The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mirantree.lapal94, 2022-03-26 12:14:47

บัตรกิจกรรม

บัตรกิจกรรม

1. ปริมาณทางวิทยาศาสตร์

ปรมิ าณในความหมายทางวทิ ยาศาสตรแ์ บง่ ออกเป็น 2 ชนิด คือ
1.1 ปริมาณสเกลาร์ (Scalar Quantity) คือ ปรมิ าณท่ีบอกเฉพาะขนาดเพียง
อย่างเดียว เช่น มวล เวลา ปริมาตร อตั ราเร็ว อุณหภมู ิ ระยะทาง พืน้ ท่ี งาน พลงั งาน

ความหนาแน่น กระแสไฟฟา้
1.2 ปริมาณเวกเตอร์ (Vector Quantity) คือ ปรมิ าณท่ีบอกทงั้ ขนาดและ

ทศิ ทาง เชน่ แรง ความเรว็ การกระจดั นา้ หนกั ความเรง่ โมเมนตมั สนามแมเ่ หลก็

สนามไฟฟา้

2. แรง

แรง (Force) หมายถงึ อานาจอย่างหน่งึ ท่ีสามารถทาใหว้ ตั ถเุ ปล่ยี นสถานะได้
เชน่ ทาใหว้ ตั ถทุ ่ีอยู่ น่ิงเคล่อื นท่ีไป ทาใหว้ ตั ถทุ ่ีเคล่ือนท่ีอยแู่ ลว้ เคล่ือนท่ีเรว็ หรอื ชา้ ลง ทา
ใหว้ ตั ถมุ กี ารเปล่ียนทศิ ทางตลอดจน ทาใหว้ ตั ถมุ ีการเปล่ียนขนาดหรอื รูปทรงไปจากเดิม
ได้ แรงนีอ้ าจจะสมั ผสั กบั วตั ถหุ รอื ไมส่ มั ผสั กบั วตั ถกุ ใ็ ด้ แรงดงึ แรงผลกั และแรงยก แรง
พวกนีก้ ระทาบนพืน้ ผิวของวตั ถุ แตม่ แี รงบางชนิด เชน่ แรงแมเ่ หลก็ แรง ทางไฟฟา้ และ
แรงโนม้ ถ่วงจะไมก่ ระทาบนผิวของวตั ถุ แรงจดั เป็นปรมิ าณเวกเตอร์ เพราะมีทงั้ ขนาด
และ ทศิ ทาง หน่วยของแรงในระบบเอสไอ

คอื นิวตัน (สัญลักษณ์ N)

2. ชนิดของแรง

แรงแบง่ ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

2.1.1 แรงในธรรมชาติ หมายถงึ แรงท่ีเกิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ

แรงในธรรมชาติจะแบง่ ออกเป็น ชนิดต่างได้ 4 แรง คือ
1) แรงโน้มถ่วงของโลก (Gravitation Force) เป็นแรงดงึ ดดู

ท่ีมวลของโลกกระทาตอ่ มวลของ วตั ถุ โลกมีแรงดงึ ดดู วตั ถทุ กุ ชนิดเขา้ สใู่ จกลางโลก
วตั ถทุ ่ีมีมวล 1 กิโลกรมั จะมีแรงโนม้ ถ่วงของโลกดงึ ดดู ได้ ดว้ ยแรง 9.8 นิวตนั วตั ถทุ ่ี
มมี วลมาก แรงดงึ ดดู ของโลกท่ีมตี ่อวตั ถนุ น้ั ก็ยง่ิ มีค่ามากขนึ้ ค่าแรงโนม้ ถ่วงของ โลก
ท่ีกระทาตอ่ วตั ถุ หาไดจ้ ากผลคณู ระหว่างมวลของวตั ถกุ บั แรงโนม้ ถ่วงของโลก

