบู้ รหิ าร คณาจารย ์ เจ้าหน้าที่ และนกั ศกึ ษาและศิษย์เก่า
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ (ทง้ั 4 พื้นที)่ ทุกท่าน ทใี่ ห้ความไว้วางใจผม
ในการท�ำ หนา้ ทอ่ี ธกิ ารบดตี ลอดระยะเวลาทด่ี �ำ รงต�ำ แหนง่ อธกิ ารบดี 8 ปที ผ่ี า่ นมา และขอบคณุ
ทกุ ทา่ นทไ่ี ดท้ มุ่ เท ก �ำ ลงั กาย ก �ำ ลงั ใจ ก �ำ ลงั สตปิ ญั ญาเสยี สละเวลาเพอ่ื รว่ มมอื รว่ มใจกนั ท�ำ งาน
พฒั นาเพอ่ื ความเจรญิ กา้ วหนา้ ในทกุ ๆดา้ นของ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์
ของพวกเราจวบจนทุกวนั น้ี จนน�ำ ความก้าวหนา้ มาใหม้ หาวิทยาลัยจนถึงปัจจุบัน
ขอบคณุ ทมี บรหิ าร ทไ่ี ดท้ �ำ งานรว่ มกนั ดว้ ยความทมุ่ เท จรงิ จงั และจรงิ ใจ ชว่ ยกนั พฒั นา
มหาวทิ ยาลยั ใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั น�ำ พามหาวทิ ยาลยั ขบั เคลอ่ื นและพฒั นาไปในทกุ ๆดา้ นตามยทุ ธศาสตร ์
และนโยบายไดอ้ ยา่ งดเี ยย่ี มตลอดมา ขอใหท้ กุ คนท�ำ งานตามหนา้ ทใ่ี หด้ ยี ง่ิ ขน้ึ เพอ่ื องคก์ รของเรา
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทรต์ อ่ ไป ด้วยความรกั และระลึกถึงทกุ ท่าน

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยศ์ วิ ะ วสุนธราภิวฒั ก์
อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์

[1]

[2]

1

ข้อมูลพ้นื ฐาน
มหาวิทยาลยั

[[ 33]]

ตรามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์

ประกอบด้วยดวงตราพระราชลัญจกรประจำ�พระองค์รัชกาลที่ 9
อยภู่ ายในวงกลม มรี ปู ดอกบวั 8 กลบี เหนอื วงกลมมเี ลข 9 และพระมหาพชิ ยั มงกฎุ
ครอบใต้วงกลมมีแถบโค้งรองรับภายในบรรจุอักษรชื่อ“มหาวิทยาลัยเทคโนโลย ี
ราชมงคลรัตนโกสินทร”์
ดวงตราพระราชลญั จกรเลข 9 และพระมหาพชิ ยั มงกฎุ สอ่ื ความหมายวา่
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร
ทรงพระมหากรณุ าธคิ ณุ พระราชทานชอื่ “มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล
รัตนโกสินทร์”และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เชิญพระราชลัญจกร
ประจำ�พระองค์ และพระมหาพิชัยมงกุฎเป็นเครื่องหมายประจำ�มหาวิทยาลัย
รปู ดอกบัว 8 กลบี ส่อื ความหมายถึง ความสดชื่นเบิกบาน ท่กี ่อให้เกิดปัญญา
แผข่ จรไปทั่วสารทิศ

สปี ระจ�ำ มหาวิทยาลัย “สแี ดงเลือดนก”

สแี ดงเลือดนก : เพอ่ื เฉลิมพระเกยี รตสิ มเด็จ

พระศรีนครินทราบรมราชชนนี (สมเดจ็ ย่า) และสแี ดง
ยังเป็นสแี ห่งความเป็นมงคลอีกด้วย

อัตลกั ษณ์ (Identity) บัณฑิตนักปฏิบตั ิ

วิสัยทัศน์ (Vision) “เป็นมหาวิทยาลัยชั้นน�ำ แห่งสงั คมการประกอบการ
(The leading University of Entrepreneurship)”

ดอกไมป้ ระจำ�มหาวิทยาลยั “ดอกบัวสวรรค์”

ดอกบวั สวรรค์ เป็นไมพ้ ่มุ มีกลนิ่ หอม ดูแลง่าย
และออกดอกตลอดทง้ั ปี

[4]

ปณธิ าน เป็นมหาวทิ ยาลยั แหง่ สงั คมการประกอบการ (SMART Entrepreneur)
(Determination) โดยมคี ำ�จ�ำ กดั ความของ “SMART Entrepreneur”ดงั นี้



s Service Minded/Science

M Morality/Management
A Artistic/Academic

R Responsibility

T Technology/Thainess

Entrepreneur

[5]

พันธกจิ

1. ผลติ บณั ฑติ นกั ปฏบิ ัตทิ ม่ี ีองคค์ วามรู้ดา้ นเทคโนโลยี การสรา้ งสรรคแ์ ละการจัดการสู่สังคม

การประกอบการ

2. ผลิตผลงานวิจยั ทสี่ รา้ งองค์ความรู้สงิ่ ประดิษฐ์ นวตั กรรม และงานสรา้ งสรรค์ที่สามารถน�ำ ไปใช้

ประโยชนใ์ นระดับชาตแิ ละนานาชาติ

3. เป็นศนู ย์กลางบริการวชิ าการแก่สังคมทต่ี อบสนองความต้องการของชมุ ชนและ

สงั คมการประกอบการ

4. ทำ�นุบำ�รงุ ศลิ ปวัฒนธรรม รักษาสิง่ แวดล้อม และให้ความสำ�คัญกบั ภมู ปิ ญั ญาไทย

5. บริหารจดั การองค์กรด้วยธรรมาภบิ าลเพือ่ เข้าสอู่ งค์กรคณุ ภาพตามเกณฑ์ท่ีไดม้ าตรฐาน

6. พฒั นาศักยภาพของมหาวทิ ยาลัยสู่ระดบั สากล

พ้นื ทศ่ี าลายา

ด้านพลังงาน นวัตกรรม วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร ์
สถาปัตยกรรมศาสตร์ และอตุ สาหกรรมสร้างสรรค์

พื้นทบ่ี พติ รพิมุข จักรวรรดิ

ดา้ นภาษาและบริหารธรุ กิจ

จดุ เดน่ วิทยาลยั เพาะช่าง
ของมหาวทิ ายาลัย
ดา้ นศลิ ปะและวฒั นธรรม

วิทยาเขตวังไกลกังวล
ดา้ นเทคโนโลยี การโรงแรมและการทอ่ งเทีย่ ว

[6]

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์

พฒั นาการจัดการเรยี นรูท้ ม่ี ่งุ เน้นองค์ความรู้ ด้านเทคโนโลยี
การสร้างสรรค์และการจดั การส่สู งั คมการประกอบการ
ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้มงี านวจิ ยั สงิ่ ประดษิ ฐน์ วตั กรรม
และงานสรา้ งสรรค์ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ ่อชุมชน สังคม
และประเทศชาติ
บริการวชิ าการ/การจดั หารายไดม้ ชี มุ ชนทม่ี ี
ความเขม้ แข็งและมศี กั ยภาพเพม่ิ ขน้ึ จาก
การไดร้ ับบริการจากมหาวิทยาลัย
ท�ำ นุบ�ำ รุงศลิ ปวฒั นธรรมรักษา
สง่ิ แวดลอ้ มและให้ความสำ�คัญ
กบั ภมู ิปัญญาไทย

