The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Orawan B., 2021-02-22 04:41:54

Digital plan -update-complete-flip

Digital plan -update-complete-flip

แผนพฒั นาดิจทิ ัลของศาลปกครอง
พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

จดั ทาโดย

สานักวิทยาการสารสนเทศ สานกั งานศาลปกครอง

กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔

สารบัญ

บทสรุปผู้บริหาร ................................................................................................................................................ ๒
ความสาคัญของแผนพฒั นาดจิ ทิ ัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ...................................................๑๕
แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาดิจทิ ัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ................................................๑๖
ทศิ ทางการพฒั นาเทคโนโลยีดจิ ิทัลประเทศไทย ................................................................................................๑๗

นโยบายของรัฐบาลท่ีเกี่ยวข้องกบั การพัฒนาเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ประเทศไทย ....................................................๑๗
การพฒั นาเทคโนโลยีดจิ ิทลั ของหน่วยงานในกระบวนการยุตธิ รรมประเทศไทย..............................................๒๒
ทศิ ทางการพัฒนาเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ของศาลในต่างประเทศ ..............................................................................๒๕
ทิศทางการนาเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใช้ในศาล State Courts แหง่ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ......................................๒๕
ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ของศาลประชาชนแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ......................................๒๖
ทศิ ทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจทิ ลั ของศาลยตุ ิธรรมแหง่ สาธารณรัฐเกาหลี....................................................๒๙
แนวโน้มเทคโนโลยีดิจิทัลในอนาคต ............................................................................................................๓๐
การมุ่งเน้นประชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง (People-centric ) ................................................................................๓๐
ระบบท่มี สี ภาพแวดล้อมที่เอ้ือใหม้ นุษย์ อุปกรณ์ และระบบทางานเชื่อมตอ่ กัน (Smart spaces) ..................๓๑
ความคาดหวังและทิศทางการพฒั นาของศาลปกครอง.....................................................................................๓๔
ความคาดหวงั และทิศทางการพฒั นาของศาลปกครอง ...................................................................................๓๔
ทิศทางการพฒั นาตามแผนแม่บทศาลปกครองระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐........................................๓๙
กรอบแนวทางการจดั ทาแผนพฒั นาดจิ ิทลั ของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ .......................................๔๓
สถาณการณท์ ่เี ปน็ โอกาส ความทา้ ทาย และสถานภาพดา้ นเทคโนโลยดี ิจิทลั ของศาลปกครอง ......................๔๕
โอกาสจากทิศทางนโยบายประเทศไทยและแนวโน้มการพัฒนาศาลในต่างประเทศ .......................................๔๕
ความท้าทายในการพฒั นาเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครอง .........................................................................๔๖
ผลการพัฒนาเทคโนโลยดี จิ ิทัลของศาลปกครองปจั จุบัน.................................................................................๕๑
กฎหมาย ระเบียบ ประกาศรองรบั การพจิ ารณาพิพากษาคดีปกครองทางอิเลก็ ทรอนกิ ส.์ .............................. ๖๓
การวิเคราะห์กาหนดทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยดี ิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕...................๖๗
แผนพฒั นาดจิ ทิ ัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ...............................................................................๖๙
วสิ ัยทัศน์ เป้าหมาย พนั ธกจิ ...........................................................................................................................๖๙
แนวทางสาคัญขับเคลื่อนความพรอ้ มก้าวสู่ศาลปกครองอจั ฉรยิ ะ (Smart Admincourt) .............................๗๐
กรอบระยะเวลาการพฒั นาดิจทิ ัลของศาลปกครอง ........................................................................................ ๗๒
ยทุ ธศาสตร์ ....................................................................................................................................................๘๑
ความเชอื่ มโยงการนาแผนไปสกู่ ารปฏิบัติ .......................................................................................................๘๙
ตวั ชีว้ ัดความสาเร็จขับเคลือ่ นก้าวเขา้ สศู่ าลปกครองอจั ฉริยะ (Smart Admincourt) ....................................๙๔
สรปุ งบประมาณละโครงการสาคัญ ...............................................................................................................๙๕
กลไกการขบั เคลือ่ นแผนพฒั นาดจิ ิทัลของศาลปกครอง (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) ........................................๑๐๔

สารจากประธานศาลปกครองสูงสดุ

ภายใต้แผนแม่บทศาลปกครองระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ศาลปกครองได้ให้ความสาคัญต่อ
การมุ่งอานวยความยุติธรรมทางปกครองให้มีความรวดเร็ว และทนั สมยั รวมทัง้ เพ่อื เสริมสร้างธรรมาภิบาลในสังคม
โดยได้กาหนดทิศทางและเป้าหมายเพื่อให้ศาลปกครองก้าวไปเป็นศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt)
และศาลแห่งความเป็นเลิศ (Court Excellence) รวมท้ังพัฒนากระบวนพิจารณาพิพากษาคดีและบริการที่ดีให้แก่
ประชาชนและทุกภาคสว่ นในสังคม

ในการก้าวไปสู่ศาลปกครองอัจฉริยะและศาลแห่งความเป็นเลิศ เทคโนโลยีดิจิทัลมีบทบาทสาคัญท่ีช่วย
เพ่ิมคุณภาพและประสิทธิภาพกระบวนพิจารณาพิพากษาคดีของศาลปกครอง อีกทั้งช่วยยกระดับการให้บริการ
และเสริมสร้างโอกาสในการเข้าถึงการอานวยความยุติธรรมของประชาชน ศาลปกครองจึงได้กาหนดให้มีแผนพัฒนา
ดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ อันประกอบด้วย แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของ
ศาลปกครองในระยะสั้นที่มุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรมใน ๔ มิติ ได้แก่ การพิจารณาพิพากษาคดีด้วยระบบ
ศาลอัจฉริยะ (Smart court) การบริการประชาชนด้วยระบบบริการอัจฉริยะ (Smart services) การบริหารองค์กร
ด้วยระบบสานักงานอัจฉริยะ (Smart office) และพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลบุคลากรศาลปกครองที่ปฏิบัติงาน
อย่างชาญฉลาด (Smart people) ให้พร้อมมีความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยีระดับสูงที่ทันสมัยมาช่วย
สนบั สนนุ การพฒั นาดังกลา่ ว

ในโอกาสนี้ ผมหวังเป็นอย่างย่ิงที่จะได้รับความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจจากผู้บริหารศาลปกครองและ
ตุลาการศาลปกครอง รวมถึงผู้บริหารสานักงานศาลปกครอง และบุคลากรของสานักงานศาลปกครองทุกท่าน
เพื่อร่วมกันพัฒนาและขับเคลื่อนการอานวยความยุติธรรมทางปกครองให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมท้ัง
ส่งมอบบริการที่มีคุณภาพให้กับประชาชนและคู่กรณี โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีมีความทันสมัยและความม่ันคง
ปลอดภัย ตามทิศทางและเป้าหมายการพัฒนาของแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ภายใต้
แผนแมบ่ ทศาลปกครองฯ ไดเ้ ปน็ อย่างดี

(นายปยิ ะ ปะตงั ทา)
ประธานศาลปกครองสูงสุด

บทสรปุ ผบู้ รหิ าร

ความสาคญั ในการจัดทาแผนพัฒนาดจิ ทิ ัลศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

๑. ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จากการสารวจความคาดหวังของผู้เก่ียวข้องทั้งภายในและ
ภายนอกของสานักงานศาลปกครองในกระบวนการจัดทาแผนแมบ่ ทศาลปกครองระยะ ๒๐ ปี พบวา่ ความคาดหวัง
ของผมู้ สี ว่ นไดเ้ สียของศาลปกครองทจี่ าเปน็ ต้องนาเทคโนโลยีดิจทิ ัลมาช่วยสนบั สนุนมปี ระเดน็ สาคัญ ดังน้ี

(๑) ด้านการพิจารณาพิพากษาและบริหารจัดการคดี คาดหวังให้ศาลปกครองพิจารณาพิพากษา
คดีได้รวดเร็ว ถูกต้อง และเป็นธรรม ทันการเยียวยาความเดือดร้อนของคู่กรณี โดยการจัดการคดีคงค้างให้เสร็จ
อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการบังคับคดีให้เกิดผลทางกฎหมายโดยเร็ว นอกจากน้ี คาดหวังให้ศาลปกครองจัดทา
คาพิพากษา/คาสงั่ ของศาลปกครองให้มีคุณภาพและมาตรฐาน เปน็ ทีย่ อมรบั ของคู่กรณแี ละผูเ้ กยี่ วข้อง

(๒) ด้านการพัฒนาศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) คาดหวังให้ศาลปกครองสามารถ
พัฒนาเปน็ ศาลปกครองอจั ฉริยะ (Smart court) ไดอ้ ย่างเตม็ รปู แบบ มีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล นาเทคโนโลยี
ที่ทันสมัย เช่น เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence (AI)) ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) มาช่วย
ลดภาระงานของตุลาการ พัฒนาการรับฟ้องคดีให้มีความสะดวก พิจารณาคดีให้มีความรวดเร็ว และประหยัดเวลา
มากยง่ิ ขนึ้ รวมทัง้ มีการดาเนินกระบวนพจิ ารณาท่ีทนั สมัย

(๓) ด้านการพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรสู่ความเป็นเลิศ คาดหวังให้มีการยกระดับ
คุณภาพการให้บริการประชาชน และการเพิ่มประสิทธิภาพเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารองค์กร (e-Office)
รวมท้ังพฒั นาและเพิ่มทักษะทางด้านดิจิทัลให้กับบุคลากรของศาลปกครอง

๒. แผนแม่บทศาลปกครองระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ตามแผนแม่บทศาลปกครอง
ได้กาหนดทิศทางและเป้าหมายสาคัญในการพัฒนาศาลปกครองด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย โดยกาหนด
ความสาเร็จในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ เพ่ือการพัฒนาศาลปกครองไปสู่ศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt) และ
พัฒนาไปสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) ในปี พ.ศ. ๒๕๗๕ ซ่ึงการจะพัฒนาศาลปกครองให้
บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายท่ีกาหนด จาเป็นต้องมีทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือใช้เป็นกรอบ
การดาเนินงานที่เป็นรูปธรรม ดังนั้น แผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ได้พิจารณา
เป้าหมายของแผนแม่บทของศาลปกครองในการพัฒนาไปเป็นศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt)
ซ่ึงโอกาสสาคัญ คือ การนาเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีทันสมัยมาสนับสนุนการดาเนินงานของศาลปกครองให้ได้ตาม
เป้าหมายแผนแม่บทของศาลปกครอง โดยได้ริเริ่มนาเทคโนโลยที ่ีทันสมัย ได้แก่ ปัญญาประดิษฐ์ ข้อมูลขนาดใหญ่
(Big data) ระบบคลาวด์คอมพิวต้ิง (Cloud computing) เทคโนโลยีความปลอดภัยดิจิทัลท่ีหลากหลายรูปแบบมาใช้
เพอื่ ขับเคลอ่ื นศาลปกครองให้เริม่ พัฒนากา้ วเข้าสู่การเปน็ ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) ในอนาคต