2) แรงแม่เหลก็ (Magnetic Force) เป็นแรงท่ีเกิดขนึ้ จาก
แท่งแมเ่ หลก็ ซง่ึ ทามาจากแร่ แมกนีไทต์ (Magnetite) เป็นออกไซดข์ องเหลก็
มีสตู รทางเคมคี ือ
Fe3O4 แรต่ งั กลา่ วมีสมบตั ิทาใหเ้ กิดแรง ขนึ้ เองตามธรรมชาติ ดงั นี้

(1) เกิดแรงดดู และผลกั กบั สารบางชนิด แทง่ แมเ่ หลก็ ธรรมชาตจิ ะเกิดแรงดงึ
คดู และผลกั กบั สารต่างๆ ซง่ึ เรยี กสารต่างๆ นีร้ วมกนั วา่ สารแมเ่ หลก็

(Magnetic Substance) (2) เกิดแรงดดู และผลกั กบั แทง่ แมเ่ หลก็ ดว้ ยกนั
ถน้ าแทง่ แมเ่ หลก็ 2 แท่ง เขา้ มาใกลก้ นั แท่งแมเ่ หลก็ ทง้ั 2 จะเกิดแรงดงึ ดดู กนั และ
ผลกั กนั ถา้ นาดา้ นท่ีมีขวั้ เดียวกนั มาใกลก้ นั จะเกิดแรงผลกั กนั แตถ่ า้ นาดา้ นท่ีมีขวั้

ต่างกนั มาใกลก้ นั จะเกิดแรงดง่ื ดดู กนั
(3) แรงแมเ่ หลก็ ท่ีกระทาตอ่ ประจไุ ฟฟา้ ท่ีว่งิ เขา้ ไปในสนามแม่เหลก็ รอบๆ

แทง่ แมเ่ หลก็ จะ มสี นามแมเ่ หลก็ เกดิ ขนึ้ ซ่งึ สนามแมเ่ หลก็ ท่ีเกิดขนึ้ จะแสดงทศิ ทาง
ของแรงแมเ่ หลก็ ท่ีกระทาตอ่ สารแมเ่ หลก็

3) แรงไฟฟ้า (Electromagnetic Force) เป็นแรงท่ีกระทาต่อวตั ถุ
ดว้ ยไฟฟา้ ซง่ึ จะมีทง้ั แรง ผลกั และแรงดงึ ดดู กนั ประจทุ ่ีเกิดขนึ้ แบง่ ออกเป็น 2 ชนิด คือ

(1) ประจบุ วก (Positive Charge) เป็นประจทุ ่ีอย่บู นอนภุ าค
"โปรตอน" ซง่ึ เป็นอนภุ าค เลก็ ๆ ท่ีอยใู่ นนิวเคลยี สของธาตุ

(2) ประจลุ บ (Negative Charge) เป็นประจทุ ่ีอย่บู นอนภุ าค
"อเิ ลก็ ตรอน" ท่ีเป็นอนภุ าค ท่ีเลก็ ท่ีสดุ ในอะตอม และว่งิ เป็นวงกลมรอบ! นิวเคลียสของ
อะตอมของธาตุ อเิ ลก็ ตรอน 1 ตวั จะมีจานวน ประจเุ ท่ากบั โปรตอน 1 ตวั แต่เป็นคนละ
ชนิดกนั แรงผลกั และแรงดงึ ดดู จะทาใหว้ ตั ถทุ ่ีมีประจเุ คลอ่ื นท่ีแยก ออกจากกนั หรอื
เคล่ือนท่ีเขา้ หากนั ถา้ ประจบุ วกและลบเคล่อื นท่ีเขา้ หากนั พบกนั จะรวมกัน ทาใหเ้ ป็นกลาง
ทางไฟฟา้

