The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Orawan B., 2021-02-22 04:41:54

Digital plan -update-complete-flip

Digital plan -update-complete-flip

๒.๔ ด้านการพัฒนาศักยภาพบุคลากร โดยการปรับกระบวนทัศน์และยกระดับศักยภาพ
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากรศาลยุติธรรม คือ ผู้บริหารและบุคลากรศาลยุติธรรมทุกระดับมีความสามารถ
และทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างชาญฉลาดในการปฏิบัติงาน เพ่ือเพ่ิมความโปร่งใสและเช่ือม่ันต่อ
การอานวยความยตุ ิธรรมของประชาชนในสงั คม

๓. ความท้าทายในการนาเทคโนโลยีดิจทิ ัลมาใชเ้ พ่ือการพัฒนาศาลปกครอง เพ่ือให้มกี ารพฒั นาระบบ
ดิจิทัลของศาลปกครองก้าวได้ทันต่อการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม
ของไทย และศาลในต่างประเทศ มีปัจจัยท่ีเป็นความท้าทายสาคัญต่อการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลภายในของ
ศาลปกครองในส่วนทส่ี าคัญ ดังน้ี

๓.๑ ด้านการให้บริการ ประชาชนมีความคาดหวังที่จะเข้าถึงศาลปกครองได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
และได้รับบริการท่ีมีความน่าเช่ือถือผ่านระบบดิจิทัลที่มีความทันสมัยและมีความม่ันคงปลอดภัย ซึ่งเป็นความท้าทาย
ของศาลปกครองท่ีจาเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนและอานวยความสะดวกการเข้าถึงบริการของศาลปกครองให้
อยู่ในรูปแบบระบบดิจิทัล เพื่อเพ่ิมช่องทางการให้บริการแก่ประชาชน คู่กรณี หน่วยงานภาครัฐ นักกฎหมาย
ผู้สนใจคดปี กครอง ให้สามารถเขา้ ถึงความรู้และกระบวนการยตุ ิธรรมทางปกครองไดส้ ะดวก รวดเรว็ และปลอดภัย
โดยระบบบริการของศาลปกครองที่ต้องพิจารณานามาพัฒนาให้เป็นระบบดิจิทัล พิจารณาตั้งแต่การบริการ
ใหค้ าปรกึ ษาแนะนาดว้ ยการใช้นวัตกรรมดจิ ิทัลที่ทันสมัยสามารถตอบโต้ให้บริการได้แบบอัตโนมัติ ทุกสถานที่ ทกุ เวลา
การบริการย่ืนคาฟ้อง รวมทั้งการเข้าถึงข้อมูลและเอกสารในคดีผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ การตรวจสอบ
ความเคล่ือนไหวของคดี การแจ้งเตือน และการขอขยายเวลาของคดี การชาระค่าธรรมเนียมศาลทางอิเล็กทรอนิกส์ที่
พร้อมให้บริการตลอดเวลา รวมท้ังการติดต่อเจ้าหน้าที่ด้านคดี และบริการทางอิเล็กทรอนิกส์สาหรับข้อมูล และ
เอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับคดี การให้บริการข้อมูลเก่ียวกับคดีปกครองสาหรับผู้สนใจ (Information services)
โดยอานวยความสะดวกให้ผู้รบั บริการสามารถเขา้ ถึงบริการไดผ้ า่ นชอ่ งทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ด้วยอปุ กรณ์ที่หลากหลาย
ได้แก่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Personal Computer) คอมพิวเตอร์พกพา (Laptop) และอุปกรณ์เคล่ือนท่ีสื่อสาร
ไรส้ ายอัจฉรยิ ะ (Smartphone)

๓.๒ ด้านการพิจารณาพิพากษาคดี ประชาชนและคู่กรณีมีความคาดหวังต่อศาลปกครอง
ในการพิจารณาพิพากษาคดีให้มีความรวดเร็ว ทันต่อการเยียวยา และได้รับความเป็นธรรม ซ่ึงข้อมูลคดีปกครอง
ที่อยู่ในรูปแบบดิจิทัลยังมีจากัด และส่วนมากข้อมูลมีลักษณะท่ีขาดคุณภาพและเป็นเอกสารในรูปแบบกระดาษ
ที่ไม่สามารถนาไปใช้ต่อยอดได้ ความคาดหวังของประชาชน คู่กรณี หน่วยงานภาครัฐนับเป็นความท้าทายของ
ศาลปกครองที่จะต้องปรับเปล่ียนกระบวนการพิจารณาพิพากษาคดีโดยนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยสนับสนุน
การพิจารณาคดใี ห้มีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน ซ่ึงต้องเร่งปรับปรุงระบบการจดั เก็บเอกสารในคดีด้วยระบบไฟลด์ ิจทิ ลั
ให้มีความสมบูรณ์ เพื่อรองรับการทางานให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงใช้งานได้ในเวลาเดียวกัน โดยไม่ต้องรอ
แฟ้มสานวน มีระบบการพิสูจน์ตัวตนทางดิจิทัล (Digital ID) เพ่ือสร้างความน่าเช่ือถือและความปลอดภัยให้กับระบบ
ดิจิทัล การพัฒนาระบบข้อมูลออนไลน์ท่ีครบวงจรเพื่อความสะดวกสาหรับการพิจารณาพิพากษาคดี โดยให้สามารถ
เข้าถึงข้อมูลท่ีจาเป็นสาหรับการพิจารณาได้ผ่านอุปกรณ์ประเภทต่าง ๆ นอกจากน้ี จาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีที่ช่วย
ในการสรา้ งข้อมูลดิจิทัลท่ีนาไปใชป้ ระโยชน์ต่อยอดได้ เช่น การถอดความดิจิทลั คอื แปลงขอ้ มูลเสียงเป็นข้อความ
ได้อย่างอัตโนมัติ (Speed-to-Text) และการแปลงข้อมูลภาพเป็นข้อความอัตโนมัติด้วยเทคโนโลยี OCR รวมท้ัง
การสืบค้นคาพิพากษา/คาส่ังอัจฉริยะ (Smart search) ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) และเทคโนโลยีข้อมูล
ขนาดใหญ่ (Big Data) ที่จะช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการคดีเพื่อลดระยะเวลาและเพิ่มประสิทธิภาพการพิจารณา/

๔๘ | P a g e

พิพากกษาคดีของศาลปกครอง นอกจากนี้ จาเป็นต้องปรับกระบวนการทางานและข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล
(Digital transformation) ใหเ้ ป็นขอ้ มลู ทม่ี คี ณุ ภาพและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ตอ่ ยอดได้

๓.๓ ด้านการบริหารจดั การคดี ตัง้ แตเ่ ปดิ ทาการศาลปกครองมีคดีทย่ี ื่นฟ้องเข้าสู่การพิจารณาจานวน
เพ่ิมมากข้ึนทุกปี ตุลาการและพนักงาน ๑ คน มีปริมาณคดีท่ีอยู่ในความรับผิดชอบมจานวนเพิ่มมากข้ึนอย่าง
ต่อเน่ือง สานักงานศาลปกครองมีความจาเป็นต้องจัดสรรทรัพยากร และกาหนดกรอบเวลาการดาเนินงาน
ให้สอดคล้องกับปริมาณคดีที่เพ่ิมมากขึ้น และยังคงเป็นเรื่องยากที่จะให้บริการท่ีรวดเร็วได้ตามความคาดหวังของ
ผู้เก่ียวข้อง ถึงแม้ศาลปกครองมีการกาหนดกรอบเวลามาตรฐานของคดี แต่ยังคงประสบกับปัญหาปริมาณคดี
จานวนมากท่ีเข้ามาสู่การพิจารณาของศาลปกครอง ดังนั้น จาเป็นต้องมีการจัดการปริมาณงาน การกระจายงาน
ให้เท่าเทียมกัน การบริหารจัดการระยะเวลาการพิจารณาคดีให้ใช้เวลาลดลง ลดโอกาสของคดีท่ีใช้ระยะเวลานานเกิน
ในศาลปกครอง และเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการคดีของศาลปกครองให้รวดเร็วเพ่ิมข้ึน สานักงานศาลปกครอง
จาเป็นต้องพิจารณาเคร่ืองมือช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการคดีของศาลปกครอง รวมทั้งพัฒนาระบบข้อมูล
สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือช่วยในการตัดสินใจ จัดตารางจัดการคดีให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถ
กาหนดเวลาคดีได้โดยอัตโนมตั ิบนพื้นฐานของความเช่ยี วชาญ ปริมาณคดี ความซับซอ้ นของเวลา และประเภทของคดี
นอกจากนี้ จาเป็นต้องปรับปรุงคุณภาพของข้อมูลงานคดีให้มีความครบถ้วน สมบูรณ์เพ่ิมมากข้ึน เน่ืองจากส่วนมาก
ข้อมูลมลี กั ษณะทย่ี ังไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสิทธิภาพ

๓.๔ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อเศรษฐกิจ สังคม
รวมถึงกฎหมาย มาตรฐานความม่ันคงปลอดภัยที่ยังไม่ทันต่อภัยคุกคาม การนาเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย
มายกระดับการทางานของศาลปกครองยังไม่เป็นรปู ธรรมชัดเจน การรักษาสมดลุ ระหว่างความปลอดภัยของข้อมูล
และการอานวยความสะดวกแก่บุคลากรและผู้รับบริการของศาลปกครอง สานักงานศาลปกครองจาเป็นต้อง
พิจารณานาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาช่วยยกระดับการดาเนินงานและให้บริการประชาชน ได้แก่ เทคโนโลยี
ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) เทคโนโลยีคลาวด์ (Cloud technology) วิทยาศาสตร์ข้อมูล
(Data science) การใชป้ ระโยชน์ข้อมลู ด้วยการวิเคราะห์ (Data analytics) และเทคโนโลยีความมัน่ คงปลอดภัยที่
เหมาะกบั ความทันสมยั ของเทคโนโลยที ีถ่ กู นามาใชใ้ นศาลปกครอง

๓.๕ ด้านศักยภาพของบุคลากร จาเป็นต้องมีการปรับแนวคิดการทางาน การพัฒนาความรู้
ความสามารถ และทักษะด้านดิจิทัลของบุคลากรให้เพียงพอ เน่ืองจากบุคลากรยังขาดความรู้ ทักษะ และ
ความเชื่อมั่นในการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในกระบวนพิจารณาพิพากษาคดีของศาลปกครอง การปรับเปลี่ยน
ศาลปกครองให้พร้อมใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หน่วยงานที่เก่ียวข้องต้องเร่งสร้างความรู้ ทักษะ เพื่อสร้างความมั่นใจ
ในการใช้ระบบดิจิทัลด้วยความน่าเช่ือมั่นต่อระบบดิจิทัลท่ีมีความมั่นคงปลอดภัยให้เป็นที่ยอมรับจากผู้เก่ียวข้อง
อย่างกวา้ งขวาง

๓.๖ ด้านงบประมาณ งบประมาณสาหรับการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลที่ศาลปกครองได้รับ
ยังไม่เพียงพอกับการยกระดับการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครองให้พร้อมพัฒนาเป็นศาลปกครอง
อัจฉริยะ (Smart court) ได้อย่างเต็มรูปแบบ หน่วยงานรับผิดชอบในเชิงนโยบายและหน่วยงานรับผิดชอบด้าน
ดิจิทัลต้องบูรณาการความร่วมมือ เพ่ือสร้างกลยุทธ์สาหรับการขอรับจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการพัฒนา
เทคโนโลยีดจิ ิทัลของศาลปกครองใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและมีความต่อเน่ือง

๔๙ | P a g e

จากนโ ยบายการพัฒนาเทคโ นโลยีดิจิทัลของประเทศไทย ท่ีมีเป้าหมายการใช้เทคโ นโลยีดิจิทัล
ทม่ี ุ่งเน้นการปรบั เปลย่ี นภาครัฐให้เปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั เพอ่ื ปรับปรงุ การบรกิ ารแกป่ ระชาชนให้มีความสะดวก รวดเรว็
รวมท้ังมุ่งเน้นการบูรณาการจัดทาข้อมูลเพื่อประโยชน์การบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ประกอบกับมีทิศทางการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ของกระทรวงยุติธรรมและศาลยุตธิ รรมที่มุ่งพัฒนาบริการดิจิทลั
สาหรับประชาชน การเช่ือมโยงบูรณาการข้อมูลของหน่วยงานภายในและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาคน
ให้พร้อมรับการเปลย่ี นแปลงในการใชเ้ ทคโนโลลยดี ิจิทลั

นอกจากน้ี ศาลในต่างประเทศผู้นาในภูมิภาคเอเชียได้มีความก้าวหน้าในการนาเทคโนโลยีดิจิทัล
เข้ามาสนับสนุนการดาเนินงานของศาลในหลากหลายรูปแบบได้อย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือเพิ่มช่องทางให้ประชาชน
สามารถเขา้ ถงึ การฟ้องคดี ขอ้ มูลในคดี และขอ้ มลู ด้านกฎหมาย กฎ ระเบยี บต่าง ๆ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ สาธารณะได้
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์ท่ีหลากหลาย ได้แก่ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ อุปกรณ์เคลื่อนที่สื่อสารไร้สาย
คอมพิวเตอร์แบบพกพา รวมทั้งจัดสภาพแวดล้อมในท่ีตั้งของศาลให้พร้อมอานวยสะดวกแก่คู่กรณี ให้สามารถ
นาเสนอขอ้ มลู ผ่านอปุ กรณข์ องตนเองได้ และการเข้าถึงข้อมูลเอกสารในคดขี องตนเองได้แบบทุกท่ีทุกเวลา

จากทิศทางนโยบายของประเทศไทย และการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในศาลต่างประเทศที่เป็นผู้นา
นับเป็นโอกาสและความท้าทายของศาลปกครองท่ีจะใช้เป็นทิศทาง และต้นแบบสาหรับการกาหนดทิศทาง
การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครองในระยะ ๓ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ให้ริเริ่มพัฒนาก้าวเข้าสู่
ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) อย่างเป็นรูปธรรม โดยริเร่ิมนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาช่วยยกระดับ
การให้บริการและสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลปกครองให้มีการอานวยความยุติธรรมแก่ประชาชน
ด้วยความเป็นธรรม รวดเร็ว และทันสมัย เพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบาลในสังคม และเป็นศาลแห่งความเป็นเลิศ
ไดต้ ามวสิ ยั ทัศน์ของแผนแมบ่ ทศาลปกครองระยะ ๒๐ ปี

๕๐ | P a g e

ผลการพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ของศาลปกครอง

ศาลปกครองได้มีนโยบายริเร่ิมการพัฒนาระบบศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt) โดยเริ่มนา
ระบบดิจิทัลมาช่วยให้บริการประชาชน การพิจารณา/พิพากษาคดี และสนับสนุนการปฏิบัติงานของสานักงาน
ศาลปกครองเพ่ือเพ่ิมช่องทางการเข้าถึงศาลปกครอง ลดการใช้กระดาษ ที่จะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายให้กับ
ประชาชนและศาลปกครองได้ โดยมีผลการดาเนนิ งานที่สาคัญพัฒนาระบบการพิจารณาพิพากษาคดีปกครองและ
บริการประชาชนผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt) มาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ จนถึงปัจจุบัน
มีประเด็นการนาเสนอ ๒ ส่วน ได้แก่ ผลการดาเนินงานในภาพรวม และผลการดาเนินงานตามแผนการปฏบิ ัติการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒ ดงั น้ี

๑. ผลการดาเนินงานในภาพรวม

ผลการดาเนินงานในภาพรวมท่ีสาคัญ ประกอบด้วย การพัฒนาระบบดิจิทัลท่ีครอบคลุม
การให้บริการประชาชน สนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดี การบริหารจัดการคดี และการบริหารจัดการองค์กร
ซง่ึ สรุปสาระสาคัญได้ ดงั น้ี

(๑) การบริการประชาชนด้วยระบบดิจิทัล สานักงานศาลปกครองได้จัดให้มีระบบดิจิทัลบริการ
เพือ่ เพิม่ ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางปกครองสาหรับประชาชนโดยมบี ริการดจิ ิทัล ดังน้ี

(๑.๑) การยื่นฟ้องคดีผ่านระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Litigation portal)
ระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Litigation portal) เป็นระบบที่มีมาตรฐานและความชัดเจนทางวิธี
พิจารณาคดี และเป็นระบบที่มีความปลอดภัย โดยประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้โดยสะดวกในทุกเวลาและ
ทุกสถานที่ท่ีผู้ใช้งานสามารถเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต โดยมีข้ันตอนการเข้าใช้งานท่ีเรียบง่ายเพียง ๒ ขั้นตอน คือ
ข้ันตอนการลงทะเบียนผู้ใช้งาน โดยระบุข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้งาน รวมท้ังที่อยู่ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Mail)
สาหรับการติดต่อระหว่างศาลและคู่กรณี กาหนดช่ือผู้ใช้งาน (Username) และรหัสผ่าน (Password) ด้วยตนเอง
และข้ันตอนการใชง้ านตามวตั ถุประสงค์ของผ้ใู ช้ เช่น การยื่นคาฟ้องทางอิเล็กทรอนกิ ส์ การยน่ื เอกสารเพ่ิมเติม เป็นต้น

นอกจากนี้ เพื่อสร้างความมั่นใจและความเชื่อมั่นให้แก่ประชาชนท่ียื่นเอกสารผ่านระบบ
ดจิ ทิ ัลยังต้องพัฒนาตอ่ ยอด เพอ่ื สร้างความน่าเช่อื ถือในการดาเนินการผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ และสร้างบริการ
ที่มีความสะดวกให้แก่ประชาชนเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ การยืนยันพิสูจน์ตัวตนที่เพ่ิมเติมจาการเชื่อมโยงกับสานัก
ทะเบียนราษฎ์ กรมการปกครอง และพัฒนาระบบการชาระเงินค่าธรรมเนียมผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์
ทป่ี ลอดภยั และน่าเช่ือถือรองรบั การทาธรุ กรรมดิจิทลั ของศาลปกครอง

(๑.๒) การให้บริการแอปพลิเคชันของศาลปกครองบนอุปกรณ์เคลื่อนที่สื่อสารไร้สาย
(Admincourt mobile application) เพ่ืออานวยความสะดวกให้ประชาชนเข้าถึงบริการของศาลปกครอง ได้แก่
การคัดสาเนาคาพิพากษา/คาสั่ง ศาลปกครองในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ บริการข้อมูลข่าวสารของศาลปกครอง
การตรวจสอบบัญชีนัด การจองท่ีจอดรถล่วงหน้า เป็นต้น สานักงานศาลปกครองได้จัดให้มีบริการแอปพลิเคนชัน
ของศาลปกครองบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ส่ือสารไร้สายสาหรบั บริการประชาชน โดยท่ีประชาชนไม่จาเป็นต้องเดินทาง
มายังที่ต้ังศาล ลดการใช้กระดาษ รวมท้ังช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ท้ังนี้ สานักงานศาลปกครองยังจาเป็นต้องมี
การพัฒนาต่อยอดใหเ้ กิดประโยชน์กับประชาชน คู่กรณี ตุลาการ และพนักงานคดีปกครองเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับ
การบริการและการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลปกครองด้วยระบบดิจิทัลต่อไปในอนาคต โดยขยายช่องทาง
การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางปกครอง ด้วยการปรับปรุงระบบบริการให้คาปรึกษาแนะนาในการฟ้องคดี
แก่ประชาชนด้วยการนาเทคโนโลยดี ิจิทลั เพิม่ ความสามารถการให้บรกิ ารประชาชนให้มคี วามทันสมยั มากขน้ึ

๕๑ | P a g e

(๒) การสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีและองค์กรด้วยระบบดิจิทัล มีการพัฒนาระบบดิจิทัล
สนับสนุนการพิจารณาพิพากษาและบริหารจัดการคดีของศาลปกครอง รวมทั้งการบริหารจัดการองค์กร
โดยศาลปกครองมีสถานภาพดา้ นเทคโนโลยีดิจิทัล ดังนี้

(๒.๑) ด้านการพิจารณาพิพากษาคดี พัฒนาระบบดิจิทัลสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดี
โดยมีระบบย่อยท่ีพัฒนาภายใต้พัฒนาระบบการพิจารณาพิพากษาคดีปกครองและบริการประชาชนผ่านช่องทาง
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Admincourt) โดยมรี ะบบย่อยรองรับการใชง้ าน ไดแ้ ก่

 ระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ในสานวน (e-Records) เป็นระบบสาหรับ
จดั เก็บเอกสารทเ่ี ป็นกระดาษให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ และสามารถดเู อกสารในลักษณะสารบัญในสานวนคดี
ได้เพื่อรองรับการให้บริการขอตรวจ/คัดสาเนาเอกสารในสานวน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้ปรับปรุง
สารบัญให้สามารถใช้ดูได้เหมือนกับสารบัญท่ีทุกฝ่ายเข้าใจเป็นมาตรฐานเดียวกัน และเริ่มใช้งานจริงทั้ง
ศาลปกครองกลาง ศาลปกครองสูงสุด และศาลปกครองในภูมิภาค รวมท้ังปรับปรุงหน้าจดหมาย/หนังสือ
แจ้งคาส่ังให้สามารถสแกนเอกสารเข้าระบบได้ ทั้งนี้ ในการพัฒนาให้ก้าวสู่การเป็นศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์
และศาลปกครองอจั ฉริยะอย่างเตม็ ประสิทธิภาพ ยงั จาเปน็ ต้องดาเนินงานกิจกรรมท่ีเป็นหลกั การพน้ื ฐานสาคญั คือ
การแปล งเอกส ารแล ะ ข้อ มูล ก ระ ดาษ ให้ อยู่ใ นรูปแบ บดิจิ ทัล ที่ส า มาร ถนา ไป ใช้ประโ ยช น์ ต่อ ยอ ด ไ ด้ อ ย่ า ง
มีประสทิ ธภิ าพและเปน็ รปู ธรรม

 ระบบห้องพิจารณาคดีหรือห้องไต่สวนคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courtrooms)
ติดตั้งระบบเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สาหรับสนับสนุนการพิจารณา/ไต่สวนคดีอานวยความสะดวกให้แก่
ตุลาการ คู่กรณี และคู่ความเข้าถึงข้อมูลและเอกสารในคดีผ่านระบบสานวนคดีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Records)
การนาเสนอพยานหลักฐานผ่านระบบแสดงภาพและมีการบันทึกภาพและเสียงระหว่างการพิจารณาคดี สาหรับ
การเรียกดูย้อนหลัง รวมถึงรองรับการพิจารณาคดี/ไต่สวนทางไกลผ่านระบบการประชุมผ่านจอภาพ (Video
conferrence system) โดยติดตั้งไว้ในส่วนกลาง ณ อาคารศาลปกครอง กรุงเทพฯ และจาเป็นต้องขยายให้
ครอบคลุมศาลปกครองทุกแหง่ ทั่วประเทศ

 ระบบการสืบค้นข้อมูลช่องทางเดียวจากข้อมูลหลายฐาน (Single search) เป็น
ระบบที่มีการบูรณาการจากหลายแหล่งฐานข้อมูล ได้แก่ ฐานข้อมูลกฎหมาย ฐานข้อมูลคาพิพากษา/คาสั่ง คาวินิจฉัย
ชี้ขาดอานาจศาล เอกสาร Day-to-Day หนังสือจากห้องสมุด และคลังความรู้ของสานักงานศาลปกครอง เพ่ือพัฒนา
ระบบสนับสนุนบุคลากรศาลปกครองและสานักงานศาลปกครองให้สามารถสืบค้นข้อมูลจากระบบทั้งหมด
ได้เบ็ดเสร็จจากระบบเดียว ท้ังนี้ เพื่อประโยชน์สูงสุดในการสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีได้มีประสิทธิภาพ
เพิ่มขึ้น ควรมีการพัฒนาต่อยอดการทางานของระบบ ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ Artificial Intelligence (AI)
เพื่อช่วยให้ตลุ าการศาลปกครอง และพนักงานคดีปกครองสามารถจดั ทารา่ งคาพิพากษา/คาสัง่ ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

(๒.๒) ด้านการบริหารจัดการคดี มีการพัฒนาระบบงานคดีปกครอง (ADMCASE) สาหรับ
การบันทึกข้อมูลงานธุรการศาลต้ังแต่การรับคดีเข้าสู่ศาล การจัดเก็บข้อมูลความเคล่ือนไหวคดี จนถึงการจัดทา
คาพิพากษา/คาส่ัง และออกเลขแดง โดยจัดให้มีการบันทึกข้อมูลเพื่อใช้ประโยชน์การจัดทาข้อมูลสถิติ
เพ่ือการบริหารจัดการคดี รวมทั้งการติดตามสถานะความเคล่ือนไหวของคดี เพ่ือรองรับการก้าวสู่ศาลปกครอง
อัจฉริยะ ระบบบริหารจัดการคดีควรมีการพัฒนาให้มีขีดความสามารถในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร
จัดการคดีของผู้บริหารศาลปกครอง องค์คณะ ตุลาการ และพนักงานคดี สามารถช่วยในการจัดการระยะเวลาคดี
ใหม้ ีประสิทธิภาพ และประสทิ ธผิ ลตามเป้าหมายการดาเนนิ งานตามแผนแมบ่ ทของศาลปกครองฯ

๕๒ | P a g e

(๒.๓) ด้านการบริหารจัดการองค์กร ได้พัฒนาระบบดิจิทัลสนับสนุนการบริหารจัดการองค์กร
ในดา้ นต่าง ๆ ได้แก่

 ระบบดิจิทัลสนับสนุนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ พัฒนาระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์
ใหส้ ามารถยืน่ ใบลา อนุมัตใิ บลา และตรวจสอบสถิติการลาผ่านระบบ Online ดว้ ยเครื่องคอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณ์
เคล่ือนท่ีส่ือสารไร้สายอัจฉริยะ (Smartphone) โดยเป็นระบบริเริ่มที่ทุกขั้นตอนเป็นกระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส์
ที่สามารถยกเลิกเอกสารกระดาษในการปฏิบัติงานได้ตั้งแต่ต้นทางจนถึงสิ้นสุดกระบวนการ คือ การย่ืน
การอนุญาต การอนมุ ัติวนั ลา รวมทงั้ การตรวจสอบสถิตวิ ันลารายบุคคลได้

 ระบบดิจิทัลสนับสนุนงานเอกสารสานักงาน โดยการพัฒนาระบบการประชุม
อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อบริหารจัดการการประชุมโดยเน้นการใช้งานเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ทดแทนการใช้กระดาษ
(Paperless) ซ่ึงสอดคล้องกับแนวนโยบายและทิศทางการดาเนินงานของศาลปกครอง โดยระบบรองรับ
การประชมุ องคค์ ณะและสนบั สนุนเคร่ืองคอมพิวเตอร์พกพาแบบหน้าจอสมั ผสั

 ระบบดิจิทัลการบริหารอาคารและทรัพย์สิน ได้พัฒนาระบบสารสนเทศต้นแบบ
Web application on mobile โดยใช้ QR Code เป็น Smart-ID เพื่อเพิ่มช่องทางการเข้าถึงบริการต่าง ๆ
ได้ผ่านอุปกรณ์เคล่ือนท่ีส่ือสารไร้สายอัจฉริยะ (Smartphone) เช่น ระบบจองห้องประชุมออนไลน์ ระบบ
แจ้งซอ่ มคอมพวิ เตอรอ์ อนไลน์ ระบบให้บริการใชร้ ถยนตอ์ อนไลน์ เป็นต้น

(๒.๔) ด้านระบบข้อมูลเพื่อการสร้างคุณค่าให้กับองค์กร สานักงานศาลปกครองมีการจัดทา
ฐานข้อมูลในรูปแบบของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์แยกจัดเก็บในแต่ละระบบภายใต้โครงสร้างข้อมูลท่ีเป็นไป
ตามแนวทางการทางานของผู้พัฒนาระบบ ยังไม่มีการจัดทาโครงสร้างมาตรฐานข้อมูลกลางเพ่ือทางานร่วมกัน
หรืรองรับการแลกเปล่ียนข้อมูล อีกทั้งยังขาดระบบข้อมูลที่จะนาไปใช้สาหรับการวิเคราะห์ (Data analytics)
รวมถงึ การต่อยอดวเิ คราะห์ดว้ ยวิทยาศาสตร์ข้อมลู (Data science) เพ่ือนาไปใช้ประโยชน์ในการทานายพยากรณ์
ค่าทางสถิติสนับสนุนการบริหารจัดการ หรือการตัดสินใจกาหนดนโยบาย เป้าหมายการดาเนินงานของผู้บริหาร
ศาลปกครอง และสานักงานศาลปกครอง รวมท้ัง สนับสนุนการวางแผนบริหารจัดการคดีและการบริหารจัดการ
องค์กรด้วยข้อเท็จจริง (Management by facts) นอกจากนี้ ยังต้องเตรียมความพร้อมข้อมูลรองรับการใช้
เทคโนโลยีขั้นสูงท่ีมีความทันสมัย เช่น เทคโนโลยี Artificial Intelligence (AI), Big Data, Business Intelligence (BI)
เป็นต้น เพือ่ รองรบั การทางานดว้ ยเทคโนโลยีที่ทันสมยั ได้อย่างชาญฉลาดเพมิ่ ขน้ึ