สง่ เสริมสนบั สนนุ ใหม้ กี ารบรหิ ารจัดการ
องคก์ รเชงิ ธรรมาภบิ าล และพัฒนา
บคุ ลากรทุกระดบั เพ่อื เขา้ สอู่ งคก์ ร
คุณภาพตามเกณฑ์ทไี่ ดม้ าตรฐาน

พฒั นาขีดความสามารถ
ของมหาวิทยาลยั สสู่ ากล

[7]

ค่านิยม
ค่านยิ ม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
MOVE UP ยกระดบั พรอ้ มขับเคลือ่ น
โดยมคี �ำ จำ�กดั ความของ “MOVE UP” ดังนี้

M Move to Innovation = ก้าวสูน่ วัตกรรม
O Ownership = ส�ำ นึกความเป็น เจา้ ขององค์กร
V Value = สอนสร้างเสรมิ เพิ่มคุณค่า
E Ethics = ศรทั ธาหลักธรรมาภิบาล
U Unity = สมคั รสมานสามัคคี
P Performance = ประสิทธิภาพดีมีวนิ ัย

สญั ลักษณข์ องคา่ นิยม

[8]

[9]

[10]

[11]

[12]

2

ประวตั ิมหาวทิ ยาลัย

[[ 1133 ]]

พ.ศ. 2456 พ.ศ. 2428
เพาะชา่ ง บพิตรพิมุข จักรวรรดิ
พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว (ร.6) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั (ร.5)
ทรงพระมหากรุณาธคิ ณุ โปรดเกลา้ ฯใหจ้ ดั ตง้ั ทรงพระมหากรุณาธคิ ณุ โปรดเกลา้ ฯประกาศจดั ตัง้
และพระราชทานนามวา่ “โรงเรยี นเพาะชา่ ง” “โรงเรียนวัดบพติ รพมิ ขุ ” เป็นโรงเรยี นหลวงรุน่ แรก
และเสด็จพระราชดำ�เนินเปดิ โรงเรยี น สำ�หรับให้ราษฎรไดศ้ กึ ษาเล่าเรยี น เม่ือพ.ศ. 2428
เมอ่ื วนั ที่ 7 ม.ค. 2456
พ.ศ. 2531 พ.ศ. 2518
สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล วทิ ยาลยั เทคโนโลยีและอาชวี ศึกษา
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทรงพระมหากรุณาธคิ ณุ โปรดเกลา้ ฯ ทรงพระมหากรณุ าธคิ ุณโปรดเกล้าฯ
พระราชทานนาม “สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล” เสดจ็ เป็นองค์ประธานในพธิ พี ระราชทาน
เมอื่ วันท่ี 15 ก.ย. 2531 ปริญญาบัตร ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 – 31 ก.ค. 2524
พ.ศ. 2548
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร์ พ.ศ. 2533
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร วิทยาเขตวงั ไกลกังวล
มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร
ทรงลงพระปรมาภไิ ธยในพระราชบัญญัติและ มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเม่ือวันที่ 18 ม.ค. 2548 ทรงพระมหากรณุ าธคิ ณุ โปรดเกลา้ ฯพระราชทาน
มีผลท�ำ ให้เกิดมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล 9 แหง่ ช่ือ “วิทยาเขตวังไกลกังวล” เพ่อื เป็นการ
และหนง่ึ ในเก้า คอื มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ เฉลิมพระเกยี รติสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราช
ชนนีมีพระชนมายคุ รบ 90 พรรษา

[14]

ประวตั มิ หาวทิ ยาลัย

ม หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เกิดขึ้นตามระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร ์
พ.ศ.2548 โ ดยเมื่อวันที่8มกราคม พ .ศ.2548 พ ระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร
ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 6 วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548
พระราชบัญญัตินี้มีผลทำ�ให้เกิดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลจำ�นวน 9 แห่ง ดังนั้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร ์
จึงถือได้ว่ามีฐานะเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 สังกัดสำ�นักงาน
คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (เดมิ ) ปจั จบุ นั ไดเ้ ปลย่ี นเปน็ สงั กดั กระทรวงการอดุ มศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ได้จัดการศึกษาระดับปริญญา และบัณฑิตศึกษาโดยจัด เป็น 7 คณะ 4 วิทยาลัย
ได้แก่ ค ณะวิศวกรรมศาสตร์คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ค ณะบริหารธุรกิจ ค ณะอุตสาหกรรมการโรงแรมและการท่องเที่ยว
คณะศลิ ปศาสตร์ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตรแ์ ละการออกแบบคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วทิ ยาลัยเพาะชา่ ง วทิ ยาลยั ผู้ประกอบการ
สร้างสรรค์นานาชาติ วทิ ยาลัยพลังงานและสิง่ แวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยนื รตั นโกสินทร์ และวิทยาลัยนวตั กรรมการจัดการ มพี ื้นทีจ่ ัดการศึกษา
รวม 4 พ้นื ท่ ี ได้แก ่ พนื้ ทีศ่ าลายา พน้ื ท่ีบพติ รพมิ ุข จกั รวรรด ิ วิทยาลัยเพาะชา่ ง และวทิ ยาเขตวงั ไกลกังวล

พื้นทศ่ี าลายา วิทยาเขตวังไกลกงั วล พน้ื ที่บพติ รพิมขุ จกั รวรรดิ วิทยาลัยเพาะชา่ ง

[15]