4) แรงนิวเคลียร์ (Nuclear Force) เม่อื ประจชุ นิดเดียวกนั 2 ประจุ
จะตอ้ งอย่รู ว่ มกนั ตอ้ ง มแี รงมากระทาต่อประจทุ ง้ั สอง เพ่ือใหป้ ระจทุ งั้ สองไมแ่ ยกออกจาก
กนั เน่ืองมาจากแรงผลกั ของประจทุ งั้ สองแรงท่ีเกิดขนึ้ นีเ้ รยี กวา่ "แรงนิวเคลียร"์ เพราะเป็น
แรงท่ีเกิดขนึ้ บรเิ วณนิวเคลยี สของธาตุ ในนิวเคลียส ของธาตจุ ะประกอบดว้ ยอนภุ าค 2
ชนิด คือ โปรตอนมีประจบุ วก และนิวตรอนเป็นกลาง อนภุ าคทง้ั สอง จะติดกนั เป็นทรง
กลมอยตู่ รงกลางของอะตอม โปรตอนท่ีอย่รู ว่ มกนั จะถกู แรงนิวเคลียรย์ ดึ เหน่ียวไวโ้ ดยแรง
ท่ียดึ เหน่ียวภายในนิวเคลยี สจะไมไ่ ดอ้ ยใู่ นรูปของแรงแต่อยใู่ นรูปของพลงั งาน เรยี กวา่
"พลงั งานยดึ เหน่ียว (Binding Energy)“

2. ชนิดของแรง

แรงแบง่ ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

2.1.2 แรงทเ่ี กดิ ขากการกระทาของสง่ิ ต่างๆ แรงท่ีเกิด

จากการกระทาของส่งิ ต่างๆท่ีไปกระทาตอ่ วตั ถมุ หี ลายชนิด แตแ่ รงท่ีเกิดขนึ้ จะเป็นผล
จากส่งิ ท่ีไปกระทาตอ่ วตั ถแุ ตกตา่ งกนั ซ่งึ แรงท่ีสาคญั ๆ มดี งั นี้

1) แรงตึงเชอื ก (Tension Force) เป็นแรงท่ีเกิดขนึ้ ใน
เสน้ เชือกท่ีถูกขึงตึง เพ่ือตา้ นกบั แรงกระทาเน่ืองจากนา้ หนกั ของวตั ถุ ถา้ แรงตึงใน
เสน้ เชือกนอ้ ยกว่านา้ หนกั ของวตั ถจุ ะทาใหว้ ตั ถุตกส่พู ืน้ เสน้ เชือกเสน้ เดียวกนั จะมี
แรงดงึ เทา่ กนั ทกุ จดุ ทศิ ทางของแรงอยใู่ นแนวของเสน้ เชือก

2) แรงเสยี ดทาน (Friction Force) หมายถึง แรงทตี่ ่อตา้ นการ
เคล่อื นทขี่ องวัตถุ แรงเสยี ดทาน เกิดขึ้นระหว่างผวิ สัมผัสของวตั ถกุ ับผวิ ของพื้น และมี
ทศิ ทางตรงกนั ข้ามกบั ทิศทางการเคล่อื นทข่ี องวัตถุ แรง เสียดทานถูกนามาใช้ประโยชน์
เพื่ออานวยความสะดวกในชวี ติ ประจาวัน เช่น ชว่ ยทาใหร้ ถยนตแ์ ลน่ ได้ ยาง รถยนตจ์ ะ
มรี อ่ งยางชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการยดึ เกาะถนน เรียกว่า "ดอกยาง"

3) แรงจากสปริง (Elastic Force) เป็นแรงทีส่ ะสมอยู่ในสปรงิ
เป็นแรงท่ีเกิดขนึ้ จากความยืดหย่นุ ของสปรงิ ท่ีตอ้ งการกลบั คืนสสู่ ภาพปกติ หลงั จาก
ท่ีถกู ทาใหค้ วามหมายเปล่ียนไปจากเดิม แบง่ เป็น 2 ลกั ษณะ คือ