(๒.๕) ด้านโครงสร้างพ้ืนฐานเทคโนโลยีดิจิทัล สานักศาลปกครองได้จัดให้มีเทคโนโลยีดิจิทัล
ที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานเชอื่ มโยงการส่ือสารระหวา่ งส่วนกลางและภูมิภาค จัดระบบการให้บรกิ ารโดยใชเ้ ทคโนโลยี
Virtual machine: VM เพื่อจัดสรรทรัพยากรเทคโนโลยีดิจิทัลรองรับการใช้งานระบบงานดิจิทัลด้านต่าง ๆ ได้แก่
ระบบสนบั สนนุ การบริการ การพจิ ารณาพิพากษาคดี การบริหารจดั การคดี และการบรหิ ารสานักงานศาลปกครอง
โดยมีระบบสื่อสารในส่วนกลางด้วยความเร็วอินเทอร์เน็ต Internet speed ๑๒๐/๒๐ Mbps และให้บริการ
ผ่านเครือข่ายไร้สายด้วยความเร็ว ๔๐๐/๑๐๐ Mbps นอกจากนี้ได้เชื่อมต่อการสื่อสารกับหน่วยงานในภูมิภาค
ด้วยโครงข่ายการสื่อสารผ่านอินเทอร์ด้วยความเร็ว ๑๖ Mbps รองรับการใช้อุปกรณ์การประชุมทางไกลผ่านจอภาพ
(Video Coference) ด้วยความเร็ว ๘ Mbps และเครือข่ายไร้สายด้วยความเร็ว ๑๒ Mbps โดยมีเครือข่าย
การเช่ือมโยง ดังภาพ

๕๓ | P a g e

ท้ังนี้ การจัดเตรียมเครือข่ายการสื่อสารรองรับทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลในอนาคต
จาเปน็ ตอ้ งมีการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของเครือข่ายและศักยภาพของระบบด้านฮารด์ แวร์และซอฟต์แวรใ์ นทกุ ๆ ดา้ น

(๒.๖) ด้านการสนับสนุนโครงสร้างพ้ืนฐานและความมั่นคงปลอดภัยเทคโนโลยีดิจิทัล
สานักงานศาลปกครองได้จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลสนับสนุนการพัฒนาระบบดิจิทัลและการใช้งานระบบดิจิทัล
ท่ีมีความมั่นคงปลอดภัยในการใช้งานระบบดิจิทัล โดยมีส่วนประกอบสนับสนุนการพัฒนาระบบดิจิทัล ทั้งส่วน
การสนับสนุนการพัฒนาระบบดิจิทัล (Software development) โดยได้จัดให้มีเคร่ืองมือสาหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์
(Software development tool) เคร่ืองมือสาหรับการจัดการฐานข้อมูล (DB management tool) การติดตาม
การทางานของระบบดิจิทลั รวมทั้งเคร่ืองมือติดตามการจัดการเวลาของระบบ (Uptime monitoring tool) นอกจากน้ี
ได้มีเคร่ืองมือสนับสนุนการบริการระบบเครือข่ายและการส่ือสารคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ ได้ติดต้ังอุปกรณ์
และระบบการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย รวมท้ังได้จัดเตรียมซอฟต์แวร์การทางาน
ของหนว่ ยงาน และซอฟตแ์ วร์ป้องกนั ไวรัสคอมพวิ เตอร์สว่ นบคุ คลให้ศาลปกครองทัว่ ประเทศ

(๒.๗) ด้านเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ได้จัดสรรเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ต่อพ่วง คอมพิวเตอร์พกพาสนับสนุนการทางานของผู้บริหาร/ตุลาการศาลปกครอง ผู้บริหารสานักงานศาลปกครอง
พนักงานคดีปกครอง และบุคลากรสายสนับสนุนสานักงานศาลปกครอง ซ่ึงจัดสรรรองรับการปฏิบัติงานให้กับ
บคุ ลากรได้ในสัดส่วน ๑ : ๑ โดยมีรายการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนคอมพิวเตอร์ สภาพแวดลอ้ มทางด้านดิจทิ ลั ให้กับ
หน่วยงานภายในทั้งส่วนกลางและภูมิภาคในกลุ่มภารกิจต่าง ๆ ทั้งน้ี ในปัจจุบันจากการสารวจเครื่องคอมพิวเตอร์
พบว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมากมีอายุการใช้งานท่ีมีอายุการนานเกิน ๑๐ ปี จึงได้มีการพิจารณาวางแผน
การจัดหาเพ่ือทดแทนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่เส่ือมอายุการใช้งานตามสภาพจานวนมากกว่า ๒,๐๐๐ เครื่อง รวมท้ัง
สถาณการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-19) จาเป็นต้องวางแผนการเตรียม
สิ่งสนับสนุนทางดิจิทัลท่ีเอ้ือต่อการรองรับการปฏิบัติของบุคลากรได้จากทุกสถานที่และทุ กเวลาจึงวางแผน
การจัดหาเคร่ืองคอมพิวเตอร์พกพาเพื่อสนับสนุนการทางานในยุคปัจจุบันท่ีต้องสามารถปฏิบัติงานได้จากทุก
สถานท่แี ละทุกเวลา โดยปัจจุบันมีการจัดสรรทรัพยากรทางดจิ ิทัลให้หน่วยงานใชง้ าน ดังนี้

๕๔ | P a g e

ตารางการจัดสรรคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะสาหรับหน่วยงานภายในทั้งส่วนกลางและภูมิภาค จาแนก
ตามภารกจิ โครงสรา้ งขององคก์ ร

หน่วยงาน
ุตลาการ ศปส.
ุตลาการ
ศป. ชั้น ้ตน
ุตลาการประจา
ศป. ชั้น ัตน
พนักงาน
ค ีดปกครอง
ข้าราชการ
สายงาน ื่อน ๆ
ูลกจ้างประจา
พนักงานราชการ
ูลกจ้างชั่วคราว
ุบคลากร ไม่รวม
ุตลาการ
ุบคลากรท้ังหมด
จานวนเครื่อง
คอม ิพวเตอร์

กลุ่มภารกจิ ดา้ นการพจิ ารณา ๕๑ ๑๖๘ ๔๐ ๑,๒๐๔ ๕๖๔ ๓ ๔๙๙ ๑๓ ๒,๒๘๓ ๒,๕๔๒ ๓,๐๐๒
พพิ ากษาคดปี กครอง ๕๑ ๗๐ ๔๐ ๗๗๓ ๒๙๒ - ๒๕๐ ๑๓ ๕๕๕ ๑,๔๘๙ ๑,๗๓๙

- ส่วนกลาง

- สว่ นภมู ิภาค - ๙๘ - ๔๓๑ ๒๗๒ ๓ ๒๔๙ - ๙๕๕ ๑,๐๕๓ ๑,๒๖๓

กลมุ่ ภารกจิ ด้านวชิ าการ -- - ๕๐ ๑๐๘ - ๒๒ - ๑๘๐ ๑๘๐ ๒๓๕
คดีปกครองและเสริมสรา้ ง
การปฏบิ ตั ริ าชการท่ีดี -- - ๑๕ ๓๔๑ ๑๔ ๗๓ - ๔๔๓ ๔๔๓ ๕๑๐
(ส่วนกลาง) ๕๑ ๑๖๘ ๔๐ ๑,๒๖๙ ๑,๐๑๓ ๑๗ ๕๙๔ ๑๓ ๒,๙๐๖ ๓,๑๖๕ ๓,๗๔๗

กลุ่มภารกจิ ดา้ นบริหาร
จัดการองคก์ าร (สว่ นกลาง)

รวมท้ังหมด

แผนทดแทนและจัดหาเพิ่มเติมเคร่ืองคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา และสแกนเนอร์
ทดแทนคอมพวิ เตอร์ท่ีมีอายุนานเกิน ๑๐ ปี รวมทงั้ จัดหาเพ่ิมเตมิ สาหรับบคุ ลากรท่ีบรรจุแต่งตง้ั ใหม่ระหว่างปี

ปีงบประมาณ จานวนคอมพวิ เตอร์ จานวนคอมพวิ เตอร์ เครือ่ งสแกน (เครื่อง)
ตงั้ โตะ๊ (ชดุ ) พกพา (เครื่อง)
จดั หา เพิ่มเติมใหม่
จดั หาทดแทน เพมิ่ เตมิ ใหม่ จัดหา เพมิ่ เตมิ ใหม่ ๒๕๖๓ ๒๕๖๓

๒๕๖๓ ๒๕๖๓ ๒๕๖๓ ๒๕๖๓

ทดแทน ๑,๐๖๕ - ๒๖๐ - ๘๔ ๑๖
อุปกรณ์
ท่มี อี ายุนาน ๒๕๖๔ ๒๕๖๔ ๒๕๖๔ ๒๕๖๔ ๒๕๖๔ ๒๕๖๔
๑๐ ปี ขน้ึ ไป ๖๘๐ ๒๐ ๖๐ - -๔
๒๕๖๕ ๒๕๖๕ ๒๕๖๕
๘๐๐ ๘๐ ๕๕๐ ๒๕๖๕ ๒๕๖๕ ๒๕๖๕
- ๓๖ ๔

รวม ๒,๕๔๕ ๑๐๐ ๘๗๐ - ๑๒๐ ๒๔

(๒.๘) ด้านการพัฒนาระบบดิจิทัลและทักษะของบุคลากร ด้วยแนวโน้มการเปล่ียนของ
เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว องค์กรทุกภาคส่วนมีการต่ืนตัวในการปรับตัวโดยการนา
เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพื่อขับเคลื่อนการดาเนินงานในองค์กรทุกระดับ รวมถึงองค์กรศาลทั่วโลกโดยนาเทคโนโลยี
ที่ทันสมัยมาใช้สนับสนุนอย่างเป็นรูปธรรม ซ่ึงบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของสานักงานศาลปกครอง
จาเป็นต้องมีความรู้สาหรับการพัฒนาระบบดิจิทัลที่ช่วยสนับสนุนบริการ และสนับสนุนการดาเนินงานของ
ศาลปกครองและสานกั งานศาลปกครอง ดว้ ยแนวคดิ การพฒั นาระบบดจิ ทิ ลั ดว้ ยเทคโนโลยีตามตาราง

๕๕ | P a g e

เคร่อื งมือในการพัฒนา ระบบงานคดปี กครอง ระบบสนับสนนุ งาน ระบบบรกิ ารของ
ระบบสารสนเทศ บรหิ ารองคก์ าร ศาลปกครอง
VB.NET, Groovy
ภาษาทใี่ ชใ้ นการพัฒนา ASP.NET, ASP, PHP Phone gap, Xcode
ฐานข้อมูล ORACLE 11, 12 PHP, Java
ระบบปฏิบัตกิ าร MySQL 5.5 ORACLE, MySQL, Nest NSF MySQL
SQL SERVER, Maria DB
สถาปัตยกรรม Windows server 2003 Windows server 2003R2 iOS,Android
การพฒั นาระบบดจิ ทิ ลั Windows server 2012R2 Windows server 2016 Windows Server 2012R2
Windows server 2016 Windows server 2019
Windows server 2008 AIX Mobile application
Web Application Web Application
version 7.1, Linux
Web Application Client Server
Windows Application

ด้วยแนวโน้มเทคโนโลยีที่มีการเปล่ียนแปลงในปัจจุบันเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงท่ีมีความทันสมัย
มีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งบุคลากรทางด้านดิจิทัลยังขาดทักษะและความรู้ในเทคโนโลยีใหม่ ๆ จึงจาเป็นต้อง
พัฒนาความรู้และทักษะให้แก่บุคลากร เพ่ือให้มีขีดความสามารถในการนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้สนับสนุน
การดาเนินงานของศาลปกครองให้มีประสิทธิภาพได้เพ่ิมมากขึ้น โดยพัฒนาในทุกด้านของเทคโนโลยีดิจิทัลที่มี
การเปล่ยี นแปลง เช่น ดา้ นการพฒั นาระบบ ดา้ นเทคโนโลยีข้อมูล ดา้ นโครงสรา้ งพ้นื ฐานและการสือ่ สาร นวัตกรรม
ทท่ี ันสมยั และมาตรฐานเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เปน็ ต้น เพอื่ การพิจารณาตัดสินใจประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลเหล่าน้ันให้
ใช้ได้อย่างเกิดประโยชน์ได้เต็มประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลต่อการขับเคล่ือนการพัฒนาศาลปกครองไปเป็น
ศาลปกครองอจั ฉรยิ ะ (Smart Admincourt) ในอนาคต

(๓) ผลการประเมินความพร้อมเข้าสู่รัฐบาลดิจิทัล๑๒ เมื่อพิจารณาผลสารวจความพร้อมการพัฒนา

รฐั บาลดิจทิ ัลของศาลปกครอง ซึ่งประเมนิ โดยสานกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ิทัล การประเมินได้กาหนดมติ ิการประเมิน

๖ ด้าน ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ ๑ ด้านแนวนโยบายและหลักปฏิบัติ (Policies/Practices) ตัวชี้วัดที่ ๒ ด้านศักยภาพ

เจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล (Digital capabilities) ตัวชี้วัดที่ ๓ ด้านบริการภาครัฐ (Public services) ตัวช้ีวัดที่ ๔

ด้านการบริหารจัดการรูปแบบดิจิทัล (Smart back office) ตัวช้ีวัดท่ี ๕ ด้านโครงสร้างพื้นฐานความม่ันคงปลอดภัย

และมีประสิทธิภาพ (Secure and efficient infrastructure) และตัวช้ีวัดที่ ๖ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลและการนาไปใช้

(Digital technological practices) โดยมีสรปุ ผลการประเมินในแต่ละด้านตามภาพด้านล่าง ดังน้ี

๑๒ ผลการสารวจระดบั ความพรอ้ มรฐั บาลดจิ ทิ ลั หนว่ ยงานภาครัฐของประเทศไทยของสานักงานศาลปกครอง ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๒
สารวจโดยสานกั งานพัฒนารัฐบาลดิจิทลั (องคก์ ารมหาชน)

๕๖ | P a g e

ตารางสรุปคะแนนประเมนิ ความพร้อมการเปน็ รฐั บาลดิจิทัลของสานักงานศาลปกครอง

คะแนนรายตวั ชว้ี ดั หลัก คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉล่ีย อันดับหนึ่ง สานกั งาน
Pillar 1 : Policies / Practices ระดับกรม ศาลปกครอง
กระทรวงตน้ สังกัด หน่วยงานระดบั กรม
๕๗.๒๑% ๕๕.๓๕%
๔๖.๒๕% ๘๖.๗๕%

Pillar 2 : Digital capabilities ๖๖.๐๘% ๕๑.๕๘% ๘๔.๐๐% ๔๙.๑๕%

Pillar 3 : Public services ๖๘.๕๗% ๕๗.๐๒% ๙๕.๘๓% ๗๑.๒๗%

Pillar 4 : Smart back office practices ๖๑.๙๗% ๔๔.๙๙% ๗๖.๕๐% ๗๗.๖๐%

Pillar 5 : Secure and efficient ๗๕.๓๖% ๖๐.๓๕% ๙๖.๖๗% ๗๓.๓๓%
infrastructure ๓๗.๔๖% ๒๖.๖๗% ๗๐.๐๐% ๓๐.๐๐%
Pillar 6 : Digital technological practices

สรุปภาพรวมคะแนนประเมิน

สานกั งานศาลปกครอง อันดบั หน่งึ ระดบั กรม คะแนนเฉล่ยี กระทรวงต้นสังกดั คะแนนเฉล่ยี ระดบั กรม

๖๒.๕๔% ๘๘.๕๕% ๕๑.๕๕% ๖๔.๖๐%

สรุปผลการประเมนิ ตามตวั ชี้วดั รฐั บาลดิจิทัล

ตัวชี้วดั ท่ี ๑ ๑.๑ Digital government policy ๑.๒ Data governance ๑.๓ Cyber security policy ๑.๔ Budget allocation

ตวั ชี้วดั ที่ ๒ ๒.๑ IT professional ๒.๒ Digital Leadership ๒.๓ Digital Literacy ๒.๔ Data Literacy

ตวั ช้ีวดั ที่ ๓ ๓.๑ Proportion of Digital ๓.๒ Usability ๓.๓ Customer experience ๓.๔ Promote for using
services Digital
๔.๒ External
ตวั ชีว้ ดั ท่ี ๔ ๔.๑ Internal Integration Integration
๕.๒ Data Management
ตวั ชี้วดั ที่ ๕ ๕.๑ Reliability Infrastructure

ตัวชว้ี ดั ที่ ๖ ๖.๑ Conectivity ๖.๒ Intelligence ๖.๓ Trusted Protocol

โดยสรุป สานักงานศาลปกครองมีความพร้อมเข้าสู่รัฐบาลดิจิทัลในระดับคะแนนร้อยละ ๖๒.๕๔
ใกล้เคียงกับคะแนนโดยรวมในระดับประเทศ คือ ร้อยละ ๖๔.๖๐ โดยมีการจัดกลมุ่ ผลการประเมิน ดังน้ี

(๓.๑) กลุ่มงานท่ีมีคะแนนโดดเด่น มี ๒ เรื่อง ได้แก่ ข้อ ๒.๓ การส่งเสริมและให้ความรู้
เกี่ยวกับเร่ือง Digital Literacy ได้แก่ ด้านกฎหมาย นโยบาย มาตรฐานรัฐบาลดิจิทัล ด้านการบริหารโครงการ
และกลยุทธ์ในเชิงดิจิทัล ด้านทักษะการออกแบบ เขียนโปรแกรมสร้างสรรค์บริการ และข้อ ๖.๑ ด้านเทคโนโลยี
การเชื่อมต่อ/การสื่อสาร (Connectivity) ซึ่งรวมทั้งความปลอดภัยและการรับรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT security awareness)

(๓.๒) กลุ่มงานที่มีคะแนนค่อนข้างโดดเด่น จานวน ๖ เร่ือง ได้แก่ ข้อ ๑.๓ มาตรการรักษา
ความม่ันคงปลอดภัยของโครงสรา้ งพืน้ ฐานดา้ นดิจทิ ลั (Cyber security) ขอ้ ๓.๑ บรกิ ารหลักทหี่ น่วยงานใหบ้ ริการ
กับประชาชน/ภาคธุรกิจ/ภาครัฐ (Proportion of digital service) ข้อ ๓.๓ การศึกษาความต้องการของผู้ใช้ก่อน
พัฒนาบริการ (Customer experience) และการให้ข้อมูลและเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการแสดงความคิดเห็น
ต่อบริการ ข้อ ๔.๑ ระบบบริหารจัดการภายในที่ดาเนินการในรูปแบบดิจิทัล (Internal integration) ข้อ ๔.๒

๕๗ | P a g e

ความจาเป็นท่ีจะต้องเช่ือมโยงข้อมูลในรูปแบบดิจิทัลกับหน่วยงานภายนอก (External integration) และข้อ ๕.๑
เป็นเรื่องความน่าเช่ือถือโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัล เช่น การจัดทากระบวนการจัดการเหตุการณ์ผิดปกติ (Incident
management process) หรือกระบวนการบริหารความต่อเน่ืองของระบบบริการของหน่วยงาน (Business continuity
management process) ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั ระบบสารสนเทศ

(๓.๓) กลุ่มงานที่ควรมีการพัฒนา จานวน ๒ เร่ือง ได้แก่ ข้อ ๑.๑ เร่ืองการจัดทาแผน
เพื่อรองรับการพัฒนาด้านรัฐบาลดิจิทัล (Digital government policy) โดยเน้นเร่ืองแนวนโยบายและหลักปฏิบัติ
และข้อ ๒.๒ การดารงตาแหน่งผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ (Digital leadership) คือ ผู้บริหารมีการปฏิบัติหน้าที่
ตามบทบาทของ CIO เพอ่ื บรหิ ารจัดการความเสยี่ งดา้ นตา่ ง ๆ ที่อาจเกิดขึน้ ภายในองคก์ รจากการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล

(๓.๔) กลุ่มงานท่ีควรเร่งพัฒนาเพื่อช่วยลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานสาหรับการบูรณาการ
ดา้ นดิจิทลั ซง่ึ มีหลายด้านท่สี านกั งานศาลปกครองต้องเร่งใหเ้ กดิ การพฒั นาเพ่ิมขึน้ มีรายการ ดงั น้ี

- ข้อ ๑.๒ ในเร่ืองการรับรู้และการดาเนินการท่ีเก่ียวกับข้อมูล คือ ธรรมาภิบาลข้อมลู
(Data governance) และข้อ ๑.๔ เร่ือง การจัดสรรงบประมาณ (Budget allocation) ซึ่งเป็นส่วนท่ีเก่ียวข้องกับ
การจดั ทาแนวนโยบายและหลักปฏบิ ัติ (Policies and practices)

- ขอ้ ๒.๑ ดา้ น IT professional ซ่ึงเกยี่ วข้องกับการพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ทภ่ี าครัฐ
ด้านดิจิทัล (Digital capabilities) ที่เป็นบุคลากรผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยี และข้อ ๒.๔ ด้าน Data
literacy ซง่ึ เป็นความสามารถของบุคลากรในองค์กรทมี่ ีความสามารถการใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มูล

- ข้อ ๓.๒ เร่ืองการนาไปใช้ได้จริง (Usability) และข้อ ๓.๔ การประชาสัมพันธ์ส่งเสริม
การใชร้ ะบบดจิ ิทลั ให้ประชาชนได้รบั รู้ ซึ่งเป็นส่วนท่ีเกย่ี วข้องกบั การบรกิ ารภาครฐั (Public services)

- ขอ้ ๕.๒ เป็นโครงสร้างพ้ืนฐานที่มีความมั่นคงปลอดภัยและมีประสิทธภิ าพ (Secure
and efficient infrastructure) ในเรื่องการบริหารจัดการข้อมูล (Data management) ซึ่งเป็นเร่ืองของการปรับปรุง
ข้อมูลในระบบฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและพร้อมใช้งาน และการตรวจสอบความสมบูรณ์ข้อมูลของหน่วยงาน
ทเี่ ก็บรักษาไว้

- ข้อ ๖.๒ การนาเทคโนโลยีอัจฉริยะ (Intelligence) และข้อ ๖.๓ เทคโนโลยี
ด้านความม่ันคง (Trusted protocol) ซ่ึงเป็นการนาเทคโนโลยีดิจิทัลและการนาไปใช้ (Digital technological
practices) สนบั สนนุ ระบบดิจทิ ลั ทใ่ี ห้บรกิ ารภายในองค์กร และทีใ่ ห้บริการประชาชน

จากผลการดาเนินงาน และผลการประเมินความพร้อมรัฐบาลดิจิทัลของศาลปกครอง
โดยสานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล มีข้อท่ีควรมีการพัฒนาและควรมีการเร่งพัฒนา ได้แก่ เร่ืองการจัดทาแผน
เพื่อรองรับการพัฒนาด้านรัฐบาลดิจิทัล (Digital government policy) การจัดสรรงบประมาณ (Budget allocation)
การรับรูแ้ ละการดาเนินการด้านธรรมาภบิ าลขอ้ มลู (Data governance) การพัฒนาระบบดจิ ทิ ลั เพื่อบริการภาครัฐ
(Public services) การประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการใช้ระบบดิจิทัล (Promotion for using digital) รวมทั้งโครงสร้าง
พ้ืนฐานการบริการที่มีความมั่นคงปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ (Secure and efficient infrastructure) และการ
บริหารจัดการข้อมูล (Data management) ซ่ึงเป็นเรื่องของการปรับปรุงข้อมูลในระบบฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
และพร้อมใช้งาน การตรวจสอบความสมบูรณ์ข้อมูลของหน่วยงานที่เก็บรักษาไว้ นอกจากนี้ ควรพิจารณาเรื่อง
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะ (Intelligence) และเทคโนโลยีด้านความมั่นคง (Trusted protocol) และ
การพัฒนาศักยภาพบุคลากรผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยี (IT professional) และความสามารถของบุคลากรใน
การใช้ประโยชน์จากข้อมูล (Data literacy) ซ่ึงการดาเนินงานท่ีควรปรับปรุงข้างต้น สานักงานศาลปกครองได้

๕๘ | P a g e

พิจารณากาหนดประเด็นหัวข้อที่ควรมีการปรับปรุงการดาเนินงานเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาศาลปกครองให้มี
ความพรอ้ มก้าวเขา้ สู่ศาลปกครองอจั ฉริยะ (Smart Admincour) ในประเดน็ สาคัญ ดงั นี้

๑. ด้านการบริหารเทคโนโลยีดิจิทัล ประกอบด้วย การจัดทาแผนเพ่ือรองรับการพัฒนา
ด้านรัฐบาลดิจิทัล (Digital government policy) การจัดสรรงบประมาณ (Budget allocation) ซึ่งพิจารณา
สัดส่วนการจัดสรรงบประมาณสาหรับการพัฒนาดิจิทัลที่ครอบคลุมองค์ประกอบสาคัญ ได้แก่ การพัฒนาระบบ
ดิจิทลั การพัฒนาระบบฐานข้อมูล การจดั หาครุภณั ฑ์คอมพิวเตอร์ การบารงุ รกั ษาระบบ การประยุกต์ใช้นวตั กรรม
ท่ีทันสมัย การเชื่อมโยงข้อมูลภาครัฐ รวมท้ังการพัฒนาทักษะทางดิจิทัลของบุคลากร และการพัฒนาผู้บริหาร
หรือผนู้ าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (Digital leadership) ของศาลปกครอง

๒. ด้านการพัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อบริการประชาชน ที่มุ่งเน้นปรับเปลี่ยนการบริการ
ของศาลปกครองให้อยู่ในรูปแบบของดิจิทัลให้เพ่ิมขึ้น สนับสนุนการพัฒนาระบบดิจิทัลเพ่ือบริการภาครัฐ
(Public services) รวมทั้งควรมีการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการใช้ระบบดิจิทัล (Promotion for using digital)
ของศาลปกครองให้กวา้ งขวางและทวั่ ถึงเพ่ิมมากขน้ึ ผา่ นช่องทางทห่ี ลากทั้งภายในและผ่านเครอื ขา่ ยภาครัฐ

๓. ด้านการพฒั นาระบบการบริหารจดั การข้อมูล (Data management) โดยการปรับเปลี่ยน
ข้อมูลของศาลปกครองให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลดิจิทัล รวมท้ังการเตรียมโครงสร้างพ้ืนฐานข้อมูลดิจิทัลให้มี
ความม่ันคงปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ (Secure and efficient infrastructure) และการบูรณาการความร่วมมือของ
หน่วยงานภายในให้มีการบริหารจัดการข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน และสมบูรณ์โดยการสร้างการรับรู้และ
การดาเนินการด้านธรรมาภิบาลข้อมูล (Data Governance) ท่ีมีความม่ันคงปลอดภัย การรักษาความเป็น
ส่วนบุคคล และสามารถเช่ือมโยงกัน เพ่ือให้สามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ต่อการพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง
การดาเนนิ งานของสานักงานศาลปกครอง และการบริการประชาชนของศาลปกครองให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

๔. ด้านเทคโนโลยดี ้านความมั่นคง (Trusted protocol) โดยส่งเสรมิ การสร้างความรู้ความเข้าใจ
และสนับสนุนให้หน่วยงานภาครัฐนาเทคโนโลยีดิจิทัลทางด้านความม่ันคงปลอดภัย ที่ทันสมัยมาใช้ในการบริหาร
จัดการและการให้บริการภาครัฐตามความเหมาะสมกับภารกิจของหน่วยงาน เช่น เทคโนโลยีความปลอดภัย
Blockchain เทคโนโลยีความปลอดภัย PKI เป็นต้น เพื่อเป็นการยกระดับเทคโนโลยีดิจิทัล และนวัตกรรมใหม่ๆ
สนบั สนุนการทางานของศาลปกครอง

๕. ด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะ (Intelligence) โดยส่งเสริมการสร้างความรู้
ความเข้าใจและสนับสนุนให้หนว่ ยงานภาครัฐนาเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีทันสมัย เชน่ AI, Speed-to-Text, OCR, Big data,
Data science, Data analytics และ BI มาใช้สนับสนุนการบริหารจัดการและการให้บริการภาครัฐตามความเหมาะสม
กับภารกิจของหน่วยงาน เพื่อเป็นการยกระดับรัฐบาลดิจิทัล และสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ สนับสนุนการทางานของ
ศาลปกครอง

๖. ด้านศักยภาพบุคลากรผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยี (IT professional) และ
ความสามารถของบุคลากรในการใช้ประโยชน์จากข้อมูล (Data literacy) โดยการส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจ
ด้านกฎหมาย นโยบาย มาตรฐานรัฐบาลดิจิทัล ความรู้การบริหารโครงการและกลยุทธ์ในเชิงดิจิทัล ทักษะ
การออกแบบ การเขียนโปรแกรมสร้างสรรค์บรกิ าร รวมทั้งความปลอดภัยในการทางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
(IT Security Awareness) และด้านความตระหนักรู้ในการทางานภายใต้สภาวะดิจิทัล (Digital Awareness)
ให้บุคลากรทุกกลุ่มได้รับรู้เกี่ยวกับประเด็นต่างๆ โดยพัฒนาให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยีมีความรู้
เก่ยี วกับเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลทท่ี นั สมัย