พ้ืนที่ศาลายา

จากการทร่ี ฐั บาลมแี นวนโยบายส�ำ คญั ทจ่ี ะกระจายความเจรญิ ไปสชู่ นบทและสว่ นภมู ภิ าคโดยกระจายระบบบรกิ าร
พื้นฐานทางเศรษฐกิจและการบริการพื้นฐานทางสังคม ซึ่งการบริการทางสังคมที่สำ�คัญที่สุด คือ การศึกษาเพื่อเป็น
การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยส์ นองความตอ้ งการก�ำ ลงั คนในการพัฒนาเศรษฐกิจและอตุ สาหกรรมของประเทศ รัฐบาลได้
วางแนวนโยบายดา้ นสงั คมทไี่ ดแ้ ถลงตอ่ สภาเมอ่ื วนั ท่ี21กรกฎาคมพ.ศ.2535 ใ นอนั ทจ่ี ะเรง่ รดั การจดั การศึกษาเพื่ออาชีพ
ทั้งในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน ให้ผู้เรียนได้มีความรู้และทักษะที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารซง่ึ มภี ารกจิ รบั ผดิ ชอบในการผลติ ก�ำ ลงั คนทกุ ๆระดบั จงึ ไดม้ อบหมายใหส้ ถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล
พิจารณาดำ�เนินการจัดตั้งวิทยาเขตศาลายาขึ้น ในจังหวัดนครปฐม เดิมโครงการจัดตั้งวิทยาเขตศาลายา คอื โครงการ
ขยายวิทยาเขตอุเทนถวายศาลายา เนอ่ื งจากสถานทเ่ี ดิมมเี นื้อทีจ่ ำ�กดั เพียง 25 ไร่ ตอ่ มาใน พ.ศ. 2534 ได้ทำ�การเชา่ ท ่ี
ของวดั บวรนเิ วศวหิ าร ซง่ึ ตง้ั อยู่ ณ ต�ำ บลศาลายา อ�ำ เภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม มเี นอ้ื ทป่ี ระมาณ 111 ไร่ ทง้ั นเ้ี พอ่ื ขยาย
โอกาสทางการศึกษาในสาขาต่าง ๆ ทางดา้ นโยธาและสถาปัตยกรรม เปน็ การตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน
ให้สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7
โดยไดด้ �ำ เนนิ การกอ่ สรา้ งอาคารเรยี น อ าคารปฏบิ ตั งิ านและระบบสาธารณปู โภคตา่ งๆเสรจ็ เรยี บรอ้ ยเปน็ บางสว่ นเมอื่ วนั ท ่ี
1 กมุ ภาพนั ธ ์ พ.ศ. 2538 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลไดป้ ระกาศจดั ตง้ั วทิ ยาเขตศาลายาใหเ้ ปน็ วทิ ยาเขตทจ่ี ดั การเรยี น
การสอนหลากหลายสาขาวิชา (Multi – Technology Campus) ซึง่ เป็นวทิ ยาเขตแห่งใหม ่ นบั เปน็ วทิ ยาเขตท่ี 35 ของ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และวิทยาเขตศาลายา ไดเ้ รมิ่ รับนักศกึ ษาต้ังแต่ปกี ารศึกษา 2538 เปน็ ตน้ มา

[16]

ปัจจบุ นั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทร์ พน้ื ท่ีศาลายา เป็นศูนย์กลางการจัดการศึกษาระดับปริญญาและ
บณั ฑิตศกึ ษา ตัง้ อยูเ่ ลขท่ี 96 หมู่ท่ี 3 ถนนพุทธมณฑลสาย 5 ต�ำ บลศาลายา อ�ำ เภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
ประกอบด้วยหน่วยงานตา่ ง ๆ ตามโครงสรา้ งการแบ่งสว่ นราชการมหาวทิ ยาลยั ดังนี้
1. สำ�นกั งานอธกิ ารบดี
2. ส�ำ นักงานสภามหาวทิ ยาลยั
3. ส�ำ นกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
4. สำ�นกั ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี น
5. คณะบรหิ ารธรุ กจิ
6. คณะวิศวกรรมศาสตร์
7. คณะสถาปัตยกรรมศาสตรแ์ ละการออกแบบ
8. คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
9. วิทยาลยั พลังงานและส่ิงแวดล้อมอยา่ งยัง่ ยืนรตั นโกสนิ ทร์
10. วิทยาลยั นวัตกรรมการจัดการ
11. วทิ ยาลยั ผู้ประกอบการสร้างสรรคน์ านาชาติ
12. สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา
13. สถาบนั อุตสาหกรรมสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม
หมายเหตุ วทิ ยาลยั พลังงานและส่งิ แวดล้อมอย่างยง่ั ยนื รัตนโกสินทร์ และวทิ ยาลัยนวตั กรรมการจัดการ จดั ตง้ั เมอ่ื ปี
พ.ศ. 2552 วทิ ยาลยั ผปู้ ระกอบการสรา้ งสรรคน์ านาชาตจิ ดั ตง้ั เมอ่ื ปพี .ศ. 2560 สถาบนั อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม
จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2561

[17]

พืน้ ทีบ่ พิตรพมิ ขุ จกั รวรรด ิ

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทร์ พืน้ ทีบ่ พติ รพมิ ขุ จักรวรรดิ เปน็ พืน้ ท่จี ดั การศึกษาที่เกา่ แกท่ ีส่ ุด
ตง้ั อยเู่ ลขท ่ี 264 ถนนจกั รวรรด ิ แขวงจกั รวรรด ิ เขตสมั พนั ธวงศ์ กรงุ เทพมหานคร 10100 เดมิ เรยี กวา่ “โรงเรยี นวดั บพติ รพมิ ขุ ”
หรอื “โรงเรยี นวดั เชงิ เลน” เปน็ สถานศกึ ษาทจ่ี ดั การเรยี นการสอนตง้ั แตส่ มยั รชั กาลท่ี 5 โดยมพี ระภกิ ษสุ ามเณรเปน็ ครสู อน
และใช้กุฏิ ศาลาการเปรียญ หรือศาลาภายในวัดเป็นสถานที่เรียน มีผู้นิยมส่งบุตรหลานมาฝากเป็นศิษย์เรียนหนังสือ
ในส�ำ นกั เรยี นวดั บพติ รพมิ ขุ กนั มาก นกั เรยี นในยคุ นน้ั ไดแ้ ก ่ พระยาภริ มยภ์ กั ดี (บุญรอด ภริ มยภ์ ักด)ี พระยาภักดนี รเศรษฐ
(เลิศ เศรษฐบุตร) และพระยารณชัยชาญยุทธ (ศุข โชติเสถียร) เป็นต้น ครั้นถึงเดือนเจ็ด ปีระกา สัปตศก 1247 หรือ
เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2428 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ฯ (รชั กาลท่ี 5) ไดท้ รงพระมหากรณุ าธคิ ณุ โปรดเกลา้ ฯ
ประกาศจัดตั้งโรงเรียนวัดบพิตรพิมุขขึ้นเป็นโรงเรียนหลวงรุ่นแรก สำ�หรับให้ราษฎรได้ศึกษาเล่าเรียน โดยมีขุนอนุกิจวิธูร
(นอ้ ย จลุ วิธูร) เป็นอาจารย์คนแรก และมีนกั เรียนเพยี ง 34 คน ในปแี รกทเ่ี ปิดสอนอยา่ งเปน็ ทางการได้เปดิ สอนมูลสามัญ
ชั้นต่ำ�ประโยค 1 ก่อน และได้ปรับเปลี่ยนการศึกษามาเรื่อย ๆ
ปัจจบุ ัน มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทร์ พื้นทบ่ี พิตรพมิ ุข จกั รวรรด ิ มหี นว่ ยงาน และคณะ ตา่ ง ๆ
ดงั นี้
1. ส�ำ นกั บรหิ ารบพิตรพมิ ุข จักรวรรดิ
2. คณะบรหิ ารธรุ กิจ
3. คณะศลิ ปศาสตร์

[18]