3.1) แรงจากสปรงิ ท่ีถกู ท าใหย้ ืดออก
3.2) แรงจากสปรงิ ท่ีถกู ท าใหห้ ดเขา้

4) แรงสู่ศนู ย์กลาง (Centripetal Force) เปน็ แรงท่มี ีทศิ ทางเข้าสู่
ศูนยก์ ลางของวงกลมหรือ ทรงกลม เมื่อวตั ถเุ คล่อื นท่ีเปน็ วงกลม

3. การเคล่อื นทข่ี องวัตถุ

การเคล่ือนทข่ี องวัตถุ หมายถงึ การยา้ ยตาแหน่งของวตั ถจุ ากตาแหน่งเดิมไปสู่
ตาแหน่งใหม่ เน่ืองจากเกิดแรงมากระทาตอ่ วตั ถุ ทาใหว้ ตั ถเุ คล่ือนท่ีไปจากตาแหน่งเดิม การ
เคล่ือนท่ีแบง่ ออกเป็น 4 ลกั ษณะ

3.1 การเคลอื่ นทใี่ นแนวเส้นตรง (Linear Motion) การเคล่ือนท่ีในแนว
เสน้ ตรง เป็นการเคล่อื นท่ีซ่งึ ไม่เปล่ยี นทศิ ทาง มที ง้ั การเคล่อื นท่ีในแนวราบ และการเคล่ือนท่ีใน
แนวด่งิ เชน่ การเคล่อื นท่ีของแอปเปีลเมอ่ื ตกจากตน้ สพู่ ืน้ ดิน การเคล่อื นท่ีของรถยนต์ บนถนน
การเคล่ือนท่ีของนกั ว่ิงในลวู ่งิ เป็นตน้

ในการเคล่ือนท่ีของวตั ถุ ตาแหน่งของวตั ถจุ ะมกี ารเปล่ยี นแปลง ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งมีการบอก
ตาแหน่ง เพ่ือความชดั เจน การบอกตาแหน่งของวตั ถจุ ะตอ้ งเทียบกบั จดุ อา้ งอิง หรอื ตาแหน่ง
อา้ งองิ

ระยะห่างของวตั ถจุ ากจดุ อา้ งองิ (0) ไปทางขวามีทศิ ทางเป็นบวก (A, C)
ระยะหา่ งของวตั ถจุ ากจดุ อา้ งองิ (0) ไปทางซา้ ยมีทิศทางเป็นลบ (B)

ระยะทาง (Distance) คือ เส้นทางหรือความยาวตามเสน้ ทางการเคลื่อนท่ี
จากตาแหน่งเรม่ิ ต้นถงึ ตาแหนง่ สดุ ทา้ ย ระยะทางใช้สัญลกั ษณ์ "S" เปน็ ปรมิ าณสเกลาร์ มหี น่วย
เป็น เมตร (m)

การกระจัด (Displacement) คือ ความยาวเสน้ ตรงที่เชื่อมโยงระหว่าง
จุดเริม่ ต้น และจุดสดุ ท้าย ของการเคล่ือนที่ การกระจัดใช้สัญลักษณ์ "d" เปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ มี
หนว่ ยเป็น เมตร (m) ดงั นั้น เมอ่ื เปรยี บเทยี บกนั แลว้ ระยะทางจะตรงกับเส้น B และ C สว่ นการ
กระจดั ตรงกับเส้น A

อัตราเรว็ (Speed) หมายถึง ระยะทางท่วี ตั ถุเคล่ือนทไี่ ด้ในหน่ึงหน่วยเวลา
ใช้สัญลกั ษณ์ คอื v เป็นปรมิ าณสเกลาร์ มหี นว่ ยเปน็ เมตร/วินาที (m/s)
สูตรการหาอัตราเร็วมดี ังนี้