๕๙ | P a g e

๒. ผลการดาเนินงานตามแผนการปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒

ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒ สานักงานศาลปกครองได้มีการดาเนินโครงการและได้รับ
การจัดสรรงบประมาณตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงินประจาปี ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒
สรุปผลการดาเนนิ งานในแต่ละปี ดังน้ี

๒.๑ ผลการดาเนินงานในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สานักงานศาลปกครองได้ปรับเปลี่ยนบริการของ
ศาลปกครองแก่ประชาชนผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมท้ังพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลสนับสนุนการพิจารณา
พิพากษาคดี และการปฏิบัติงานสานักงานศาลปกครอง โดยมีการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานทางดิจิทัลให้พร้อม
สนบั สนนุ การเชอ่ื มโยงการทางานและสื่อสารของหนว่ ยงานภายในทว่ั ประเทศ รวมทง้ั พฒั นระบบรักษาความมั่นคง
ปลอดภัยเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครอง นอกจากได้มีการพัฒนาบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ให้มีความรู้ และทักษะทางด้านดิจิทัลทันต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างของเทคโนโลยีท่ีสมัย โดยมีการดาเนินงานตาม
ประเดน็ สาคญั ดงั น้ี

๒.๑.๑ การพัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อบริการประชาชน คู่กรณี และหน่วยงานภาครัฐ เป็นปีที่
ริเริ่มการพัฒนาระบบการยื่นคาฟ้องคดีผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Filing) ย่ืนเอกสารหลักฐานในการฟ้องคดี
สาหรับคู่กรณี จัดส่ิงสนับสนุนทางดิจิทัลภายในห้องพิจารณา/ไต่สวนคดี (e-Courtrooms) เพื่อนาร่องใช้งาน
ณ อาคารศาลปกครอง กรุงเทพฯ จานวน ๑ ห้อง นอกจากนี้ ได้ปรับปรุงระบบการเผยแพร่ข้อมูลความรู้เก่ียวกับ
คดีปกครองเพ่ือเป็นแนวปฏิบัติท่ีดีให้กับประชาชน หน่วยงานรัฐและผู้สนใจ รวมท้ังการจัดทาระบบการเรียนรู้
ผ่านส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Learning) สาหรับประชาชนผา่ นเวบ็ ไซต์ศาลปกครอง นอกจากน้ี ได้เปดิ ให้บรกิ ารข้อมูล
คดปี กครองผ่านแอปพลเิ คชนั ของศาลปกครองบนอปุ กรณ์เคลื่อนที่ (Mobile application) เวอร์ชัน ๑

๒.๑.๒ การพัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลปกครอง
โดยมุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการแฟ้มสานวนโดยการเริ่มพัฒนาระบบยืม - คืน แฟ้มสานวนคดี
(Docket control system) เพ่ือติดตามสถานะการใช้งานแฟ้มสานวนว่าอยู่ท่ีหน่วยงานใด เนื่องจากมีกลุ่มผู้ใช้
แฟ้มสานวนตลอดเส้นทางการพิจารณาพิพากษาคดี ทั้งผู้บริหารศาลปกครอง ตุลาการเจ้าของสานวน ตุลาการ
ผแู้ ถลง พนักงานคดีปกครอง หน่วยงานธรุ การของศาลปกครอง รวมทัง้ การให้บริการประชาชนสาหรบั การขอตรวจ
และขอคัดสาเนาเอกสารในแฟ้มสานวน ระบบดังกล่าวจะช่วยอานวยความสะดวกในการติดตาม เพื่อเพ่ิม
ประสิทธิภาพในการเรียกใช้แฟ้มสานวนได้รวดเร็วเพิ่มข้ึน นอกจากนี้ ได้พัฒนาระบบการเช่ือมโยงฐานข้อมูล
หนว่ ยงานภาครัฐเพ่ือสนับสนนุ การพิจารณาพพิ ากษาคดีของตลุ าการศาลปกครองและพนักงานคดีปกครอง

๒.๑.๓ การพัฒนาระบบดิจิทัลสนับสนุนสานักงานศาลปกครอง โดยได้ปรับปรุงพัฒนา
การทางานของระบบให้มีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน ได้แก่ ระบบควบคุมการผลิตเอกสาร เวอร์ชัน ๒ ระบบการประชุม
อิเล็กทรอนิกส์ เวอร์ชัน ๒ นอกจากนี้ มีการพัฒนาระบบสนับสนุนสานักงานเพ่ิมเติมตามความต้องการของหน่วยงาน
ได้แก่ ระบบบริหารจัดการทุน ระบบยืมคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเคร่ืองครัวสวัสดิการสานักงานศาลปกครอง
ต้นแบบการเข้าถึงระบบอินทราเน็ตผ่านอุปกรณ์เคลื่อนท่ี หรือ Web application on mobile ระบบแบบคาขอย้าย
และเลื่อนตาแหน่งของตุลาการศาลปกครอง ระบบแบบสารวจความพึงพอใจในการรับบรกิ ารของประชาชนท่ีมตี อ่
ระบบข้อมูลสารสนเทศในกระบวนการยุตธิ รรมทางปกครอง

๒.๑.๔ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล สนับสนุนการส่ือสาร
ของหน่วยงานภายในศาลปกครองผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ัวประเทศ รวมทั้งการวางระบบการรักษา
ความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย เพื่อสร้างความมั่นใจและรองรับการปฏิบัติงานของ

๖๐ | P a g e

ศาลปกครองให้มีความปลอดภัยจากภัยคุกคามระบบคอมพิวเตอร์ท้ังจากภายนอกและภายใน โดยได้จัดหาติดตั้ง
ระบบความปลอดภยั ไดแ้ ก่ ระบบรักษาความปลอดภัยสาหรับฐานข้อมูลทีส่ ามารถจัดการสิทธิการเข้าถึงฐานข้อมูล
และตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในฐานข้อมูล ป้องกันการโจมตีระบบฐานข้อมูลของศาลปกครอง รวมท้ัง
การจัดหาระบบความปลอดภัยสาหรับจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-Mail) และความปลอดภัยสาหรับเคร่ืองคอมพิวเตอร์
แม่ข่าย นอกจากนี้ จัดหาระบบป้องกันมัลแวร์ การป้องกันช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการทางเครือข่าย การป้องกัน
การโจมตีในระดับ Application layer และเพ่ิมประสิทธิภาพการทางานระบบบริหารงานคดีปกครองของศาลปกครอง
เพื่อเตรียมพร้อมรองรับการให้บริการยื่นฟ้องคดีปกครองและส่งเอกสารคาคู่ความต่าง ๆ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
ใหแ้ กป่ ระชาชน และเพ่ือขับเคล่ือนการพัฒนาก้าวสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ ได้จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ต่อพ่วงสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรศาลปกครองและสานักงานศาลปกครองให้มีความทันสมัยทดแทน
เครื่องคอมพิวเตอรท์ ่มี ีอายุนาน ๑๐ ปีขน้ึ ไป รวมทัง้ จดั สรรรองรับตลุ าการและบุคลากรท่ีบรรจุใหม่

๒.๑.๕ การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และประสบการณ์ทางด้านดิจิทัล โดยจัดให้มี
การแลกเปล่ียนความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลท้ังในประเทศและต่างประเทศเพื่อพัฒนาระบบงานท่ีสนับสนุน
กระบวนการพิจารณาพิพากษาคดขี องศาลปกครอง เพอ่ื เพม่ิ คณุ ภาพกระบวนการยุตธิ รรมและพัฒนาประสทิ ธิภาพ
การอานวยความยุติธรรมของศาลปกครองด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศฯ ด้วยการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกับ
ศาลฎีกา สาธารณรัฐเกาหลี ในหัวข้อระบบรับฟ้องอิเล็กทรอนิกส์ และศาลอิเล็กทรอนิกส์ สาธารณรัฐเกาหลี
และหลักการของการออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศที่สอดคล้องกับปรัชญาในการอานวยความยุติธรรม
การเตรียมโครงสร้างพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการปรับปรุงกระบวนการทางาน และกฎระเบียบ
(Soft infrastructure) ที่เก่ียวข้องกับศาลอิเล็กทรอนิกส์และศาลอัจฉริยะ รวมท้ัง การเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการปรับปรุงกระบวนการทางาน และกฎระเบยี บ (Soft infrastructure) ท่เี กยี่ วข้อง
กับศาลอิเล็กทรอนิกส์และศาลอัจฉริยะ รวมทั้งการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการจัดฝึกอบรม
ในหลักสูตรท่ีเป็นความรู้ที่ทันสมัย เช่น Artificial Inteligence (AI), Data science และการพัฒนาโปรแกรม
ดว้ ยแนวคิด MVC เพอื่ เพ่ิมประสิทธิภาพการพฒั นาซอฟต์แวรท์ ส่ี ามารถนากลบั มาใชใ้ หม่ (Reuse) เปน็ ตน้

๒.๒ ผลการดาเนินงานในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ สานักงานศาลปกครองได้ขยายการให้บริการ
ประชาชนผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดี และเพ่ิมประสิทธิภาพ
การปฏิบัติงานของสานักงานศาลปกครอง และพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานทางดิจิทัล รวมท้ังความมั่นคงปลอดภัย
เทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครอง นอกจาก ได้มีการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ และเพ่ิมทักษะทางด้านดิจิทัล
ให้กับบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอย่างต่อเน่ือง โดยมี
ผลการดาเนนิ งานประกอบด้วยระบบต่าง ๆ ดังน้ี

๒.๒.๑ การพัฒนาระบบดิจิทัลเพ่ือบริการประชาชน คู่กรณี และหน่วยงานภาครัฐ ได้เปิด
ให้บรกิ ารผ่านช่องทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ดงั นี้

(๑) เร่ิมเปิดให้บริการระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e–Litigation portal)
โดยเริ่มเปิดใช้งานครั้งแรกในศาลปกครองกลางและศาลปกครองสูงสุด (ฟ้องตรง) โดยให้ผู้ฟ้องคดีย่ืนคาฟ้องและ
ผู้ถูกฟ้องคดีย่ืนคาให้การและคู่กรณีสามารถเข้าถึงเอกสารในคดีของตนเองผ่านแฟ้มสานวนอิเล็กทรอนิกส์ได้
ผ่านระบบงานคดีปกครองอเิ ล็กทรอนกิ ส์

(๒) ปรับปรุงบริการแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์เคลื่อนท่ี (Mobile application) ของ
ศาลปกครอง เวอร์ชัน ๒.๐ ให้สามารถขอคัด/รับรองสาเนาเอกสารคาพิพากษา/คาส่ังในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
สามารถสืบค้นคาพิพากษา/คาส่ังของศาลปกครองได้ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนท่ี รวมทั้งสามารถขอจองที่จอดรถ

๖๑ | P a g e

เพื่ออานวยความสะดวกในการรับบริการ ณ ที่ตงั้ ศาลปกครอง กรงุ เทพฯ ไดล้ ่วงหนา้ และสามารถสืบค้นบัญชีนดั หมาย
หรือต้ังค่าปฏิทินนัดหมายการพิจารณา/ไต่สวนคดีส่วนตัวได้ นอกจากน้ี ได้เร่ิมต้นใช้งานระบบ Court Access
เพ่ือจัดเก็บข้อมูลการจัดระบบที่จอดรถและการเข้า-ออกอาคารศาลปกครองรองรับจานวนผู้เข้าอาคารและพ้ืนที่
จอดรถ อาคารศาลปกครอง ถ.แจง้ วฒั นะ ตลอดปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ซ่ึงมีข้อมูลแบ่งเปน็ จานวนการเข้า-ออก
อาคารศาลปกครอง จานวน ๔๔,๘๐๗ ครงั้ และพื้นที่จอดรถ จานวน ๑๘,๐๘๗ ครัง้

(๓) ระบบบริการผ่านเว็บไซต์ของศาลปกครอง ได้แก่ การรับเร่ืองร้องทุกข์ร้องเรียน
เพื่ออานวยความสะดวกรับเรื่องร้องเรียนผ่านเว็บไซด์ของศาลปกครองให้แก่ประชาชน การให้บริการระบบ
ฐานข้อมูลกฎหมาย/กฎ คาพิพากษา/คาสั่งของศาลปกครองสูงสุดในรูปแบบดิจิทัล เพื่อบริการประชาชนบน
เว็บไซต์ศาลปกครอง เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลคดีปกครองท่ีเป็นประโยชน์ และเป็นแนวปฏิบัติที่ดี
ใหแ้ ก่หนว่ ยงานภาครฐั

๒.๒.๒ การพัฒนาระบบดิจิทัลเพ่ือสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดี โดยได้พัฒนาระบบ
การทางานพื้นฐานสาหรับการพัฒนาเป็นศาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Court) คือ ระบบสานวนคดีอิเล็กทรอนิกส์หรือ
(e–Records system) เพ่ือรองรับจัดเก็บเอกสารในสานวนท้ังคดีที่ฟ้องยื่นฟ้องผ่านระบบคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์
(e-Litigation portal) รวมท้ังรองรับการจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มสานวนผ่านช่องทางปกติ โดยการแปลงเอกสาร
กระดาษในแฟ้มสานวนเป็นข้อมูลดิจิทัล เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานและการใช้ประโยชน์ข้อมูลร่วมกัน
ของบุคลากรทุกฝ่ายในศาลปกครอง และการเชื่อมโยงข้อมูลหน่วยงานภาครัฐเพิ่มเติม ได้แก่ ข้อมูลหนังสือเดินทาง
ของกรมการกงสุล ข้อมูลบุคคลล้มละลายของกรมบังคับคดี ข้อมูลผู้ต้องขังของกรมราชฑัณฑ์ ข้อมูลหนังสือ
มอบอานาจของกรมการค้าต่างประเทศ ซ่ึงเพ่ิมเติมจากการเช่ือมโยงข้อมูลทะเบียนราษฎรของกรมการปกครอง
และหนงั สือรบั รองนิตบิ คุ คลของกรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ ซง่ึ เปน็ หน่วยงานเร่มิ ต้นทมี่ ีการเชอ่ื มโยงข้อมลู ใช้ประโยชน์
ของศาลปกครอง นอกจากนี้ ได้พัฒนาต่อยอดระบบบริหารจัดการคดีสาหรับบุคลากรศาลปกครอง หรือ ระบบ
ศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e–Admincourt) โดยปรับปรุงขั้นตอนในการอานวยความยุติธรรมของศาลปกครอง
โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ได้แก่ ข้ันตอนการตรวจคาฟ้องเบื้องต้นและออกหมายเลขคดีดา การสรุปคาฟ้อง/คาขอ
การสั่งจ่ายสานวนของผู้บริหาร การตรวจคาฟ้องโดยตุลาการ การจัดทารายงานกระบวนพิจารณา (การจัดทา
หมาย) รวมทั้งปรับปรุงระบบสืบค้นข้อมูลหลายฐาน โดยการบูรณาการฐานข้อมูลจากแนววินิจฉัยคาพิพากษา/
คาส่งั และกฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ งเพือ่ เพิ่มความสามารถการสบื คน้ ให้เป็นประโยชนเ์ พิ่มมากขน้ึ

๒.๒.๓ การพัฒนาระบบดิจิทัลสนับสนุนสานักงานศาลปกครอง โดยพัฒนาระบบสนับสนุน
การปฏบิ ตั งิ านสานักงานศาลปกครองเพม่ิ ขนึ้ ได้แก่

 ระบบจัดการเอกสารสานักงาน เช่น ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์เวอร์ชัน ๒
ระบบประชุมอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-Meeting) เปน็ ตน้

 ระบบบริหารจัดการทรัพยส์ ิน และอาคารสถานที่ ได้แก่ ระบบใหบ้ ริการจองห้องประชุม
ออนไลน์ ระบบตรวจสอบทะเบียนครุภัณฑ์สานักงานแบบอิเล็กทรอนิกส์ เวอร์ชัน ๒ ระบบให้บริการขอใช้รถยนต์
และระบบแจง้ ซ่อมอาคารสถานท่ี

 ระบบบรหิ ารจดั การบุคลากร ไดแ้ ก่ ระบบสารสนเทศทรัพยากรมนษุ ย์ (DPIS) ระบบ
ฐานข้อมลู ประวตั ติ ุลาการ ระบบพฒั นาบุคลากร (วตป.) และระบบลงเวลาปฏิบัตริ าชการดว้ ยลายพิมพ์นวิ้ มอื

๖๒ | P a g e

๒.๒.๔ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ปรับปรุงการเชื่อมโยงระบบ
เครือข่าย จานวน ๓ ช่องทาง ได้แก่ ช่องทางท่ี ๑ เครือข่ายส่ือสารข้อมูลใช้รับส่งข้อมูลระบบงานสารสนเทศต่างๆ
ชอ่ งทางที่ ๒ เครอื ขา่ ยส่ือสารใช้ถ่ายทอดระบบประชุมทางไกลไปสานักงานศาลปกครองในภูมภิ าค ๑๔ แห่ง ได้แก่
เชียงใหม่ พิษณุโลก นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี ระยอง นครศรีธรรมราช สงขลา เพชรบุรี
นครสวรรค์ สุพรรณบุรี ภูเก็ต และยะลา ในส่วนช่องทางท่ี ๓ เป็นเครือข่ายสื่อสารข้อมูลใช้รับส่งข้อมูลระบบงาน
สารสนเทศตา่ งๆ เชื่อมโยงสานกั งานศาลปกครอง ไปท่ีทาการชั่วคราว อาคารเซ็นทรัล แจ้งวัฒนะ จัดหาโครงสรา้ ง
พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับศาลปกครองภูมิภาคแห่งใหม่ คือ ศาลปกครองยะลาและศาลปกครอง
ภูเก็ต รวมทั้งได้ดาเนินการติดต้ังระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล สาหรับอาคารท่ีทาการสานักงานศาลปกครอง
ช่ัวคราว (อาคารบริหาร ๑ บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน)) รวมท้ัง ได้เพ่ิมความปลอดภัยและความ
น่าเช่ือถือให้กับระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์สาหรับให้บริการประชาชน โดยติดต้ังเครื่องคอมพิวเตอร์แม่
ข่ายและใบรับรอง SSL certificate เพ่ือยืนยันว่าเป็นระบบงานท่ีให้บริการของศาลปกครอง นอกจากน้ี ติดตั้ง
เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงสาหรับใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๒
ประกอบด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ จานวน ๓๐๐ ชุด เครื่องสารองไฟ จานวน ๓๐๐ ชุด เคร่ืองคอมพิวเตอร์พกพา
จานวน ๒๐ ชุด

๒.๒.๕ การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และประสบการณ์ทางด้านดิจิทัล โดยจัดให้มี
การถ่ายทอดความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลสาหรบั บุคลากรท้ังตุลาการศาลปกครอง พนักงานคดีปกครอง เจ้าหน้าที่
ผู้เกี่ยวข้องกับระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ให้สามารถใช้งานระบบได้ นอกจากนี้ ได้พัฒนาบุคลากร
ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการส่งบุคลากรในหลักสูตรที่เปิดฝึกอบรมของหน่วยงานภายนอก จานวน ๔
หลักสูตรที่เกี่ยวกับการพัฒนาแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์เคล่ือนท่ี ทักษะทางด้านการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเครื่องมือ
ทท่ี ันสมัย เป็นตน้

กฎหมาย ระเบยี บ ประกาศรองรบั การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลปกครอง

ศาลปกครองตระหนักถึงความสาคัญของการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีที่มีอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลต่อ
การดาเนินงานของทุกองค์กรภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรทุกแห่ง รวมท้ังศาลปกครอง ดังนั้น จึงได้ให้
ความสาคัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการขับเคล่ือนองค์กร เพื่อยกระดับบริการและการพิจารณาพิพากษาคดี
ไปสู่การพัฒนาศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Admmincourt) และศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt)
ผา่ นกลไกดา้ นกฎหมายโดยการจดั ทาและแกไ้ ขกฎหมาย ระเบยี บ และประกาศท่ีสาคัญ ดงั นี้

๑. พระราชบัญญตั ิ กฎ ระเบียบภายในของศาลปกครอง
๑.๑ การปรับปรุง/แก้ไขพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่

๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑
๑.๑.๑ มาตรา ๔๖ คาฟ้องให้ย่ืนต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีของศาลปกครอง หรือส่งทางไปรษณีย์

ลงทะเบียน ในการนี้อาจย่ืนคาฟ้องโดยส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ สื่อดิจิทัลอ่ืนใด หรือโทรสาร ตามระเบียบ
ของท่ีประชุมใหญ่ ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด และเพื่อประโยชน์ในการนับอายุความให้ถือว่าวันที่ส่งคาฟ้อง
แก่เจ้าพนักงานไปรษณีย์หรือวันท่ีส่งคาฟ้องทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ส่ือดิจิทัลอ่ืนใด หรือโทรสารเป็นวันท่ีย่ืน
คาฟ้องตอ่ ศาลปกครอง

๖๓ | P a g e

๑.๑.๒ มาตรา ๖๐/๑ เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อคู่กรณี ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีคาขอและศาลเห็นว่า
จะเป็นประโยชน์แก่ความยุติธรรมหรือเพ่ืออานวยความสะดวกแก่คู่กรณี ศาลอาจมีคาสั่งให้ดาเนินกระบวน
พิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบการประชุมทางจอภาพได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนด
โดยระเบยี บของท่ีประชุมใหญ่ตลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ

๑.๒ ปรับปรุงและจัดทาระเบยี บที่ประชมุ ใหญต่ ลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ
๑.๒.๑ ระเบียบท่ีประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครองทาง

อเิ ล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งมสี ว่ นสาคัญ ๔ ส่วน ประกอบด้วย
สว่ นที่ ๑ บททวั่ ไป ซึ่งกาหนดถึงวธิ ีการใชง้ านระบบสนับสนุนการฟอ้ งคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
ส่วนที่ ๒ การฟอ้ งคดีทางอเิ ล็กทรอนิกสห์ รอื โทรสาร
ส่วนท่ี ๓ การยื่น ส่ง และรับ คาให้การ คาคัดค้านคาให้การ คาให้การเพ่ิมเติม คาชี้แจง

คาแถลง คาร้อง คาขอ พยานหลักฐาน คาส่ังศาล หมายเรียก หรือเอกสารอ่ืนใดโดยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หรือ
โดยโทรสาร

ส่วนท่ี ๔ การพิจารณาคดีโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบการประชุมทางไกล
ผา่ นจอภาพ

นอกจากน้ี ได้กาหนดบทเฉพาะกาลสาหรับกรณีที่คู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดประสงค์ที่จะ
ดาเนินกระบวนพิจารณาโดยระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ แต่คู่กรณีอ่ืนไม่ได้ใช้ระบบงานคดีปกครอง
อิเล็กทรอนิกส์บรรดาสาเนาเอกสารหรือสาเนาพยานหลักฐานที่ต้องส่งให้แก่คู่กรณีอีกฝ่ายหน่ึงในรูปกระดาษหรือ
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้สานักงานศาลปกครองเป็นผู้จัดทาส่ิงพิมพ์ออกของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นเอกสาร
ในรูปกระดาษ หรอื แปลงเอกสารในรูปกระดาษเป็นรูปข้อมลู อิเล็กทรอนกิ ส์ แลว้ แตก่ รณี โดยค่าใช้จ่ายในการจัดทา
สิ่งพิมพ์ออก หรือแปลงเอกสารดังกล่าวให้เป็นไปตามประกาศของสานักงานศาลปกครอง รวมทั้งการลงลายมือชื่อ
ของตุลาการศาลปกครองในคาพิพากษา/คาส่ัง คาสั่งศาล หมายศาล หรือเอกสารอ่ืนใดท่ีกระทาเป็นข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ ให้ใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือลงลายมือช่ือในเอกสารรูปกระดาษแล้วนาเข้าในระบบงาน
คดีปกครองอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และให้ถอื วา่ เป็นตน้ ฉบบั เอกสาร

๑.๒.๒ ระเบียบท่ีประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยการพิจารณาคดีปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๓ ข้อ ๓๔ คาฟ้องท่ีขอให้ศาลส่ังให้ใช้เงินหรือส่งมอบทรัพย์สินอันสืบเน่ืองจากคดีตามมาตรา ๙ วรรค
หนึง่ (๓) หรอื (๔) ให้ชาระคา่ ธรรมเนียมศาลตามทุนทรัพยเ์ ป็นเงินสด เชค็ ซง่ึ ธนาคารรับรองหรือเชค็ ซึง่ สว่ นราชการ
หรือรัฐวิสาหกิจเป็นผูส้ ง่ั จา่ ย โดยให้พนักงานเจ้าหนา้ ที่ของศาลออกใบรับให้หรือชาระค่าธรรมเนียมศาลโดยวิธีการ
อ่ืนดงั ตอ่ ไปนี้ พรอ้ มทั้งค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จา่ ยอย่างอ่ืนในการเรียกเก็บเงินตามวิธกี ารดังกลา่ ว (ถา้ มี)ท้ังน้ี ตาม
หลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงื่อนไขที่ประธานศาลปกครองสูงสุดกาหนด

(๑) บตั รเครดติ บัตรเดบิต หรือบัตรอนื่ ใดในลกั ษณะเดียวกัน
(๒) หักบัญชีธนาคาร หรือชาระผ่านธนาคาร สถาบันการเงิน นิติบุคคลที่ประกอบธุรกิจ
การบริการรบั ชาระหน้ีแทนหรอื ด้วยเครื่องฝากถอนเงินสดอัตโนมตั ิ (ATM)
(๓) ทางอินเทอรเ์ น็ต
(๔) วธิ ีการอ่ืนตามที่ประธานศาลปกครองสงู สุดกาหนด

๖๔ | P a g e

๑.๓ ปรับปรุงระเบียบ ก.ศป. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และค่าธรรมเนียมการตรวจดู การคัดสาเนา และ
การรับรองสาเนาคาพิพากษา/คาสั่ง หรือคาสั่งช้ีขาดคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อรองรับการให้บริการ
ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงมีสาระสาคัญเพื่อให้บริการประชาชนในส่วนการขอตรวจดู ขอคัดสาเนา หรือขอให้
รับรองสาเนาคาพิพากษา/คาส่ัง หรือคาสั่งช้ีขาดคดีปกครองในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการลงลายมือชื่อ
อิเล็กทรอนกิ สส์ าหรับการรบั รองสาเนาคาพพิ ากษา/คาสัง่ ศาลปกครองทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์

๑.๔ จัดทาระเบียบ ก.บ.ศป. ว่าด้วยการเงินค่าธรรมเนียมเงินค่าปรับ และเงินกลาง (ฉบับที่....)
พ.ศ. .... เป็นระเบยี บรองรบั การเงนิ ผา่ นช่องทางอเิ ล็กทรอนิกส์ ซึง่ อยรู่ ะหว่างการพจิ ารณาของ ก.บ.ศป.