วิทยาลยั เพาะช่าง

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ วิทยาลยั เพาะชา่ งต้งั อยู่เลขท่ี 86 ถนนตรเี พชร แขวงวังบูรพาภิรมย์
เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 เป็นสถาบันการศึกษา ทางด้านศิลปหัตถกรรมแห่งแรกของประเทศไทย ที่ได้
ดำ�เนินการอย่างต่อเนื่องมาตลอดระยะเวลาอันยาวนาน เพื่อการทำ�นบุ �ำ รุงศลิ ปะการช่างของไทยใหค้ งไวส้ ืบไป
มใิ หเ้ สอ่ื มสญู พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ฯ ทรงพระมหากรณุ าธคิ ณุ โปรดเกลา้ ฯใหจ้ ดั ตง้ั ขน้ึ และพระราชทานนาม
วา่ “โรงเรยี นเพาะชา่ ง”และเสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ทรงเปดิ โรงเรยี นเปน็ สวัสดิมงคล เม่ือวันท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2456 ปัจจุบัน
เรียกวา่ “วิทยาลัยเพาะช่าง”
ปจั จุบนั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ วทิ ยาลัยเพาะชา่ ง มเี พยี งหนว่ ยเดียวคอื วทิ ยาลยั เพาะช่าง

[19]

วทิ ยาเขตวังไกลกังวล

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร ์ วทิ ยาเขตวงั ไกลกงั วล ตง้ั อยทู่ ถ่ี นนเพชรเกษม ก.ม. ท่ี 242 ต�ำ บลหนองแก
อ�ำ เภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ 77110 พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร
พระราชทานนามว่า “วิทยาเขตวังไกลกังวล” จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ.2533 เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรต ิ
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เนื่องในโอกาสที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมีพระชนมายุ 90 พรรษา
อีกทั้งเป็นการขยายการศึกษาวิชาชีพระดับสูงให้แก่ประชาชนในส่วนภูมิภาคเพื่อจะได้มีโอกาสพัฒนาความรู้ความคิด
ในการดำ�รงชีวิต ทั้งเป็นการผลิตและพัฒนากำ�ลังคน สำ�หรับการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจในบริเวณพื้นที่ตามโครงการ
พฒั นาชายฝง่ั ทะเลภาคใต้ (Southern Seaboard) ของรฐั บาลเหตผุ ลส�ำ คญั อกี ประการหนง่ึ ของการจดั ตง้ั วทิ ยาเขตวงั ไกลกงั วล
คอื การเกดิ วาตภยั พายใุ ต้ฝุ่นเกย์ในบริเวณ 3 จังหวดั ภาคใต้ ได้แก่ ชุมพร ระนอง ประจวบครี ีขันธ์เมอ่ื ปี พ.ศ. 2532
ท�ำ ใหป้ ระชาชนบางสว่ นในพน้ื ทด่ี งั กลา่ วไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น รฐั บาลจงึ ไดเ้ รง่ ด�ำ เนนิ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื โดยใหส้ ว่ นราชการรว่ มแกไ้ ข
ปัญหาและให้ความช่วยเหลือเป็นการเร่งด่วนภายใต้ “แผนฟื้นฟูบูรณะและพัฒนาจังหวัดชุมพรและจังหวัดใกล้เคียง”
หนว่ ยงานและสว่ นราชการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ไดน้ �ำ เสนอโครงการเขา้ แผน เชน่ โครงการจดั ตง้ั วทิ ยาลยั การประมงชมุ พรของกรมอาชวี ศกึ ษา
ในสว่ นของสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล ก ระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดเ้ สนอใหจ้ ดั ตงั้ วทิ ยาเขตวงั ไกลกงั วลขนึ้ เ พอ่ื เปน็ สว่ นหนง่ึ ของแผนงาน
ดงั กลา่ วดว้ ย ว ทิ ยาเขตวงั ไกลกงั วลไดส้ นองนโยบายของรฐั บาลโดยเรง่ ดว่ นจนสามารถด�ำ เนนิ การไดภ้ ายในระยะเวลาอนั รวดเรว็

[20]

โดยเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) รุ่นแรก จำ�นวน 2 สาขาวิชา ได้แก่
สาขาวิชาคณะอุตสาหกรรมการโรงแรมและการท่องเที่ยว สาขาละ 30 คน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2533 และไดเ้ ปดิ เรยี น
เมื่อวนั ที่ 12 สงิ หาคม พ.ศ. 2533 ซึ่งตรงกับวนั เฉลมิ พระชนมพรรษาของสมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ิพ์ ระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และในปี 2533 เ ป็นปีครบรอบ 9 0 พ รรษา ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ดงั นนั้ จงึ กลา่ วไดว้ า่ การเรมิ่ ตน้ ของวทิ ยาเขตวงั ไกลกงั วลมคี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั เหตกุ ารณท์ สี่ �ำ คญั ของชาต ิ
อย่างตอ่ เน่ือง
ปจั จบุ นั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร ์ วทิ ยาเขตวงั ไกลกงั วล มหี นว่ ยงานและคณะ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี
1. ส�ำ นักงานวิทยาเขตวังไกลกงั วล
2. สำ�นักงานการศกึ ษาทางไกล
3. คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี
4. คณะอตุ สาหกรรมการโรงแรมและการท่องเท่ียว
5. คณะบรหิ ารธุรกิจ
6. คณะวิศวกรรมศาสตร์
7. วิทยาลัยนวตั กรรมการจัดการ


[21]

บริการของมหาวทิ ยาลยั ทอ่ี �ำ นวยความสะดวกแกผ่ ูเ้ ขา้ พกั



รตั นโกสนิ ทรเ์ พลส
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร์
 หอ้ งประชมุ สัมมนาทางวิชาการ
 สถานท่ใี ชใ้ นการออกกำ�ลงั กาย สนามกฬี า ฟติ เนส
 ศนู ย์อาหารและเครือ่ งด่ืม
 สวนหย่อมเพอื่ การพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ

อาคารปฏิบัตกิ ารสนั ทนาการ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสนิ ทร์
หอ้ งประชุมสัมมนาวชิ าการ
 สถานที่ใช้ในการออกกำ�ลังกาย สนามกฬี า ฟติ เนส
ห้องประชมุ ขนาด 20-300 ที่นง่ั
หอประชมุ ขนาด 1,500 ท่ีน่ัง
เลขที่ 96 หมู่ 3 ถนนพทุ ธมณฑลสาย 5 ต�ำ บลศาลายาอ�ำ เภอ
พุทธมณฑล จงั หวดั นครปฐม
โทร. 0 2441 6000 ตอ่ 2070-2071
เวบ็ ไซต์ http://spl.rmutr.ac.th
http://www.facebook.com/rmutr.rattanakosinplace

[22]

ราชมงคลหวั หนิ เพลส
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสนิ ทร์
วทิ ยาเขตวังไกลกังวล
ถนนเพชรเกษม (ก.ม.242) ต�ำ บล หนองแก อำ�เภอหวั หนิ
จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ 77110
โทร. 089-9894713
http://www.facebook.com/rajamangala.huahin.place

[23]

ศูนย์ปฏิบัตกิ ารโรงแรมและการทอ่ งเทยี่ ว
ราชมงคลชมคล่ืน หัวหนิ

ถนนตะเกียบ – หนองแก ตำ�บลหนองแก อ�ำ เภอหัวหิน
จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ 77110
โทร. 085-8335648,086-3303806