๓. นโยบายและทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลประเทศไทย รัฐบาลได้กาหนดแนวทางการปฏิรูป
ระบบราชการใหม่ตามโมเดล Government ๔.๐ เพ่ือมุ่งสู่ Thailand ๔.๐ หรือ Digital Thailand โดยได้กาหนด
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี เพื่อให้ภาครัฐปรับตัวให้เข้ากับเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัล (Digital society) นอกจากน้ี
ยังยกระดับประสิทธิภาพการทางานของรัฐบาลเข้าสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล (Digital government) ท่ีมีการทางาน
แบบอัจฉริยะให้บริการโดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง (People centric) โดยมียุทธศาสตร์สาคัญ ๕ ด้าน ประกอบด้วย
การปฏิรูปการบริหารจัดการของภาครัฐ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเทคโนโลยีดิจิทัล การสร้างความเชื่อม่ัน
ในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การพัฒนากฎหมายและมาตรฐานทางดิจิทัล รวมทั้งการพัฒนากาลังคนให้พร้อมเข้าสู่
ยคุ เศรษฐกิจและสังคมดจิ ทิ ัล

๒|Page

๔. แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมประเทศไทยและ
ศาลในต่างประเทศ ได้รวบรวมข้อมูลของกระทรวงยุติธรรม ศาลยุติธรรม และศาลในต่างประเทศ ได้แก่
สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐเกาหลี และสาธารณรัฐสิงคโปร์ ซึ่งพบว่าหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม
ของประเทศไทย ได้แก่ กระทรวงยุติธรรมและศาลยตุ ิธรรมจะมุ่งเน้นการพัฒนาระบบงานสารสนเทศเพื่อยกระดับ
การอานวยความยุติธรรม การบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูลเพ่ือนามาใช้ประโยชน์ร่วมกัน พัฒนาศักยภาพ
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากร รวมทั้งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสาร
และพัฒนานวัตกรรมดิจิทัลเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการอานวยความยุติธรรม โดยในศาลของประเทศผู้นา
มีทิศทางการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนงานศาลในเรื่องที่สาคัญ คือ การให้บริการประชาชนเพ่ือการอานวย
ความสะดวก เพม่ิ ชอ่ งทางการเขา้ ถึงศาล การช่วยเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ และอานวยความสะดวกการพิจารณาพิพากษา
คดีของศาลโดยนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ได้แก่ AI, Big data, Blockchain, Data analytics และ Data science
มาช่วยสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรศาลได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งมีการจัดสภาพแวดล้อมภายในอาคาร
ของศาลในต่างประเทศให้พร้อมบริการประชาชน คกู่ รณี และนกั กฎหมายทต่ี ้องการเขา้ ถึงข้อมูลคดีได้อย่างสะดวก
และเพิ่มขีดความสามารถการปฏบิ ตั งิ าน และการพฒั นาความรู้ ทักษะทางดจิ ทิ ัลของบคุ ลากรของศาล

๕. แนวโน้มเทคโนโลยีที่มีการนามาใช้ในศาลต่างประเทศ เทคโนโลยีท่ีมุ่งเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง
หรือ People-centric และการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อให้บุคลากร อุปกรณ์ และระบบสามารถทางานเช่ือมต่อ
กันได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรือ Smart Spaces รวมท้ังเทคโนโลยีสมัยใหม่ท่ีถูกนามาใชป้ ระโยชนอ์ ย่างกวา้ งขวาง
ในทุกภาคส่วน ได้แก่ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ การวิเคราะห์และใช้ประโยชน์ข้อมูล
Data analytics และ Data science เป็นต้น ซ่ึงได้ถูกนามาใช้สนับสนุนงานอย่างเป็นรูปธรรมในการดาเนินการ
ของศาลในตา่ งประเทศท้งั ของสาธารณรฐั ประชาชนจีน สาธารณรฐั เกาหลี และสาธารณรฐั สงิ คโปร์

องค์ประกอบของแผนพัฒนาดจิ ทิ ลั ของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

วิสัยทัศน์ “ยกระดับเทคโนโลยีดิจิทัลให้พร้อมก้าวสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) เพื่อบริการ
ที่รวดเร็ว ทันสมยั โปร่งใสและเป็นธรรม”

แนวทางสาคญั ในการขบั เคลือ่ นเพอ่ื ก้าวสูศ่ าลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt)
ระบบบริการอัจฉริยะ (Smart services) ปรับเปล่ียนเพิ่มช่องทางบริการของศาลปกครองด้วยระบบดิจิทัล

เพื่อการบริการท่ีช่วยให้ทุกภาคส่วนในสังคมเข้าถึงการอานวยความยุติธรรมทางปกครองได้โดยสะดวก รวดเร็ว
และท่ัวถึง รวมทั้งเข้าถึงความรู้ความเข้าใจการฟ้องคดีปกครอง รวมทั้งสิทธิและหน้าท่ีตามกฎหมายปกครองและ
หลักปฏิบัติราชการท่ีดี ได้ผ่านระบบดิจิทัลแบบทุกท่ีทุกเวลาผ่านอุปกรณ์ท่ีหลากหลาย ด้วยการบริการผ่านระบบ
ดจิ ิทัลท่ใี ช้งานได้ง่ายพร้อมด้วยเทคโนโลยีที่ทนั สมัย ได้แก่ การใหค้ าปรกึ ษาแนะนาโตต้ อบอัตโนมัติ การย่ืนฟ้องคดี
การยน่ื เอกสารเพิ่มเติม และเขา้ ถึงข้อมลู ในคดีท่ีรวดเรว็ การเข้าถงึ กระบวนพจิ ารณาพิพากษาคดีดว้ ยความโปร่งใส
ผา่ นการถ่ายทอดสดบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การชาระเงินทางอเิ ล็กทรอนิกส์ และการขอคัดสาเนาเอกสารในสานวน

ระบบศาลอัจฉริยะ (Smart court) พัฒนาระบบดิจิทัลสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีท่ีช่วย
สนับสนุนงานตุลาการให้มีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ รวมท้ังอานวยความสะดวกในการพิจารณาพิพากษาคดี
และช่วยสร้างมาตรฐานคาพิพากษา/คาส่ังท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ด้วยความถูกต้อง เป็นธรรม รวมทั้ง
การบงั คับคดปี กครองที่มีประสิทธภิ าพ เช่น ระบบการพิจารณาคาฟ้องทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Court) การพิจารณา
คดีโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านการประชุมทางจอภาพ (Courtrooms) ระบบสืบค้นอัจฉริยะ (Smart

๓|Page

search) ท่ีมีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน ระบบสนับสนุนงานตุลาการศาลปกครองและพนักงานคดีปกครองท่ีสามารถ
ใช้งานได้ผ่านอุปกรณ์เคล่ือนที่ (Mobile) ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์สาหรับองค์คณะ (e-Chamber) ระบบ
ชว่ ยตรวจคาฟ้องอตั โนมัติ ระบบการช่วยรา่ งคาพพิ ากษาอตั โนมตั ิ เปน็ ตน้

ระบบสานักงานอัจฉริยะ (Smart office) สานักงานศาลปกครองมีภารกิจสนับสนุนการดาเนินงานของ
ศาลปกครองท้ังปฏิบัติงานหน้าท่ีงานธุรการศาล สนับสนุนงานวิชาการศาลปกครอง และงานสานักงาน
ศาลปกครองด้านต่าง ๆ ซ่ึงจาเป็นต้องยกระดับระบบงานให้มีขีดความสามารถในการสนับสนุนงานของสานักงาน
ศาลปกครองให้มีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน สามารถนาไปใช้สนับสนุนการบริหารแผน งบประมาณ การเงิน บัญชี และ
ติดตามผลการดาเนินงานของศาลปกครองและสานักงานศาลปกครองให้เป็นไปตามเป้าหมายท่ีกาหนด เช่น ระบบ
บริหารงานบุคคล ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบบริการสานักงานสาหรับบุคลากรผ่านอุปกรณ์เคล่ือนที่
(Mobile) ระบบการบรหิ ารแผน งบประมาณ ทรพั ย์สิน และการเงนิ เปน็ ตน้

เทคโนโลยีที่ทันสมัย (Smart technology) นาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใช้ในศาลปกครอง จากแนวโน้ม
เทคโนโลยีท่ีทันสมัย และมีการนามาใช้ในการดาเนินงานและการบริการของศาลในต่างประเทศ ซึ่งมีหลากหลาย
รูปแบบและเป็นรูปธรรม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี AI ที่ช่วยสนับสนุนในเร่ืองการให้คาแนะนาการฟ้องคดีอัจฉริยะ
การแปลงข้อมูลภาพและเสียงให้อยู่ในรูปของข้อความ เพ่ือช่วยลดระยะเวลาการปฏิบัติงานของศาล และการสร้าง
ความม่ันคงปลอดภัยระบบดิจิทัลด้วยเทคโนโลยีโครงสร้างพ้ืนฐานกุญแจสาธารณะ (Public Key Infrastructure (PKI))
และเทคโนโลยีความปลอดภัย Blockchain นอกจากน้ี มีการใช้เทคโนโลยีการวิเคราะห์ด้วยวิทยาศาสตร์ข้อมูล
(Data science) การสื่อสารระยะไกลด้วยระบบประชุมทางไกลผ่านจอภาพ Video conference ซ่ึงสามารถนามาช่วย
เสริมสร้างและเพ่ิมขีดความสามารถในการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลปกครองให้มีความรวดเร็วและมีคุณภาพ
ภายใตโ้ ครงสรา้ งพนื้ ฐานเทคโนโลยีดิจิทลั ทม่ี ีความมน่ั คงปลอดภัยให้เปน็ ท่ียอมรับจากผเู้ กีย่ วข้องทุกฝ่ายได้