๑.๕ ประกาศประธานศาลปกครองสูงสุดและอธิบดีศาลปกครอง เพ่ือรองรับการให้บริการยื่นฟ้อง
และข้ันตอนของธุรการศาลผ่านระบบงานคดีปกครองอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Litigation portal) ได้แก่

๑.๕.๑ การเริ่มเปดิ ใชร้ ะบบงานคดปี กครองอิเล็กทรอนิกสใ์ นศาลปกครองทุกชน้ั ศาล
๑.๕.๒ การรบั รองขอ้ มูลอเิ ล็กทรอนิกส์

๑.๖ ประกาศสานักงานศาลปกครอง เพ่ือเป็นแนวปฏิบัติงานให้แก่บุคลากรสายงานคดีปกครองให้มี
แนวทางการปฏบิ ตั งิ านเปน็ มาตรฐานเดียวกัน ไดแ้ ก่

๖.๑ ขอ้ กาหนดการใช้ระบบงานคดีปกครองอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
๖.๒ รปู แบบหรือขนาดของข้อมลู อเิ ล็กทรอนิกส์

๒. พระราชบญั ญัติ กฎ ระเบยี บภายนอกศาลปกครอง
๒.๑ พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒

ที่กาหนดให้หน่วยงานภาครัฐปฏิบัติ เพ่ือการขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ ตามมาตรา ๒๖๖ ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย เรื่อง การปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินและการบริการประชาชนด้วยระบบดิจิทัล
พ.ศ. ๒๕๖๒ ซ่ึงมีประเด็นสาคัญ คือ ให้หน่วยงานรัฐจัดทาข้อมูลและบริการในรูปแบบดิจิทัล (Digitzation)
ให้หน่วยงานรัฐจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลในรูปแบบดิจิทัล (Open government data) รวมทั้งการพัฒนา
เช่ือมโยงแลกเปล่ียนระหว่างหน่วยงานโดยการใช้บังคับมีผลตั้งแต่วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒

๒.๒ พระราชบัญญัติธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นกฎหมายรองรับสถานะทางกฎหมาย
ของข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอกับการทาเป็นหนังสือ หรือหลักฐานเป็นหนังสือ การรับรองวิธีการส่งและรับ
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการรับฟังพยานหลกั ฐานที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนกิ ส์
เพื่อเป็นการส่งเสริมการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มีความน่าเช่ือถือ และมีผลในทางกฎหมายเช่นเดียวกับ
การทาธุรกรรมโดยวิธีการทั่วไปท่ีเคยปฏิบัติอยู่เดิม ควรกาหนดให้มีคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ทาหน้าท่ีวางนโยบายกาหนดหลักเกณฑ์เพ่ือส่งเสริมการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ติดตามดูแลการประกอบ
ธุรกิจเกี่ยวกับ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมท้ังมีหน้าที่ในการส่งเสริมการพัฒนาการทางเทคโนโลยีเพ่ือติดตาม
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ซ่ึงมีการเปล่ียนแปลงและพัฒนาศักยภาพตลอดเวลาให้มีมาตรฐานน่าเชื่อถือ
ตลอดจนเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เก่ียวข้อง อันจะเป็นการส่งเสริมการใช้ธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ด้วยการมีกฎหมายรองรับในลักษณะที่เป็นเอกรูป
และสอดคล้องกบั มาตรฐานทนี่ านาประเทศยอมรบั

๖๕ | P a g e

๒.๓ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นกฎหมายที่มุ่งเน้นให้องค์กร หน่วยงานรัฐ
หรือนิติบุคคลจัดให้มี “มาตรฐาน” ในการจัดการข้อมูลส่วนบุคคลอย่างเหมาะสมและเพียงพอ เมื่อมีความจาเป็น
ตอ้ งขอใชข้ อ้ มูลส่วนบุคคล ทัง้ น้ี เพื่อปอ้ งกันความเสยี่ งทจี่ ะมีผลกระทบไปถึงการรักษาความลับ (Confidentiality)
ความถูกต้องสมบูรณ์ (Integrity) และความพร้อมใช้งาน (Availability) ของข้อมูลส่วนบุคคลที่ก่อให้เกิดแนวโน้ม
ใหเ้ กิดผลกระทบเชิงลบหรือความเสยี หายในระดบั บุคคลหรอื องค์กร โดยมีสาระสาคัญ ๓ ประเดน็ หลกั ดงั น้ี

(๑) เจ้าของข้อมูลต้องให้ความยินยอม (Consent) ในการเก็บรวบรวม การใช้ และการเปิดเผย
ข้อมูลส่วนบุคคลตามวัตถุประสงค์ที่ผู้เก็บรวบรวม ผู้ใช้ แจ้งไว้ต้ังแต่แรกแล้วเท่านั้น กล่าวคือ ต้องขออนุมัติ
จากเจ้าของข้อมลู กอ่ น เชน่ หากแอปพลชิ ันหน่งึ จะเกบ็ ข้อมูลเจ้าของบตั รเครดิตไวใ้ นระบบ ต้องมีขอ้ ความให้ยืนยัน
เพ่ือยินยอม พร้อมแจ้งวัตถุประสงค์ในการเก็บรวบรวมและการใช้ หากเจ้าของข้อมูลไม่ยินยอมให้ใช้ข้อมูล
บตั รเครดติ ผูใ้ หบ้ รกิ ารแอปพลเิ คชันนั้นกไ็ ม่สามารถใชข้ ้อมูลบัตรเครดติ ได้

(๒) ผู้เก็บรวบรวมข้อมูลต้องรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล ไม่ให้มีการเปลี่ยนแปลง
แก้ไข หรือถูกเข้าถึงโดยผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับข้อมูล เช่น สถานพยาบาลจะต้องเก็บข้อมูลของผู้ป่วยให้เป็นความลับ
และไมเ่ ปดิ เผยใหก้ ับผอู้ ่ืน ธนาคารตอ้ งเกบ็ รกั ษาขอ้ มลู เกี่ยวกบั รายการถอน

(๓) เจ้าของข้อมูลมีสิทธิ์ถอนความยินยอม ขอให้ลบหรือทาลายข้อมูลเมื่อใดก็ได้ หากเป็น
ความประสงคข์ องเจา้ ของข้อมูล

๒.๔ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ฯ การส่ง SMS โฆษณา
โดยไม่รับความยินยอม การส่ง e-Mail ขายของทางอิเล็กทรอนิกส์ การกด Like และการแชร์ข้อมูลทางโซเชียล
เก่ียวกับสถาบนั ท่ีเป็นความผดิ มาตรา ๑๑๒ การเผยแพรโ่ ดยการแชร์และมผี ลกระทบตอ่ ผู้อน่ื หรือบุคคลท่ี ๓ ขอ้ มูล
ที่ผิดกฎหมายอยู่ในระบบคอมพิวเตอรข์ องเรา การแสดงความคิดเห็นผดิ กฎหมาย การเปิดให้มีการแสดงความเหน็
การเผยแพร่สิ่งลามกอนาจารต่อสาธารณะ การโพสต์ข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก เยาวชน การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เสียชีวิต
ท่ีทาให้เกิดความเสื่อมเสียช่ือเสียง หรือถูกดูหมิ่น การละเมิดลิขสิทธิ์ไม่ว่าข้อความ เพลง รูปภาพ หรือวีดีโอ
สง่ รปู ภาพแชรข์ องผอู้ น่ื ไปใชใ้ นเชิงพาณิชย์

๒.๕ พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ฯ โดยสรุปการประกาศใช้
พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ การให้บริการหรือการประยุกต์ใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โครงข่าย
โทรคมนาคม หรือการให้บริการโดยปกติของดาวเทียมมีความเส่ียงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ซึ่งอาจกระทบ
ต่อความม่ันคงของรัฐ และความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ ดังน้ัน เพื่อให้สามารถป้องกันหรือรับมือกับภัย
คุกคามทางไซเบอร์ได้อย่างทันท่วงที ทั้งหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานเอกชนจะต้องมีการป้องกัน รับมือ และ
ลดความเส่ยี งจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อความม่นั คงในดา้ นตา่ ง ๆ ไม่ว่าในสถานการณ์ทั่วไป
หรอื สถานการณอ์ นั เปน็ ภยั ต่อความมนั่ คงอย่างร้ายแรงกต็ าม

๖๖ | P a g e

การวิเคราะหก์ าหนดทศิ ทางการพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ิทลั
ของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

เครือ่ งมอื ทีใ่ ชส้ าหรับการวเิ คราะห์

๑. Balance scorecards strategy map
Balanced scorecard เป็นเคร่ืองมือทางการบริหารท่ีพิจารณาเช่ือมโยงมุมมองสาคัญของทุกองค์กร

ในมุมมองสาคัญ ๔ ดา้ น ประกอบด้วย
๑. มุมมองด้านการเงิน (Financial perspective) ในส่วนของศาลปกครองพิจารณาในด้านงบประมาณ

ซึ่งได้รับการสนับสนุนการดาเนินงานจากรัฐบาล และจะต้องพิจารณาการใช้จ่ายงบประมาณด้วยความประหยัด
และคมุ้ คา่

๒. มุมมองด้านผู้ใช้บริการ (Customer perspective) หรือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder)
ซึ่งในส่วนผู้ใช้บริการของศาลปกครอง ได้แก่ ประชาชน คู่กรณี หน่วยงานภาครัฐ และนักกฎหมาย รวมท้ังผู้มี
ส่วนไดเ้ สยี ภายในของศาลปกครอง ได้แก่ ผู้บรหิ ารศาลปกครอง ตุลาการศาลปกครอง ผู้บรหิ ารสานักงานศาลปกครอง

๓. มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal process perspective) ศาลปกครองมีกระบวนการ
สาคญั คอื กระบวนพจิ ารณาพิพากษาคดีปกครอง กระบวนการสนบั สนนุ งานคดีปกครองและเสริมสร้างการปฏิบัติ
ราชการที่ดี กระบวนการบริหารจดั การองคก์ ร

๔. มุมมองด้านการเรียนรู้และการพัฒนาองค์กร (Learning and growth perspective) พิจารณา
บุคลากรของศาลปกครองในสายงานสาคัญ คือ บุคลากรทางด้านพิจารณาพิพากษาคดี บุคลากรสนับสนุน
งานคดปี กครองและเสรมิ สรา้ งการปฏิบตั ิราชการทดี่ ี บคุ ลากรสนบั สนุนการบริหารองคก์ ร

๒. สถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture (EA))
Enterprise Architecture (EA) หรือ สถาปัตยกรรมองค์กรน้ันเป็นโครงสร้างการเชื่อมโยงองค์ประกอบ

ทางการบริหารขององค์กรท้ัง ๔ มุมมอง กับองค์ประกอบสาคัญทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลไว้ด้วยกัน เร่ิมต้ังแต่
การให้บริการลูกค้าขององค์กร (Customers) โครงสร้างองค์กร (Organization) กระบวนการทางานภายใน
(Internal process) ข้อมูลสารสนเทศสนบั สนุนการทางานขององค์กร (Data and Information) ระบบซอฟต์แวร์
และแอปพลิเคชัน (Software and application) โครงสร้างพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Infrastructure)
ทั้งระบบเครือข่าย ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบความมั่นคงปลอดภัยทางดิจิทัล (Security) โดยกรอบแนวคิด
EA จะช่วยให้การกาหนดแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาและกระบวนการ
ทางานทง้ั กระบวนการหลัก กระบวนการสนับสนุนตา่ ง ๆ ภายในองคก์ ร

๓. SWOT analysis เป็นเคร่ืองมือการประเมินสถานการณ์สาหรับองค์กร ซ่ึงช่วยผู้บริหารกาหนดจุดแข็ง
และจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายใน โอกาส และอุปสรรคหรือความท้าทายจากสภาพแวดล้อมภายนอก
ตลอดจนผลกระทบท่ีมศี ักยภาพจากปจั จยั เหล่านต้ี ่อการทางานขององค์กร

๖๗ | P a g e

การประเมินสถานการณ์ทางด้านเทคโนโลยีดิจทิ ัลของศาลปกครองในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เพื่อพิจารณา
จุดแข็งและจุดอ่อน โอกาสและความท้าทายตามองค์ประกอบสาคัญทางด้านดิจิทัลของศาลปกครอง โดยพิจารณา
จากผลการประเมินตามหลักเกณฑ์การประเมินความพร้อมในการเป็นรัฐบาลดิจิทัล ที่กาหนดโดยสานักงานพัฒนา
รัฐบาลดิจิทัล (สพร.) และข้อมูลจากการสารวจความคาดหวังของสานักบริหารยุทธศาสตร์ ซึ่งสรุปจุดแข็ง จุดอ่อน
โอกาส อปุ สรรคและความทา้ ทายทางด้านเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ของศาลปกครอง สรุปผลได้ดังน้ี

๑. จุดแข็งการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล (Strength) ศาลปกครองมีการส่งเสริมและให้ความรู้
ด้านดิจิทัลที่เพียงพอและต่อเน่ือง มีเทคโนโลยีระบบเครือข่ายและการส่ือสารท่ีพร้อมใช้ ด้วยมาตรการรักษา
ความม่ันคงปลอดภัยของโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัลท่ีมีประสิทธิภาพ อีกทั้งระบบบริหารจัดการภายใน
ทด่ี าเนนิ การในรปู แบบดจิ ทิ ัลที่ครอบคลุมกระบวนการภายใน มีกระบวนการจัดการเหตุการณผ์ ิดปกตทิ างดิจทิ ัล

๒. จุดอ่อนการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล (Weakness) ศาลปกครองยังต้องมีการปรับปรุงให้มี
แผนรองรับการพัฒนาไปเป็นองค์กรดิจิทัล และมีผู้นาในตาแหน่งผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการรับรู้
และการดาเนินการด้านธรรมาภิบาลข้อมูล อีกท้ังการบริหารจัดการข้อมูล และทักษะสมัยใหม่ของผู้ปฏิบัติงาน
เฉพาะดา้ นเทคโนโลยี และความสามารถของบคุ ลากรในการใชป้ ระโยชนจ์ ากข้อมูล

๓. โอกาสการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล (Opportunity) จากความคาดหวังของผู้เกี่ยวข้อง
คาดหวังด้านการพัฒนาให้เป็นศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์/ศาลปกครองอัจฉริยะ คาดหวังให้ศาลปกครอง
เป็นศาลท่ีก้าวล้าทันสมัยในทุก ๆ ด้าน สามารถนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยสนับสนุนการทางานเป็นศาลอัจฉริยะ
ได้จริง ท้ังตุลาการและบุคลากรสานักงานสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการทางานอย่างคล่องแคล่ว และ
มีประสทิ ธภิ าพ

๔. อปุ สรรคและความทา้ ทายการพฒั นาเทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Threats) การเปลยี่ นแปลงท่รี วดเร็ว
ของเทคโนโลยีส่งผลต่อเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงกฎหมาย การนาเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มายกระดับ
การทางานของศาลปกครองยังไม่เป็นรูปธรรมชัดเจน รวมท้ังการรักษาสมดุลระหว่างความปลอดภัยของข้อมูล
และการอานวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าท่ีและผู้รับบริการ นอกจากน้ี มาตรฐานความม่ันคงปลอดภัยที่ยังไม่ทัน
ต่อภัยคุกคามทางไซเบอร์ รวมท้ังทัศนคติของบุคลากรในการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยสนับสนุนการดาเนินงาน
ของศาลปกครองอยา่ งเปน็ รปู ธรรมมากข้ึน

การวเิ คราะหก์ าหนดวสิ ัยทศั น์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์การพฒั นาเทคโนโลยดี ิจิทัลของศาลปกครอง

ตามเป้าหมายแผนแม่บทศาลปกครองระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ มเี ปา้ หมายการพัฒนาศาลปกครอง
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ให้มีการบริหารจัดการคดี การพิจารณาพิพากษาคดี และการบังคับคดีให้เป็นไปตามกรอบเวลา
มาตรฐานที่กาหนด ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ พัฒนาเป็นศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt) และในปี พ.ศ. ๒๕๗๕
พัฒนาศาลปกครองไปเป็นศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) ให้ได้อย่างสมบูรณ์ การวิเคราะห์จัดทา
แผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ นาเป้าหมายองค์กรมาจัดทาความเช่ือมโยงการพัฒนา
ศาลปกครองร่วมกับองค์ประกอบด้านเทคโนโลยีดิจิทัลภายใต้กรอบแนวคิดของ Enterprise Architecture (EA)
เพื่อกาหนดวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และโครงการ ตามองค์ประกอบของแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครอง
พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

๖๘ | P a g e

แผนพฒั นาดจิ ทิ ัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

จากการวเิ คราะห์ข้อมลู ในด้านตา่ ง ๆ ตามกรอบการจดั ทาแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ -
๒๕๖๕ และเชื่อมโยงกับแผนแม่บทศาลปกครอง ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ที่กาหนดเป้าหมาย
ให้ศาลปกครองก้าวเข้าสู่ศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ และแผนภาพแสดงทิศทาง
การพัฒนาศาลปกครองเพ่ือการเร่ิมก้าวเข้าสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) รวมท้ังเม่ือวิเคราะห์โอกาส
จากนโยบายรัฐบาลท่ีมุ่งสนับสนุนให้หน่วยงานภาครัฐพัฒนาไปเป็นรัฐบาลดิจิทัล แนวโน้มของเทคโนโลยี
ท่ีมีขีดความสามารถและความทันสมัยพร้อมสนับสนุนในการพัฒนาระบบศาลปกครองเข้าสู่ศาลอิเล็กทรอนิกส์
(e-Court) ประกอบกับทิศทางการนาเทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่ไปใช้ของศาลยุติธรรม ศาลประเทศผู้นาในภูมิภาค
เอเชีย ซึ่งมีทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลให้สามารถสร้างขีดความสามารถไปเป็นศาลอัจฉริยะ (Smart court)
อีกท้ังเทคโนโลยีท่ีมีความก้าวหน้าด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ในหลากหลายรูปแบบ ทาให้ศาลปกครองพบกับความ
ท้าทายในการเตรียมความพร้อมและเริ่มก้าวสู่การพัฒนาศาลปกครองไปเป็นศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart
Admincourt) ใหท้ ันต่อการเปลย่ี นของเทคโนโลยีและการพฒั นาเทคโนโลยีของศาลในต่างประเทศ แตด่ ว้ ยข้อจากัดทาง
สภาพแวดล้อมภายในของศาลปกครองที่จาเป็นต้องมีการปรับปรุงพัฒนาองค์ประกอบทางดิจิทัลต่าง ๆ ให้มี
ความพร้อมพัฒนาและรับการปรับเปล่ียนศาลปกครองก้าวเข้าสู่การเป็นศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt)
ดังน้ัน ทิศทางของแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ จึงต้องมุ่งเน้นสร้างความพร้อมทาง
เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือสนับสนุนการดาเนินงานในด้านต่างๆ ได้แก่ ระบบบริการดิจิทัลสาหรับประชาชน และคู่กรณี
ระบบดิจิทัลสนับสนุนการปฏิบัติงานของศาลปกครอง รวมถึงโครงสร้างพื้นฐานทางด้านดิจิทัล และบุคลากร
ที่จาเป็นต้องพัฒนาทักษะทางดิจิทัลให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้สนับสนุน
การปฏิบัติงาน นอกจากนี้ สิ่งสาคัญคือการพัฒนาผู้นาทางด้านดิจิทัลให้เกิดทั่วทั้งองค์กร ซึ่งต้องเตรียมให้พร้อมกับ
การพฒั นาคนก้าวสู่การเปน็ ศาลปกครองอจั ฉรยิ ะ (Smart Admincourt) ได้ตามเปา้ หมายในปี พ.ศ. ๒๕๗๕

วิสยั ทัศน์

เป้าหมาย

พัฒนาระบบดิจิทัลที่มุ่งเน้นให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (People-centric digital systems) โดยผสมผสาน
นาแนวคิดการสนับสนุนให้ประชาชนสามารถเข้าถึงศาลปกครองผ่านเทคโนโลยีในรูปแบบต่าง ๆ ได้รวดเร็ว ทันสมัย
และใช้งานได้ง่าย (Democratization) โดยไม่จาเป็นต้องมีการอบรมหรือเรียนรู้เพ่ิมเติม และการใช้เทคโนโลยีทางาน
ได้อย่างอัตโนมัติ (Hyperautomation) โดยการพัฒนาต่อยอดให้บุคลากรของศาลปกครองทางานร่วมกับเทคโนโลยี
ขั้นสูงที่ทันสมัย เช่น เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence (AI)) หรือ โมเดลข้อมูลและการเรียนรู้
ของระบบคอมพิวเตอร์ (Machine Learning) เป็นต้น เพ่ือสร้างความโปร่งใสในการทางาน การเพิ่มขีดความสามารถ
ในการตัดสินใจ และการดาเนินงานของศาลปกครองให้มีประสิทธิภาพและสามารถโต้ตอบให้บริการประชาชน
ได้อยา่ งอัตโนมตั ิ ด้วยระบบดจิ ทิ ลั ทม่ี คี ุณภาพ สรา้ งความโปร่งใส และเป็นธรรมได้

๖๙ | P a g e

พนั ธกิจ

๑. พัฒนาและยกระดับระบบดิจิทัลและเทคโนโลยีการส่ือสารเพื่อเพิ่มช่องทางการเข้าถึงกระบวนการ
ยุติธรรมทางปกครองและเพิ่มคณุ ภาพการบรกิ ารแกป่ ระชาชนและคู่กรณีใหส้ ะดวก รวดเรว็ และง่ายต่อการใชง้ าน

๒. พัฒนาระบบดิจิทัลและการส่ือสารเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการพิจารณาพิพากษาคดี การบริหาร
จดั การคดแี ละการบรหิ ารจดั การองคก์ รด้วยความโปร่งใสและเป็นธรรม

๓. พิจารณานวัตกรรมและองค์ความรู้ท่ีทันสมัยมาใช้เพ่ือยกระดับการพัฒนาระบบดิจิทัลของ
ศาลปกครองไปสู่ศาลปกครองอัจฉรยิ ะ (Smart Admincourt) ได้ตามเป้าหมาย

๔. พัฒนาบุคลากรให้มีขีดความสามารถทางด้านดิจิทัลด้วยการใช้ทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล
เปน็ บุคลากรท่มี ีความฉลาดในการปฏบิ ัตงิ าน (Smart people) ให้พรอ้ มพัฒนาไปสู่ศาลปกครองอจั ฉรยิ ะ

แนวทางสาคัญขับเคลอื่ นความพรอ้ มกา้ วสูศ่ าลปกครองอจั ฉรยิ ะ
(Smart Admincourt)

ตามเป้าหมายแผนแม่บทศาลปกครองระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ ท่ีมีเป้าหมายการพัฒนาศาลปกครอง
ไปสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) ในปี พ.ศ. ๒๕๗๕ ให้ได้อย่างสมบูรณ์ตามเป้าหมายแผนแม่บท
ศาลปกครองระยะ ๒๐ ปี ประกอบกับแนวโน้มของเทคโนโลยีในปัจจุบัน รวมทั้งความท้าทายในการนาเทคโนโลยี
ดิจิทัลมาใช้สนับสนุนการบริการ การดาเนินงานของศาลปกครอง รวมทั้งสนับสนุนการดาเนินงานของสานักงาน
ศาลปกครองให้ทัดเทียมกับหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมของไทย รวมถึงการพัฒนา
อย่างไม่หยุดย้ังของศาลในต่างประเทศผู้นาในภูมิภาคเอเชีย ศาลปกครองจาเป็นต้องพิจารณากาหนดแผนภาพ
แสดงทิศทางการพัฒนาศาลปกครองท่ีแสดงถึงหลักการสาคัญ ผลลัพธ์และประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะได้รับ
โดยมีแนวทางการขับเคล่ือนการพัฒนาก้าวสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) ซ่ึงปรับเปลี่ยนและ
ขับเคลื่อนการพัฒนาด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัยและชาญฉลาด ประกอบด้วย ผลผลิต ๕ ด้าน เพ่ือประโยชน์ของ
ผู้ได้รับประโยชน์ จานวน๙ กลุ่มเป้าหมาย และกาหนดผลที่คาดว่าจะได้รับ หรือประโยชน์ที่ผู้เกี่ยวข้องจะได้รับจาก
การเริ่มก้าวสู่การพัฒนาเปน็ ศาลปกครองอจั ฉริยะ (Smart Admincourt) มีสาระ ดังนี้

ผลผลิตการดาเนินงาน ประกอบด้วยผลผลิตการพัฒนาระบบดิจิทัลท่ีครอบคลุมการให้บริการ กระบวนงานของ
ศาลปกครองและสานักงานศาลปกครองโดยกาหนดเป็นแนวทางสาคัญขับเคลื่อนการพัฒนาก้าวเข้าส่ศู าลปกครอง
อจั ฉรยิ ะ (Smart Admincourt) ดว้ ยระบบดิจทิ ลั ทสี่ าคญั ดังนี้

ระบบบริการอัจฉริยะ (Smart services) ปรับเปล่ียนบริการของศาลปกครองด้วยระบบดิจิทัลสาหรับ
การบริการที่ช่วยให้ทุกภาคส่วนในสังคมเข้าถึงการอานวยความยุติธรรมทางปกครองได้โดยง่ายและท่ัวถึง ได้รับ
ความรู้ ความเข้าใจการฟ้องคดีปกครองได้แบบทุกสถานที่ทุกเวลา มีการเผยแพร่คาพิพากษา/คาส่ัง ความรู้
ความเข้าใจด้านสิทธิและหน้าท่ีตามกฎหมายปกครองและหลักปฏิบัติราชการท่ีดี ผ่านช่องทางและอุปกรณ์
ที่หลากหลาย โดยปัจจัยท่ีสนับสนุนให้เกิดความสาเร็จ คือ ความพร้อมของข้อมูลดิจิทัลที่พร้อมสาหรับ
การให้บริการ มีการพัฒนาระบบดิจิทัลที่พร้อมให้ประชาชนเข้าถึงได้ ใช้งานได้ง่าย และสะดวกต่อการใช้งาน
รวมทั้งวางโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีดิจทิ ัลให้มีความม่ันคงปลอดภัย ท่ีช่วยสร้างความนา่ เชอื่ ถือ ความปลอดภัย
ทางดิจิทัล สร้างความโปร่งใสและเปน็ ธรรมในกระบวนการยุตธิ รรมทางปกครอง

๗๐ | P a g e

ระบบศาลอัจฉริยะ (Smart court) พัฒนาระบบดิจิทัลสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีที่ช่วยยกระดับ
การดาเนินงานของศาลปกครองให้มีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ รวมท้ังได้คุณภาพตามมาตรฐานสากล รวมท้ัง
การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ทุกภาคส่วน และการบังคับคดีปกครองที่มีความถูกต้อง เป็นธรรม และเกิดสัมฤทธิผล
โดยปัจจัยท่ีสนับสนุนให้เกิดความสาเร็จ คือ ความพร้อมของข้อมูลดิจิทัลซ่ึงต้องมีการแปลงข้อมูลกระดาษให้อยู่
ในรูปของเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ให้มีความสมบูรณ์ และนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ ๆ ได้แก่ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI)
หรือ Machine Learning เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิทยาศาสตร์ข้อมูล
(Data science) และเทคโนโลยี BI เทคโนโลยีการแปลงเสียงเป็นข้อความ (Speech-to-Text) การแปลงข้อมูลภาพ
เป็นข้อความ (OCR) การส่ือสารระยะไกลด้วยระบบประชุมทางไกลผ่านจอภาพ Video conference ซึ่งจะช่วย
เสริมสร้างและเพิ่มขีดความสามารถในการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลปกครองให้มีความรวดเร็วและ
มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ภายใต้โครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีความมั่นคงปลอดภัยและเป็นท่ียอมรับ
จากบคุ ลากรท่เี กี่ยวข้องในศาลปกครอง

ระบบสานักงานอัจฉริยะ (Smart office) สานักงานศาลปกครองมีภารกิจสนับสนุนการดาเนินงานของ
ศาลปกครองท้ังปฏิบัติงานหน้าท่ีงานธุรการศาล สนับสนุนงานวิชาการศาลปกครอง และงานสานักงาน
ศาลปกครองที่ประกอบด้วยภารกิจด้านการวางแผนและงบประมาณ งานการเงินและบริหารงบประมาณ
งานบริหารบุคลากร งานธุรการสานักงาน งานบริหารทรัพย์สินและอาคารสถานท่ี ซ่ึงระบบดิจิทัลที่มีสนับสนุน
การใช้งานในปัจจุบันยังจาเป็นต้องยกระดับระบบให้มีขีดความสามารถในการสนับสนุนงานของสานักงาน
ศาลปกครองให้มีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน โดยเฉพาะระบบข้อมูลดิจิทัลสนับสนุนการดาเนินงานในด้านต่าง ๆ ให้มี
ความสมบูรณ์สามารถนาไปใชส้ าหรับการวางแผนการพัฒนางานศาลปกครอง การจดั สรรงบประมาณ การบริหารแผน
การตดิ ตามผลการดาเนินงานของศาลปกครองและสานกั งานศาลปกครองตามเป้าหมายท่ีกาหนด

บุคลากรท่ีปฏิบัติงานอย่างชาญฉลาด (Smart people) พัฒนาบุคลากรและสร้างผู้นาทางดิจิทัลของ
ศาลปกครองในมีความรู้ ทักษะ และสร้างวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้สนับสนุนการบริการ
การดาเนินงานของศาลปกครอง สนับสนุนบุคลากรให้มีความคิดสร้างสรรค์ นานวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ และการสร้าง
การทางานแบบมีส่วนร่วม รวมท้ังการทางานข้ามสายงานของบุคลากรทุกฝ่าย เพ่ือมุ่งพัฒนาศาลปกครองก้าวเข้าสู่
ศาลปกครองอจั ฉริยะ (Smart Admincourt)

ธรรมาภิบาลด้านดิจิทัล (Digital governace) การนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใช้ในการดาเนินงานของ
องค์กรศาลปัจจัยสาคัญ คือ ความมั่นคงปลอดภัย ความโปร่งใสในการใช้งานระบบ ซึ่งส่ิงสาคัญที่ต้องคานึงถึง คือ
โครงสร้างพื้นฐานท่ีมีความปลอดภัย การใช้เทคโนโลยีที่เป็นไปตามมาตรฐานสากล และสร้างความน่าเชื่อถือ
ระบบดจิ ทิ ลั ให้แก่ผู้เกีย่ วขอ้ ง รวมทงั้ การปฏิบัตติ ามกฎหมาย กฎ และระเบยี บท่เี กยี่ วข้องทางดา้ นเทคโนโลยีดิจทิ ลั