: https://www.facebook.com/ChomkluenHuahin/
เวบ็ ไซด์ : https://chomkluen.rmutr.ac.th/

[24]

3

ผูบ้ ริหารมหาวทิ ยาลยั

[[ 2255 ]]

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์

พลเอก จรลั กุลละวณชิ ย์
นายกสภานายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร์

นายวชิ าญ ธรรมสจุ รติ
อปุ นายกสภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์

กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผทู้ รงคุณวฒุ ิ

ดร.เชดิ ศักดิ์ ศุภโสภณ นายธงชัย รักปทมุ ดร.เจรญิ พงษ์ ศุภธรี ะธาดา นายบญุ เลิศ เลิศเมธากลุ

ศ.ดร.สมชาย วงศว์ ิเศษ ดร.ปราจิน เอีย่ มลำ�เนา ดร.พยงุ ศกั ดาสาวติ ร ดร.ผดุงชยั ภพู่ ัฒน์

นางลดาวลั ย์ บวั เอย่ี ม นายโอภาส เขยี ววิชัย ดร.รชั ฏา จวิ าลัย ศ.ดร.ปิติ สคุ นธสุขกลุ นายประสงค ์ ร่งุ แสง

[26]

กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยโดยตำ�แหน่ง

ผศ.ศิวะ วสุนธราภวิ ัฒก์ ผศ.ดร. สริ ชิ ยั จริ วงศ์นุสรณ์
อธิการบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสนิ ทร์ ประธานสภาคณาจารย์ประจำ�และข้าราชการ

กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากผบู้ ริหาร

รศ.ดร.อุดมวทิ ย ์ ไชยสกลุ เกยี รติ ผศ.ดร.กฤชกนก  สทุ ศั น์ ณ อยุธยา อาจารย์นลินี แสงอรญั
กรรมการสภาจากผู้บริหาร กรรมการสภาจากผบู้ ริหาร กรรมการสภาจากผูบ้ รหิ าร

ผศ.ประนอม ตงั้ ปรชี าพาณิชย์ ผศ.ดร.สัมพนั ธ์ุ จันทร์ดี ดร.สำ�เนยี ง องสพุ นั ธก์ ลุ
กรรมการสภาจากผบู้ รหิ าร กรรมการสภาจากผบู้ รหิ าร กรรมการสภาจากผู้บริหาร

[27]

คณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากคณาจารย์ประจำ�และข้าราชการ

อาจารย์วชั รพล บญุ สมบูรณ์ อาจารยอ์ ภิเสฎฐ ์ สวุ รรณสะอาด ผศ.ดร.เจษฎาพร สถานทรพั ย์

อาจารยส์ มใจ ศรเี นตร อาจารย์ทวีศกั ด์ิ รงุ่ ศกั ด์ทิ วกี ุล อาจารยด์ ร.โสรัจ พฤฒโิ กมล

เลขานกุ ารสภามหาวิทยาลัย

อาจารย์วัชรี จิวาลกั ษณ์ นางผุสดี เชาว์ไว นางสาวดวงพร ประทมุ แกว้
รองอธิการบดี เลขานุการมหาวิทยาลัย ผู้ชว่ ยเลขานุการสภามหาวิทยาลัย ผูช้ ว่ ยเลขานกุ ารสภามหาวิทยาลยั

[28]

ผ้บู ริหารมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์

ผศ.ศิวะ วสนุ ธราภิวัฒก์
อธิการบดี

อาจารย์วชั รี จิวาลักษณ์ อาจารยน์ ลนิ ี แสงอรัญ รศ.ดร. อดุ มวิทย์ ไชยสกลุ เกยี รติ ผศ.ดร.กฤชกนก สทุ ัศน์ ณ อยธุ ยา ดร.ฟ้าใส สามารถ
รองอธิการบดี รองอธกิ ารบดี รองอธกิ ารบดี รองอธกิ ารบดี รองอธิการบดี

ผศ.จฬุ าลักษณ์ ไพบูลยฟ์ ุง้ เฟือ่ ง อาจารย์ประพัฒน ์ สีใส ผศ. นภาพร นาคทมิ ผศ. รุจีพัชร์ พาสุกรี ผศ.ดร.อาคีรา ราชเวียง
รองอธกิ ารบดี รองอธิการบดี รองอธิการบดี รองอธิการบดี รองอธกิ ารบดี

อาจารยค์ งศกั ด ์ิ นาคทมิ อาจารยส์ ิปปะ ด้วงผ้ึง ผศ.ดร.สุภาภร ภญิ โญฉตั รจินดา ดร.พรสรรค์ โรจนพานิช อาจารย์วรพงษ์ อรุณเรือง
รองอธกิ ารบดี รองอธกิ ารบดี รองอธิการบดี รองอธิการบดี ผชู้ ่วยอธิการบดี

อาจารยณ์ ฏั ฐ ์ ตง้ั ปรชี าพาณชิ ย์ ผศ.วรางคณา นิม่ เจริญ ผศ.ดร.โสรัตน์ มงคลมะไฟ อาจารย์สเุ ทพ จอ้ ยศรเี กตุ นายศักดิ์สิทธ์ ิ วิจติ รเตมยี ์
ผู้ชว่ ยอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี ผชู้ ่วยอธกิ ารบดี ผู้ช่วยอธกิ ารบดี ผู้ชว่ ยอธิการบดี

[29]