บุคลากรท่ีปฏิบัติงานอย่างชาญฉลาด (Smart people) พัฒนาบุคลากรศาลปกครองให้มีความรู้ ทักษะ
ที่เอื้อต่อการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้สนับสนุนการบริการและการดาเนินงานของศาลปกครอง รวมท้ัง การพัฒนา
ผู้นาเพ่ือขับเคล่ือนเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล เพื่อให้บุคลากรมีทัศนคติทางดิจิทัลที่ดี มีความคิดสร้างสรรค์ยอมรับ
ในการนานวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ในองค์กร รวมท้ังการสร้างการมีส่วนร่วมจากการปฏิบัติงานแบบข้ามสายงาน
ของบุคลากรทุกฝ่าย (Smart people) เพื่อมุ่งพัฒนาให้ศาลปกครองก้าวเข้าสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart
Admincourt) ไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรม

ธรรมาภิบาลด้านดิจิทัล (Digital Governance) การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลให้มีมาตรฐาน และเป็นไปตาม
กฎหมาย กฎ ระเบียบของศาลปกครองและกฎหมายทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล รวมท้ังจัดหาระบบความมั่นคง
ปลอดภัยทางดิจิทัลและสร้างความโปร่งใสในการใช้งานระบบดิจิทัล โดยสิ่งสาคัญที่ต้องคานึงถึง คือ โครงสร้าง
พ้ืนฐานท่ีมีประสิทธิภาพและความปลอดภัย การใช้เทคโนโลยีท่ีเป็นไปตามมาตรฐานสากล เพ่ือสร้างความน่าเชื่อถือ
การทางานของระบบให้แกผ่ ้เู กีย่ วขอ้ งทุกฝา่ ย

เปา้ หมายแผนพฒั นาดิจทิ ัลของศาลปกครองฯ
 เพิ่มช่องทางเข้าถึงศาลปกครองได้สะดวก รวดเร็ว และทั่วถึง โดยพัฒนาระบบดิจิทัลสาหรับ

การบริการของศาลปกครองท่ีมุ่งเน้นให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา และ
ลดคา่ ใช้จ่ายใหก้ บั ประชาชน คู่กรณี หนว่ ยงานภาครัฐ และผู้เกย่ี วข้อง

๔|Page

 พัฒนาระบบที่ใช้งานง่าย สะดวก และรวดเร็ว ระบบดิจิทัลสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดี
การอานวยความสะดวกตุลาการศาลปกครอง ช่วยลดระยะเวลาการพิจารณาคดี ช่วยสนับสนุนการจัดการคดีให้
รวดเรว็ เพิม่ ขึ้น

 เพิ่มประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล ช่วยสนับสนุนปรับปรุงผลการดาเนินงานของศาลปกครองและ
สานักงานศาลปกครองให้ดาเนินการได้สอดคล้องตามเป้าหมายของแผนปฏิบัติการที่กาหนด รวมท้ังสร้าง
ความเชอ่ื ม่นั และความพงึ พอใจตอ่ การรบั บรกิ ารของศาลปกครองเพิ่มมากขึ้น

 สร้างความโปร่งใส/เป็นธรรม การจัดทามาตรฐานด้านดิจิทัล ธรรมาภิบาลข้อมูล การพัฒนาระบบ
ที่มมี าตรฐานสอดคล้องตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บ รวมท้งั การจดั การด้านความมั่นคงปลอดภยั ของข้อมลู และระบบ
ดิจทิ ลั ใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ของผมู้ ีสว่ นเก่ยี วข้องทุกฝ่าย

 เทคโนโลยีทันสมัย การพัฒนาระบบดิจิทัลให้มีขีดความสามารถด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัย เช่น AI,
Machine Learning, Data science การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยระบบธุรกิจอัจฉริยะ (Business Intelligence (BI))
ที่มีการทางานร่วมกับระบบข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ภายใต้เทคโนโลยีโครงสร้างพื้นฐานท่ีมีความม่ันคง
ปลอดภัยมาสนับสนุนระบบบริการดิจิทัล การพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ของศาลปกครอง รวมทั้งช่วยจัดการ
เวลางานคดี การเขา้ ถงึ และจัดการข้อมลู ในคดี รวมท้งั การสืบคน้ ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ
ยุทธศาสตรข์ ับเคล่อื นกา้ วสศู่ าลปกครองอัจฉรยิ ะ (Smart Admincourt)

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยกระดับเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมให้พร้อมสาหรับการพัฒนาศาลปกครอง
อัจฉริยะ มีแนวทางขับเคลื่อนการพัฒนา Smart Admincourt ท่ีสาคัญ ประกอบด้วย ระบบดิจิทัลบริการ
ประชาชน (Smart services) ระบบดิจิทัลสนับสนุนการพิจารณาคดี (Smart court) และระบบดิจิทัลสนับสนุน
การบริหารสานักงาน (Smart office) โดยมีการนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาสนับสนุนการพัฒนาระบบ เช่น
ปญั ญาประดษิ ฐ์ (AI) ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ (Big Data) การแปลงขอ้ มลู ภาพและเสียง (Speech to Text และ Optical
Character Recognition หรือ OCR) การใช้เทคโนโลยีความปลอดภัยโครงสร้างพ้ืนฐานกุญแจสาธารณะ (Public
key infrastructure (PKI)) เพ่ือความปลอดภัยในการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีความปลอดภัย
Blockchain เป็นตน้ โดยมีกลยทุ ธ์ ดงั น้ี

กลยุทธ์ท่ี ๑ เพ่ิมขีดความสามารถการบริการประชาชนให้สะดวก รวดเร็ว และท่ัวถึงด้วยเทคโนโลยี
ทท่ี ันสมยั มุง่ เน้นการพัฒนาระบบดิจิทัลบริการประชาชนดว้ ยระบบบริการอจั ฉริยะ (Smart services) ใหส้ ามารถ

๕|Page

เข้าถึงศาลปกครองได้โดยสะดวก รวดเร็ว และทั่วถึง เช่น ระบบการย่ืนฟ้องคดี การชาระค่าธรรมศาล การรับฟัง
การพจิ ารณา/ไต่สวน รวมทง้ั การใหบ้ ริการข้อมลู คดปี กครอง เข้าถงึ คาพิพากษา/คาส่ังของศาลปกครองผา่ นช่องทาง
ทางอิเล็กทรอนิกส์ และเปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมฟังการพิจารณาพิพากษาคดีผ่านระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อสร้าง
ความโปรง่ ใสในการอานวยความยุติธรรมของศาลปกครอง

โครงการสาคัญ: โครงการพัฒนาระบบการพิจารณาพิพากษาคดีปกครองและบริการประชาชน
ผ่านช่องทางศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt) สาหรับบริการประชาชน โดยมีแนวทางการพัฒนา
ระบบดจิ ิทัลเพ่ือบริการประชาชน (Smart services) โดยมีระบบดิจทัลรองรบั การบริการ ได้แก่ การใหค้ าปรกึ ษาแนะนา
อัตโนมัติผ่านระบบ Chatbot การย่ืนฟ้องคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Litigation portal) การชาระค่าธรรมเนียมศาล
ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ระบบรับฟังการพิจารณา/ไต่สวนคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courtrooms) ระบบ
การถ่ายทอดสดการพิจารณาคดี (Streaming) ระบบบริการขอคัดและรับรองสาเนาเอกสารในสานวนทางอิเล็กทรอนิกส์
ระบบบริการดิจิทัลของศาลปกครองผ่านอุปกรณ์เคล่ือนที่ (Mobile application) ระบบย่ืนคาร้องทางอิเล็กทรอนิกส์
(e-Filing) และการชาระเงนิ สาหรบั การบงั คบั คดที างอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Payment)

กลยุทธ์ท่ี ๒ ยกระดับเทคโนโลยีดิจิทัลให้ทันสมัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงานของ
ศาลปกครอง มุ่งเน้นการพัฒนาระบบดิจิทัลสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดี การบริหารจัดการคดีของศาลปกครอง
และการบริหารจัดการองค์กรของสานักงานศาลปกครอง เช่น การบริหารงานแผน งบประมาณ การเงิน บัญชี
การบริหารจัดการบุคลากร การบริหารจัดการทรัพย์สิน รวมทั้งการติดตามผลการดาเนินงานโครงการและ
ผลการปฏิบัติงานของบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานผ่านระบบดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนการอานวย
ความสะดวกให้บุคลากรมคี วามพร้อมในการปฏิบัติงานผ่านระบบดจิ ิทลั ได้แบบทุกสถานทีท่ ุกเวลา

โครงการสาคญั :
๑. โครงการพัฒนาระบบการพิจารณาพิพากษาคดีปกครองและบริการประชาชนผ่านช่องทาง

ศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt) สาหรับขับเคลื่อนสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดี (Smart court)
มีระบบย่อยสนับสนุนการดาเนินงาน ได้แก่ การเช่ือมโยงข้อมูลภาครัฐสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดี
การพิจารณา/ไต่สวนคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ ระบบสืบค้นอัจฉริยะ การจัดทาร่างคาพิพากษา/คาส่ังด้วยเทคโนโลยี
ที่ทันสมัย เพิ่มขีดความสามารถการทางานของระบบดิจิทัลเพื่อช่วยลดภาระการทางานของตุลาการและพนักงาน
คดีปกครอง เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคดี รวมทั้งการบริหารจัดการระยะเวลาของคดี และการบังคับคดี
ทางอเิ ล็กทรอนิกส์ให้ไดต้ ามกรอบมาตรฐานระยะเวลา

๒. โครงการพัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารราชการของศาลปกครอง (Office
automation/e-Office) เป็นโครงการขับเคลื่อนการพัฒนาสานักงานอัจฉริยะ (Smart office) มีโมดูลสนับสนุน
การบริหารงานองค์กร ได้แก่ ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-Document) ระบบแอปพลิเคชันผ่านอุปกรณ์
เคล่ือนท่ีสื่อสารไร้สายด้วย QR ID การทางานในรูปแบบสานักงานอัจฉริยะ (Smart office) สนับสนุนการปฏิบัติงาน
แบบทุกที่ทุกเวลา ซอฟต์แวร์สนับสนุนการพัฒนาสานักงานด้วยเทคโนโลยีคลาวด์ และระบบบันทึกเวลา
การปฏิบัตงิ านด้วยใบหน้า (Face recognition) เปน็ ตน้

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ปรับเปลี่ยนศาลปกครองให้เป็นองค์กรที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลดิจิทัล โดยมุ่งเน้นการนา
เทคโนโลยีขอ้ มลู ท่ีทันสมยั มาสนับสนนุ การพฒั นาระบบบริการอัจฉริยะ (Smart services) ระบบศาลอัจฉริยะ (Smart
court) และสานักงานอัจฉริยะ (Smart office) ของศาลปกครอง โดยมีระบบย่อยซึ่งมีเทคโนโลยีสาคัญใน