เทคโนโลยีท่ีทันสมัย (Smart technology) แนวโน้มเทคโนโลยีในปัจจุบันถูกนามาใช้ในการดาเนินงาน
และการบริการของทุกภาคส่วนรวมถึงองค์กรศาล โดยองค์กรศาลในต่างประเทศได้นามาใช้สนับสนุนการดาเนินงาน
ในหลากหลายรูปแบบอย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
วิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data science) ซึ่งศาลปกครองสามารถพิจารณานาเทคโนโลยีดังกล่าวมาช่วยในเร่ือง
การพัฒนาระบบได้เช่นกัน เช่น ระบบให้คาแนะนาการฟ้องคดีอัจฉริยะ ซึ่งเป็นคาแนะนาที่เป็นประโยชน์ต่อ
การฟ้องคดีแก่ประชาชนผู้รับบริการ การแปลงข้อมูลกระดาษให้อยู่ในรูปของข้อมูลดิจิทัล เช่น เทคโนโลยีแปลง
ข้อมูลเสียงเป็นข้อความอัตโนมัติ (Speech-to-Text) การแปลงข้อมูลภาพเป็นข้อความอัตโนมัติ (OCR) ที่ช่วย
ลดระยะเวลาการปฏิบัติงานของศาล นอกจากน้ี การนาเทคโนโลยี AI, Machine Learning และ Big Data มาชว่ ย
สนับสนุนการสืบค้นแนวคาวินิจฉัยที่เป็นประโยชน์ รวมทั้งสนับสนุนการบริหารจัดการคดีตามกรอบมาตรฐาน

๗๑ | P a g e

ระยะเวลาที่กาหนด นอกจากน้ี การสร้างความม่ันคงปลอดภัยในการใช้ระบบดิจิทัลด้วยการใช้เทคโนโลยี PKI
ความปลอดภัยของเอกสารดิจิทัล และเทคโนโลยีความปลอดภัย Blockchain ที่จะมีการนามาใช้อย่างกว้างขวาง
มากข้นึ ในอนาคต

กลุ่มเป้าหมายการให้บริการระบบดิจิทัล ผู้รับบริการของศาลปกครอง ประกอบด้วย ผู้รับบริการภายนอก
ซึ่งหมายถึง ประชาชน คู่กรณี หน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการ ผู้สนใจทั่วไป และผู้รับบริการภายใน หมายถึง ผู้บริหาร
ศาลปกครอง ตุลาการศาลปกครอง ผู้บริหารและบุคลากรสานักงานศาลปกครอง โดยกลุ่มเป้าหมายมีความคาดหวัง
ต่อการใชบ้ รกิ ารเทคโนโลยีท่ีแตกต่างกันไป ดังน้ี

ผู้รับบริการภายนอก ซึ่งมีความคาดหวังที่จะเข้าถึงศาลปกครองได้อย่างสะดวก รวดเร็วได้ครอบคลุม
จากท่ัวทุกภูมิภาค รวมทั้งคาดหวังให้ศาลปกครองพิจารณาพิพากษาคดีได้รวดเร็ว ทันต่อการเยียวยาความเดือดร้อน
มีความโปร่งใสและเปน็ ธรรมจากการตัดสินคดขี องศาลปกครอง

ผู้รับบริการภายใน ซ่ึงมีความคาดหวังให้สานักงานศาลปกครองจัดหาเครื่องมือและเทคโนโลยีดิจิทัล
ท่ีทันสมัยมาใช้เพ่ือสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีและการแสวงหาข้อเท็จจริง สนับสนุนข้อมูลต่าง ๆ ให้แก่
ตลุ าการศาลปกครองเป็นไปอย่างมีระบบ ครบถว้ น รอบด้าน รวดเร็ว ถกู ต้อง และแม่นยา เช่น มีระบบการจัดเก็บและ
ค้นคว้าข้อมูลคาพิพากษา/คาสั่งท่ีสามารถค้นหาได้ง่าย มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว เพื่อช่วยการทางานของ
ตุลาการ และใหบ้ รกิ ารประชาชนให้รวดเรว็ ย่งิ ขึ้น

ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ จากการเริ่มก้าวสู่การพัฒนาเป็นศาลปกครองอัจฉริยะ ผลทคี่ าดว่าจะได้รับจากการพัฒนา
ศาลปกครองให้เริ่มก้าวเข้าสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) คือ การเพ่ิมช่องทางและอานวยความ
สะดวกให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการของศาลปกครองท่ีรวดเร็ว ความโปร่งใสและเป็นธรรม ด้วยการดาเนินงาน
ของศาลปกครองท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยใชเ้ ทคโนโลยีที่ทนั สมัยและมีมาตรฐานภายใต้โครงสร้างพ้ืนฐาน
ท่มี คี วามมนั่ คงปลอดภัยและเปน็ ท่ียอมรบั จากผู้เกยี่ วข้องท้ังภายในและภายนอก

กรอบระยะเวลาการพฒั นาดิจทิ ัลของศาลปกครอง

การผลักดันแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครองระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) มีเป้าหมายที่จะมุ่งสู่
วิสัยทัศน์ “ยกระดับเทคโนโลยีดิจิทัลให้พร้อมก้าวสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) เพื่อบริการ
ที่รวดเร็ว ทันสมัย โปร่งใส และเป็นธรรม” โดยปรับเปล่ียนบริการของศาลปกครองให้เปน็ บริการผา่ นระบบดิจทิ ัล
เพ่ิมประสิทธิภาพและความโปร่งใสในกระบวนพิจารณาพิพากษาคดีด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล การสร้างความเช่ือม่ัน
การใช้ระบบดิจิทัลเพื่อบริการประชาชนและสนับสนุนตุลาการศาลปกครอง และบุคลากรสานักงานศาลปกครอง
ด้วยการนานวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาสนับสนุนการทางานของระบบดิจิทัล รวมท้ังการเตรียมบุคลากร
ให้พร้อมรับการปรับเปล่ียนการบริการ การพิจารณาพิพากษาคดี และการบริหารจัดการของศาลปกครองผ่าน
ระบบดจิ ิทลั โดยไดแ้ บง่ เปา้ หมายและระยะการดาเนนิ งานภายใตแ้ ผนพฒั นาดิจิทลั ฯ ออกเป็น ๓ ระยะ ได้แก่

ระยะที่ ๑: การปรับเปลี่ยนศาลปกครองเป็นศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt transformation)
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยปรับเปลี่ยนบริการและกระบวนการภายในศาลปกครองและสานักงานศาลปกครองด้วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาระบบเพื่อการบริการประชาชนผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service)
การพัฒนาระบบสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Court) และสนับสนุนการปฏิบัติงานของ
สานักงานศาลปกครองในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Office) ท่ีพร้อมด้วยโครงสร้างพื้นฐานการใช้งานระบบดิจิทัล
ให้พรอ้ มรบั การปรบั เปล่ียน

๗๒ | P a g e

ระยะที่ ๒: การขับเคล่ือนการพัฒนาศาลปกครองโดยใช้ประโยชน์จากข้อมูลดิจิทัล (Data - Driven
organization) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยการแปลงเอกสารให้เป็นข้อมูลดิจิทัลและพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อใช้
ประโยชน์ในการบริหารและการตัดสินใจ รวมทั้งยกระดับการพัฒนาระบบดิจิทัลศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์
ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ภายใต้ระบบความม่ันคงปลอดภัยท่ีครอบคลุมระบบงานเทคโนโลยีดิจิทัล พร้อมพัฒนา
ทกั ษะทางดิจทิ ลั ใหบ้ คุ ลากรของศาลปกครองและสานักงานศาลปกครอง

ระยะที่ ๓: เพิ่มประสิทธิภาพระบบดิจิทัลเริ่มต้นก้าวสู่ศาลปกครองอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัย
ในปี ๒๕๖๕ (Initial step towards Smart Admincourt) นาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยช่วยพัฒนาระบบดิจิทัล
เพ่ือขับเคล่ือนการพัฒนาศาลปกครองก้าวเข้าสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ ได้แก่ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เช่น
Machine Learning, Chatbot, เทคโนโลยีระบบวิเคราะห์ข้อมูลอัจฉริยะ (Business Intelligence) เทคโนโลยี
ข้อมูล เช่น ทะเลสาปข้อมูล (Data Lake) ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) วิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data science)
ที่พรอ้ มดว้ ยคอมพวิ เตอร์อปุ กรณ์สง่ิ สนับสนนุ ทางดิจทิ ัลเพ่ือการปฏบิ ัตงิ านและการบริการประชาชน

ทั้งนี้ ได้นาองค์ประกอบของศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) มากาหนดกรอบระยะเวลา
การพัฒนาระบบดิจิทัลในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ตามผลผลิตสาคัญในแต่ละยุทธศาสตร์ ได้แก่
ระบบบริการอัจฉริยะเพ่ือบริการประชาชน ระบบศาลอัจฉริยะเพื่อการพิจารณาพิพากษาคดี ระบบสานักงาน
อัจฉริยะเพ่ือการบริหารจัดการองค์กร ระบบฐานข้อมูลด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย การแปลงข้อมูลดิจิทัล การจัดหา
โครงสร้างพ้ืนฐานทางดิจิทัลท้ังระบบความม่ันคงปลอดภัย และส่ิงสนับสนุนการปฏิบัติงานทางด้านดิจิทัล
ในระยะเวลา ๓ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ โดยมีระบบสาหรับบุคคลภายนอก ได้แก่ ประชาชน คู่กรณี หน่วยงาน
ภาครัฐ ส่วนระบบสนับสนุนบุคคลภายใน ได้แก่ ผู้บริหารศาลปกครอง ตุลาการศาลปกครอง ผู้บริหารสานักงาน
ศาลปกครอง และบุคลากรสานกั งานศาลปกครอง โดยสรปุ ระบบดจิ ิทลั ตามแผนพฒั นาดิจทิ ลั ฯ ในแต่ละสว่ น ดงั นี้

๑. ระบบดจิ ิทัลเพ่ือบรกิ ารประชาชน หรือ ระบบบรกิ ารอัจฉรยิ ะ (Smart service)
กาหนดแผนพัฒนาระบบบริการผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์สาหรับบุคคลภายนอก การปรับเปล่ียน

บริการประชาชน คู่กรณี และหน่วยงานภาครัฐ เพ่ือเพ่ิมช่องทางการเข้าถึงศาลปกครอง สร้างความโปร่งใส
อานวยความสะดวก ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการรับบริการให้แก่ประชาชน โดยมีพัฒนาระบบดิจิทัล
เพ่อื ใหเ้ ปน็ บริการผา่ นระบบดิจิทัลท้งั ๓ ระยะ ดงั นี้

๑.๑ การพัฒนาบรกิ ารผา่ นระบบดิจิทัลในระยะท่ี ๑ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ การปรับเปลี่ยน
บริการของศาลปกครองให้อยใู่ นรปู แบบดจิ ิทัล โดยกาหนดแผนการพัฒนาระบบดิจทิ ลั ดังนี้`

(๑) ระบบการย่ืนฟ้องคดีผ่านระบบคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Litigation portal) ที่
ครอบคลุมศาลปกครองทกุ แห่งท่วั ประเทศ เพอื่ อานวยความสะดวกให้คู่กรณีสามารถเขา้ ถึงบริการของศาลปกครอง
ได้สะดวก รวดเร็ว เช่น การยน่ื เอกสารหลักฐานเพมิ่ เติม การรับเอกสารหมายศาล การเข้าถงึ เอกสารในสานวนทาง
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ตนเองได้ผ่านระบบคดีปกครองอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Litigation portal)

(๒) ระบบการชาระเงินค่าธรรมเนียมศาล หรือค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ได้ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์
(e-Payment) และรับหลักฐานการชาระเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Reciept) ซ่ึงเป็นไปตามมาตรฐาน
เอกสารหลกั ฐานภาครัฐสาหรบั ประชาชนและคกู่ รณี

(๓) ระบบจองคิวขอปรกึ ษาคดปี กครองออนไลน์ผ่านเวบ็ ไซต์ศาลปกครอง
(๔) ระบบขายทอดตลาดบังคับคดีปกครองออนไลน์

๗๓ | P a g e

๑.๒ การพัฒนาบริการผ่านระบบดิจิทัลในระยะที่ ๒ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ นาเทคโนโลยที ี่
ทันสมัยมาช่วยสนบั สนนุ การให้บริการประชาชนและหน่วยงานภาครัฐ

(๑) สร้างความโปร่งใสให้กระบวนพิจารณพิพากษาคดีด้วยระบบการถ่ายทอดสด (Streaming)
สาหรับการพิจารณาพิพากษาคดีในคดีท่ีศาลปกครองกาหนดให้มีการเปิดเผยต่อสาธารณะ เพื่อเพิ่มช่องทางและ
เปิดโอกาสใหป้ ระชาชนสามารถรบั ฟงั การพิจารณาคดีผ่านระบบดจิ ทิ ัลได้อย่างเปิดเผย

(๒) ระบบปรกึ ษาคดีปกครองผา่ น VDO call หรอื Voice call ดว้ ยโปรแกรม Line application
(๓) เพิ่มช่องทางการเข้าถึงศาลปกครองให้ประชาชนในการฟ้องคดีผ่านแอปพลิเคชันที่สามารถ
เข้าถึงระบบได้ผ่านทางเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เคล่ือนท่ี (Web mobile application) รวมท้ังได้เพ่ิม
ช่องทางการเข้าถงึ ศาลปกครองให้คู่กรณสี ามารถเขา้ ถึงศาลปกครองไดต้ ลอดกระบวนพจิ ารณาท้งั แต่การยื่นฟ้องคดี
จนส้ินสุดกระบวนพิจารณาโดยเข้าถึงบริการของศาลปกครองผ่านแอปพลิเคชันท่ีสามารถเข้าถึงระบบได้ผ่านทาง
เคร่อื งคอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณ์เคลื่อนท่ี (Web mobile application)
(๔) เพ่ิมประสิทธิภาพห้องพิจารณาคดี/ไต่สวนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courtrooms) ด้วย Video
conference system เพอ่ื อานวยความสะดวกให้กับคู่กรณีในการรับฟังการพิจารณา/ไตส่ วนคดโี ดยสามารถรับฟัง
ไดใ้ นศาลปกครองท่อี ยู่ใกล้บ้าน
๑.๓ การพัฒนาบริการผ่านระบบดิจิทัลในระยะท่ี ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ กาหนด
แผนการพฒั นาระบบบริการทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ โดยนานวตั กรรมและเทคโนโลยที ี่ทันสมัยมาประยกุ ต์ใช้ ดงั น้ี
(๑) ขยายการจัดหาเพ่ิมเติมระบบดิจิทัลภายในห้องพิจารณาคดี/ไต่สวนทางอิเล็กทรอนิกส์
(e-Courtrooms) สาหรับศาลปกครองในภูมิภาคให้ครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่ออานวยความสะดวก ประหยัดเวลา
และค่าใช้จ่ายในการเดินทางให้แก่คู่กรณี โดยสามารถขอรับฟังการพิจารณา/ไต่สวนคดีได้ในศาลปกครองที่สะดวก
ต่อการเดนิ ทางของคกู่ รณี
(๒) ระบบขอรับคาปรกึ ษาแนะนาโตต้ อบอัตโนมัติ ซง่ึ ประยุกต์ใช้นานวตั กรรมและเทคโนโลยีท่ี
ทันสมัยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เร่ือง Chatbot เพื่อช่วยเพิ่มขีดความสามารถการบริการโดยพัฒนาระบบ
ให้คาปรึกษาแนะนาคดีปกครองอัตโนมัติ (Smart consult) โดยสามารถโต้ตอบให้บริการแก่ประชาชนได้ตลอด
๒๔ ช่วั โมง ทัง้ ในเวลาและนอกเวลาทาการ
(๓) ระบบบริการขอตรวจ/ขอคัดและรับรองสาเนาเอกสารในสานวนผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์
(e-Certified document) เพ่ือเพิ่มช่องทางการให้บริการสาหรับคู่กรณีที่ฟ้องคดีผ่านช่องทางปกติหรือทางกระดาษ
ได้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาใช้บริการ ณ ท่ีตั้งศาลปกครอง โดยมีการเชื่อมโยงระบบบริการ
เข้ากับระบบสานวนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Records) ซึ่งมีการแปลงเอกสารในแฟ้มสานวนกระดาษให้เปน็ ข้อมูลดจิ ทิ ลั
กาหนดสิทธ์ิและจัดระบบความปลอดภัยและความลับของเอกสารในสานวนด้วยธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data
Governance)
(๔) ระบบดิจทลั ทคี่ รอบคลุมถึงการบังคบั คดปี กครองในรปู แบบระบบดิจิทลั ได้แก่ การย่นื เอกสาร
คารอ้ งสาหรบั การบังคับคดี (e-Filing) และการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) สาหรบั การบงั คับคดปี กครอง

๗๔ | P a g e

๒. ระบบดิจิทัลสนบั สนุนการพิจารณาพิพากษาคดี หรอื ระบบศาลอัจฉรยิ ะ (Smart court)
กาหนดแผนการพัฒนาดิจิทัลสาหรับสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีของตุลาการศาลปกครอง

พนักงานคดีปกครอง และเจ้าหน้าท่ีผู้เก่ียวข้อง โดยกาหนดแผนการพัฒนาระบบดิจิทัลสนับสนุนการปฏิบัติงาน
ของศาลปกครองใน ๓ ระยะ ดังนี้

๒.๑ การพัฒนาระบบดิจิทัลการพิจารณาพิพากษาคดีในระยะที่ ๑ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
กาหนดแผนดาเนนิ งาน ดังน้ี

(๑) พัฒนาต่อยอดระบบศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt) จากปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้รองรับการปฏิบัติงานได้ทั้งคดีทางอิเล็กทรอนิกส์และคดีกระดาษ เพ่ิมฟังก์ชันการทางานการสั่งการ
ในช้ันตรวจคาให้การ คาคัดค้านคาให้การ คาให้การเพิ่มเติมการออกหมายการกาหนดวันส้ินสุดการแสวงหา
ข้อเท็จจริง รวมทั้งการออกหมายแจ้งกาหนดวันน่ังพิจารณาคดีครั้งแรก (เพ่ิมเติมจากข้ันตอนการตรวจคาฟ้อง
เบื้องต้นและออกหมายเลขคดีดา การสรุปคาฟ้อง/คาขอ การส่ังจ่ายสานวนของผู้บริหารศาลปกครอง การตรวจ
คาฟ้องโดยตุลาการ การจัดทารายงานกระบวนพิจารณา และการจดั ทาหมาย)

(๒) ขยายห้องประชุมองค์คณะอิเล็กทรอนิกส์ (e-Chambers) สาหรับตุลาการศาลปกครอง
ท้ังในส่วนกลางและภูมิภาค ในปีงบปรมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้แก่ ศาลปกครองเชียงใหม่ ขอนแก่น ระยอง สงขลา
ศาลปกครองสงู สดุ จานวน ๓ หอ้ ง และศาลปกครองกลาง จานวน ๓ หอ้ ง ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

(๓) การเช่ือมโยงข้อมูลกับหน่วยงานรัฐท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือใช้ข้อมูลสนับสนุนการพิจารณาพิพากษา
คดีของตุลาการศาลปกครองและพนักงานคดีปกครอง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เช่ือมโยงข้อมูล
ผู้มีรายได้น้อยจากสานักงานปลัดกระทรวงการคลัง ซึ่งเพิ่มเติมจากการดาเนินงานที่ผ่านมาจนถึงปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๒

๒.๒ การพัฒนาระบบดิจิทัลการพิจารณาพิพากษาคดีในระยะท่ี ๒ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
กาหนดแผนดาเนนิ งาน ดงั นี้

(๑) กาหนดแผนการเช่ือมโยงข้อมูลหน่วยงานรัฐเพ่ิมเติมซ่ึงขอเชื่อมโยงข้อมูลการครอบครอง
กรรมสทิ ธิ์ทด่ี ินและห้องชุด จากกรมท่ีดิน และข้อมลู ประวตั ิผู้ประกนั ตนและสถานที่พยาบาลของสานักงานประกันสังคม

(๒) ระบบสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีของตุลาการและพนักงานคดี ได้มีแผนนานวัตกรรม
และเทคโนโลยีท่ีทันสมัย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ AI ส่วนของ Machine Learning Speed-to-Text Mobile
application มาประยุกต์ใช้เพ่ืออานวนความสะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพระบบงานคดีปกครองให้ดีเพ่ิมมากข้ึน
เช่น การพัฒนาระบบสืบค้นท่ีตรงกับความต้องการเพิ่มขึ้น หรือ ระบบสืบค้นอัจฉริยะ (Smart search) รวมทั้ง
เพ่ิมช่องทางการปฏิบัติงานสาหรับตุลาการและพนักงานคดีปกครอง โดยผ่านแอปพลิเคชันที่สามารถเข้าถึงระบบ
ได้ผ่านทางเคร่ืองคอมพวิ เตอร์และอปุ กรณเ์ คล่ือนท่ี (Web mobile application)

๒.๓ การพัฒนาระบบดิจิทัลการพิจารณาพิพากษาคดีในระยะท่ี ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
กาหนดแผนดาเนินงาน ดงั น้ี

(๑) กาหนดแผนการเช่ือมโยงข้อมูลหน่วยงานรัฐเพิ่มเติมกับสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ซ่ึงรองรับการใชง้ านของหน่วยงานภายในหลายหนว่ ยงาน

(๒) ระบบสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีของตุลาการและพนักงานคดีปกครอง โดยนา
นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ AI ส่วนของ Machine Learning, Speed-to-Text
มาประยุกต์ใช้เพ่ืออานวยความสะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพระบบงานคดีปกครองให้ดีเพิ่มมากขึ้น โดยนามา

๗๕ | P a g e

ประยุกต์ใช้พัฒนาระบบช่วยตรวจคาฟ้อง ระบบช่วยร่างคาพิพากษา/คาส่ัง ระบบช่วยแปลงข้อมูลภาพและเสียง
เป็นขอ้ ความสนบั สนุนการพจิ ารณาพิพากษาคดีของตลุ าการ และการปฏิบตั ิงานของพนกั งานคดีปกครอง

๓. ระบบดิจิทัลสนับสนุนการปฏิบัติงานสานักงานศาลปกครอง หรือ ระบบสานักงานอัจฉริยะ
(Smart Office) กาหนดแผนการพัฒนาดิจิทัลสนับสนุนการปฏบัติงานของหน่วยงานภายในสานักงานศาลปกครอง
โดยกาหนดแผนการพัฒนาระบบดจิ ิทัลสนับสนนุ การปฏบิ ัติงานใน ๓ ระยะ ดงั นี้

๓.๑ การพฒั นาดจิ ทิ ลั สานักงานศาลปกครองในระยะท่ี ๑ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กาหนดแผน
ดาเนินงาน ดงั นี้

(๑) ระบบการบันทึกเวลาการปฏิบัติราชการด้วยใบหน้า ซ่ึงใช้เทคโนโลยีการรู้จาใบหน้า (Face
recognition) ซ่ึงติดตั้ง ณ อาคารศาลปกครองทั้งในส่วนกลางและภูมิภาคท่ัวประเทศ เพ่ือช่วยอานวยความสะดวก
ในการลงเวลาและลดความเส่ยี งในการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙

(๒) พัฒนาระบบสานักงานภายในเครือข่าย Intranet ของสานักงานศาลปกครองให้บุคลากร
สามารถเข้าถึงได้ผ่าน QRID ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนท่ี เพื่ออานวยความสะดวกในการใช้งานระบบได้ง่าย และรวดเร็ว
เพม่ิ มากขน้ึ

(๓) ระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับการบริหารงานบุคคคลของสานักงานศาลปกครองใน
ส่วนกลาง

(๔) ระบบการลงมติและการเลือกออนไลน์ (กรณีการลงคะแนนลับ) สาหรับใช้ในการลงมติ
ในการประชุมทางไกลผ่านจอภาพ (VDO conference)

(๕) ระบบสลิปเงินบานาญออนไลนส์ าหรับขา้ ราชการบานาญของสานักงานศาลปกครอง
๓.๒ การพัฒนาดิจิทัลสานักงานศาลปกครองในระยะท่ี ๒ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ กาหนด
แผนการดาเนินงาน ดังนี้

(๑) การเช่ือมโยงระบบการลงเวลาปฏิบัติราชการด้วยการสแกนใบหน้ากับระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์
และขยายการใช้งานไปยังสานักงานศาลปกครองในภูมิภาค และรายงานการลาของบุคลากรสาหรบั การบรหิ ารงาน
ท่ัวไปของสานักงานศาลปกครองทัง้ ในสว่ นกลางและภูมิภาค

(๒) ระบบขอใช้บริการห้องสมุดออนไลน์ โดยเชื่อมโยงกับหน่วยงานภายนอก ได้แก่ หอสมุด
กฎหมายมหาชน ห้องสมุดสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ห้องสมุด
สัญญา ธรรมศักด์ิ) ห้องสมุดสถาบันพระปกเกล้า ห้องสมุดสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ห้องสมุดสานักงาน
ศาลรัฐธรรมนูญ ห้องสมุดสานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และห้องสมุดกลาง สวทช. (ฝ่ายบริการ
ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (STKS))

(๓) ระบบติดตามโครงการตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ เพ่ือสนับสนุนการติดตาม
ผลการดาเนนิ งานของหน่วยงานสาหรบั ผูบ้ ริหารสานกั งานศาลปกครอง รวมทงั้ การติดตามงานทางดา้ นกฎหมาย

(๔) ระบบสารสนเทศสานกั ตรวจสอบภายใน
(๕) ระบบฐานขอ้ มูลบริหารงานทุนสานักงานศาลปกครอง โดยพัฒนาเพิ่มเตมิ ตามความต้องการ
ผู้ใช้งานระบบ

๗๖ | P a g e

๓.๓ การพัฒนาดิจิทลั สานกั งานศาลปกครองในระยะที่ ๓ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ กาหนดแผน
ดาเนินงาน ดงั นี้

(๑) ระบบทดแทนระบบ PBB รองรบั การทางานเพ่ือการบริหารแผนงบประมาณ ระบบการเงิน
และบัญชี ระบบบริหารการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารทรัพย์สิน ระบบติดตามและรายงานผลการปฎิบัติงาน
ทุกระดบั

(๒) ระบบการตรวจสอบครุภัณฑ์สานักงานศาลปกครองด้วยบาร์โคด้ และควิ อาร์โค้ด ซ่งึ จะช่วย
ลดระยะเวลาการตรวจสอบครภุ ัณฑ์ให้มคี วามรวดเร็วเพม่ิ มากขึน้

(๓) ระบบการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronics & Digitally signature) สาหรับบุคลากร
สานกั งานศาลปกครอง ในดา้ นต่าง ๆ ได้แก่ การรับทราบผลการเลอื่ นเงินเดือน

(๔) ขยายระบบขอใช้บริการห้องสมุดออนไลน์เพิ่มเติม ได้แก่ สานักงานคณะกรรมการการ
เลือกต้ัง สานักงานศาลยุติธรรม สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา สานักงานผู้ตรวจการแผ่นดินและศูนย์เรียนรู้
และหอสมุดมหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑิตย์

๔. ระบบเทคโนโลยีทางด้านข้อมูล สนับสนุนการดาเนินงานของหน่วยงานและการตัดสินใจสาหรับ
ผู้บริหารศาลปกครองและสานักงานศาลปกครอง ในระยะ ๓ ปี ซ่ึงต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ไดแ้ ก่

๔.๑ การแปลงข้อมูลกระดาษในแฟ้มสานวนเป็นข้อมูลดิจิทัล โดยพิจารณาแฟ้มสานวนคดี
ท่ีอยู่ระหว่างการพิจารณาท้ังของศาลปกครองช้ันต้นและศาลปกครองสูงสุดท้ังในส่วนกลางและในภูมิภาค โดยมี
การดาเนินการอย่างต่อเนื่องในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ซึ่งการแปลงเอกสารกระดาษในแฟ้มสานวน
เปน็ ข้อมูลดจิ ทิ ลั เป็นหลักการพนื้ ฐานทีส่ าคญั ของการพัฒนาศาลอัจฉรยิ ะ (e-Court) ท่ีศาลทว่ั โลกต้องดาเนนิ การ

๔.๒ การจัดทาธรรมาภิบาลข้อมูลของศาลปกครองตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data
Governance for government) เพื่อกาหนดสิทธิ หน้าท่ี และความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้เสยี ในการบริหาร
จัดการข้อมูล โดยประกอบด้วย สภาพแวดล้อมของธรรมาภิบาลข้อมูล กฎเกณฑ์หรือนโยบายท่ีเก่ียวข้อง
กับการดาเนินงานกับข้อมูล บทบาทและความรับผิดชอบในธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ กระบวนการธรรมาภิบาล
ข้อมูลภาครัฐ เพ่ือสร้างความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล เช่น การรักษาความลับ การเข้าถึงข้อมูล การรักษา
ความเปน็ สว่ นบคุ คล และคุณภาพของข้อมูล

๔.๒ การใช้ประโยชน์ขอ้ มลู เพอื่ การพัฒนาการปฏิบตั ิงานและเพมิ่ ขดี ความสามารถในการตัดสินใจ
โดยใช้เทคโนโลยีด้านการวิเคราะห์ข้อมูลอัจฉริยะ (BI) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอดสาหรับการพัฒนา
ระบบฐานขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data) เพ่ือช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการเขา้ ถึงข้อมูล และตอบสนองอย่างฉับไว
ช่วยสนับสนุนการขับเคล่ือนองค์กรด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล สร้างโมเดลการบริหารใหม่ ๆ สร้างการดาเนินงาน
ในรปู แบบอัตโนมัติ รวมไปถงึ การพัฒนาบริการและสรา้ งช่องทางในการให้บริการใหม่ ๆ ในอนาคต