ผอู้ ำ�นวยการ/คณบดี

ดร.สำ�เนยี ง องสุพันธก์ ลุ คณบดคี ณะวศิ วกรรมศาสตร์
อาจารยเ์ สาวณติ ทองมี คณบดีคณะสถาปตั ยกรรมศาสตรแ์ ละการออกแบบ
ดร.รักชนกชรนิ ร์ พูลสวุ รรณนท ี คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
ผศ.บุปผา วงษ์พนั ธท์ุ า คณบดีคณะอตุ สาหกรรมการโรงแรมและการทอ่ งเท่ียว
ผศ.ประนอม ตั้งปรีชาพาณชิ ย์ คณบดคี ณะบริหารธรุ กิจ
ผศ.ดร.สมพร สขุ ะ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผศ.ดร. ตรงึ ตรา แหลมสมทุ ร คณบดีคณะศลิ ปศาสตร์
ผศ.บรรล ุ วริ ิยาภรณป์ ระภาส ผู้อ�ำ นวยการวิทยาลัยเพาะช่าง
รศ.ดร. อดุ มวทิ ย์ ไชยสกุลเกียรติ ผอู้ ำ�นวยการวิทยาลัยพลังงานและส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งยงั่ ยนื รัตนโกสนิ ทร์
นายรพี ม่วงนนท ์ ผู้อำ�นวยการวิทยาลัยนวัตกรรมการจดั การ
นายณฐั พงศ์ โชตกิ เสถียร ผูอ้ �ำ นวยการวทิ ยาลัยผปู้ ระกอบการสร้างสรรค์นานาชาติรตั นโกสนิ ทร์
ผศ.สมใจ ศรเี นตร ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นักงานอธกิ ารบดี
นางสาวพิมรักษ์ บุญกล�ำ่ ผอู้ ำ�นวยการกองกลาง
นางสาววราภรณ์ คงเจรญิ ผู้อำ�นวยการกองคลงั
นางพันธติ รา จตรุ ภทั รนนท ์ ผอู้ �ำ นวยการกองนโยบายและแผน
อาจารย์ณจั ฉรยี า อัศวรตั น์ ผอู้ �ำ นวยการกองบริหารงานบคุ คล
อาจารยอ์ ภิเสฏฐ ์ สวุ รรณสะอาด ผอู้ ำ�นวยการกองพฒั นานกั ศกึ ษา
อาจารย์ศรีสดุ า ลลี าสุวฒั น ์ ผอู้ �ำ นวยการกองกจิ การพเิ ศษ
ผศ.ดร.วาสุกาญจน ์ งามโฉม ผอู้ �ำ นวยการกองสหกจิ ศึกษา
อาจารยพ์ ิทยา สุขจนิ ดา ผู้อ�ำ นวยการกองอาคารสถานทยี่ านพาหนะและภูมทิ ศั น์
ผศ.ดร.มาลัย กมลสกุลชัย ผอู้ �ำ นวยการสำ�นักงานตรวจสอบภายใน
นายกุลพัทธ์ กลุ ชาติดิลก ผอู้ ำ�นวยการสำ�นักงานประกันคุณภาพ
นางสาวณัณทนณั ณ์ ชูราศร ี ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั งานประชาสัมพันธ์
ผศ.ขวัญชัย จนั ทนา ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานออกแบบสถาปัตยกรรมและวศิ วกรรม
อาจารยพ์ งศ์ภมู ิ ศรชมแกว้ ผู้อำ�นวยการสำ�นกั งานวิทยาเขตวงั ไกลกงั วล
ผศ.คมสันต์ ทับชยั ผู้อำ�นวยการสำ�นกั งานการศึกษาทางไกล
ผศ.ดร.พมิ ุข สศุ ีลสมั พนั ธ์ ผ้อู �ำ นวยการส�ำ นกั งานนติ ิการ
นางผุสดี เชาวไ์ ว หัวหนา้ สำ�นักงานสภามหาวทิ ยาลัย
ดร.วัชรินทร ์ วรินทักษะ ผู้อำ�นวยการส�ำ นักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผศ.ดร.สมั พันธุ ์ จนั ทรด์ ี ผ้อู �ำ นวยการสำ�นักสง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบียน
ผศ.ดร.ศรีสมร ผ่องพฒุ ิ ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั บริหารงานบพิตรพิมุข จกั รวรรดิ
ดร.สันติ ไทยยืนวงษ์ ผอู้ �ำ นวยการสถาบนั วิจยั และพฒั นา
ผศ.ธง อุดมผล ผอู้ �ำ นวยการสถาบันศิลปะและวัฒนธรรม
ผศ.จุฬาลกั ษณ์ ไพบูลยฟ์ ้งุ เฟอ่ื ง ผอู้ �ำ นวยการสถาบันอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และนวัตกรรม
อาจารย์กฤตพร วงศ์ถาวร ผอู้ ำ�นวยการศนู ย์ภาษาและวิเทศนสัมพันธ์
ดร.ธญั นนั ท์ วรเศรษฐพงษ ์ อ�ำ นวยการศูนย์พัฒนาและบรกิ ารวิชาการสู่สงั คม

[30]

4

งบประมาณ

[[3311]]

ในปงี บประมาณ 2564 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร์ ได้รบั จัดสรรงบประมาณจำ�นวนทัง้ ส้ิน
998,470,000 บาท เปน็ เงนิ งบประมาณแผน่ ดนิ 729,970,700 บาท และงบประมาณเงนิ รายได้ 268,499,300 บาท
(ข้อมูล ณ 1 ตุลาคม 2563)

[32]

ตารางท่ี 1 การไดร้ ับจัดสรรเงินงบประมาณแผน่ ดนิ และเงนิ รายได้
ประจำ�ปงี บประมาณ 2564

ผลผลติ เงินงบประมำณแผน่ ดนิ งบประมำณเงินรำยได้ รวม

ผลผลติ : ผู้สำเร็จกำรศกึ ษำดำ้ นวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 557,477,500 125,726,120 683,203,620
ผลผลิต : ผสู้ ำเร็จกำรศกึ ษำดำ้ นสังคมศำสตร์ 134,493,200 61,545,420 196,038,620
ผลผลติ : ผลงำนทำนบุ ำรุงศลิ ปวัฒนธรรม
ผลผลิต : ผลงำนวิจัยเพื่อสร้ำงองคค์ วำมรู้ - - -
ผลผลติ : ผลงำนกำรใหบ้ ริกำรวิชำกำร - 1,204,260 1,204,260
ผลผลติ : ผลงำนวิจัยเพ่ือถ่ำยทอดเทคโนโลยี 0
- - 0
โครงกำร : โครงกำรพฒั นำและผลติ กำลงั คนของประเทศเพื่อ - -
รองรับนโยบำย Thailand 4.0
กองทุนมหำวิทยำลยั เทคโนโลยีรำชมงคลรัตนโกสนิ ทร์ 38,000,000 - 38,000,000
ประมำณกำรจำกงำนวิจัยภำยนอก
ประมำณกำรจำกกำรบริกำรวิชำกำร - 16,452,000 16,452,000
เงินรำยไดส้ ะสม - 3,600,000 3,600,000
งบกลำงมหำวิทยำลยั ฯ - 3,600,000 3,600,000
- 26,130,000 26,130,000
รวมทั้งสนิ้ - 30,241,500 30,241,500
729,970,700 268,499,300 998,470,000

[33]

แผนภูมิท่ี 1 เปรียบเทียบงบประมาณรายจา่ ยงบประมาณแผน่ ดิน
ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2560 – 2564 (จ�ำ แนกตามงบรายจา่ ย)

หน่วย : ล้านบาท ฿฿
฿฿ ฿
฿

฿฿ ฿฿ ฿ ฿
฿ ฿฿ ฿

฿฿ ฿ ฿ ฿ ฿ ฿
฿ ฿
฿
฿฿ ฿

งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงนิ อุดหนุน งบรายจา ยอ่นื รวมทัง้ สิน

ป 2560 ป 2561 ป 2562 ป 2563 ป 2564

แผนภมู ิที่ 2 แสดงจำ�นวนงบประมาณโดยรวม จ�ำ แนกตามงบรายจ่าย
ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2560 - 2564

14,183,200 12,899,300 6,882,00 6,380,00 2,000,00
20,547,930 15,666,600 12,978,700 16,192,600
12,247,190 124,824,52
27,494,280 31,592,740 11,811,200
118,741,01 88,614,140 91,753,410 300,00
46,879,980 96,494,810 47,714,400 45,091,200 19,031,960
47,620,680 42,319,320

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

[34]