V แทน อัตราเรว็ มีหนว่ ยเปน็ m/s
S แทน ระยะทางทเี่ คลอ่ื นท่ี มหี นว่ ยเปน็ m
t แทน เวลาท่ีใช้ในการเคลอื่ นที่ มหี น่วยเปน็ s

ความเร็ว (Velocity) หมายถึง อตั ราการกระจดั ของวตั ถุ หรอื เป็นการกระจดั ตอ่ หน่งึ
หนว่ ยเวลา มีหนว่ ยเป็น เมตร/วินาที (m/s) สตู รการหาความเรว็ มีดงั นี้

V แทนความเรว็ มีหน่วยเป็น m/s
d แทนการกระจดั มีหน่วยเป็น m
t แทนเวลาท่ีใชใ้ นการเคล่ือนท่ี มีหน่วยเป็น s

ความเร่ง (Acceleration) คือ ความเรว็ ท่ีเปล่ียนไปในหน่งึ หน่วยเวลา หรอื อตั ราการ
เปล่ียน ความเรว็ เป็นปรมิ าณเวกเตอร์ มีหนว่ ยเป็น เมตร/วินาทีกาลงั สอง (m/s2) สตู รการหาความเรง่ มี
ดงั นี้

แทนความเรง่ มีหนว่ ยเป็น m/s2
แทนความเรว็ ท่ีเปล่ียนไป มีหน่วยเป็น m/s
แทนเวลาท่ีเปล่ียนไป มีหนว่ ยเป็น s

ความเร็ว (Velocity) หมายถึง อตั ราการกระจดั ของวตั ถุ หรอื เป็นการกระจดั ตอ่ หน่งึ
หนว่ ยเวลา มีหนว่ ยเป็น เมตร/วินาที (m/s) สตู รการหาความเรว็ มีดงั นี้

V แทนความเรว็ มีหน่วยเป็น m/s
d แทนการกระจดั มีหน่วยเป็น m
t แทนเวลาท่ีใชใ้ นการเคล่ือนท่ี มีหน่วยเป็น s

ความเร่ง (Acceleration) คือ ความเรว็ ท่ีเปล่ียนไปในหน่งึ หน่วยเวลา หรอื อตั ราการ
เปล่ียน ความเรว็ เป็นปรมิ าณเวกเตอร์ มีหนว่ ยเป็น เมตร/วินาทีกาลงั สอง (m/s2) สตู รการหาความเรง่ มี
ดงั นี้

แทนความเรง่ มีหนว่ ยเป็น m/s2
แทนความเรว็ ท่ีเปล่ียนไป มีหน่วยเป็น m/s
แทนเวลาท่ีเปล่ียนไป มีหนว่ ยเป็น s

3.2 การเคลือ่ นทแ่ี บบโพรเจกไทล์ (Projectile Motion)
การเคล่ือนท่ีแบบโพรเจกไทล์ หมายถึง วัตถุท่ีขวา้ งหรือยิงออกไป โดยจะ

สงั เกตไดว้ ่ามีแนวการ เคล่ือนท่ีเป็นวิถีโคง้ ซ่ึงเป็นการเคล่ือนท่ีใน 2 มิติ คือ เคล่ือนท่ีในแนว
ระดบั และแนวด่งิ พรอ้ มกนั ในแนวด่ิง เป็นการเคล่ือนท่ีท่ีมีความเรง่ เน่ืองจากแรงโนม้ ถ่วงโลกใน
ขณะท่ีแนวราบไมม่ คี วามเรง่ ดงั ภาพ

การนาความรู้เร่ืองโพรเจกไทลไ์ ปใช้ในชวี ติ ประจาวัน มดี งั นี้
1. การยงิ ปืนในสนามแข่งขนั ลกู ปืนท่ีเคล่ือนท่ีออกไปจะเคล่ือนท่ีเป็นโพรเจกไทล์ ดงั นน้ั