๔.๓ ศึกษาการวางระบบการพัฒนาระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ท่ีเป็นประโยชน์
สนบั สนุนการพิจารณาพิพากษาคดขี องศาลปกครอง ซง่ึ มีปัจจัยสาคญั ประกอบด้วย

(๑) ข้อมูลท่ีพร้อมและมีคุณภาพ คือ ข้อมูลมีความครบถ้วน ถูกต้อง และมีการไหลเข้าสู่ระบบ
อย่างต่อเนื่อง ทาให้ขนาดของข้อมูลขยายแบบเท่าตัวตลอดเวลา การจะบริหารข้อมูลท่ีมีการขยายตัวรวดเร็ว
จาเป็นต้องมีการสร้างระบบการเก็บ และเช่ือมโยงข้อมูลให้ดี นอกจากนี้ ยังต้องมีการปรับโครงสร้างของข้อมูล
และมกี ารประเมินคณุ ภาพของข้อมลู อย่างต่อเนอ่ื ง

๗๗ | P a g e

(๒) วิธีการในการใช้ข้อมูล (การสร้างระบบในการเก็บ และเชื่อมโยงข้อมูล โดยต้องอาศัยหลักการ
ETL (Extract-Transform-Load) และมกี ารสร้าง Data Lake ท่มี ีคุณภาพมากพอ) การสรา้ งระบบการประมวลผล
และแสดงผลลัพธ์ โดยเฉพาะระบบการประมวลผลที่มีความเฉพาะท่ีเป็นเอกลักษณ์ของศาลปกครอง ซึ่งต้องทา
การปรับโมเดลข้อมูล Customized data model ส่วนการแสดงผลลัพธ์นั้นคนท่ีสามารถเสนอความต้องการ
ไดด้ ที สี่ ดุ คือ นักวิเคราะหข์ ้อมูลทมี่ ีความเข้าใจภารกิจและข้อมลู ขององค์กรอย่างดี

(๓) บุคลากรทมี่ คี วามเช่ยี วชาญ Big Data ซง่ึ จาเปน็ ต้องมผี ูเ้ ชีย่ วชาญท่หี ลากหลาย โดยพืน้ ฐาน
ประกอบด้วย วิศวกรข้อมูล (Data engineer) เพื่อทาหน้าท่ีออกแบบ Data pipeline ต้ังแต่การนาข้อมูลดิบเข้า
ระบบออกแบบ Data Lake สร้าง Data Mart เตรียมข้อมูลก่อนนาไปวิเคราะห์ นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data
scientist) ทาหน้าที่ออกแบบ Data model นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data analyst) ทาหน้าท่ีเสนอความต้องการ
ในการใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู และออกแบบช่องทางการแสดงผล นกั วเิ คราะห์องค์กร (Business analyst) คนทใ่ี ห้
ความต้องการในกระบวนการทางาน ทั้งกระบวนหลักและกระบวนการสนับสนุน ผู้ใช้ที่มีความฉลาดในการใช้
ประโยชน์ข้อมูล (Smart user) คอื ผ้ใู ช้ระบบหรือผูท้ ่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การได้มาซ่ึงข้อมูลดิบ ผู้จดั การโครงการ (Project
manager) ผู้ทาหน้าท่ีควบคุมการทางาน ท้ังในเรื่องของงบประมาณ และระยะเวลาในการดาเนินการแต่ละส่วน
รวมถึงอาจมคี วามจาเปน็ ต้องใช้ Data visualization designer หรอื วศิ วกรด้านซอฟตแ์ วร์ (Software engineer)
โดยต้องเลือกใช้เคร่ืองมือที่เหมาะสม รวมท้ังความเป็นผู้นาของผู้บริหารท่ีเข้าใจและสามารถตัดสินใจแก้ปัญหาได้
อย่างเฉยี บขาด และการให้ความร่วมมอื กันบคุ ลากรในองค์กรทเี่ ปน็ เจ้าของขอ้ มูลในแตล่ ะสว่ น

๕. ระบบความมั่นคงปลอดภัยทางดิจิทัล กาหนดแผนการพัฒนาความมั่นคงปลอดภัย และจัดหา
ส่ิงสนับสนุนทางดิจิทัลที่มีความทันสมัยสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีและการดาเนินงานของสานักงาน
ศาลปกกครองโดยกาหนดแผนการพฒั นาใน ๓ ระยะ ดงั น้ี

๕.๑ การพัฒนาความม่ันคงปลอดภัยและสิ่งสนับสนุนทางดิจิทัลในระยะท่ี ๑ ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๓ กาหนดแผนดาเนินงาน ดงั นี้

๕.๑.๑ การจัดหาระบบความมั่นคงปลอดภัยทางดจิ ทิ ัลของศาลปกครอง ไดแ้ ก่
(๑) ระบบตรวจจับและป้องกันการบุกรุกทางเครือข่าย (IPS) ทาหน้าท่ีป้องกันการบุกรุก

และการโจมตีจากผู้ไม่ประสงค์ดี สามารถทา Smart blocking เพ่ือตรวจสอบการโจมตีก่อนทาการ Block โดยใช้
เทคโนโลยีชว่ ยการสแกน และสามารถปอ้ งกนั มลั แวร์ท่ีรจู้ ักและไมร่ ูจ้ ักได้

(๒) ระบบป้องกันการโจมตีทางเครือข่าย (Internet firewall) ทาหน้าที่ตรวจสอบ
การจราจรบนเครือข่าย กาหนดนโยบาย (Policy) การใช้งานในระดับ Application (Application control) การกาหนด
นโยบายความปลอดภัย (Security Policy) ตรวจสอบผู้ใช้ (Authentication) รวมถึงวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์
ท่ีเกดิ ข้นึ บนอปุ กรณป์ ้องกนั และรักษาความปลอดภัยเครือข่าย ในกรณที ่ตี รวจสอบพบการโจมตีระบบ และสามารถ
กาหนดให้มีการป้องกันตามกลุ่มประเทศ และสามารถเปลีย่ นแปลง Policy ของ Firewall ไดแ้ บบอัตโนมัติ

(๓) ระบบป้องกันระบบงานที่ให้บริการผ่าน Internet ด้วยอุปกรณ์ที่ทาหน้าท่ีป้องกัน
การโจมตีระบบงานของสานักงานศาลปกครองท่ีให้บริการผ่านระบบ Internet แบบ Real time คือ ระบบ
การป้องกนั ด้วย Web app firewall

(๔) อุปกรณ์ป้องกันการเข้าใช้งานเว็บไชต์ที่ไม่เหมาะสมและมีความเสี่ยง ซ่ึงจะเป็นภัย
ต่อความมั่นคงทางเครือข่ายของสานักงานศาลปกครอง โดยจะมีการ update signature กับเจ้าของผลิตภัณฑ์
ทาให้สามารถตรวจจับภัยคุกคามใหม่ ๆ ได้ นอกจากนี้ จะมีการแสดงข้อมูลการป้องกันระบบทั้ง Inbound และ

๗๘ | P a g e

Outbound รวมทั้งไฟล์ต่าง ๆ ที่รับส่งผ่านระบบเครือข่าย รวมท้ังอุปกรณ์ป้องกันภัยคุกคามทางเครือข่าย ซ่ึงเป็น
อุปกรณ์ที่มีเพื่อตรวจสอบและป้องกันภัยคุกคามข้ันสูง (Advanced persistent threat) ทั้งท่ีรู้จักและไม่รู้จัก
โดยเฉพาะสามารถป้องกันการหลบหลีกการตรวจจับของมัลแวร์ (VM-ware) บน Virtualized OS ได้

(๕) ระบบการตรวจสอบและเฝ้าระวังระบบเครือข่าย (Monitor) เป็นอุปกรณ์ท่ีสามารถ
รับข้อมูล ตรวจจับข้อมูล (Packet capture) จัดทา index และเก็บข้อมูล (Stores all data packets) การจราจรข้อมูล
ท่ีส่งภายในระบบเครือข่ายส่ือสาร และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินผลและประสิทธิภาพระบบเครือข่ายส่ือสาร
พรอ้ มทั้งจัดทารายงานได้

๕.๑.๒ การจัดหาสิ่งสนบั สนนุ การใชง้ านทางดจิ ิทลั ของศาลปกครอง ไดแ้ ก่
(๑) จัดหาอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล (Storage) จานวน ๑๐ TB รองรับการขยายตัวสาหรับ

ระบบบริหารงานคดีปกครอง เพ่ือให้เพียงพอต่อการให้บริการประชาชนท่ีเพ่ิมข้ึน ได้แก่ สนับสนุนการพิจารณา
พิพากษาคดีและอานวยความสะดวกให้แก่คู่กรณี และให้บริการประชาชน ให้สามารถย่ืนฟ้องคดีปกครองและ
ส่งเอกสารคาค่คู วามตา่ ง ๆ ผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

(๒) จัดหาคอมพิวเตอร์ จานวน ๓๐๐ ชุด ทดแทนคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
ของปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ สนับสนุนการปฏิบัติให้กับหนว่ ยงาน จานวน ๒๒๗ ชุด และจดั สรรให้ตุลาการและ
บคุ ลากรท่บี รรจใุ หม่ จานวน ๗๓ ชุด

๕.๒ การพัฒนาความม่ันคงปลอดภัยและส่ิงสนับสนุนทางดิจิทัลในระยะท่ี ๒ ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๔ กาหนดแผนดาเนินงาน ดังน้ี

๕.๒.๑ การจัดหาระบบความม่ันคงปลอดภัยทางดิจิทัลของศาลปกครองเพ่ิมเติม โดยจัดหา
ระบบความมั่นคงปลอดภัยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์บนพ้ืนท่ีสารองจัดเก็บข้อมูล หรือ ระบบคลาวด์ พร้อมอุปกรณ์
และระบบสารองข้อมลู สาหรับให้บรกิ ารประชาชน

๕.๒.๒ การจดั หาสิ่งสนบั สนนุ การใชง้ านทางดจิ ทิ ัลของศาลปกครอง ได้แก่
การจั ดหาเคร่ื องคอมพิ วเตอร์ และอุ ปกรณ์ ต่ อพ่ วงส าหรับทดแทนเ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์

ที่มีอายุนานเกิน ๑๐ ปี จานวน ๑๕๐ ชุด สนับสนุนตุลาการและบุคลากรในศาลปกครอง รวมทั้งจัดหาเคร่ือง
สแกนเนอร์แปลงเอกสารเป็นข้อมลู ดจิ ิทลั จานวน ๔๐ เครื่อง

๕.๓ การพัฒนาความม่ันคงปลอดภัยและส่ิงสนับสนุนทางดิจิทัลในระยะท่ี ๓ ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๕ กาหนดแผนดาเนนิ งาน ดงั น้ี

๕.๓.๑ การจัดหาระบบความม่ันคงปลอดภัยทางดิจิทัลของศาลปกครองเพิ่มเติม โดยจัดหา
ระบบความมั่นคงปลอดภัยระบบดิจิทัลของศาลปกครองเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลการจราจรของระบบสารสนเทศ
ทดแทนอปุ กรณท์ ม่ี ีอายุนานเกนิ ๑๐ ปี รวมท้ังเพิม่ ประสทิ ธิภาพความปลอดภยั โครงสร้างพ้ืนฐานทางดิจิทลั สาหรับ
บรกิ ารประชาชน

๕.๓.๒ การจดั หาสิง่ สนับสนนุ การใชง้ านทางดจิ ทิ ลั ของศาลปกครอง ได้แก่ จดั หาคอมพวิ เตอร์
จานวน ๘๘๐ ชุด สาหรับทดแทนคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงของปี พ.ศ. ๒๕๕๔ และจัดหาเพิ่มเติม รวมทั้ง
คอมพวิ เตอรพ์ กพาสนับสนุนการปฏิบตั ิงานรปู แบบ WFH จานวน ๕๕๐ ชดุ

๖. การพฒั นาความรู้และทักษะทางดจิ ิทัลให้บคุ ลากรศาลปกครองให้พร้อมกา้ วเข้าสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ
Smart people โดยครอบคลุมบุคลากรทุกกลุ่มทั้งผู้บริหารศาลปกครอง ตุลาการศาลปกครอง ผู้บริหารสานักงาน
ศาลปกครอง และบุคลากรสานักงานศาลปกครองทุกระดับ โดยกาหนดทิศทางการพัฒนาความรู้ และทักษะทางดิจิทัล
ใน ๓ ระยะ ดังนี้

๗๙ | P a g e

๖.๑ การพัฒนาทักษะสนับสนุนทางดิจิทัลในระยะที่ ๑ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กาหนดแผน
ดาเนินงาน โดยกาหนดแผนการพัฒนาบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล โดยได้กาหนดแผนการพัฒนาบุคลากร
ทางดา้ นเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ไวจ้ านวน ๖ หลกั สตู ร ประกอบดว้ ย หลักสูตรสาหรบั ผพู้ ัฒนาระบบซอฟต์แวร์ จานวน ๓
หลักสูตร เป้าหมายบุคลากรเข้ารับการอบรม จานวน ๖ คน หลักสูตรทางด้านเทคโนโลยีฐานข้อมูลและ
การวิเคราะห์ข้อมูล จานวน ๒ หลักสูตร กลุ่มเป้าหมายเป็นบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล จานวน ๒๐ คน
หลักสูตรทางด้านปัญญาประดิษฐ์สาหรับผู้บริหารและผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ จานวน ๒ หลักสูตร กลุ่มเป้าหมาย
เปน็ ผู้บริหารและบคุ ลากรทางดา้ นเทคโนโลยีดิจทิ ลั จานวน ๖ คน

๖.๒ การพฒั นาทกั ษะสนับสนนุ ทางดจิ ิทลั ในระยะที่ ๑ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๖๕ กาหนด
แผนดาเนนิ งาน ดังน้ี

(๑) การพัฒนาผู้นาการเปล่ียนแปลงทางดิจิทัล เพื่อพัฒนาผู้บริหารศาลปกครองและสานักงาน
ศาลปกครองให้เป็นผู้นาท่ีมีความรู้และความเข้าใจในการนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาประยุกต์ใช้กับการดาเนินงานของ
ศาลปกครอง รวมทั้งมีทักษะทางด้านดิจิทัลท่ีเพ่ิมข้ึน และเป็นต้นแบบสนับสนุนบุคลากรให้ปรับเปล่ียนรูปแบบ
การทางานโดยใช้ความรู้และทักษะทางดิจิทัลมาใช้สนับสนุนการปฏิบัติงาน และขับเคล่ือนการพัฒนาศาลปกครอง
เร่ิมต้นก้าวเข้าสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) รวมท้ังจัดหลักสูตรความรู้พ้ืนฐานทางดิจิทัล (Digital
Literacy) เพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ การขับเคล่ือนเปลี่ยนผ่าน
ส่ยู คุ ดจิ ิทัล และความรูเ้ กี่ยวกับธรรมาภิบาลขอ้ มลู สาหรบั ผบู้ ริหารหนว่ ยงานภาครัฐ

(๒) การพัฒนาความรู้และทักษะบุคลากรสานักงานศาลปกครอง โดยกาหนดให้บุคลากร
มีการอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังการใช้เครื่องมือดิจิทัล
หรือแอปพลิเคชันพื้นฐานสาหรับการปฏิบัติงาน การใช้ระบบดิจิทัลสนับสนุนการปฏิบัติงานของศาลปกครอง
เคร่ืองมือดิจิทัลอ่ืน ๆ ที่เป็นประโยชน์สาหรับการปฏิบัติงาน เพ่ิมทักษะการจัดทาข้อมูลตามกรอบธรรมาภิบาล
ข้อมูลภาครัฐสาหรับจัดเก็บเอกสารในแฟ้มสานวน เพ่ือประโยชน์สาหรับการให้บริการประชาชน คู่กรณี
และสนับสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีของตุลาการศาลปกครอง รวมท้ังทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือใช้
ประโยชนส์ าหรบั การบรหิ ารจัดการและการตัดสินใจสาหรบั ผู้บรหิ าร

(๓) การพัฒนาความรู้และทักษะบุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล โดยกาหนด
ให้บุคลากรมีการอบรมความรู้ความเข้าใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีทันสมัย ได้แก่ เทคโนโลยีด้านระบบข้อมูล
และเคร่ืองมือทางด้านขอ้ มลู (เชน่ Big Data, Data Lake, Hadoop เปน็ ตน้ ) ความเข้าใจการเตรียมขอ้ มูลและการ
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์ Business Intelligence: BI การประยุกต์ใช้ความรู้ปัญญาประดิษฐ์ในการพัฒนา
หุน่ ยนต์สนทนา (Chatbot) เพ่ือการบรกิ ารภาครฐั การสร้างความรคู้ วามเข้าใจภาษาศาสตร์คอมพิวเตอรเ์ พื่อนาไป
ประยุกต์ใช้กับปัญญาประดิษฐ์ การใช้เทคโนโลยีโครงสร้างพื้นฐานความปลอดภัยสาหรับการทาธุรกรรม
อิเล็กทรอนิกส์ (Public Key Infrastructure, Blockchian เป็นต้น) การบริหารจัดการอุปกรณ์ความม่ันคงปลอดภัย
ทางดจิ ทิ ลั (อปุ กรณค์ วามปลอดภยั ระบบเครอื ขา่ ย ความปลอดภัยการใชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ต เป็นตน้ )

๘๐ | P a g e

ยทุ ธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยกระดับเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมให้พร้อมสาหรับการพัฒนาศาลปกครองอัจริยะ
(Enhanced digital system) เพื่อเตรียมความพร้อมระบบดิจิทัลรองรับการอานวยความยุติธรรม และเข้าถึง
ความเป็นธรรมทางปกครองที่รวดเร็วและทันสมัย สนับสนุนการพัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อการบริการ การพิจารณา
พิ พา ก ษ า ค ดี แ ล ะก า ร บ ริ ห า ร อง ค์ ก ร ด้ ว ย เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ทั น ส มั ย ใ ห้ พร้ อม ส นั บ ส นุ น ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ อั จ ฉ ริ ย ะ
รวมท้ังช่วยเพิ่มขีดความสามารถการปฏิบัติให้กับตุลาการศาลปกครอง รวมทั้งเพ่ิมประสิทธิภาพการพิจารณา
พิพากษาคดกี ารบรหิ ารจดั การคดี และการบริหารจัดการองคก์ รของศาลปกครอง

เปา้ ประสงค์
ศาลปกครองมีการพัฒนาระบบดิจิทัลท่ีมีมาตรฐานและเป็นท่ียอมรับมาใช้สนับสนุนการดาเนินงาน
ของศาลปกครอง รวมทั้งการให้บริการประชาชน โดยนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพ
กระบวนพิจารณาพิพากษาคดี การบริหารจัดการคดี การบริหารจัดการองค์กร และการให้บริการประชาชน
ดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ิทัลท่ีไดม้ าตรฐาน
ผลผลติ
๑.๑ ระบบบริการอัจฉริยะ (Smart service) เป็นการปรับเปลี่ยนการบริการของศาลปกครอง
ให้เป็นระบบดิจิทัล เพ่ือเพ่ิมช่องทางเข้าถึงศาลปกครองให้กับประชาชน คู่กรณี และหน่วยงานภาครัฐ โดยการนา
เทคโนโลยีท่ีทนั สมัยมาสนบั สนุนการทางานของระบบให้มีขีดความสามารถในให้บริการท่ีมปี ระสทิ ธิภาพเขา้ ถึงและ
ได้รับการโต้ตอบได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา โดยมีระบบย่อยภายใต้ผลผลิตระบบบริการอัจฉริยะที่ให้บริการประชาชน
คูก่ รณี และหน่วยงานภาครฐั ผา่ นช่องทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ดังนี้

(๑) การขอรับคาปรึกษาแนะนาการฟ้องคดีผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ Video/Voice
call เปน็ การอานวยความสะดวกใหป้ ระชาชนสามารถจองคิวผ่านระบบอนิ เทอร์เนต็ บนเว็บไซต์ศาลปกครอง และ
เข้ารบั คาปรึกษาแนะนาการฟอ้ งคดไี ด้ผ่าน Line application platform

(๒) การยื่นคาฟ้องสาหรับประชาชน และย่ืนเอกสารเพ่ิมเติมสาหรับคู่กรณีทั้งสองฝ่ายผ่าน
ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ระบบคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Litigation portal) เพื่อเพ่ิมช่องทางและเป็น
ทางเลือกให้ประชาชนในการเข้าถึงการฟ้องคดีปกครองด้วยขั้นตอนการเข้าใช้งานที่เรียบง่ายเพียง ๒ ข้ันตอน คือ
ข้ันตอนการลงทะเบียนผู้ใช้งาน โดยระบุข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้งาน รวมท้ังท่ีอยู่ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Mail)
สาหรับการติดต่อระหว่างศาลและคู่กรณี กาหนดชื่อผู้ใช้งาน (Username) และรหัสผ่าน (Password) ด้วยตนเอง
และข้ันตอนการใช้งานตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ เช่น การยื่นคาฟ้องทางอิเล็กทรอนิกส์ การย่ืนเอกสารเพ่ิมเติม
เป็นต้น

(๓) การรับฟังการพิจารณา/ไต่สวนคดีปกครองทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courtrooms)
เป็นการอานวยความสะดวก รวมท้ังช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางให้กับคู่กรณี และบุคคลในคดี
สามารถรับฟงั การพจิ ารณาคดีได้ผ่านระบบการประชมุ ผ่านจอภาพ (Video conference system) รวมท้ังได้ตดิ ตั้ง
ระบบเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สาหรับสนับสนุนการพิจารณา/ไต่สวนคดี เพ่ืออานวยความสะดวกให้แก่
ตุลาการ คู่กรณี และผู้รับมอบอานาจได้สามารถเข้าถึงข้อมูลและเอกสารในคดีผ่านระบบสานวนคดีอิเล็กทรอนิกส์
(e-Records) รวมทั้งสามารถนาเสนอพยานหลักฐานผ่านระบบแสดงภาพ และมีการบันทึกภาพและเสียงระหว่าง
การพจิ ารณาคดี สาหรบั การเรยี กดูไดย้ อ้ นหลงั ได้

๘๑ | P a g e

(๔) การชาระเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) เพื่อเพ่ิมช่องทางและอานวย
ความสะดวกให้กับประชาชน คู่กรณีในการชาระเงินค่าธรรมเนียมศาล หรือค่าธรรมเนียมอื่นพร้อมรับเอกสาร
หลกั ฐานการชาระเงินตามมาตรฐานภาคผา่ นทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์โดยไม่ตอ้ งเดนิ ทางมาศาลปกครอง

(๕) การสร้างความโปร่งใสในกระบวนพิจารณาคดีของศาลปกครอง โดยเปิดโอกาสให้ผู้สนใจ
สามารถรับฟังการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลปกครองได้ผ่านระบบการถ่ายทอดสดการพิจารณา/ไต่สวนคดี
ทางอินเทอร์เน็ต (Streaming)

(๖) การปรับเปล่ียนระบบบริการยื่นเอกสารการบังคับคดีผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Filing)
และการชาระเงินสาหรับการบังคับคดีผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) เพ่ืออานวยความสะดวกให้แก่
คู่กรณไี ด้รบั บรกิ ารทส่ี ะดวกและรวดเรว็ เพม่ิ ขึน้

(๖) การเพิ่มชอ่ งทางการเข้าถึงศาลปกครองและข้อมูลคดีทางอเิ ล็กทรอนิกส์ผา่ นแอปพลิเคชัน
บนอุปกรณ์เคลื่อนท่ี (Mobile application) เพ่อื ให้บริการข้อมูลทางคดปี กครองที่เป็นประโยชนต์ ่อประชาชนและ
สาธารณะ รวมท้ังการขอคัดสาเนาคาพิพากษา/คาส่ัง ขอตรวจ/ขอคัดสาเนาเอกสารในสานวนสาหรับคดีที่ฟ้อง
ผ่านชอ่ งทางปกติผา่ นแอปพลเิ คชันของศาลปกครองบนอุปกรณเ์ คล่ือนที่ (Mobile application) ไดใ้ นอนาคต

(๗) การเพิ่มขีดความสามารถในการโต้ตอบให้บริการประชาชนอัตโนมัติแบบทุกสถานท่ี
ทุกเวลา ดว้ ยการนาเทคโนโลยที ป่ี ัญญาประดิษฐม์ าประยกุ ตใ์ ช้ เช่น Chatbot, Machine Learning โดยการพัฒนา
ต่อยอดในบริการที่เหมาะสมกับเทคโนโลยี ได้แก่ การให้คาปรึกษาแนะนาอัตโนมัติผ่าน Chatbot หรือ ระบบให้
คาปรึกษาโต้ตอบอตั โนมตั ิ (Smart consult) การให้คาแนะนาเรอื่ งร้องเรียนอตั โนมตั ิ เปน็ ต้น

๑.๒ ระบบศาลอัจฉริยะ (Smart court) การเพิ่มประสิทธิภาพระบบดิจิทัลสนับสนุนตุลาการ
และพนักงานคดีปกครอง ในกระบวนพิจารณาคดีที่ครอบคลุมกระบวนพิจารณา โดยนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัย
และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ เช่น ปัญญาประดิษฐ์มาช่วยในการพัฒนาระบบให้สามารถค้นหาข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์
และตรงตามความตอ้ งการของผใู้ ชง้ าน ดังน้ี

(๑) ห้องประชุมองค์คณะทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Chamber Meeting) สนับสนุนการประชุม
ขององค์คณะผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ รองรับการเช่ือมต่อกับระบบสานวนอิเล็กทรอินกส์ (e-Records)
และระบบบริหารงานคดีปกครอง (ADMCase) ระบบศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ตุลาการและพนักงาน
คดปี กครองสามารถเข้าถงึ ข้อมูลคดไี ดส้ ะดวก รวดเร็ว

(๒) ระบบสนับสนุนการเข้าถึงข้อมูลคดีปกครองผ่านแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์เคลื่อนที่
(Web mobile application) สาหรับตุลาการและพนักงานคดีปกครองสนับสนุนการพิจรณาพิพากษาคดีด้วยข้อมูล
ท่มี ปี ระสิทธิภาพ

(๓) เพมิ่ ประสิทธภิ าพระบบการสืบคน้ กฎหมาย คาพิพากษา/คาสั่งศาลปกครอง และของศาล
อ่ืน รวมท้ังความเห็นทางกฎหมายขององค์กรสาคัญ ๆ ท่ีมีความทันสมัย เข้าถึงง่าย และตรงตามท่ีต้องการใช้งาน
ของตุลาการศาลปกครองและพนักงานคดีปกครอง หรือ ระบบสืบค้นอัจฉริยะ (Smart serch) ซึ่งเป็นเคร่ืองมือ
สืบค้น โดยนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัย เช่น AI Machine Lerning ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) เทคโนโลยี
ทะเลสาบข้อมูล (Data Lake) การแปลงภาพเป็นข้อความ OCR เป็นต้น มาช่วยในการบันทึกและวเิ คราะห์ประวัติ
การสืบค้นข้อมูลกฎหมาย คาพิพากษาและคาส่ัง รวมทั้งคาวินิจฉัยเพื่อวิเคราะห์การใช้ข้อมูลจากกฎหมาย และ
คาวินจิ ฉยั และปรบั ปรุงผลการสืบค้น พร้อมทัง้ เสนอแนะข้อความจากในเอกสารกฎหมายและคาวินจิ ฉัยของศาลที่มี
ความเกย่ี วข้องกับคาค้นของผูใ้ ชง้ านได้อยา่ งแม่นยามากข้นึ เครื่องมือสบื ค้นกฎหมายและคาพพิ ากษา

(๔) ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการบังคับคดีสาหรับเจ้าหน้าที่สานักงานศาลปกครองให้มี
ประสทิ ธิภาพเพม่ิ ข้ึน

๘๒ | P a g e

(๕) ระบบสนับสนุนงานตุลาการผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ระบบการตรวจคาฟ้อง
อัตโนมัติด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ระบบช่วยจัดทาร่างคาพิพากษา/คาสั่งอัตโนมัติด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ระบบ
การแจง้ เตือนที่มีประสทิ ธิภาพ

๑.๓ ระบบสานักงานอัจฉริยะ (Smart office) การพัฒนาระบบดิจิทัลสนับสนุนการปฏิบัติงาน
ของสานักงานศาลปกครองด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล โดยพัฒนาระบบสนับสนุนกระบวนงาน ได้แก่ ระบบสนับสนุน
การบริหารงบประมาณ โครงการ การเงิน พัสดุ/ครุภัณฑ์ และผลการดาเนินงานของสานกั งานศาลปกครอง ระบบ
สารบรรณทางอิเล็กทรอนิกส์ของสานักงานศาลปกครอง ระบบบริหารจัดการวันลาของบุคลากรสานักงาน
ศาลปกครอง ระบบการจัดการเอกสารสาหรับการประชุมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting) เพิ่มช่องทาง
การเขา้ ถงึ ขอ้ มูลสารสนเทศองคก์ ารผ่านอุปกรณ์เคลื่อนท่ี รวมทงั้ ระบบการบนั ทกึ ลงเวลาการปฏบิ ัติงานด้วยใบหน้า
(Face recognition) โดยมรี ะบบดจิ ทิ ลั สนับสนนุ การปฏบิ ตั งิ าน ดงั น้ี