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ (หนว่ ย:บาท)
งบแสดงฐานะการเงิน 2563

ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 475,883,101.19
182,993,365.52
สินทรัพย์ หมายเหตุ 2564 469,601,875.88

สนิ ทรพั ย์หมนุ เวียน 5,147,857.61
21,850,000.00
เงินสดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สด 5 512,985,703.35 1,155,476,200.20

ลกู หนี้ระยะสน้ั 6 44,805,425.75

เงนิ ลงทุนระยะสัน้ 7 901,289,740.48

วสั ดคุ งเหลือ 6,080,478.46

สินทรพั ยห์ มุนเวยี นอ่นื 8 21,808,488.70

รวมสนิ ทรัพยห์ มุนเวยี น 1,486,969,836.74

สนิ ทรพั ย์ไม่หมุนเวยี น 9 10,000,000.00 330,000,000.00
เงนิ ลงทุนระยะยาว 10 2,837,523,955.86 3,079,611,011.69
11 8,148,010.60
ทีด่ นิ อาคาร อุปกรณ์ 3,986,451.49
2,855,671,966.46 3,413,597,463.18
สินทรพั ยไ์ ม่มีตัวตน 4,342,641,803.20 4,569,073,663.38
รวมสินทรัพยไ์ ม่หมนุ เวียน
รวมสนิ ทรพั ย์

หมายเหตุ : งบการเงนิ เปน็ ส่วนหนึ่งของงบการเงนิ นี้

[35]

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์ (หน่วย:บาท)
งบแสดงฐานะการเงนิ 2563

ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564

หมายเหตุ 2564

หนีส้ ิน 12 112,307,357.14 179,991,551.66
หนส้ี นิ หมนุ เวียน
13 137,414,113.03 111,325,075.83
เจ้าหนร้ี ะยะสนั้
49,321,420.58 19,719,072.64
เงินรับฝากระยะสัน้
299,042,890.75 311,035,700.13
หน้สี นิ หมนุ เวียนอ่ืน
รวมหนสี้ ินหมุนเวยี น

หน้ีสินไมห่ มุนเวียน 14 16,805,579.45 7,949,699.59
เจา้ หนี้เงนิ โอนและรายการอดุ หนนุ ระยะยาว 15
123,194,979.49 75,577,291.91
เงินรบั ฝากระยะยาว
140,000,558.94 83,526,991.50
รวมหนสี้ ินไม่หมนุ เวียน 439,043,449.69 394,562,691.63
รวมหนี้สิน

สนิ ทรัพยส์ ุทธิ/สว่ นทนุ 945,879,321.03 1,038,282,104.43
ทนุ 2,957,719,032.48 3,136,228,867.32
3,903,598,353.51 4,174,510,971.75
รายไดส้ ูง (ต่า) กวา่ ค่าใชจ้ า่ ยสะสม 4,342,641,803.20 4,569,073,663.38
รวมสนิ ทรพั ย์สุทธ/ิ ส่วนทนุ
รวมหน้ีสินและรวมสินทรัพย์สทุ ธ/ิ ส่วนทุน

หมายเหตุ : ประกอบงบการเงนิ เป็นสว่ นหนงึ่ ของงบการเงินนี้

[36]

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ (หนว่ ย:บาท)
งบแสดงผลการดาเนนิ งานทางการเงิน 2563
สาหรบั ปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2564
696,307,778.78
หมายเหตุ 2564 -

รายได้ 821,031,342.17 367,884,602.53
123,552,301.16 810,933.79
รายไดจ้ ากงบประมาณ 19 396,552,301.82
268,683,998.56
รายได้จากเงินกู้และรายไดอ้ ่ืนจากรัฐบาล 1,200,117.69 1,333,687,313.66
142,388,929.03
รายได้จากการจดั การศกึ ษาและบริการ 20 1,484,197,830.87

รายไดจ้ ากการอุดหนุนและบริจาค

รายไดอ้ ่ืน 21

รวมรายได้

คา่ ใชจ้ ่าย

คา่ ใช้จ่ายบคุ ลากร 22 535,739,866.71 525,870,083.04
59,863,404.71
ค่าบ่าเหน็จบ่านาญ 23 67,246,504.03
69,835,587.02
คา่ ตอบแทน 24 82,820,671.69 155,902,707.37
31,543,039.57
ค่าใช้สอย 25 116,280,904.17 45,696,674.05

ค่าวสั ดุ 26 25,493,711.13 360,023,999.90
10,833,400.00
คา่ สาธารณปู โภค 27 39,995,204.68 220,567,743.33
1,480,136,638.99
คา่ เสอ่ื มราคาและคา่ ตดั จา่ หนา่ ย 28 349,664,908.24 - 146,449,325.33
- 146,449,325.33
ค่าใชจ้ า่ ยจากการอดุ หนุนและบริจาค 29 123,654,826.66

คา่ ใช้จา่ ยอ่ืน 30 333,841,599.63

รวมคา่ ใชจ้ ่าย 1,674,738,196.94

รายได้สูงกว่าคา่ ใชจ้ ่ายก่อนต้นทนุ ทางการเงนิ - 190,540,366.07
รายไดส้ งู กว่าคา่ ใช้จ่ายสทุ ธิ - 190,540,366.07

หมายเหตุ : ประกอบงบการเงินเป็นสว่ นหนงึ่ ของงบการเงินนี้

[37]

[38]

5

บคุ ลากรและสารสนเทศ
ของมหาวทิ ยาลัย

[[3399]]

บุคลากร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ได้จัดบุคลากรเป็น 2 สายงาน ได้แก่ สายวิชาการ
และสายสนับสนุน โดยมุ่งเน้นพัฒนากำ�ลังคนทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ที่มีขีดความสามารถและทักษะปฏิบัต ิ
รวมทัง้ เนน้ ในการให้บริการทางวิชาการความร่วมมือทางวชิ าการระหวา่ งมหาวิทยาลยั ฯ กลบั กลุ่มธรุ กจิ ภาคอตุ สาหกรรม
การผลติ และการบรกิ าร โดยนำ�เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใ์ ชใ้ นการพฒั นาการเรยี นการสอน และการให้บรกิ าร
ทางวิชาการแกส่ งั คมและชุมชนอย่างมปี ระสิทธิภาพ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสนิ ทรไ์ ด้จัดบคุ ลากรออกเปน็ 4 พน้ื ที่และจำ�แนกตามวุฒกิ ารศึกษา
ซึง่ มจี �ำ นวน 1,216 คนดังน้ี

ตารางท่ี 2 แสดงจำ�นวนบุคลากรตามประเภทบุคลากร จำ�แนกตามพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา

ประเภทบคุ ลากร พน้ื ทศ่ี าลายา พืน้ ทกี่ ารศกึ ษา วทิ ยาลัยเพาะช่าง รวม
284 พน้ื ท่บี พติ รพมิ ขุ จกั รวรรดิ วทิ ยาเขตวังไกลกงั วล 133
สายวชิ าการ 388 42 618
สายสนบั สนนุ 672 84 117 175 598
65 103 1216
รวม 149 220