๖|Page

การขับเคล่ือนการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์น้ี ได้แก่ ขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data) การวเิ คราะหแ์ ละการพยากรณ์
ขอ้ มูล (Data science) เทคโนโลยีการวเิ คราะห์และนาเสนอข้อมูลดว้ ยระบบธุรกจิ อัจฉรยิ ะ (BI) โดยมีกลยทุ ธ์ ดังน้ี

กลยุทธ์ท่ี ๑ ปรับเปลี่ยนข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลท่ีน่าเชื่อถือและได้มาตรฐาน มุ่งเน้น
การปรับเปลี่ยนข้อมูลเอกสารในส่วนต่าง ๆ ท่ีมีความจาเป็นต่อการพิจารณาพิพากษา การบริหารจัดการองค์กร
ให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลดิจทิ ัลท่ีมีมาตรฐานและมีความปลอดภัย และเป็นไปตามกรอบแนวทางการกากับดูแลข้อมูล
กรอบธรรมาภิบาลข้อมลู ภาครัฐ (Data Governance Framework)

โครงการสาคญั :
๑. โครงการปรับเปลีย่ นสภาพแวดล้อมข้อมูลและเอกสารดิจทิ ัลให้พร้อมเขา้ สู่ศาลปกครองอัจฉริยะ

(Smart Admincourt transformation) โดยการแปลงเอกสารกระดาษในแฟ้มสานวนให้เป็นเอกสารดิจิทัล
โดยพิจารณาดาเนินการในส่วนของคดีท่ีอยู่ระหว่างการพิจารณา เพื่อรองรับการเข้าถึงเอกสารดิจิทัลในสานวน
ของตุลาการ พนักงานคดีปกครอง และผู้เก่ียวข้องได้พร้อมกัน พัฒนาระบบบริการให้คู่กรณีสามารถเข้าถึงเอกสาร
ในคดีของตนเองได้ รวมท้งั สามารถพัฒนาต่อยอดให้บรกิ ารรับรองเอกสารในสานวนในรูปแบบอเิ ล็กทรอนิกส์

กลยุทธ์ท่ี ๒ สนับสนุนการใช้และวิเคราะข้อมูลดิจิทัลด้วยวิทยาการวิทยาศาสตร์ข้อมูลเพ่ือ
การขับเคล่ือนศาลปกครอง จัดทาระบบข้อมูลดิจิทัลให้อยู่ในรูปแบบที่มีความพร้อมสาหรับการวิเคราะห์ด้วย
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) และเทคโนโลยีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยระบบธุรกิจอัจฉริยะ (BI) เช่น การจัดระบบ
ข้อมูลนาดใหญ่ (Big Data) หรือ การใช้วิทยาศาสตร์ข้อมูลเพื่อการพยากรณ์ (Data science) และพัฒนาต่อยอด
ระบบงานคดีปกครองไปเป็นระบบสนับสนุนการบริหารจัดการคดีอัจฉริยะ เพื่อให้ศาลปกครองสามารถนาข้อมูล
ไปใช้ประโยชน์สนับสนุนกระบวนพิจารณาพิพากษาคดี การบริหารจัดการคดี รวมท้ังการบริการประชาชนให้มี
ความรวดเร็วด้วยระบบดิจทิ ัลท่ีทันสมยั เปน็ องค์กรท่ีมีประสิทธภิ าพ และพฒั นาไปสู่ศาลปกครองอัจฉรยิ ะ (Smart
Admincourt) ในอนาคตอย่างย่งั ยืน

โครงการสาคญั :
โครงการพัฒนาระบบขอ้ มูลสนับสนนุ การตัดสนิ ใจอัจฉริยะสาหรบั ผบู้ รหิ ารศาลปกครองและสานักงาน
ศาลปกครองโดยการพฒั นาระบบข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ด้วยเครอื่ งมือที่ทันสมัยรองรับการพฒั นาศาลปกครอง
อัจฉริยะ (Smart Admincourt) และบริการประชาชน เช่น ระบบข้อมูลเพ่ือการพิจารณาพิพากษาคดี ระบบ
บริการข้อมูลอัจฉริยะ การพยากรณ์ข้อมูลเพ่ือการวางแผนบริหารจัดการคดีและบริหารองค์กร และพัฒนาระบบ
ข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการและติดตามผลการดาเนินงานของศาลปกครองและสานักงานศาลปกครอง โดย
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ด้วยระบบธุรกิจอัจฉริยะ Business Intelligence (BI)

ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ เพ่ิมประสิทธิภาพโครงสรางพื้นฐานทางดิจิทัลให้มีมาตรฐานและความม่ันคงปลอดภัย
มุ่งเน้นการสร้างความมั่นคงปลอดภัยเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครอง รวมท้ังการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ
ระเบียบ และมาตรฐานทางด้านดิจิทัล มีเทคโนโลยีสาคัญในการวางระบบความปลอดภัยเทคโนโลยีดิจิทัล เช่น
ความปลอดภัยของระบบดิจทิ ลั (Web application security) ความปลอดภัยข้อมูล (Data security) ความปลอดภยั
เอกสาร/หลักฐานดจิ ทิ ลั (Document security) เปน็ ตน้ โดยมีกลยุทธส์ าคัญ ดังน้ี

กลยทุ ธ์ท่ี ๑ เพิ่มขีดความสามารถความมนั่ คงปลอดภัยใหพ้ รอ้ มป้องกันภัยคุกคามในทุกระดับตาม
มาตรฐานสากล เพื่อสร้างความเช่ือมั่นในการใช้ระบบดิจิทัลของศาลปกครองให้กับบุคลากรทั้งภายในและ
ภายนอกศาลปกครอง ได้แก่ ระบบความม่ันคงปลอดภัยเครือข่าย ความปลอดภัยสาหรับระบบดิจทัลท่ีให้บริการ
ผ่านเว็บ (Web security) ความปลอดภัยระบบข้อมูลสารสนเทศ (Information security) ความปลอดภัยของ

๗|Page

เอกสารดิจิทัล (Document security) ความปลอดภัยในการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ เทคโนโลยี
ความปลอดภยั PKI และเทคโนโลยีความปลอดภัย Blockchain เปน็ ตน้

โครงการสาคญั :
โครงการจัดหาและปรับปรุงคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่าย และระบบความม่ันคงปลอดภัยเพื่อ
สร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชน ซ่ึงจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ ซอฟต์แวร์และเทคโนโลยีที่มีความทันสมัย รองรับ
การใช้งานตามนโยบายในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ระบบรักษาความปลอดภัยเอกสารดิจิทัลในแฟ้มสานวนอิเลก็ ทรอนกิ ส์
ระบบรกั ษาความปลอดภยั ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ระบบการรกั ษาความปลอดภัยฐานขอ้ มลู
กลยุทธ์ท่ี ๒ สนับสนุนเคร่ืองมือทางดิจิทัลท่ีทันสมัยให้เพียงพอสาหรับการก้าวเข้าสู่ศาลปกครอง
อัจฉริยะ (Efficient infrastructure) เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมและสิ่งสนับสนุนทางดิจิทัลให้พร้อมต่อการใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลในการพัฒนาการดาเนินงานของศาลปกครอง และการบริการประชาชนให้พร้อมก้าวเข้าสู่
การพัฒนาเป็นศาลปกครองอัจฉริยะ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุปกรณ์เครือข่าย อุปกรณ์ต่อพ่วง และ
อุปกรณส์ นับสนนุ การพจิ ารณาพพิ ากษาคดีของศาลปกครอง

โครงการสาคัญ:
โครงการจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเพ่ือสร้างสภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยีดิจิทัล
เพื่อจัดหาส่ิงสนับสนุนการปฏิบัติงานทางดิจิทัลสาหรับศาลปกครองและสานักงานศาลปกครองให้พร้อมเข้าสู่
ศาลปกครองอิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละศาลปกครองอจั ฉริยะ

ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ การพัฒนาทักษะดิจิทัลบุคลากรศาลปกครองให้พร้อมก้าวเข้าสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ
มงุ่ เน้นการพฒั นาบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ และความเช่ียวชาญในการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยดี ิจิทัล และเป็นกาลัง
ขับเคลื่อนการปฏิบัติงานด้วยการใช้ข้อมูลเพ่ือประโยชน์ในการวางแผนการปฏิบัติงาน สนับสนุนการตัดสินใจ
พฒั นานวตั กรรมทางดจิ ิทัล และสง่ เสริมใหบ้ ุคลากรมที ัศนคติทเี่ ห็นถึงความสาคัญของการปรับเปล่ียนศาลปกครอง
ไปสู่การเป็นศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) โดยมีโครงการสาคัญ จานวน ๔ โครงการ ซ่ึงบุคลากร
ทุกระดับเป็นปัจจัยสาคัญขับเคล่ือนการพัฒนาศาลปกครองก้าวสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ ซึ่งจาเป็นต้องมีความรู้
และสร้างความเข้าใจเก่ียวกับเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีการนาความรู้มาประยุกต์ใช้งาน เพื่อให้บุคลากรมีความพร้อม
และมสี ่วนรว่ มในการขับเคลื่อนพฒั นาศาลปกครองก้าวสศู่ าลปกครองอจั ฉริยะ โดยมีกลยทุ ธส์ าคัญ ดังน้ี

กลยุทธ์ที่ ๑ สร้างผู้นาทางด้านดิจิทัล และวัฒนธรรมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล รวมทั้งข้อมูลให้พร้อม
รองรับการพัฒนาศาลปกครองอัจฉริยะ โดยการเสริมสร้างการทางานร่วมกันแบบข้ามสายงาน เพื่อส่งเสริม
การพัฒนาและถ่ายทอดความรู้ การใช้เทคโนโลยี การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์สาหรับ
การบริหารจัดการงานคดี รวมทั้งการบริหารองค์กร รวมท้ังสนับสนุนการตัดสินใจสาหรับผู้บริหารได้อย่างชาญฉลาด
และเผยแพร่เปน็ บทเรียนสาหรับบุคลากรท่วั ทง้ั องค์กร

โครงการสาคัญ:
โครงการพัฒนาผู้นาการเปล่ียนแปลงทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลภายในศาลปกครอง ซ่ึงมีเป้าหมาย
ให้ศาลปกครองมีผู้นาการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล ท่ีขับเคล่ือนการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล และสร้างการมีส่วนรว่ ม
บุคลากรในศาลปกครองทุกแหง่ ทั่วประเทศเพ่ือการขับเคลื่อนการพัฒนาศาลปกครองอัจฉรยิ ะอย่างท่ัวทั้งองคก์ ร
กลยทุ ท์ ี่ ๒ เพม่ิ ขีดความสามารถบุคลากรทางดา้ นเทคโนโลยีดิจิทัลให้มีทักษะและความเชี่ยวชาญ
ทางเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีทันสมัย พัฒนาบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้มีทักษะเฉพาะทางด้านดิจิทัล
เพ่ิมมากข้ึน สามารถนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใชใ้ นการพัฒนาระบบดิจิทัล สนับสนุนการบริการและการพิจารณา