(๑) ระบบตรวจสอบครุภัณฑ์สานักงานแบบอิเล็กทรอนิกส์ ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย
สะดวก รวดเร็วผ่านการใช้เทคโนโลยี QR Code ช่วยลดระยะเวลาการบันทึกข้อมูลให้กับเจ้าหน้าท่ีท่ีทาการ
ตรวจสอบครภุ ัณฑ์ของศาลปกครองและสานักงานศาลปกครองทม่ี ีจานวนมาก

(๒) ระบบการบันทึกเวลาการปฏิบัติราชการด้วยใบหน้า ซึ่งใช้เทคโนโลยีการรู้จาใบหน้า
(face recognition) มาติดตั้งแทนอุปกรณ์สแกนลายนิ้วมือเดิม โดยดาเนินการติดต้ังอุปกรณ์สแกนใบหน้าทั้งใน
ส่วนกลางและภูมิภาค ๑๔ แห่ง เพ่อื ลดการสัมผัสอุปกรณร์ ว่ มกัน ลดการแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙

(๓) พัฒนาเชื่อมโยงระบบสานักงานภายในเครือข่ายสานักงานศาลปกครองให้บุคลากร
สามารถเข้าถึงระบบภายใต้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตของศาลปกครองได้ผ่าน Web application on mobile โดยใช้
QR Code เป็น Smart-ID เพ่ือเพ่ิมช่องทางการเข้าถึงบริการต่าง ๆ ได้ผ่านอุปกรณ์เคล่ือนท่ีส่ือสารไร้สายอัจฉรยิ ะ
(Smartphone) เช่น ระบบจองห้องประชุมออนไลน์ ระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์ออนไลน์ ระบบให้บริการใช้
รถยนตอ์ อนไลน์ เปน็ ตน้ ด้วยความสะดวก รวดเรว็ โดยเขา้ ถึงไดจ้ ากทกุ ทที่ ุกเวลาผ่านอปุ กรณเ์ คลอ่ื นท่ี (Mobile)

(๔) ระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์โดยขยายการใช้งานไปยังสานักงานศาลปกครองในภูมิภาค
ใหส้ ามารถย่ืนใบลา อนุมัตใิ บลา และตรวจสอบสถิตกิ ารลาผา่ นระบบ Online ดว้ ยเคร่อื งคอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณ์
เคลื่อนท่ีสื่อสารไร้สายอัจฉริยะ (Smartphone) โดยเป็นระบบริเริ่มที่ทุกข้ันตอนเป็นกระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส์ที่
สามารถยกเลิกเอกสารกระดาษในการปฏบิ ตั ิงานได้ต้ังแต่ต้นทางจนถึงส้ินสุดกระบวนการ คือ การยื่น การอนุญาต
การอนมุ ตั ิวนั ลา รวมทง้ั การตรวจสอบสถิตวิ ันลารายบคุ คลได้

(๕) ระบบการลงมติและการเลือกออนไลน์ (กรณีการลงคะแนนลับ) สาหรับใช้ในการลงมตใิ น
การประชมุ ทางไกลผ่านจอภาพ (VDO Conference)

(๖) ระบบสลิปเงินบานาญออนไลน์สาหรับข้าราชการบานาญของสานักงานศาลปกครอง
เพอื่ อานวยความสะดวกให้กบั ขา้ ราชการบานาญ สามารถดู ตรวจสอบสลปิ เงินบานาญของตนเองผา่ นระบบได้

(๗) ระบบทดแทนระบบ PBB ที่ครอบคลุมการปฏิบัติงานสาคัญและสนับสนุนการตัดสินใจ
สาหรับผู้บริหาร คือ ระบบงบประมาณและแผนโครงการ ระบบการเงินและงบประมาณ ระบบการจัดซ้ือจัดจ้าง
ระบบรหิ ารครุภณั ฑ์และทรพั ย์สิน และระบบการรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านขององคก์ ร

๘๓ | P a g e

ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั
ประชาชนสามารถเข้าถึงการฟ้องคดีทางปกครองได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว รวมท้ังคู่กรณีสามารถ
เข้าถึงข้อมูลคดีของตนเอง และสามารถรับทราบความเคลื่อนไหวการพิจารณาพิพากษาได้ง่ายและรวดเร็ว รวมท้ัง
หน่วยงานภาครัฐสามารถเข้าถึงข้อมูลทางปกครองที่เป็นประโยชน์เพ่ือใช้เป็นแนวการปฏิบัติที่ดีของหน่วยงาน
ทางปกครอง สามารถชาระเงิน และการบังคับคดีได้ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ ตุลาการ/พนักงาน
คดีปกครองมีเครอ่ื งมอื ช่วยสนบั สนนุ การพิจารณาพิพากษาคดีให้มปี ระสทิ ธภิ าพและมีคณุ ภาพเปน็ ทยี่ อมรบั รวมทั้ง
ผู้บรหิ าร บคุ ลากรสานกั งานศาลปกครองมีเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบตั ิงานด้วยระบบดจิ ทิ ัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กลยทุ ธก์ ารพัฒนา
กลยทุ ธท์ ่ี ๑ เพ่มิ ขีดความสามารถการบริการประชาชนให้สะดวก รวดเร็ว และทัว่ ถึงด้วยเทคโนโลยี
ที่ทันสมัย (Enhanced court service) การพัฒนาการบริการประชาชนด้วยระบบดิจิทัลท่ีทันสมัย สามารถ
เข้าถึงศาลปกครองได้ง่าย สะดวก และท่ัวถึง ด้วยระบบดิจิทัลท่ีใช้งานง่าย รวมทั้งสามารถโต้ตอบการบริการ
ประชาชนได้อย่างอัตโนมัติ รวดเร็ว ทุกที่ทุกเวลา และน่าเช่ือถือ เช่น การให้คาปรึกษาแนะนาด้วยเทคโนโลยี
ที่ทันสมัย การยนื่ ฟอ้ งคดี และการชาระคา่ ธรรมเนยี มผา่ นระบบดจิ ิทลั
กลยุทธ์ท่ี ๒ ยกระดับเทคโนโลยีดิจิทัลให้ทันสมัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงานของ
ศาลปกครอง (Enhanced digital technology) ปรับปรุงการพัฒนาระบบดิจิทัลด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัย
เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถการพิจารณาพิพากษาคดี การบริหารจัดการคดี และการบริหารองค์กรของศาลปกครอง
เช่น เทคโนโลยีการแปลงเสียงพูดเป็นข้อความ (Speech-to-Text) การแปลงข้อมูลภาพเป็นข้อความ (OCR) อุปกรณ์
การจัดเก็บข้อมูลภาพและเสียง เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพ่ือสนับสนุนการดาเนินกระบวนพิจารณาด้วยระบบ
ดิจิทัลที่ชาญฉลาดและเพิ่มขีดความสามารถในการตัดสินใจ โดยพัฒนาระบบดิจิทัลท่ีสามารถช่วยสนับสนุน
การบริหารจัดการคดี ลดระยะเวลาการพิจารณาพิพากษาคดี เพิ่มขีดความสามารถการพิจารณาคดีให้ได้
ผลการดาเนนิ งานที่เป็นไปตามเปา้ หมายของศาลปกครอง
ตัวชวี้ ัด
๑. อัตราส่วนท่ีเพ่ิมขึ้นของจานวนข้ันตอนในการอานวยความยุติธรรมท่ีใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
เพื่อความโปร่งใส สะดวก และรวดเร็ว ตัวช้ีวดั (KPI ๑๔) ตามแผนแม่บทศาลปกครอง ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕)
๒. ร้อยละของผู้ใช้บริการระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ัลมีความพงึ พอใจต่อการใช้งานระบบทพี่ ฒั นาขึ้น
ตัวชี้วัด (KPI ๑๙) ตามแผนแมบ่ ทศาลปกครอง ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕)
๓. ร้อยละความสาเร็จในการปรับปรุงกระบวนการทางานและการให้บริการประชาชนด้วยเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัล (KPI ๒๑) ตามแผนแม่บทศาลปกครอง ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕)

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ปรับเปล่ียนศาลปกครองให้เป็นองค์กรที่ขับเคล่ือนด้วยข้อมูลดิจิทัล (Data-driven
organization) การขับเคลื่อนให้ศาลปกครองลดการใช้กระดาษ (Paperless) และปรับเปล่ียนการทางานด้วย
การจัดทาข้อมูลดิจิทัล เพ่ือให้บริการประชาชนท่ีสะดวก รวดเร็ว และท่ัวถึง รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการพิจารณา
พิพากษาคดี การบริหารจัดการคดี และการบริหารจัดการองค์กร เพื่ออานวยความยุติธรรมทางปกครองที่สะดวก
รวดเรว็ และทนั สมัย และเป็นประโยชน์สงู สุดของประชาชน

เปา้ ประสงค์
ศาลปกครองมีการแปลงข้อมูลท่ีเป็นเอกสารให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลได้อย่างมีมาตรฐานและ
มีความปลอดภัย โดยใช้แนวทางการกากับดูแลข้อมูลตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance)
เพ่ือสนับสนุนการให้บริการประชาชน การพิจารณาพิพากษาคดี การบริหารจัดการคดีและบริหารจัดการองค์กรได้
ผ่านระบบดิจิทัลได้ภายในเวลาเดียวกัน ภายใต้สภาพแวดล้อมทางดิจิทัลท่ีได้มาตรฐานและน่าเชื่อถือ รวมท้ัง

๘๔ | P a g e

มีข้อมูลและเครื่องมือท่ีช่วยขับเคล่ือนการใช้และวิเคราะห์ข้อมูลสนับสนุนการบริหารองค์กร การตัดสินใจ
ของผู้บริหาร เพื่อสร้างคุณค่าให้กับศาลปกครองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพ่ือการอานวย
ความยตุ ธิ รรมให้แก่ประชาชน และสนบั สนุนการพิจารณาพิพากษาคดีของตลุ าการรวดเรว็ เพมิ่ มากขนึ้

ผลผลติ
๒.๑ ระบบข้อมูลท่ีมีการแปลงเอกสารกระดาษเป็นข้อมูลดิจิทัลแล้วเสร็จสนับสนุนการพิจารณา
พิพากษาคดีและสามารถนาไปใช้ประโยชน์เพ่ือลดระยะเวลาการปฏิบัติงาน ลดการใช้กระดาษ และประหยัด
ค่าใช้จ่าย เพื่อการใช้ประโยชน์ข้อมูลดิจิทัลร่วมกันในเวลาเดียวกันสนับสนุนกระบวนพิจารณาของศาลปกครอง
ระหว่างผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายทั้งผู้บริหารศาลปกครอง ตุลาการ พนักงานคดีปกครอง และหน่วยธุรการศาล เช่น
เอกสารหลักฐานในแฟม้ สานวน เป็นต้น
๒.๒ ระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและตัดสินใจสาหรับผู้บริหาร
ศาลปกครองและสานักงานศาลปกครอง ไดแ้ ก่

(๑) ระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการคดีและการตัดสินใจสาหรับผู้บริหาร
ศาลปกครอง ตามเป้าหมายการดาเนินงานของแผนแม่บทศาลปกครองฯ ในประสิทธิภาพงานคดี เช่น จานวนคดี
ที่พิจารณาแล้วเสร็จ ระยะเวลาคดีเสรจ็ คดที อี่ ยูร่ ะหว่างการพจิ ารณา ระยะเวลาคดที ี่อยูใ่ นศาลปกครอง เปน็ ต้น

(๒) ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการองค์กร เช่น ระบบข้อมูลสารสนเทศ
ด้านงบประมาณการเงิน การติดตามผลการดาเนินงานตามแผน ด้านการบริหารบุคลากร ด้านบริหารทรัพย์สิน
เปน็ ตน้

(๓) ระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ได้แก่ ข้อมูลครุภัณฑ์
และทรัพยส์ นิ ข้อมูลบุคลากร ขอ้ มูลงบประมาณและการเงิน เป็นตน้

(๔) ระบบข้อมูลเพื่อการบริการประชาชน เช่น ข้อมูลคาพิพากษา/คาส่ัง แนววินิจฉัยแนวปฏิบัติ
ท่ีดใี ห้แกห่ นว่ ยงานราชการ เปน็ ต้น

ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ
ตุลาการศาลปกครอง พนักงานคดีปกครอง และประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลดิจิทัลทางด้านคดี
ได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัยได้ภายในเวลาเดียวกัน ลดระยะเวลาในการให้บริการขอตรวจและคัดสาเนาเอกสาร
ในสานวนสาหรับคดีท่ียื่นฟ้องผ่านช่องทางกระดาษ นอกจากนี้ ผู้บริหารศาลปกครองมีข้อมูลและเครื่องมือ
ทางดิจิทัลสนับสนุนการบริหารจัดการคดีที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือช่วยในการตัดสินใจจัดการคดีและการบริหาร
เชิงกลยุทธ์ขององค์กร นอกจากน้ี ตุลาการ/พนักงานคดีมีการพิจารณาพิพากษาคดีให้มีความรวดเร็วเพ่ิมขึ้น
อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสานักงานศาลปกครองมีความพร้อมสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีของ
ศาลปกครองไดท้ นั ต่อการเยียวยาความเดอื ดรอ้ นของผเู้ ก่ียวขอ้ ง
กลยทุ ธ์การพฒั นา
กลยุทธ์ ๑ ปรับเปลี่ยนข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลท่ีน่าเชื่อถือและได้มาตรฐาน (Standards
and digital transformation) โดยจัดหาเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีช่วยส่งเสริมการปรับเปลี่ยนข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบ
ดิจิทัลได้ตามหลักธรรมาภิบาล รวมท้ังสนับสนุนการปรับเปลี่ยนและจัดเก็บข้อมูลท่ีเป็นเอกสารของศาลปกครอง
ให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลได้อย่างมีมาตรฐานและปลอดภัย โดยใช้แนวทางการกากับดูแลข้อมูลตาม
กรอบธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance) ซึ่งเป็นแนวทางท่ีจัดทาโดยสานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
และพระราชบัญญตั วิ า่ ด้วยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์มาประยุกต์ใช้งาน เพ่ือนาไปใชส้ นบั สนุนการก้าวเข้าสู่ศาลปกครอง
อจั ฉรยิ ะในอนาคต

๘๕ | P a g e

กลยุทธ์ที่ ๒ สนับสนุนการใช้และการวิเคราะข้อมูลดิจิทัลด้วยวิทยาการวิทยาศาสตร์ข้อมูล
เพื่อการขับเคลื่อนศาลปกครอง (Data-driven admincourt) จัดทาระบบข้อมูลดิจิทัลให้อยู่ในรูปแบบที่มี
ความพร้อมในการวิเคราะห์ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) และเทคโนโลยี Business Intelligence การจัดระบบ
ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) หรือ การใช้วิทยาศาสตร์ข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ (Data science) และพัฒนาต่อยอด
ระบบงานคดปี กครองไปเป็นระบบสนับสนุนการบรหิ ารจัดการคดีที่ชาญฉลาดเพอ่ื ให้ศาลปกครองสามารถนาข้อมูล
ไปใช้ประโยชน์ในการสนับสนุนกระบวนพิจารณาพิพากษาคดี การบริหารจัดการคดี รวมท้ังการบริการประชาชน
ด้วยระบบดิจิทัลท่ีชาญฉลาดให้มีความรวดเร็ว ทันสมัย เป็นองค์กรท่ีมีประสิทธิภาพ และพัฒนาก้าวไปสู่
ศาลปกครองอจั ฉรยิ ะ (Smart court) ไดใ้ นอนาคต

ตัวช้วี ัด
๑. ร้อยละของข้อมูลท่ีเป็นเอกสารของศาลปกครองได้รับการปรับเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบข้อมูล
ดิจิทลั ตามกรอบธรรมาภบิ าลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance)
๒. ระบบฐานข้อมูลของศาลปกครองในรูปแบบดิจิทัลมีความพร้อมในการเชื่อมโยงกับหน่วยงาน
ภายนอก (External Integration)
๓. ร้อยละของระบบข้อมูลสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจสาหรับผู้บริหารศาลปกครองและ
สานักงานศาลปกครองที่ดาเนินการแลว้ เสรจ็ ตามแผนท่กี าหนด

ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ เพ่ิมประสิทธิภาพโครงสรางพื้นฐานทางดิจิทัลให้มีมาตรฐานและความม่ันคงปลอดภัย
(Standard infrastructure and security) โดยการจัดหาเทคโนโลยีและอุปกรณ์สนับสนุนการดาเนินงาน
และการบริการ สาหรับเพิ่มประสิทธิภาพความม่ันคงปลอดภัยในระดับต่าง ๆ และสร้างความน่าเชื่อถือให้กับ
บริการแก่ประชาชนและสนบั สนนุ การกระบวนพิจารณาพิพากษาคดีของศาลปกครอง

เปา้ ประสงค์
ศาลปกครองมีโครงสร้างพื้นฐานทางด้านดิจิทัล ท่ีมีความมั่นคงปลอดภัยและระบบการรักษา
ความปลอดภัยของข้อมูลท่ีมีมาตรฐานสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีและการบริหารจัดการคดีผ่านระบบ
ดิจิทัลภายใต้สภาพแวดล้อมทางดิจิทัลที่ได้มาตรฐานและน่าเชื่อถือ รวมทั้งตอบโจทย์ความต้องการเข้าถึง
การอานวยความยุติธรรมของประชาชนไดส้ ะดวก รวดเร็ว และประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย
ผลผลติ
๑. ระบบความม่ันคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีดิจิทัลในระดับต่างๆ ต้ังแต่ระดับอุปกรณ์ ระดับเครือข่าย
ระดับแอปพลิเคชันการใช้งาน ระบบฐานข้อมูลคดีปกครอง ระบบความปลอดภัยข้อมูลและไฟล์อิเล็กทรอนิกส์
โดยมรี ะบบความปลอดภัยเพอ่ื สร้างความม่นั ใจให้กบั ผใู้ ชง้ านรบั บ ดังนี้

๑.๑ ระบบตรวจจับและป้องกนั การบุกรุกทางเครือขา่ ยจากผ้ไู ม่ประสงคด์ ี
๑.๒ ระบบปอ้ งกันการโจมตที างเครอื ขา่ ยการใชง้ านในระดับ Application
๑.๓ ระบบตรวจจับวิธีการบุกรุกและป้องกันการโจมตีป้องกันและรักษาความปลอดภัยระบบ
เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์
๑.๔ ระบบการป้องกันระบบงานทีใ่ หบ้ รกิ ารผ่านอินเทอรเ์ น็ต
๑.๕ ระบบการป้องกันการเข้าใช้งานเว็บไชต์ท่ีไม่เหมาะสมและมีความเสี่ยงท่ีจะเป็นภัยต่อ
ความม่นั คงทางเครอื ข่ายของสานักงานศาลปกครอง
๒. การจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรร์ต่อพ่วงให้มีความทันสมัย เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ
บุคลากรได้เพียงพอด้วยสัดส่วน ๑:๑ รวมท้ังอุปกรณ์สนับสนุนการแปลงข้อมูลกระดาษเป็นข้อมูลดิจิทัลท่ีเพียงพอ
มาตรฐานข้อมูลและแนวปฎิบัติด้านความม่ันคงปลอดภัย เช่น คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะทดแทนคอมพิวเตอร์ท่ีมี

๘๖ | P a g e

อายุนานเกิน ๑๐ ปี ซ่ึงมีจานวนประมาณ ๒,๕๐๐ ชุด คอมพิวเตอร์พกพา คอมพิวเตอร์พกพาแบบหน้าจอสัมผัส
เครอ่ื งพมิ พ์ เครอ่ื งสแกนเนอร์ เปน็ ต้น

ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ
ผู้บริหารศาลปกครอง ตุลาการศาลปกครอง ผู้บริหารและบุคลากรภายในสานักงานศาลปกครอง
ทุกระดบั และประชาชนมีความม่นั ใจในการใชร้ ะบบดิจทิ ลั ของศาลปกครองท่ีพร้อมดว้ ยระบบความมั่นคงปลอดภัย
ทเ่ี ชอื่ ถอื ได้
กลยทุ ธก์ ารพฒั นา
กลยุทธ์ท่ี ๑ เพิ่มขีดความสามารถความมั่นคงปลอดภัยให้พร้อมป้องกันภัยคุกคามในทุกระดับ
ตามมาตรฐานสากล (Digital security readiness) เพ่ือสร้างความเช่ือมั่นในการใช้ระบบดิจิทัลของศาลปกครอง
ให้กับบุคลากรท้ังภายในและภายนอกศาลปกครอง ได้แก่ ระบบความมั่นคงปลอดภัยเครือข่าย ความปลอดภัย
สาหรับระบบดิจิทัลที่ให้บริการผ่านว็บ (Web security) ความปลอดภัยข้อมูล (Information security) และ
ความปลอดภยั ของเอกสารดิจิทลั (Document security) เปน็ ตน้
กลยุทธ์ที่ ๒ สนับสนุนเครื่องมือทางดิจิทัลที่ทันสมัยให้เพียงพอสาหรับการก้าวเข้าสู่ศาลปกครอง
อัจฉริยะ (Efficient infrastructure) เพ่ือสร้างสภาพแวดล้อมและส่ิงสนับสนุนการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้
ในการพัฒนาการดาเนินงานของศาลปกครอง และการบริการประชาชนให้พร้อมก้าวเข้าสู่การเป็นศาลปกครอง
อัจฉริยะ ได้แก่ เคร่ืองคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์เครือข่าย อุปกรณ์ต่อพ่วง และอุปกรณ์สนับสนุนการพิจารณา
พพิ ากษาคดีของศาลปกครอง
ตวั ชีว้ ดั
๑. ร้อยละความสาเร็จในการดาเนินการตามมาตรฐานข้อมูลและมาตรฐานการรักษาความมั่นคง
ปลอดภยั ดา้ นสารสนเทศ
๒. รอ้ ยละของผ้ใู ช้บริการทมี่ คี วามเชือ่ ม่นั ต่อการใช้งานระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ของศาลปกครอง
๓. ประสิทธิภาพของโครงสร้างพื้นฐานและความพร้อมใช้งานระบบดิจิทัลอย่างต่อเน่ืองของ
ศาลปกครองอยูใ่ นเกณฑม์ าตรฐานที่กาหนด
๔. ร้อยละของบคุ ลากรท่ีได้รับสิ่งสนบั สนนุ ทางดิจิทัลที่ทันสมัยสนบั สนุนการปฏบิ ตั ิงาน

ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การพัฒนาทักษะดิจิทัลบุคลากรศาลปกครองให้พร้อมก้าวเข้าสู่ศาลปกครองอัจฉรยิ ะ
โดยการพัฒนาบุคลากรให้ปฏิบัติท่ีมีความฉลาด (Smart people) โดยมุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ
และความเชย่ี วชาญในการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั และเป็นกาลังขบั เคลื่อนการปฏิบัตงิ านดว้ ยการใช้ข้อมูลเพื่อ
ประโยชน์ในการวางแผนการปฏิบัติงาน การตัดสินใจ พัฒนานวัตกรรมบริการ และส่งเสริมให้บุคลากรมีทัศนคติ
ที่เหน็ ถงึ ความสาคัญของการปรับเปลีย่ นศาลปกครองไปสู่การเป็นศาลปกครองอจั ฉรยิ ะ (Smart Admincourt)

เปา้ ประสงค์
บุคลากรของศาลปกครองมีความรู้ ทักษะ และความเช่ียวชาญ ในการประยุกต์ ใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั
และเป็นกาลังขับเคลื่อนการปฏิบัติงานด้วยการใช้ข้อมูลเพ่ือประโยชน์ในการวางแผนปฏิบัติงาน สนับสนุน
การพจิ ารณาพพิ ากษาคดีและการบริหารจดั การคดีผา่ นระบบดิจิทลั ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

ผลผลติ
๓.๑ หลักสูตรการอบรมทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับตุลาการศาลปกครองและบุคลากร
สานักงานศาลปกครอง โดยพิจารณาหลักสูตรทางดิจิทัลให้สอดคล้องตามแนงทางการพัฒนาทักษะทางด้านดิจิทัล
บคุ ลากรภาครฐั ซ่ึงแบง่ เป็นหลกั สตู รไดต้ ามกลมุ่ ทักษะ ดังนี้

๘๗ | P a g e

(๑) กลุ่มทักษะด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy Skill Set) สาหรับ
บคุ ลากรทุกกลุ่มเปา้ หมายในศาลปกครอง

(๒) กลุ่มทักษะด้านการควบคุมกากับ และการปฏิบัติตามกฎหมาย นโยบาย และมาตรฐาน
การจัดการด้านดิจิทัล (Digital Governance, Standard and compliance skill set) สาหรับผู้บริหารศาลปกครอง
และสานักงานศาลปกครอง และหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง

(๓) กลุ่มทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือยกระดับศักยภาพองค์กร (Digital technology
skill set) สาหรับบุคลากรผู้ปฏบิ ตั ิงานทางดา้ นเทคโนโลยดี ิจิทลั

(๔) กลุ่มทักษะด้านการออกแบบกระบวนการและการให้บริการ ด้วยระบบดิจิทัลเพ่ือ
การพัฒนาคุณภาพงานภาครัฐ (Digital process and service design skill set) สาหรับบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน
ทางดา้ นเทคโนโลยดี ิจทิ ัล

(๕) กลุ่มทักษะด้านการจัดการโครงการและการบริหารกลยุทธ์ (Project and strategic
management skill set) และกลุ่มทักษะด้านผู้นาดิจิทัล (Digital leadership skill set) สาหรับผู้บริหาร
ศาลปกครอง ผู้บรหิ ารสานกั งานศาลปกครอง และผู้ทาหน้าทใี่ นกลมุ่ ผบู้ ริหารงานสานักงาน

(๖) กลมุ่ ทักษะด้านการขับเคล่อื นการเปลย่ี นแปลง ด้านดิจทิ ัล (Digital transformation skill
set) สาหรบั บุคลากรทกุ กลุ่มเปา้ หมาย

๓.๒ ตุลาการศาลปกครองและบุคลากรสานักงานศาลปกครองท่ีผ่านการอบรมด้านเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัลเพื่อการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาศาลปกครองอัจฉรยิ ะ (Smart Admincourt) เข้ารับการอบรมตามเป้าหมาย

ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ
ศาลปกครองมีบุคลากรท่ีมีความความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
ดิจิทัล และมีความพร้อมในการเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล และช่วยขับเคล่ือนการพัฒนาศาลปกครอง
อัจฉริยะ (Smart Admincourt) ใหบ้ รรลุผลสัมฤทธไิ์ ด้ตามแผนท่กี าหนด
กลยุทธก์ ารพัฒนา
กลยุทธ์ที่ ๑ สร้างวัฒนธรรมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและข้อมูลให้พร้อมรับการพัฒนาศาลปกครอง
อัจฉริยะ (Smart Admincourt culture) โดยการเสริมสร้างการทางานร่วมกันแบบข้ามสายงานเพื่อการถ่ายทอด
เทคโนโลยี และการวิเคราะห์ข้อมูล และนาเสนอข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์สาหรับการบริหารจัดการงานคดี รวมทั้ง
การบริหารองค์กร เพื่อนาเสนอข้อมูลเพื่อการบริหารและการตัดสินใจสาหรับผู้บริหารได้อย่างชาญฉลาดและ
เผยแพร่เป็นบทเรียนสาหรับบคุ ลากรท่ัวทัง้ องค์กร
กลยุทธ์ที่ ๒ เพ่ิมขีดวามสามารถบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้มีความเชี่ยวชาญทาง
เทคโนโลยีท่ีทันสมัย เป็นบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีปฏิบัติได้อย่างชาญฉลาด (Smart people)
มีทักษะทางด้านดิจิทัล เพื่อนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาระบบดิจิทัลสนับสนุนการบริการและ
การพิจารณาพิพากษาคดี รวมถึงการบริหารจัดการคดีและการบริหารจัดการองค์กรให้ได้ระบบที่มีความสามารถ
ช่วยลดระยะเวลาการดาเนินงาน เพิม่ ประสทิ ธิภาพการดาเนนิ งานให้ไดต้ ามเปา้ หมาย
ตวั ชีว้ ดั
๑. ร้อยละของบุคลากรทุกระดับของศาลปกครองมีความรู้ ความเช่ียวชาญและทักษะที่จาเป็น
ทางดา้ นดจิ ิทลั ตามเกณฑ์ทก่ี าหนด (KPI ๑๘)
๒. ร้อยละบคุ ลากรท่ีผ่านการประเมินทักษะและไดร้ บั ประกาศนยี บัตรทางด้านดจิ ิทัล