ทม่ี า : กองบรหิ ารงานบุคคล ข้อมูล ณ วนั ท่ี 11 ตุลาคม 2564

จากตาราง บคุ ลากรมจี �ำ นวนบคุ ลากรสายวชิ าการ 618 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.82 และสายสนบั สนุน 598 คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 49.18

แผนภมู ิที่ 3 เปรียบเทยี บสดั สว่ นจำ�นวนบุคลากรประจำ�ปี 2564 จ�ำ แนกตามสายงาน

สายวชิ าการ
50.82 %
618 คน

สายสนับสนุน
49.18 %
598 คน

[40]

แผนภูมทิ ี่ 4 แสดงจำ�นวนบุคลากรประจ�ำ ปี 2564 จำ�แนกตามประเภทบคุ ลากร

199

สายสนบั สนุน 19 20
สายวชิ าการ ลูกจ้างชวั่ คราว
0
53
300 0

27 407

191

ลกู จ้างประจำ
พนกั งานราชการ
พนักงานมหาวทิ ยาลยั
ข้าราชการ

ท่ีมา : กองบริหารงานบุคคล ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 11 ตลุ าคม 2564

แผนภมู ิท่ี 5 แสดงเปรียบเทยี บสดั สว่ นจำ�นวนบุคลากร จ�ำ แนกตามประเภท
บคุ ลากร ในปงี บประมาณ 2562 - 2564

607 695 707

241 228 230 235 219
218 28 25 19

53 52 53

ที่มา : กองบริหารงานบคุ คล ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 11 ตลุ าคม 2564 2562
2563
[41] 2564

บุคลากรสายวชิ าการ ในปงี บประมาณ 2564 จ�ำ แนกตามวฒุ กิ ารศกึ ษาออกเปน็ ระดับปริญญาตรี จ�ำ นวน 26 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 4.21 ระดับปริญญาโท จ�ำ นวน 371 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 60.03 และระดับปรญิ ญาเอก จำ�นวน 221 คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 35.76 ดงั แสดงในแผนภมู ิภาพ

แผนภมู ิที่ 6 เปรยี บเทยี บสัดสว่ นจ�ำ นวนบุคลากรสายวชิ าการ จำ�แนกตามวฒุ ิการศึกษา
ในปงี บประมาณ 2564

60.03 %

35.76%

4.21 %

ทีม่ า : กองบริหารงานบุคคล ขอ้ มลู ณ วันท่ี 11 ตลุ าคม 2564

[42]

ตารางท่ี 3 แสดงจ�ำ นวนบุคลากรจ�ำ แนกตามต�ำ แหนง่ ทางวิชาการแยกตามคณะ
พนื้ ที่ ปีงบประมาณ 2564

ระดบั กำรศึกษำ ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก รวมทั้งสิ้น รอ้ ยละ

ตำแหน่งทำงวชิ ำกำร และหน่วยงำนทีส่ ังกัด 2 7 5 14

รองศาสตราจารย์ 2 75 88 165
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 22 289 128 439
อาจารย์ 4 45 51 100 16.18
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1 7 2 10
วิทยาเขตวงั ไกลกงั วล
----
รองศาสตราจารย์ -224
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 15 -6
อาจารย์ 3 38 49 90
พน้ื ที่ศาลายา
รองศาสตราจารย์ -134
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1 8 20 29
อาจารย์ 2 29 26 57
คณะสถาปัตยกรรมศาสตรแ์ ละการออกแบบ 2 39 19 60 9.71
พื้นที่ศาลายา
รองศาสตราจารย์ 2 39 19 60
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
อาจารย์ ----
คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี - 8 9 17
วิทยาเขตวังไกลกงั วล 2 31 10 43
รองศาสตราจารย์ 2 33 12 47 7.61
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2 33 12 47
อาจารย์ ----
คณะบรหิ ารธุรกจิ - 5 7 12
พน้ื ท่ีศาลายา 2 28 5 35
รองศาสตราจารย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1 73 41 115 18.61
อาจารย์ 1 26 15 42
พืน้ ท่ีบพิตรพิมุข จักรวรรดิ -1 -1
รองศาสตราจารย์ -459
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1 21 10 32
อาจารย์ - 28 16 44
วิทยาเขตวังไกลกงั วล ----
รองศาสตราจารย์ - 4 7 11
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - 24 9 33

อาจารย์ - 19 10 29
-1 -1
- 7 5 12

- 11 5 16

[43]

ตารางท่ี 3 แสดงจ�ำ นวนบุคลากรจ�ำ แนกตามตำ�แหนง่ ทางวิชาการแยกตามคณะ
พืน้ ท่ี ปงี บประมาณ 2564 (ตอ่ )

ระดับกำรศึกษำ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวมท้ังสิ้น รอ้ ยละ
3.40
ตำแหน่งทำงวิชำกำร และหนว่ ยงำนท่สี ังกัด 1 16 4 21 19.26

คณะอตุ สาหกรรมการโรงแรมและการท่องเที่ยว 1 16 4 21 16.67
วทิ ยาเขตวังไกลกงั วล ---- 1.78
-224 6.80
รองศาสตราจารย์ 1 14 2 17 0.97
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 3.56
อาจารย์ 2 68 49 119 2.27
คณะศลิ ปศาสตร์ - 20 19 39 100.00
พน้ื ที่ศาลายา ----
รองศาสตราจารย์ -156
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - 19 14 33
อาจารย์ 1 26 13 40
พ้ืนท่ีบพติ รพมิ ุข จักรวรรดิ ----
รองศาสตราจารย์ -268
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 7 32
อาจารย์ 1 24
วทิ ยาเขตวังไกลกงั วล
รองศาสตราจารย์ 1 15 10 26
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - -11
อาจารย์ - 6 7 13
พืน้ ที่เพาะช่าง 1 9 2 12
รองศาสตราจารย์ - 7 7 14
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ----
อาจารย์ -235
วทิ ยาลัยเพาะช่าง -549
วิทยาลัยเพาะช่าง 13 83 7 103
รองศาสตราจารย์ 13 83 7 103
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 24 -6
อาจารย์ 1 24 4 29
คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
พ้ืนท่ีศาลายา 10 55 3 68
รองศาสตราจารย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - 5 6 11
อาจารย์ - 5 6 11
วิทยาลัย/สถาบันในกากบั ----
วทิ ยาลัยพลังงานและส่ิงแวดล้อมอยา่ งย่ังยนื รตั นโกสินทร์ - -11
รองศาสตราจารย์ - 5 5 10
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1 9 32 42
อาจารย์ - -66
วิทยาลัยนวัตกรรมการจดั การ ----
รองศาสตราจารย์ - -22
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - -44
อาจารย์ - 2 20 22
วทิ ยาลัยผู้ประกอบการสรา้ งสรรคน์ านาชาติรัตนโกสินทร์ - -11
รองศาสตราจารย์ - -33
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ - 2 16 18
1 7 6 14
อาจารย์ ----
รวมทั้งสิ้น ----

ร้อยละ 1 7 6 14

26 371 221 618

4.21 60.03 35.76 100.00

[44]


Click to View FlipBook Version