๘|Page

พิพากษาคดี รวมถึงการบริหารจัดการคดีและบริหารจัดการองค์กรให้ได้ระบบที่มีความสามารถช่วยลดระยะเวลา
การดาเนินงาน เพ่ิมคณุ ภาพการดาเนินงานใหไ้ ด้ตามเป้าหมายทก่ี าหนด

โครงการสาคญั :
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพ่ิมศักยภาพในการพัฒนาและ
ดูแลระบบ มีการพัฒนาบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้มีทักษะเฉพาะทางด้านดิจิทัลเพ่ิมมากขึ้น สามารถนา
เทคโนโลยีทีท่ นั สมยั มาใชใ้ นการพัฒนาระบบดิจทิ ัลของศาลปกครองได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

ความเชื่อมโยงแผนแมบ่ าทศาลปกครองและแผนพัฒนาดิจทิ ลั ฯ

แผนการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ระยะ ๓ ปี ได้เช่ือมโยง
การจัดทาแผนให้มีความสอดคล้องกับแผนนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
สังคม (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) (ร่าง) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ รวมท้ัง
แผนแมบ่ ทศาลปกครองระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และเพ่อื ใหม้ ีแนวทางในการขบั เคล่ือนการพัฒนาเทคโนโลยี
ดิจิทัลของศาลปกครองให้สอดคล้องและบรรลผุ ลสาเร็จได้ตามเป้าหมายของแผนแม่บทศาลปกครอง จึงได้กาหนด
แนวทางการปฏิบัติงานประจาปีเพ่ือกาหนดทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลประจาปีให้มีความชัดเจน โดยมี
ความเชื่อมโยงภายในศาลปกครอง คือ แผนแม่บทศาลปกครองฯ และแผนพัฒนาดิจิทัลฯ โดยเช่ือมโยงกับ
แผนระดบั ประเทศ ได้แก่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลและแผนพัฒนารฐั บาลดจิ ิทัล

๙|Page

กลไกการขบั เคล่ือนและติดตามแผนพฒั นาดจิ ิทัลของศาลปกครอง (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕)

เพ่ือให้ศาลปกครองสามารถปรับเปลี่ยนองค์กรเข้าสู่บริบทการดาเนินงานของศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์
(e-Admincourt) และพัฒนาความพร้อมก้าวสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart court) กลไกการขับเคลื่อนและติดตาม
เป็นอีกหน่ึงปัจจัยสาคัญในการผลักดันให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องได้รับรู้บทบาทในการร่วมกันพัฒนาศาลปกครอง
ไปเปน็ ศาลปกครองอัจฉริยะ โดยมกี ลไกการขบั เคล่ือนและการกากบั ติดตามการดาเนนิ งาน ดังน้ี

กลไกเชิงนโยบาย กลไกเชิงนโยบายสามารถดาเนินการผ่านคณะกรรมการท่ีกากับดูแลทิศทางการพัฒนา
เทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครอง ซึ่งมีหน้าท่ีและอานาจในการเสนอแนะนโยบาย และกากับให้สานักงานศาลปกครอง
มีการดาเนินการให้เป็นไปตามแผนพัฒนาดิจิทัล อีกทั้งสามารถแต่งต้ังคณะอนุกรรมการหรือบุคคลใดเพ่ือประโยชน์
ในการปฏิบัติงาน ดังน้ัน จึงถือเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนและผลักดันให้หน่วยงานภายในสานักงานศาลปกครอง
สามารถปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธ์ิได้ตามวิสัยทัศน์ อีกทั้งเพ่ือประโยชน์ในการนามาเป็นรากฐานในการเตรียม
การจัดทาแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครองในฉบับนี้และฉบับต่อไป ซึ่งสามารถสร้างกลไกเชิงนโยบายผ่าน
คณะกรรมการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีปกครองและบริการประชาชน
เพ่ือความเป็นเอกภาพในการขับเคล่ือนและผลักดันหน่วยงานภายในสานักงานศาลปกครองให้สามารถปฏิบัติงานให้
เกดิ ผลสมั ฤทธิ์ได้ตามวิสัยทัศน์ และเป้าหมายของแผนพัฒนาดิจทิ ัลฯ รวมท้งั สอดคล้องตามแผนแม่บทของศาลปกครอง
ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)

กลไกการพิจารณากลั่นกรองและบริหารจัดการ โครงการและงบประมาณทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
เพ่ือให้โครงการประสบความสาเร็จ รวมท้ังแก้ไขอุปสรรคด้านการจัดสรรงบประมาณ และบริหารงบประมาณ
ตามโครงการท่ีได้รับการจัดสรรอย่างมีประสิทธิภาพ อีกท้ังลดความซ้าซ้อนในการพิจารณางบประมาณ
หากโครงการใดได้รบั การบรรจุในแผนพฒั นาดิจิทัลของศาลปกครอง และไดผ้ า่ นการพจิ ารณาทางด้านงบประมาณ
โครงการดังกล่าวจะถูกรวบรวมเป็นวงเงินงบประมาณภายใต้แผนปฏิบัติการประจาปีของสานักงานศาลปกครอง
โดยมีสานักบริหารยุทธศาสตร์เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการกล่ันกรองและนาเสนอ แก่คณะอนุกรรมการบริหาร
ศาลปกครองด้านการบริหารและงบประมาณ และคณะกรรมการบริหารศาลปกครองเพื่อเสนอต่อสานักงบประมาณ
และการบรหิ ารการใชจั า่ ยเงินงบประมาณของโครงการตอ่ ไป

กลไกการมีส่วนร่วมจากหน่วยงานภายในและความร่วมมือจากหน่วยงานทางด้านดิจิทัล เพื่อสร้าง
การมีสว่ นรว่ มระหวา่ งหนว่ ยงานทุกหน่วยงานในสังกัด และหนว่ ยงานรัฐที่มีหนา้ ทสี่ นับสนุนและสง่ เสริมการพัฒนา
เทคโนโลยีดิจิทัลของภาครัฐ หรือการร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์และองค์ความรู้ของบุคลากรภาครัฐ สาหรับ
การพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลให้มีประสิทธิภาพ รองรับการให้บริการแก่ประชาชน โดยมีสานักวิทยาการ
สารสนเทศเป็นหน่วยงานรับผิดชอบสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐทางด้านดิจิทัล เพ่ือพัฒนา
เทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครองให้มีมาตรฐานภาครัฐและมาตรฐานสากล เช่น ความร่วมมือกับกระทรวงดิจิทัล
เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) สานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และสถาบันพฒั นาบุคลากรดา้ นดจิ ทิ ลั ภาครัฐ เปน็ ตน้

กลไกการติดตามและประเมินผลโครงการ การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาดิจิทัล
ของศาลปกครองฯ เพ่ือทราบภาพรวม สถานะการดาเนินการ และสภาพปัญหาอย่างเป็นระบบทั่วทั้งองค์กร
โดยมีผู้บริหารศาลปกครองและผู้บริหารสานักงานศาลปกครองกาหนดมาตรการในการส่งเสริมและแก้ไขปัญหา
รวมทั้งมี ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล โ ค ร ง ก าร ต าม ยุ ทธ ศา ส ต ร์ จ น ถึง ร ะ ดั บ ก ล ยุ ท ธ์ ใ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น ใ ห้ เ กิด
ประสิทธผิ ลสูงสดุ

๑๐ | P a g e

กลไกระดับปฏิบัติการดาเนินงาน การนาแผนพัฒนาดิจิทัลไปสู่การปฏิบัติ จาเป็นต้องมีการจัดตั้ง
ทีมปฏิบัติการเฉพาะ (Workforce) ในด้านต่าง ๆ ที่เป็นบทบาทสาคัญในการขับเคล่ือนการดาเนินงาน ได้แก่
ทีมสาหรับการติดตามและประเมินผลการดาเนินโครงการ ทีมบริหารการพัฒนาศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart
Admincourt) ทีมดาเนินการแปลงเอกสารเป็นข้อมูลดิจิทัล ทีมการพัฒนาข้อมูลและใช้ประโยชน์ข้อมูลเพื่อ
ความเป็นเลิศของศาลปกครอง และทมี การพฒั นาบุคลากรให้มีทักษะและพฒั นาผนู้ าการเปล่ียนแปลงทางดิจิทัล ของ
ศาลปกครอง รวมท้ังการสร้างวัฒนธรรมทางดิจิทัลขององค์กรที่สอดคล้องกับการพัฒนาศาลปกครองไปเป็น
ศาลปกครองครองอัจฉรยิ ะ (Smart Admincourt) นอกจากนี้ การพัฒนาระบบและองค์ประกอบสาคัญทางด้านดิจิทัล
มีสานักวิทยาการสารสนเทศเป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการพัฒนาผลผลิตสาคัญภายใต้การพัฒนาศาลปกครอง
อัจฉริยะ (Smat Admincourt) ให้เป็นไปตามแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ได้แก่ ระบบ
ศาลอัจฉริยะ (Smart court) ระบบสานักงานอัจฉริยะ (Smart office) ระบบอัจฉริยะเพ่ือบริการประชาชน (Smart
services) การพัฒนาดิจิทัลตามกรอบมาตรฐานการดาเนินงานทางดิจิทัลที่ภาครัฐกาหนด (Digital governance)
ประกอบด้วย โครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพ ความม่ันคงปลอดภัยทางดิจิทัลที่ได้มาตรฐานสากล
เพื่อสร้างความนา่ เชอื่ ถือและการยอมรบั จากบคุ ลากรภายใน รวมท้ังประชาชน คู่กรณี และหนว่ ยงานรฐั