จะตอ้ ง เลง็ ปืนใหส้ งู กวา่ เปา้ เพ่ือใหล้ กู ปืนตกลงบนเปา้
2. การยงิ ปืนใหญ่ ถา้ ตอ้ งการยงิ ไมใ่ หพ้ ลาดเปา้ การย่งิ จะตอ้ งทามมุ ใหร้ ะยะทางในแนว

ระดบั กบั ระยะทางในแนวด่งิ สมั พนั ธก์ บั ตาแหน่งของวตั ถทุ ต่ี ก
3. การทิง้ ระเบดิ จากเครอ่ื งบนิ นกั บนิ จะตอ้ งทิง้ ระเบดิ ใหเ้ คล่ือนท่ีเป็นโพรเจกไทล์
4. นกั ฟตุ บอลตอ้ งการเตะลกู บอลใหไ้ ปตกไกลท่ีสดุ เขาจะตอ้ งเตะลกู บอลดว้ ยความเรว็

ตน้ ทา มมุ กบั แนวระดบั เป็นมมุ 45 องศา

3.3 การเคล่อื นทแี่ บบฮารม์ อนิกอยา่ งงา่ ย (Simple Harmonic Motion)
การเคล่ือนท่ีแบบฮารม์ อนิกอย่างง่าย เป็นการเคล่ือนท่ีแบบเป็นคาบอย่างหน่ึง คือ
เคล่ือนท่ีกลบั ไปมาชา้ ทางเดิมโดยผ่านตาแหน่งสมดลุ และมีคาบของการเคล่ือนท่ีคงตวั เช่น
การเคล่ือนท่ีของวตั ถตุ ิดปลาย สปริง เป็นตน้ ลกั ษณะของการเคล่ือนท่ีแบบฮารม์ อนิกอย่าง
ง่าย จะเป็นการเคล่ือนท่ีท่ีมีลกั ษณะพิเศษ คือ วัตถุจะเคล่ือนท่ีกลบั ไปกลบั มา ท่ีเราเรียกว่า
แกว่ง หรือส่นั การเคล่ือนท่ีแบบนีจ้ ะเป็นการเคล่ือนท่ีอยู่ในช่วง สั้นๆ มีขอบเขตจากัด เรา
เรยี กว่า แอมพลจิ ดู (Amplitude) โดยนบั จากตาแหน่งสมดลุ ซ่งึ อย่ตู รงจดุ กลาง วดั ไปทาง
ชา้ ยหรอื ขวา เชน่ การแกว่งของชิงชา้ หรอื ยานไวกิง้ ในสวนสนกุ

การนาความรู้เร่ืองการเคลอ่ื นทแี่ บบฮารม์ อนิกอยา่ งง่ายไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน มีดงั นี้
1) การออกแบบระบบปอ้ งกนั การส่นั สะเทือนของรยินต์ รถยนตท์ ่ีว่ิงตามถนนไม่มีระบบ

ปอ้ งกนั การส่นั สะเทือน ขณะท่ีรถว่ิงไปตวั รถจะส่นั อย่ตู ลอดเวลา ทาใหผ้ โู้ ดยสารเกิดอนั ตราย
ได้ ดงั นนั้ รถโดยสารจงึ มีการติดตง้ั ระบบปอ้ งกนั การส่นั สะเทือนเรียกว่า โชกอัป ดงั ภาพท่ี 3-8
เม่ือรถว่ิงไปบนทางขรุขระจะทาให้ แหนบรถมีการยึดหรือหดตวั เป็นผลทาใหต้ วั รถส่นั เพ่ือลด
การส่นั ของรถ เหนือแหนบจะมีโชกอัปติดอยู่ ภายในโชกอัปจะมีนา้ มนั ในลกู สบู ท่ีถูกเจาะรูทา
ใหล้ กู สบู เคล่ือนภายใตแ้ รงหนืดของนา้ มนั แรงดงั กล่าวจะ ตา้ นการส่นั ของรถ ทาใหต้ วั รถส่นั
นอ้ ยลงจนในท่ีสดุ หยดุ ส่นั