๘๘ | P a g e

ความเช่ือมโยงแผนพัฒนาดิจิทลั ของศาลปกครอง

แผนการพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ระยะ ๓ ปี ได้เชอ่ื มโยงการจัดทา
แผนให้มีความสอดคล้องกับแผนนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) (ร่าง) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ รวมทั้งแผนแม่บท
ศาลปกครองระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และเพ่ือให้มีแนวทางในการขับเคล่ือนการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล
ของศาลปกครองให้สอดคล้องและบรรลุผลสาเร็จได้ตามเป้าหมายของแผนแม่บทศาลปกครอง จึงได้กาหนด
แนวทางการปฏิบัติงานประจาปีเพื่อกาหนดทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลประจาปีให้มีความชัดเจน
โดยมีความเช่ือมโยงภายในศาลปกครอง คือ แผนแม่บทศาลปกครองฯ และแผนพัฒนาดิจิทัลฯ รวมท้ังเช่ือมโยง
กับแผนระดับประเทศ ได้แก่ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัลและแผนพฒั นารฐั บาลดิจทิ ัลตามแผนภาพ ดงั นี้

๘๙ | P a g e

ขบั เคล่ือนเตรียมความพร้อมศาลปกครองก้าวเข้าส่ศู าลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt)

การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ได้ตั้งเป้าหมายการพัฒนาด้วย
การริเร่ิมขับเคล่ือนการพัฒนาศาลปกครองก้าวเข้าสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) โดยการปรับเปล่ียน
บรกิ ารศาลปกครองทม่ี ุ่งเนน้ ใหป้ ระชาชนเปน็ ศูนย์กลางผา่ นการใช้ระบบดจิ ิทัล รวมทัง้ นาเทคโนโลยที ี่ทันสมยั มาใช้
สนับสนุนการดาเนินงานของศาลปกครองและสานักงานศาลปกครอง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการพิจารณา
พพิ ากษาคดี และการตดั สินใจไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยกาหนดแนวทางการพัฒนาประจาปี ดงั นี้

๑. แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ของศาลปกครองประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ปแี หง่ การปรับเปล่ียน
ศาลปกครองไปเป็นศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt transformation) การสนับสนุนให้หน่วยงาน
ในศาลปกครองลดการใช้กระดาษ และใช้ข้อมูลในการขับเคลื่อนการดาเนินงานของศาปกครอง โดยปรับเปล่ียน
องค์กรด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล๑๓ “การเปล่ียนผ่านสู่ดิจิทัลให้สาเร็จอย่างย่ังยืน ต้องปรับเปล่ียนให้ครบ
ท้ังด้านบุคลากร ระบบ และบริบทขององค์กร” ประกอบกับในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ต้องเผชิญกับ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ศาลปกครองจาเป็นต้องกาหนดทิศทาง
เพอ่ื ปรบั เปลยี่ นการทางาน กระบวนงาน และบริการใหอ้ ยู่ในรปู แบบดจิ ทิ ลั ให้พร้อมรับมอื กบั สถานการณ์ในอนาคต
และพร้อมสนับสนุนการให้บริการประชาชน การพิจารณาพิพากษาคดี และการบริหารจัดการองค์กร ตลอดจน
การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ด้วยเทคโนโลยีท่ีมีความมั่นคงปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ โดยมีกรอบ
การดาเนินงานในมุมมองตา่ งๆ ทสี่ าคญั ดังน้ี

๑๓ บทความเงอ่ื นไขความสาเรจ็ ของการเปลย่ี นผ่านสดู่ ิจิทลั (Digital transformation) ของนติ ยสาร CIO world & Business
โดย ศ. ดร. เกรียงศักด์ิ เจรญิ วงศศ์ ักด์ิ ประธานสถาบันอนาคตศกึ ษาเพื่อการพฒั นา URL: shorturl.at/cFPQ3

๙๐ | P a g e

๑.๑ การปรับเปล่ียนบริการเปน็ ระบบดจิ ทิ ัล และพัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกสส์ นบั สนนุ การดาเนินงาน
สานักงานศาลปกครอง ด้วยการพัฒนาช่องทางการให้บริการย่ืนคาฟ้องผ่านระบบดิจิทัล โดยให้สามารถยืนยัน
ตัวตน การคานวณและชาระค่าธรรมเนียมศาลในรูปแบบดิจิทัลได้โดยไม่จาเป็นต้องมาที่ศาลปกครอง และพัฒนา
ระบบบริการให้คาปรึกษาแนะนา และข้อมูลทางด้านคดีปกครองท่ีเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะผ่านช่องทางดิจิทัล
รวมทัง้ พฒั นาระบบดิจิทลั สนับสนุนการดาเนินงานของสานักงานศาลปกครองให้สามารถดาเนินการ บริหารจัดการ
ติดตามผลการดาเนินงานได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและมีประสิทธิผล

๑.๒ การสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีด้วยระบบดิจิทัล โดยจัดหาและพัฒนาเครอ่ื งมือทชี่ ว่ ย
สนับสนุนในการสร้างเน้ือหาดิจิทัลในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ ข้อมูลภาพ ข้อมูลเสียง ข้อมูลวีดีโอ ข้อมูลงานคดี
ในระบบดิจทิ ลั ท้ังรปู แบบฐานข้อมลู และไฟลค์ าพิพากษา คาส่งั เป็นต้น รวมทั้งแปลงเอกสารกระดาษให้เปน็ ข้อมูล
ดิจิทัลด้วยเทคโนโลยีแปลงภาพให้เป็นข้อความ หรือ OCR และเทคโนโลยีแปลงเสียงเป็นข้อความ หรือเทคโนโลยี
Speech-to-Text

๑.๓ ส่งเสริมการจัดทาข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่นามาใช้ประโยชน์และเพ่ิมมูลค่าให้กับองค์กร
การพัฒนาจัดเก็บข้อมูล กระบวนการสร้างและจัดการข้อมูลให้เกิดอย่างเป็นระบบ การเพิ่มความรู้ เพื่อการพัฒนา
องค์กรด้วยการใช้ข้อมูล และใช้ความรู้อย่างชาญฉลาดด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถนาไปใช้สาหรับ
การวิเคราะห์ขอ้ มลู สนบั สนนุ การบริหารและการตัดสนิ ใจของผู้บรหิ ารได้

๑.๔ จัดโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัลให้มีความพร้อม ได้แก่ สิ่งสนับสนุนทางดิจิทัล เช่น
เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ แมข่ ่าย อปุ กรณเ์ ครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง เปน็ ตน้ รวมท้ัง ระบบ
ความม่ันคงปลอดภัยในระดับต่าง ๆ ต้ังแต่ระดับเครือข่าย ระบบข้อมูล ระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์จนถึง
ความปลอดภยั การใช้งานแอปพลเิ คชนั อีกทง้ั มาตรฐานทางด้านดจิ ิทัลท่ีครอบคลุมทุกด้าน

๑.๕ สร้างทีมการทางาน (Team workforce) และพัฒนาผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Change
agents) เพื่อสร้างกลไกการทางานเชิงรุกด้วยการสร้างทีมงานแบบข้ามสายงาน สร้างผู้นาการเปลี่ยนแปลง
และสร้างการมีส่วนร่วมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงฝ่ายบริหารเพื่อเป็นผู้นาในการปรับเปลี่ยนศาลปกครอง
และสานกั งานศาลปกครองไปเป็นองค์กรดิจิทลั

๑.๖ การปรับเปล่ียนแนวคิดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สนับสนุนการปฏิบัติงานโดย
จาเป็นต้องมีการทางานข้ามรุ่น ข้ามวัฒนธรรม ข้ามสายงาน และข้ามองค์กร การเรียนรู้ตลอดชีวิต การแบ่งปัน
ความรู้ และความกล้าคิด กล้าทา กล้าลองผิดลองถูก ไม่กลัวความล้มเหลว ประเพณีท่ีควรสร้างขึ้นในองค์กร
แห่งอนาคต เช่น การจัดให้มีกลไกและช่องทางแบ่งปันความรู้โดยเฉพาะความรู้ท่ีฝังในตัวคน (Tacit knowledge)
การจัดให้มีเวทีให้บุคลากรเสนอแนะแนวคิดและข้อเสนอแนะเชิงนวัตกรรม การสร้างรางวัลเพื่อจูงใจให้คนมี
ความคดิ สร้างสรรค์

๒. แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครองประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๔ การขับเคลื่อน
การพัฒนาศาลปกครองโดยใช้ประโยชน์จากข้อมูลดิจิทัล (Data - Driven organization) ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
เป็นท่ียอมรับของทุกภาคส่วนและในระดับสากลภายใต้สถาการณ์ชีวิตวิถีใหม่ตามนโยบายประธานศาลปกครอง
สูงสุด โดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัยมาใช้ในการยกระดับการให้บริการประชาชนให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลที่
สะดวก รวดเร็ว และทันสมัย การพัฒนาระบบดิจิทัลสนบั สนุนการพิจารณาพิพากษาคดี การบริหารจัดการคดีของ
ศาลปกครอง รวมทั้งการดาเนินการของสานักงานศาลปกครองให้มีขีดความสามารถและขับเคล่ือนองค์กรด้วย
การใช้ข้อมูล รวมทั้งสนับสนุนการตัดสินใจผ่านระบบดิจิทัลเพิ่มมากขึ้น โดยมุ่งเน้นเตรียมความพร้อมด้านข้อมูล
และนาเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัยมาใช้สนับสนุนการดาเนินงาน เช่น Artificial Intelligence, Speech-to-Text
และ Big Data analytics โดยมแี นวทางการดาเนินงาน ดงั น้ี

๙๑ | P a g e

๒.๑ เพิ่มขีดความสามารถด้วยการพัฒนาระบบข้อมูลเพ่ือนามาใช้ประโยชน์ในศาลปกครอง
พัฒนาระบบข้อมูลขนาดใหญ่ท่ีมีมาตรฐานเพื่อการวิเคราะห์ (Big Data analysis) เพ่ือการสนับสนุนการบริหาร
และการตัดสินสาหรบั ผ้บู ริหารศาลปกครอง ผู้บริหารสานักงานศาลปกครอง รวมท้ังการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ
ในการใช้ประโยชน์จากการวิเคราะห์ข้อมูลให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด โดยสามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือใช้ในการอธิบาย
ปญั หาและปรากฏการณ์ (Descriptive analytics) เพ่อื ใช้ในการคาดการณ์หรือทานายส่ิงท่จี ะเกิดข้ึน (Predictive
analytics) เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถการวางแผน ให้สามารถรับมือกับส่ิงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต (Prescriptive
analytics) ของศาลปกครองได้เปน็ ประโยชน์เพ่มิ มากข้ึน

๒.๒ เพิ่มประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานทางดิจทิ ัลท่ีได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ ได้แก่ ส่ิงสนับสนนุ
คอมพิวเตอร์ เคร่ืองคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วง เป็นต้น รวมทั้งระบบ
ความมั่นคงปลอดภัยในระดับต่าง ๆ ต้ังแต่ระดับเครือข่ายจนถึงระดับแอปพลิเคชัน รวมทั้งความปลอดภัยของ
เอกสารในสานวนคดีอิเล็กทรอนิกส์ อีกทั้งมาตรฐานเทคโนโลยีดิจิทัลในด้านต่าง ๆ ได้แก่ มาตรฐานการพัฒนาระบบ
ดิจิทัล การสร้างมาตรฐานข้อมูลด้วยกรอบธรรมาภบิ าลข้อมูล (Data Governance) มาตรฐานการให้บริการระบบ
ดจิ ิทลั เปน็ ต้น

๒.๓ พัฒนาผู้นาการเปลี่ยนแปลงและบรรยากาศการทางานเป็นทีม สาหรับการปรับเปลี่ยนแนวคิด
การปรับเปลีย่ นวิธีการปฏบิ ตั งิ าน เพอ่ื นาการเปล่ยี นแปลงและก้าวเข้าสู่การพัฒนาศาลปกครองไปเปน็ ศาลปกครอง
อัจฉริยะ (Smart Admincourt) ได้อยา่ งเป็นรูปธรรม

๓. ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลศาลปกครองประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๕ เพ่ิมประสิทธิภาพระบบ
ดิจิทัลเร่ิมต้นก้าวสู่ศาลปกครองอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย (Initial step towards Smart Admincourt)
โดยศาลปกครองมีระบบดิจิทัลเพื่อการบริการที่มีคุณภาพด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้ประชาชน คู่กรณี หน่วยงาน
ภาครัฐ นักกฎหมาย และผู้สนใจสามารถเข้าถึงศาลปกครอง ข้อมูลคดีปกครอง และข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อ
การฟ้องคดีด้วยบริการทสี่ ามารถโตต้ อบผ้รู ับบริการได้อย่างอัตโนมัติ เพ่อื อานวยความสะดวกให้กับประชาชน คู่กรณี
หน่วยงานภาครัฐ นอกจากน้ี พัฒนาระบบดิจิทัลสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดี การบริหารจัดการคดี และ
การบริหารจัดการองค์กรให้มีความฉลาดด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) นอกจากนี้ มีการใช้ประโยชน์จาก
ข้อมูลเพ่ือใช้สนับสนุนการตัดสินใจสาหรับการบริหารจัดการคดีของผู้บริหารศาลปกครอง การพัฒนาศาลปกครอง
อัจฉริยะ (Smart Admincourt) เพ่ือสร้างความโปร่งใส รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดาเนินงาน
ให้กับศาลปกครองได้อย่างเป็นรูปธรรมและย่ังยืน โดยริเริ่มขับเคลื่อนศาลปกครองให้พร้อมก้าวสู่ศาลปกครอง
อจั ฉรยิ ะ (Initial Smart Admincourt) ดงั นี้

๓.๑ Smart services หรือ ระบบบริการอัจฉริยะ ยกระดับระบบบริการดิจิทัลและระบบดิจิทัล
สานักงานศาลปกครองด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ด้วยการพัฒนาระบบริการที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีทันสมัย เช่น
Chat bot, Artificial Intelligence และ Machine Learning เป็นต้น มาช่วยสนับสนุนการให้บริการประชาชน
สามารถเข้าถงึ ศาลปกครองไดท้ ุกที่ ทกุ เวลา ผา่ นช่องทางทีห่ ลากหลายได้ตลอด ๒๔ ชว่ั โมง

๓.๒ Smart court หรือ ระบบศาลอัจฉริยะ เพิ่มขีดความสามารถระบบงานคดีปกครองเป็นระบบ
อัจฉริยะ โดยปรับปรุงระบบการสืบค้นสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาให้มีประสิทธิภาพเพ่ิมมากขึ้น ช่วยใน
การจัดการปริมาณงานคดี บริหารจัดการระยะเวลาของคดีท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ ลดโอกาสการเกิดคดีท่ีใช้
เวลานานเกินในศาลปกครอง ให้รวดเร็วมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น โดยการนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาช่วยสนับสนุน
ดาเนินงาน ได้แก่ Artificial Intelligence, Machine learning, Speed-to-Text และ OCR เปน็ ตน้

๙๒ | P a g e

๓.๓ Smart office หรือ ระบบสานักงานอัจฉริยะ สานักงานศาลปกครองมีภารกิจสนับสนุน
การดาเนินงานของศาลปกครองท้ังปฏิบัติงานหน้าท่ีงานธุรการศาล การสนับสนุนงานวิชาการศาลปกครอง
และสนับสนุนงานสานักงานศาลปกครอง ซึ่งประกอบด้วยภารกิจด้านการวางแผนและงบประมาณ ด้านการเงิน
และการบริหารงบประมาณ งานบริหารงานบุคลากร งานธุรการสานักงาน งานบริหารทรัพย์สินและอาคารสถานที่
ซ่ึงระบบดิจิทัลท่ีมีสนับสนุนการใช้งานในปัจจุบัน ยังจาเป็นต้องพัฒนายกระดับระบบดิจิทัล และนาเทคโนโลยี
ที่ทันสมัยมาช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการสนับสนุนการดาเนินงานของสานักงานศาลปกครองให้มีประสิทธภิ าพ
เพ่ิมขึ้น โดยเฉพาะยกระดับระบบข้อมูลดิจิทัลสนับสนุนการบริหารด้านต่าง ๆ รวมท้ังสนับสนุนการตัดสินใจ
ของผู้บรหิ ารให้มคี วามครบถว้ นสมบูรณ์ สามารถนาไปใช้ประโยชน์สาหรบั การวางแผน การพฒั นางานศาลปกครอง
การจดั สรรงบประมาณ การบริหารแผนและงบประมาณ รวมทั้งการตดิ ตามผลการดาเนินงานของศาลปกครองและ
สานักงานศาลปกครองใหไ้ ด้ตามเปา้ หมายที่กาหนด

๓.๔ Smart people หรือ บุคลากรศาลปกครองที่ปฏิบัติงานอย่างชาญฉลาด มีความคิดสร้างสรรค์
และมีความเป็นผู้นาท่ีมุ่งพัฒนาองค์ความรู้ ทักษะ และวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้สนับสนุน
การบริการและการดาเนินงานของศาลปกครอง สนับสนุนบุคลากรให้มีความคิดสร้างสรรค์ นานวัตกรรมใหม่ ๆ
มาใช้ และการสร้างการมีส่วนร่วมด้วยการทางานแบบข้ามสายงานของบุคลากรทุกฝ่ายเพื่อมุ่งพัฒนาศาลปกครอง
ไปสู่ศาลปกครองอจั ฉรยิ ะ (Smart Admincourt)

๓.๕ Digital Governace หรือ การสร้างแนวปฏิบัติที่ดีทางด้านดิจิทัลหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใช้ในการดาเนินงานของการดาเนินงานของศาล ปัจจัยสาคัญ คือ ความมั่นคง
ปลอดภัย ความโปร่งใสในการใช้งานระบบ ซึ่งสิ่งสาคัญที่ต้องคานึงถึง คือ โครงสร้างพื้นฐานที่มีความปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีที่เป็นไปตามมาตรฐานสากล และสร้างความน่าเช่ือถือและการยอมรับจากผู้ใช้งานระบบและ
ผู้เก่ียวข้อง ซ่ึงมีแนวปฏิบัติท่ีดีในด้านต่าง ๆ ได้แก่ มาตรฐานการพัฒนาระบบดิจิทัลเพ่ือสร้างความมั่นใจในการใช้
ระบบ การจัดทามาตรฐานข้อมูลด้วยธรรมาภิบาลข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ (Digital Governance) มาตรฐาน
ดา้ นความม่ันคงปลอดภัยของระบบดิจิทลั และเอกสารอเิ ล็กทรอนิกส์

๓.๖ Smart technology หรือ เทคโนโลยีที่ทันสมัย ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญท่ีช่วยขับเคลื่อนการพัฒนา
ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) ตามแนวทางสาคัญทั้ง ๕ ด้าน ได้แก่ การใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
AI ท่ีช่วยในเร่ืองการให้คาแนะนาและการฟ้องคดีอัจฉริยะ ซ่ึงเป็นคาแนะนาที่เป็นประโยชน์ต่อการฟ้องคดีแก่
ผู้รับบริการ การแปลงข้อมูลกระดาษให้อยู่ในรูปของข้อมูลดิจิทัล เช่น เทคโนโลยีแปลงข้อมูลเสียงเป็นข้อความ
อตั โนมตั ิ (Speech-to-Text) การแปลงข้อมูลภาพเป็นข้อความอัตโนมตั ิ (OCR) ท่ชี ว่ ยลดระยะเวลาการปฏบิ ัติงาน
ของศาล นอกจากน้ี การนาเทคโนโลยีปัญญาประดษิ ฐ์ AI การเรียนรอู้ ัตโนมัติ Machine Learning และเทคโนโลยี
Big Data มาช่วยสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาและบริหารจัดการคดี โดยมีการสร้างความมั่นคงปลอดภัยใน
การใช้ระบบดิจิทัลด้วยการยืนยันตัวบุคคลด้วย Digital ID หรือ Biomatric identity การสร้างลายมือชื่อดิจิทัล
(Digital signature) ทีน่ า่ เช่อื ถอื ดว้ ยเทคโนโลยีโครงสรา้ งพืน้ ฐาน PKI

๙๓ | P a g e

ตวั ชี้วัดความสาเรจ็ ขับเคลอื่ นกา้ วเขา้ สูศ่ าลปกครองอัจฉรยิ ะ (Smart Admincourt)
ตามแผนพัฒนาดจิ ิทลั ของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

คุณภาพการใหบ้ รกิ าร - รอ้ ยละความพงึ พอใจและความเช่ือมัน่ การใช้ระบบดิจิทัล
ของผูร้ ับบรกิ ารภายนอกร้อยละ ๖๕ - ๗๕

- ร้อยละความพึงพอใจและความเช่อื มน่ั การใชร้ ะบบดจิ ทิ ัล
ผูร้ ับบรกิ ารภายในร้อยละ ๖๕ - ๗๕

ประสทิ ธิผลการดาเนนิ งาน - รอ้ ยละผลสาเรจ็ ของงานที่บุคลากรศาลปกครองใช้ระบบเทคโนโลยี
ดิจทิ ัลสนับนุนการปฏิบัติงาน รอ้ ยละ ๗๐

- ร้อยละความสาเรจ็ การดาเนนิ งานโครงการตามแผนพฒั นาดิจิทลั ของ
ศาลปกครองฯ

ประสทิ ธภิ าพการดาเนนิ งาน - จานวนระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลท่พี ฒั นาแลว้ เสรจ็

- อัตราสว่ นท่ีเพิ่มขนึ้ ของจานวนข้ันตอนในการอานวยความยุติธรรม
ที่ใช้เทคโนโลยเี พือ่ ความโปร่งใส ความสะดวก รวดเร็ว

- รอ้ ยละของบุคลากรที่ใช้ประโยชน์จากระบบดิจิทัลมากกวา่ รอ้ ยละ ๘๐

- มฐี านขอ้ มลู ขนาดใหญ่ (Big Data) ท่ีเกีย่ วกบั ความร้ดู า้ นคดปี กครอง
คาพิพากษา/คาสั่งและแนวปฏบิ ัติราชการทดี่ ี

การพัฒนาบุคลากร - ร้อยละจานวนบุคลากรในแต่ละระดับมที ักษะทางด้านดจิ ิทัลเพ่ิมข้นึ
ร้อยละ ๕๐

๙๔ | P a g e

งบประมาณ/โครงการสาคญั ขบั เคลอ่ื นแผนพัฒนาดจิ ทิ ัลของศาลปกครอง (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕)

สรุปจำนวนโครงกำร และงบประมำณตำมแผนพัฒนำดิจทิ ัลศำลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕

ยุทธศาสตร์ จานวน ปี/วงเงินงบประมาณ (บาท) รวมเงนิ
โครงการ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ (บาท)

ยุทธศาสตร์ท่ี ๑

ยกระดับเทคโนโลยีดจิ ิทลั ๔ ๓๓,๒๑๒,๘๐๐ ๔๔,๘๗๕,๘๐๐ ๓๖,๗๒๕,๐๐๐ ๑๑๔,๘๑๓,๖๐๐

และนวัตกรรมให้พร้อม

สาหรับการพฒั นา

ศาลปกครองอจั ฉรยิ ะ

- Smart service

- Smart court

- Smart Office

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ ๓ - ๑,๑๘๔,๐๐๐ ๖๑๕,๐๐๐ ๑,๘๐๐,๐๐๐

ปรับเปล่ียนศาลปกครอง
ให้เป็นองค์กรท่ีขับเคลื่อน
ดว้ ยขอ้ มูลดิจิทลั (Data-
driven organization)

- Data Transform

- Data for Excellence

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ ๒ ๓๔,๐๗๐,๐๐๐ ๓๗,๑๗๗,๐๐ ๘๐,๗๑๔,๘๐๐ ๑๕๑,๙๖๑,๘๐๐

เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
โครงสรางพ้ืนฐานทาง
ดจิ ทิ ัลให้มีมาตรฐานและ
ความม่ันคงปลอดภัย
- ระบบความปลอดภัย
ทางดจิ ิทัล
- ระบบคลาวด์
- ระบบประชุมทางไกล
ผา่ นจอภาพ
- ระบบเคร่อื งแม่ข่าย
สาหรบั การบริการ
- เครือ่ งคอมพวิ เตอร์
ตงั้ โตะ๊ คอมพิวเตอร์
โน๊ตบุค๊ และอปุ กรณ์
ตอ่ พว่ ง

๙๕ | P a g e

ยทุ ธศาสตร์ จานวน ป/ี วงเงนิ งบประมาณ (บาท) รวมเงนิ
โครงการ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ (บาท)

ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ ๔ ๑,๗๙๙,๘๒๐ ๒,๙๒๕,๘๐๐ ๗๘๕,๖๐๐ ๕,๕๑๑,๒๒๐

การพฒั นาทักษะดิจทิ ลั
บคุ ลากรศาลปกครองท่ี
ชาญฉลาด (Smart
people) ใหพ้ ร้อม
กา้ วเขา้ สศู่ าลปกครอง
อจั ฉริยะ
- พัฒนาผูน้ าเพ่ือสรา้ ง
การเปลย่ี นแปลง
- ตลุ าการศาลปกครอง
ผูเ้ ข้ารับการอบรม
- บคุ ลากรสานักงาน
ศาลปกครองท่ีเขา้ รับ
การอบรม

วงเงินงบประมาณตามแผนพัฒนาดิจทิ ลั ของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

๑. สรุปวงเงินงบประมาณตามยุทธศาสตร์ภายใต้แผนพัฒนาดิจิทัลศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕
ประกอบด้วยโครงการ จานวน ๑๓ โครงการ วงเงินงบประมาณ ๒๗๔,๐๘๕,๖๒๐ บาท โดยมีวงเงินในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๓ ในวงเงิน ๖๙,๐๘๒,๖๒๐บาท คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๒๐ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ในวงเงิน
๘๖,๑๖๒,๖๐๐ บาท ร้อยละ ๓๑.๔๔ และปีงบปรมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ในวงเงิน ๑๑๘,๘๔๐,๔๐๐ บาท คิดเป็น
ร้อยละ ๔๓.๓๖ ซ่ึงรวมวงเงินสนับสนุนการพัฒนาเพ่ิมข้ึนทุกปีตามลาดับ เพ่ือพัฒนาศาลปกครองเข้าสู่การเป็น
ศาลปกครองอจั ฉรยิ ะ (Smart Admincourt) ตามแผนภาพด้านล่าง (รายละเอยี ดข้อมูลงบประมาณตามภาคผนวก)

ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕

๖๙,๐๘๒,๖๒๐,
๒๕.๒๐%

๑๑๘,๘๔๐,๔๐๐,
๔๓.๓๖%

๘๖,๑๖๒,๖๐๐,
๓๑.๔๔%

๙๖ | P a g e

๒. สรุปวงเงินงบประมาณตามยุทธศาสตร์ภายใต้แผนพัฒนาดิจิทัลศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕
ประกอบด้วยโครงการ จานวน ๑๓ โครงการ วงเงินงบประมาณ ๒๗๔,๐๘๕,๖๒๐ บาท โดยมีวงเงินงบประมาณ
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาศาลปกครองเข้าสู่การเป็นศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) โดยการพัฒนา
ดิจิทัลให้ความสาคัญในการจัดเตรียมโครงสร้างพ้ืนฐานเทคโนโลยีดิจิทัลมากท่ีสุด ในวงเงิน ๑๕๑,๙๖๑,๘๐๐ บาท
คิดเป็นร้อยละ ๕๕.๔๔ ซ่ึงเป็นการลงทุนและพัฒนาทางด้านโครงสร้างพ้ืนฐานทางด้านดจิ ิทัลซึ่งเป็นการลงทุนและ
พฒั นาทางด้าน Hardware มแี ผนการพฒั นาระบบดจิ ิทลั สนบั สนุนการบริการประชาชน การพจิ ารณาพิพากษาคดี
ของศาลปกครอง และการบริหารจัดการองค์กรของสานักงานศาลปกครอง ซึ่งเป็นการลงทุนและพัฒนาทาง
ด้าน Software ในวงเงิน ๑๑๔,๘๑๓,๖๐๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๔๑.๘๙ การพัฒนาความรู้และทักษะทางดิจิทัล
ให้แก่ตุลาการศาลปกครองและบุคลากรสานักงานศาลปกครอง ซึ่งเปน็ การลงทนุ และพัฒนาทางด้าน Peopleware
ในวงเงิน ๕,๕๑๑,๒๒๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๒.๐๑ รวมท้ังการแปลงข้อมูลกระดาษเป็นข้อมูลดิจิทัลและการใช้
ประโยชน์จากข้อมูล เพ่ือเตรียมความพร้อมการพัฒนาไปสู่ศาลปกครองอัจฉริยะตามลาดับ ตามแผนภาพด้านล่าง
(รายละเอยี ดข้อมลู งบประมาณตามภาคผนวก ก)

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ ๕,๕๑๑,๒๒๐
๒.๐๑%

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ ยุทธศาสตร์ที่ ๑
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ ๑๑๔,๘๑๓,๖๐๐
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ ๔๑.๘๙%

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓

๑๕๑,๙๖๑,๘๐๐
๕๕.๔๔%

๑,๘๐๐,๐๐๐
๐.๖๖%

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๒

๙๗ | P a g e


Click to View FlipBook Version