โครงสรา้ งกลไกการขับเคลื่อนนาแผนพัฒนาดิจทิ ลั ฯ ไปสกู่ ารปฏบิ ัติ

การขบั เคลื่อนการพฒั นาดิจิทลั ของศาลปกครองจาเป็นต้องมีความร่วมมือการปฏบิ ัติงานแบบข้ามสายงาน
โดยบูรณาการดาเนินงานทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลกับกระบวนงานสาคัญที่ขับเคลื่อนการพัฒนาในเชิงยุทธศาสตร์
แทนการดาเนินงานตามโครงสร้างภารกิจของหน่วยงาน (Functional) โดยการดาเนินงานพัฒนาอยู่ภายใต้
การขับเคลื่อนกากับดูแลของผู้บริหารสานักงานศาลปกครอง และมีทีมปฏิบัติการเฉพาะ (Workforce) ในแต่ละ
ด้านทาหน้าท่ีขับเคลือ่ ยการปฏบิ ัติงาน ได้แก่ การกากับ/ติดตาม การพัฒนาศาลปกครองอัจฉริยะ การแปลงข้อมลู
ดิจิทัล การพัฒนาทักษะและผู้นาทางดิจิทัล การสร้างวัฒนธรรมทางดิจิทัล ตามโครงสร้างดังภาพด้านล่าง โดย
สานักงานศาลปกครองรายงานความคืบหน้าการดาเนินงานต่อคณะกรรมการในระดับนโยบาย ได้แก่ คณะกรรมการ
พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีปกครองและบริการประชาชน
คณะอนุกรรมการบริหารศาลปกครองด้านการบริหารและงบประมาณ และคณะกรรมการบริหารศาลปกครองตามลาดับ
(ภาพโครงสรา้ งการดาเนนิ งาน)

๑๑ | P a g e

โครงสร้างภารกจิ การขบั เคลื่อนนาแผนพฒั นาดิจิทัลฯ ไปสกู่ ารปฏิบัติ

ตามโครงสร้างกลไกการขับเคลื่อนนาแผนพัฒนาดจิ ิทัลของศาลปกครองไปสู่การปฏิบัติจาเป็นต้องกาหนด
ภารกิจการดาเนินงานของทีมปฏิบัติการเฉพาะในแต่ละด้าน ทั้งน้ีการดาเนินงานของทีมแต่ละด้านอยู่ภายใต้
การขับเคล่ือนกากับดูแลของผู้บริหารสานักงานศาลปกครอง และรายงานความคืบหน้าการดาเนินงานต่อผบู้ รหิ าร
ศาลปกครอง รวมทั้งคณะกรรมการในระดับนโยบาย ประกอบด้วย คณะกรรมการพัฒนาระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีปกครองและบริการประชาชน คณะอนุกรรมการบริหาร
ศาลปกครองด้านการบรหิ ารและงบประมาณ และคณะกรรมการบริหารศาลปกครอง ตามลาดบั (โครงสร้างภารกิจ
ตามแผนภาพดา้ นล่าง)

ภารกิจการปฏบิ ตั ิงานตามโครงสร้างภารกิจอธิบายได้ดังน้ี
๑. ทีมกากับ/ติดตาม/ประเมินผลโครงการตามแผนพัฒนาดิจิทัล ฯ มีหน้าท่ีในการติดตาม
ความคืบหน้าโครงการในความรับผิดชอบของทีมขับเคลื่อนแต่ละทีม และโครงการสาคัญ รวมทั้งโครงการ
ตามแผนพัฒนาดิจิทัลภายใต้การดาเนินงานของสานกั วทิ ยาการสารสนเทศ
๒. ทีมขับเคล่ือนการพัฒนาศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt workforces) มีหน้าที่
ในการบริหารขับเคลื่อนการริเร่ิมการพัฒนาศาลปกครองอัจฉริยะตามแผนพัฒนาดิจิทัลฯ รวมท้ังสนับสนุน
ทรพั ยากรสาหรบั การพัฒนาระบบใหบ้ รรลผุ ลสาเรจ็ ตามเป้าหมายแผนพัฒนาดิจิทัลฯ
๓. ทีมแปลงข้อมูลดิจิทัล (Digital transformation workforces) มีหน้าที่ในการบริหารขับเคล่ือน
การแปลงขอ้ มลู เอกสารทางดา้ นงานคดปี กครอง งานบริหารองค์กรเป็นข้อมลู ดจิ ิทัลตามแผนพฒั นาดจิ ิทัลฯ รวมท้งั
สนบสั นนุ ทรพั ยากรสาหรับการดาเนินงานใหบ้ รรลผุ ลสาเรจ็ ตามเป้าหมายแผนพฒั นาดิจทิ ลั ฯ

๑๒ | P a g e

๔. ทีมการจัดทาและใช้ประโยชน์ข้อมูลดิจิทัล (Data excellence workforces) มีหน้าท่ีบริหาร
และขับเคล่ือนการจัดทาและใช้ประโยชน์ข้อมูล รวมทั้งการเช่ือมโยงข้อมูลหน่วยงานภาครัฐเพื่อสนับสนุน
งานคดีปกครอง งานบริหารองค์กรให้ได้ตามแผนพัฒนาดิจิทัลฯ รวมทั้งสนับสนุนทรัพยากร ได้แก่ บุคลากร
อปุ กรณส์ าหรบั การดาเนินงานใหบ้ รรลผุ ลสาเรจ็ ตามเปา้ หมายแผนพัฒนาดิจทิ ัลฯ

๕. ทีมการพัฒนาบุคลากรและผู้นาการเปล่ียนแปลง รวมทั้งส่งเสริมวัฒนธรรมทางดิจิทัล (Smart
people workforces) มีหน้าท่ีบริหารและขับเคลื่อนการสร้างวัฒนธรรม และผู้นาการเปล่ียนแปลงทางดิจิทัล
รวมท้ังการพัฒนาความรู้และทักษะทางดิจิทัลให้กับบุคลากรศาลปกครองและบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
รวมทง้ั สนบั สนุนทรัพยากรสาหรบั การดาเนินงานใหบ้ รรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายแผนพัฒนาดจิ ทิ ัลฯ

๖. สานักวิทยาการสารสนเทศมีหน้าท่ีดาเนินการพัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการพิจารณา
พิพากษาคดีของศาลปกครองด้วยระบบศาลอัจฉริยะ (Smart court) สนับสนุนการดาเนินงานบริหารองค์การ
(Smart office) และปรับเปลี่ยนการให้บริการประชาชน คู่กรณี หน่วยงานภาครัฐ ด้วยระบบอัจฉริยะเพื่อ
การบริการ (Smart services) ภายใต้โครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัลท่ีมีความมั่นคงปลอดภัยตามกรอบมาตรฐาน
ภาครัฐและมาตรฐานสากล นอกจากน้ี ดาเนินการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการทางด้านดิจิทัลและ
นวัตกรรมกับหน่วยงานทางด้านดิจิทัลท้ังในและต่างประเทศ เช่น สานักงานรัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ
สพร. สานกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ หรอื สพธอ. สานกั งาน ก.พ.ร. และศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์
และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) เป็นต้น เพื่อนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัยมาใช้สนับสนุน
การพิจารณาพพิ ากษาคดี และการบรหิ ารจดั การองคก์ ร

๑๓ | P a g e

แผนพฒั นาดจิ ิทัลของศาลปกครอง
พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

๑๔ | P a g e

ความสาคัญของแผนพฒั นาดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

ศาลปกครองได้ตระหนักถึงความสาคัญในการดาเนินงานเพื่อให้ประชาชน
ได้รับการอานวยความยุติธรรมทางปกครองด้วยความเป็นธรรมโดยไม่ล่าช้า สามารถ
เข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้สะดวก รวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จ่ายโดยนาเทคโนโลยี
ดิจิทัลและนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้เพื่อเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนการอานวย
ความยุติธรรมของศาลปกครอง จึงจัดให้มีแผนแม่บทศาลปกครอง ระยะ ๒๐ ปี
(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เพอ่ื เปน็ กรอบทิศทางการดาเนินงานของศาลปกครองโดยได้กาหนด
วิสัยทัศน์ คือ “อานวยความยุติธรรม ทางปกครองด้วยความเป็นธรรม รวดเร็ว ทันสมัย
เพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบาลในสังคม และเป็นศาลแห่งความเป็นเลิศ” รวมท้ังมีแนวทาง
การพัฒนางานของศาลปกครอง เพื่อเป็นทิศทางการพัฒนาการดาเนินงานของศาลปกครอง
และพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางปกครองให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน ภายใต้แผนแม่บท
การพัฒนาศาลปกครอง ๕ ด้านประกอบด้วย ด้านท่ี ๑ การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหาร
จัดการคดีปกครอง ด้านที่ ๒ การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในสังคม ด้านที่ ๓ การพัฒนา
ศาลปกครองอจั ฉรยิ ะ (Smart Admincourt) ด้านท่ี ๔ การพฒั นาระบบบริหารจัดการ
องค์กรสู่ความเป็นเลิศ และด้านท่ี ๕ การยกระดับความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศ
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม การพัฒนาดังกล่าวจาเป็นต้องพึ่งพาการนาเทคโนโลยี
ดิจิทลั มาชว่ ยขบั เคล่ือนการพฒั นาศาลปกครอง

การน าเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ลมาใช้ เพ่ื ออ านวยความยุ ติ ธรรมของศาล ป ก ค ร อ ง
ให้สอดคล้องตามแผนแม่บทของศาลปกครองฯ ภายใต้แนวโน้มของเทคโนโลยีดิจิทัล
ท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วท้ังในปัจจุบันและอนาคต ศาลปกครองจาเป็นต้องมี
กรอบทิศทางการพัฒนาศาลปกครองไปเปน็ ศาลปกครองอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Admincourt)
และศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Court) ให้เป็นไปตามเป้าหมายของแผนแม่บท
ระยะ ๒๐ ปี และเป็นแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลให้เป็นเครื่องมือการอานวย
ความยุติธรรมที่มีประสทิ ธิภาพ และการบริการประชาชนอย่างมีคุณภาพภายใต้เทคโนโลยี
ดิจิทัลท่ีมีความม่ันคงปลอดภัย สามารถสร้างความเช่ือมั่นและการยอมรับจากผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนท้ังภายในและภายนอกศาลปกครอง นอกจากนี้ ยังใช้เป็น
เ ค รื่ อ ง มื อ ส่ื อ ส า ร ใ ห้ ผู้ บ ริ ห า ร แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ข อ ง ศ า ล ป ก ค ร อ ง ไ ด้ รั บ ท ร า บ ทิ ศ ท า ง
การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือช่วยการขับเคล่ือนการพัฒนาการดาเนินงานของ
ศาลปกครอง จึงได้จัดทาแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕
สาหรับใช้เป็นกรอบการพัฒนาศาลปกครองไปเป็นศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart
Admincourt) ในระยะ ๓ ปีข้างหนา้ ตอ่ ไป

๑๕ | P a g e

ข้ันตอนการจัดทาแผนพฒั นาดิจทิ ลั
ของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