2) การออกแบบโซกสาหรบั ประตู เม่ือเราออกแรงผลกั ประตูจะทาใหส้ ปริงในโชกนั้น
ยบุ ตวั ขณะ นั้นจะมีพลงั งานศกั ยส์ ะสมอยู่ในสปรงิ และเม่ือเราปล่อยบานประตู สปริงจะยึด
ออกทาใหป้ ระตสู ามารถปิด เขา้ สทู่ ิศเดิมได้

3.4 การเคล่อื นทแี่ บบวงกลม (Circular Motion) การเคล่ือนท่ีแบบวงกลม

เป็นการเคล่ือนท่ีโดยมีแรงกระทาเขา้ ส่ศู นู ยก์ ลางของวงกลม และจะเกิดความเร่งเขา้ สู่
ศนู ยก์ ลาง. ความเรว็ จะมีคา่ ไม่คงท่ี เพราะมีการเปล่ียนทิศทางการเคล่ือนท่ี โดยความเร็ว
ณ ตาแหนง่ ใดจะมีทิศสมั ผสั กบั วงกลม ณ ตาแหนง่ นน้ั

ตวั อยา่ งของการเคล่ือนท่ีแบบวงกลมท่ีพบเห็นในชีวิตประจาวนั ไดแ้ ก่ รถไฟเหาะ รถเลีย้ ว
โคง้ ใน ถนนโคง้ หรอื นกบินโฉบเฉ่ียวไปมา เป็นตน้

การนาเร่ืองการเคล่ือนท่ีแบบวงกลมไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีดงั นี้
1) การยกขอบถนนเอียงบนทางโคง้ ใหส้ งู ขนึ้ เพ่ือใหเ้ กิดแรงสศู่ นู ยก์ ลางมาตา้ นแรง

หนีศนู ยก์ ลาง ถงึ แมร้ ถจะว่ิงไปดว้ ยความเร็วก็จะทาใหร้ ถไม่แหกโคง้ หรอื ทาใหร้ ถหลดุ ออก
จากถนน

2) เคร่ืองเล่นรถไฟเหาะตีลังกา จะมีรางเป็นวงกลม เม่ือรถว่ิงไปตามรางท่ี เป็น
วงกลมจะเกิดแรง หนีศนู ยก์ ลางตา้ นกบั แรงโนม้ ถว่ งของโลก

3) การเคล่ือนท่ีของดาวเทียม ดาวเทียมสามารถโคจรรอบโลกโดยไม่ตกลงมา
เพราะมีแรงหนี ศนู ยก์ ลางมาตา้ นแรงดงึ ดดู ของโลก

4) การส่งยานอวกาศออกไปนอกโลก เม่ือส่งยานอวกาศเคล่ือนท่ีขึน้ ไป ยาน
อวกาศจะเคล่ือนท่ี เป็นวงกลมรอบโลก เพ่ือใหเ้ กิดแรงหนีศนู ยก์ ลางเหว่ียงยานออกพนั
แรงดงึ ดดู ของโลก 5) การเลีย้ วโคง้ ของเคร่ืองบิน ขณะท่ีเคร่ืองบินกาลงั บินในแนวตรง
ปีกทงั้ สองขา้ งของเคร่ือง บินจะมีแรงยกตวั ของอากาศกระทาอยู่ และเม่ือเคร่ืองปิ.เลีย้ ว
โคง้ ปีกเคร่อื งบินจะเอียง โดยปีกในจะอยู่ ต่า และปีกนอกจะอย่สู งู แรงยกตวั ของอากาศ
กระทากบั เครอ่ื งบนิ จะตง้ั ฉากกบั ตวั เครอ่ื งบิน เครอ่ื งบนิ จงึ สามารถบินเลยี้ วโคง้ ได้


Click to View FlipBook Version