ศกึ ษานโยบายและทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ลั ของประเทศไทยและกระบวนการยุตธิ รรม
ประเทศไทย
รวบรวมข้อมลู ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยดี จิ ิทลั
ของศาลในต่างประเทศ
ทศิ ทางแนวโน้มเทคโนโลยดี ิจทิ ัลทจี่ ะมีบทบาท
ตอ่ การพฒั นาศาลปกครองในอนาคต
ทิศทางนโยบายของศาลปกครองและวเิ คราะห์
สถานภาพเทคโนโลยีดิจิทลั ปัจจุบนั
กขาอหงศนาดลยปทุ กธคศราอสงตร์ กลยทุ ธ์ และแนวทาง
การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครอง
เช่ือมโยงแผนแม่บทของศาลปกครอง
ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)

สารวจความเหน็ ต่อแผนพัฒนาดิจทิ ัล
ของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕
เสนอคณะกรรมการดา้ นเทคโนโลยีดิจทิ ลั
ของศาลปกครอง คณะอนุกรรมการบรหิ าร
ศาลปกครองด้านการบรหิ ารและงบประมาณ
และคณะกรรมการบรหิ ารศาลปกครอง

ประกาศใช้และเผยแพร่

๑๖ | P a g e

ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ิทลั ประเทศไทย

นโยบายของรฐั บาลทเ่ี กย่ี วข้องกับการพัฒนาเทคโนโลยดี ิจทิ ัลประเทศไทย

๑. นโยบายและแผนระดบั ชาติว่าด้วยการพฒั นาดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
นโยบาย Thailand ๔.๐ เป็นนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยหรือโมเดลพัฒนาเศรษฐกิจ

ของรัฐบาล ซ่ึงมุ่งเน้นในเรื่องการพัฒนาสู่ “ความม่ันคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน” ด้วยการสร้าง “ความเข้มแข็งจาก
ภายใน” ขับเคลื่อนตามแนวคิด “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ผ่านกลไก “ประชารัฐ” ท้ังน้ี การดาเนินการ
ปรับเปล่ียนให้ประเทศไทยสามารถมุ่งสู่ Thailand ๔.๐ ได้เป็นผลสาเร็จ จาเป็นต้องขับเคล่ือนผ่านกลไกภาครัฐ
ดังน้ัน รัฐบาลจึงกาหนดแนวทางการปฏิรูประบบราชการใหม่ตามโมเดล Government ๔.๐ เพ่ือมุ่งสู่ Thailand ๔.๐
โดยได้กาหนดยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี เพื่อให้ภาครัฐปรับตัวให้เข้ากับเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัล (Digital
society) นอกจากน้ี ยังยกระดับประสิทธิภาพการทางานของรัฐบาลเข้าสู่การเป็นรัฐบาล (Digital government)
ที่มีการทางานแบบอัจฉริยะให้บริการโดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง (People centric) และขับเคลื่อนให้เกิด
การเปลยี่ นแปลงได้อย่างแท้จริง โดยอยูบ่ นพน้ื ฐานของการบรู ณาการเชอื่ มโยงข้อมูลและการดาเนนิ งานร่วมกนั ระหว่าง
หน่วยงาน (Government integration) การนาเทคโนโลยีและอุปกรณ์ดิจิทัลมาสนับสนุนการปฏิบัติงาน (Smart
operations) ท่ีประหยัดและคุ้มค่า และการยกระดับงานบริการภาครัฐให้ตรงกับความต้องการของประชาชน
ที่เปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา (Citizen-centric services) (นโยบายรัฐบาล) นโยบายดังกล่าว เป็นโอกาสที่เอ้ือ
ให้กระบวนการยุติธรรมซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงขององค์กรภาครัฐ ต้องทาการปฏิรูปงานใหม่ตามโมเดล Government
๔.๐ เพ่ือให้มีความก้าวหน้าในเชิงรุกและมีประสิทธิภาพ รองรับการขับเคล่ือนประเทศเข้าสู่ยุค Thailand ๔.๐
โดยแผนระดับชาตวิ ่าดว้ ยการพฒั นาดจิ ิทลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ไดก้ าหนดองคป์ ระกอบ
สาคัญเพอ่ื เป็นทิศทางการพฒั นาและปฏิรปู เปน็ ดจิ ทิ ัลไทยแลนด์ ดงั นี้

๑.๑ วิสัยทัศน์ “ปฏิรปู ประเทศไทยส่ดู ิจทิ ัลไทยแลนด์” โดยไดใ้ ห้ความหมาย ดจิ ิทัลไทยแลนด์ (Digital
thailand) หมายถึง ยุคที่ประเทศไทยสามารถสร้างสรรค์และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลได้เต็มศักยภาพโดย
การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน นวัตกรรม ข้อมูล ทุนมนุษย์และทรัพยากรอ่ืนใด เพ่ือขับเคล่ือนการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสงั คมของประเทศไปสู่ความมัน่ คง ม่ังค่ัง และย่งั ยืน

๑.๒ ภูมิทัศน์ดิจิทัลประเทศไทยระยะ ๒๐ ปี การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของประเทศไทย
มงุ่ เน้นการพัฒนาระยะยาวอย่างย่งั ยนื สอดคล้องกับการจดั ทายุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แตเ่ น่อื งจากเทคโนโลยีดิจิทัล
มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้น ในการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม จึงกาหนดภูมิทัศน์ดิจิทัลหรือ
ทิศทางการพัฒนาและเป้าหมายของประเทศไทยในระยะ ๒๐ ปี มีประเด็นสาคัญในการพัฒนาเทคโนลีดิจิทัล
ประเทศไทย ท้งั ๔ ระยะ คอื

ระยะที่ ๑ ในช่วง ๑ ปี ๖ เดือน ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ คือ ประเทศไทยลงทุนและสร้างฐานราก
ในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมดิจิทัล (Digital foundation)

ระยะที่ ๒ ในช่วง ๕ ปี เฟส ๑ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๗ คือ ทุกภาคส่วนของประเทศไทยมีสว่ นรว่ ม
ในเศรษฐกจิ และสังคมดจิ ิทัลตามแนวประชารฐั (Digital thailand: Inclusion)

ระยะท่ี ๓ ในช่วง ๑๐ ปี เฟส ๒ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๒ คือ ประเทศไทยก้าวสู่ดิจิทัลไทยแลนด์
ที่ขับเคลอื่ นและใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมดจิ ิทัลอย่างเตม็ ศักยภาพ (Digital thailand: Full transformation)

ระยะที่ ๔ ในช่วง ๒๐ ปี ภายในปี พ.ศ. ๒๕๘๐ คือ ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว
สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทลั สร้างมูลค่าทางเศรษฐกจิ และคณุ คา่ ทางสงั คมอยา่ งย่งั ยืน

๑๗ | P a g e

๑.๓ เป้าหมายการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ประเด็นเป้าหมายแผนระดับชาติว่าด้วย
การพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับศาลปกครอง การปฏิรูป
กระบวนทัศน์การทางานและการให้บริการของภาครัฐ ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลและการใชป้ ระโยชน์จากข้อมูลเพื่อให้
การปฏิบัติงานที่โปร่งใส มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพ่ือปรับปรุงการจัดลาดับโดย UN e-Government rankings
ให้ประเทศไทยจัดอยู่ในกลุ่มประเทศ ๕๐ อันดับแรก รวมถึงการพัฒนาทุนมนุษย์สู่ยุคดิจิทัล ด้วยการเตรียม
ความพร้อมให้บคุ ลากรทุกกลมุ่ มคี วามรู้และทกั ษะที่เหมาะสมตอ่ การดาเนนิ ชีวิตและการประกอบอาชพี ในยุคดิจิทัล
อยา่ งเกดิ ประโยชนแ์ ละสรา้ งสรรค์

๑.๔ ยุทธศาสตร์การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาดิจิทัลของ
ประเทศไทยตามวิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา ตามภูมิทัศน์ดิจิทัล ของประเ ทศไทย ได้กาหนดยุ ทธศาส ต ร์
การพัฒนาไว้ ๖ ยุทธศาสตร์ โดยมีส่วนท่ีศาลปกครองต้องมีการเชื่อมโยงเพื่อให้ทิศทางการพัฒนาสอดคล้องกับ
การพัฒนาดจิ ิทัลในระดับประเทศ ประกอบดว้ ย

(๑) การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูง ให้ครอบคลุมที่ทุกคนเข้าถึงและ
ใช้ประโยชน์เพื่อรองรับการใช้ระบบดิจิทัลไทยแลนด์ ซ่ึงจาเป็นต้องมีโครงสร้างพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
โทรคมนาคม และการแพร่ภาพกระจายเสียงที่มคี วามทนั สมยั มีคุณภาพ สามารถใหบ้ รกิ ารได้อยา่ งตอ่ เน่ือง

(๒) การสร้างสังคมคุณภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล โดยภาครัฐมีการรวบรวมและแปลงข้อมูล
องค์ความรู้ท้ังระดับประเทศและระดับท้องถ่ินให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและนาไปใช้
ประโยชนไ์ ดโ้ ดยง่ายและสะดวก ดว้ ยความรับผิดชอบตอ่ สงั คม

(๓) ปรับเปลี่ยนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล โดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับปรุง
ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการของหนว่ ยงานรฐั อย่างมีแบบแผนและเปน็ ระบบ และพัฒนาสกู่ ารเปน็ รฐั บาลดิจิทัล
โดยสมบูรณ์ รวมท้ังปรับเปลี่ยนบริการสาธารณะให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลที่ขับเคล่ือนตามความต้องการของ
ประชาชนหรือผใู้ ชบ้ ริการ โดยการเช่ือมโยงบรกิ ารภาครฐั เสมอื นเป็นองคก์ รเดยี ว

(๕) พัฒนากาลังคนให้พร้อมเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล พัฒนาบุคลากรผู้ทางาน
ให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์ และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างชาญฉลาดในการประกอบอาชีพ รวมถึง
การพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในบุคลากรภาครัฐให้มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญตามระดับ
มาตรฐานสากล เพอื่ ขบั เคลอ่ื นการพัฒนาประเทศในยุคดิจิทัล

(๖) สร้างความเชือ่ ม่ันในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั สรา้ งมาตรฐาน กฎหมาย กฎ ระเบยี บ และ
กติกาที่มีประสิทธิภาพ และทันสมัย เป็นพลังในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของประเทศ ตลอดจน
การสรา้ งความม่ันคงปลอดภยั ความเชอ่ื มัน่ และการคุม้ ครองสิทธิใหแ้ กผ่ ู้ใช้งานเทคโนโลยีดจิ ิทัลในทุกภาคสว่ น

๒. การนานโยบายไปสู่การปฏิบัตกิ ารด้านดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕)
ในการขับเคลื่อนการดาเนินงานตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม
ได้มีการแปลงวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ระยะยาวของนโยบายและแผนระดับชาติดังกล่าวไปสู่กรอบ
การปฏิบัติท่ีเป็นรูปธรรมในระยะส้ัน โดยจัดทาเป็นแผนปฏิบัติการด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ระยะ
๕ ปี ที่มุ่งเนน้ “การเปลยี่ นผา่ นประเทศไทยไปสู่การเปน็ ประเทศที่ขับเคล่ือนและใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยีดิจิทัล
ได้อย่างเตม็ ศักยภาพหรือ “Digital transformation” อนั เปน็ การสรา้ งรากฐานการพัฒนาประเทศให้เป็นประเทศ
ท่ีขับเคลื่อนการพัฒนาทั้งในมิติทางเศรษฐกิและสังคมด้วยนวัตกรรม รวมทั้งเพื่อสร้างศักยภาพในการแข่งขัน
ของประเทศ และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ซึ่งมีส่วนที่ศาลปกครองสามารถนาทิศทางตามแผนปฏิบัติการนี้
มาพจิ ารณานาไปสู่การปฏบิ ตั ิและใช้เปน็ ทศิ ทางท่ีสอดคลอ้ งกบั การดาเนินงานของศาลปกครอง ประกอบด้วย

๑๘ | P a g e

๒.๑ ยุทธศาสตร์การปรับเปล่ียนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล ในประเด็นการปฏิรูปการบริหาร
จัดการของภาครัฐ (Government transformation for government management) ภายใต้การเปล่ียนแปลง
ทางเทคโนโลยีดิจิทัลที่เกิดข้ึนอย่างก้าวกระโดดได้ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงกระบวนการทางานของภาครัฐ
ซึ่งหน่วยงานภาครัฐสามารถนาเอาเทคโนโลยีเหล่านั้นมาปรับใช้กับการให้บริการประชาชน การบริหารจัดการ
ภาครัฐ การกาหนดนโยบายต่าง ๆ รวมไปถึงการแก้ไขปัญหา อุปสรรค หรือความท้าทายต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น ซึ่งจะทาให้
รูปแบบการทางาน การให้บริการ และการดาเนินการต่าง ๆ ของภาครัฐเปลี่ยนแปลงจากเดิม มีความทันสมัย รวดเร็ว
น่าเช่ือถอื และโปร่งใส มงุ่ สู่การเป็นรัฐบาลดิจิทลั อยา่ งสมบรู ณโ์ ดยกาหนดแนวทางการขับเคล่อื น คือ

(๑) บูรณาการและยกระดับประสิทธิภาพการดาเนินงานภาครัฐ ผ่านการเช่ือมโยงระบบจาก
หลายส่วนงานเพ่ือการบริหารจัดการ ได้แก่ ด้านการเงินและการใช้จ่าย ด้านการจัดซ้ือจัดจ้าง ด้านการบริหาร
สนิ ทรพั ย์ และดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์ รวมทง้ั การจ่ายเงินเดอื น

(๒) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐ ควบคู่ไปกับการยกระดับ
ขีดความสามารถและทักษะเชิงดิจิทัลให้กับเจ้าหน้าที่ภาครัฐทุกระดับและทุกหน่วยงานเพ่ือเป็นรากฐานของ
การพฒั นารัฐบาลดจิ ทิ ัลโดยสมบูรณ์

ปัจจัยสาคัญในการดาเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์น้ี คือ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเครือข่าย
ส่ือสารข้อมูลและการเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐ การพัฒนาศูนย์จัดเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูลภาครัฐ โดยมี
วตั ถปุ ระสงค์เพอื่ เพ่ิมประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั

๒.๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (Digital infrastructure) การพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานเทคโนโลยีดิจิทัล โทรคมนาคม และการแพร่ภาพกระจายเสียงท่ีมีความทันสมัย มีคุณภาพ ขนาดเพียงพอ
ครอบคลุมการใช้งาน โดยมีแนวทางการขับเคล่ือนการเปลี่ยนแปลงด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลของ
ประเทศไทย จากปัจจุบันท่ีอัตราการเข้าถึงบรอดแบนด์ของประชากรไทยที่ยังต่า และโครงข่ายสื่อสารระหว่าง
ประเทศท่ีเชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้านที่ยังมีจากัด จาเป็นต้องมีการวางรากฐานด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจทิ ัลของ
ประเทศไทยท้ังภายในประเทศและระหว่างประเทศใหม้ ีความทันสมยั มคี ณุ ภาพ ขนาดเพียงพอ ครอบคลุมทกุ พื้นที่

๒.๓ ยุทธศาสตร์การสร้างความเช่ือมั่นในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัลยังมาควบค่กู นั กบั ภัยคกุ คามทางไซเบอรท์ ีส่ ามารถสรา้ งความเสยี หายแก่ระดบั บุคคลและระดับประเทศ

(๑) การเสรมิ สร้างความม่ันคงปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cybersecurity) จากการจัดอันดบั ของ
Global cybersecurity index & Cyberwellness profiles โดยในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ สหภาพโทรคมนาคมระหว่าง
ประเทศ (ITU) จดั ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศลาดับท่ี ๑๕ จากท้งั หมด ๒๙ ลาดับกลุม่ ประเทศ ซึ่งประเทศไทย
ยังเป็นรองสิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย จึงเป็นประเด็นเร่งด่วนท่ีต้องบริหารจัดการเพ่ือให้ประชาชนและ
ภาคธรุ กจิ มีความเชือ่ มัน่ ในการทาธุรกรรมออนไลน์ มรี ะบบรองรับทปี่ ลอดภยั จากภัยคุกคามไซเบอร์ มีการคมุ้ ครอง
ขอ้ มลู ส่วนบุคคลมีมาตรการคมุ้ ครองและเยียวยาผู้บริโภค โดยไดม้ ีแนวทางการขับเคล่อื นท่สี าคญั คอื

 การจัดตั้งหน่วยงานกลางด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติการพัฒนา
กลไกการปกป้องโครงสร้างพ้ืนฐาน การพัฒนา Security framework and standards ไปจนถึงการพัฒนากาลังคน
ผ้เู ชีย่ วชาญดา้ น Cybersecurity ของประเทศไทย

 การผลักดันกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การพัฒนากลไกเฝ้าระวัง
ลดความเสี่ยงและผลกระทบจากการฉอ้ โกงออนไลน์ การพัฒนากระบวนการระงับขอ้ พพิ าทออนไลน์

๑๙ | P a g e

(๒) การพัฒนากฎหมายและมาตรฐานดิจิทัล (Digital law & regulations) กฎหมายและ
มาตรฐานเป็นปัจจัยสาคัญที่จะต้องปรับปรุงให้ทันสมัยรองรับการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นอยู่เสมอ โดยรัฐบาล
ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในประเด็นน้ีเช่นกัน จึงได้ตรากฎหมายที่เก่ียวข้องเพื่อให้เกิดความชัดเจนและถือปฏิบัติ
เป็นบรรทดั ฐานเดียวกัน

๒.๕ ยทุ ธศาสตร์พัฒนากาลังคนให้พร้อมเขา้ สยู่ คุ เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล (Digital manpower
and digital literacy) การพัฒนาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีดิจิทัล ประชากรในยุคปัจจุบันจึงต้องมีความสามารถ
ในการเรียนรู้ พัฒนาตนเองให้เท่าทันกับเทคโนโลยีท่ีพัฒนาอย่างรวดเร็วตลอดเวลา สามารถประมวลผลข้อมูลที่มี
ความซบั ซอ้ น คดิ อย่างเป็นระบบ และตดั สนิ ใจจากข้อมูลท่ีหลากหลายได้ และตอ้ งสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากโอกาส
ท่ีมากับเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสร้างนวัตกรรม พัฒนางานในหน้าท่ี หรือพัฒนาตนเองซ่ึงการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ในการทางานและการดารงชีวิตได้มีการจดั ประเภทของทักษะท่ีจาเปน็ ไว้ ๔ ทกั ษะ ไดแ้ ก่

(๑) Digital literacy เป็นทักษะพ้ืนฐานที่ทุกคนต้องมี ได้แก่ การอ่านออกเขียนได้ การคิดวิเคราะห์
และรู้ทันข้อมูลในโลกยุคดิจิทัล มีความรู้ความเข้าใจเรื่องความปลอดภัย ความเป็นส่วนตัว เป็นทักษะที่จาเป็น
ตอ้ งมเี พอื่ การดารงชวี ติ ในสงั คมยุคดจิ ทิ ัล

(๒) Complimentary skills ซึ่งเป็นทักษะ Non - Digital พ้ืนฐานท่ีจาเป็นสาหรับการทางาน
ในยุคดิจิทลั เชน่ การทางานเปน็ ทีม การประมวลผลขอ้ มูล การสื่อสาร การวางแผนและการแกไ้ ขปญั หา

(๓) Generic digital skills ซ่ึงเป็นทักษะด้านดิจิทัลพ้ืนฐานสาหรับการทางานในบริษัทท่ัวไป
ในยุคปัจจุบนั ได้แก่ ความสามารถในการคน้ หาข้อมูล การใช้ซอฟต์แวร์และอปุ กรณด์ จิ ิทลั ตา่ ง ๆ

(๔) Specialist skills คือทักษะในการทางานด้านดิจิทัลระดับสูง ได้แก่ การเขียนโปรแกรม
การสรา้ งแอปพลิเคชัน หรือการบริหารจดั การระบบดิจทิ ัล เป็นตน้

๓. (ร่าง) แผนพัฒนารัฐบาลดจิ ิทัลของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕
รัฐบาลดิจิทัล หมายความว่า การนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงานภาครัฐ

และการบริการสาธารณะ โดยปรับปรุงการบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูลภาครัฐและการทางานให้มี
ความสอดคล้องและเชอื่ มโยงเข้าด้วยกันอย่างม่ันคงปลอดภัยและมีธรรมาภิบาล เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพและอานวย
ความสะดวกในการให้บริการประชาชน ในการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐต่อสาธารณชน และสร้างการมีส่วนร่วม
ของทกุ ภาคส่วน โดยมีองค์ประกอบของแผน คือ

๓.๑ วิสยั ทัศน์ “รัฐบาลดจิ ิทัล เปดิ เผย เช่ือมโยง และรว่ มกันสรา้ งบรกิ ารท่ีมีคณุ ค่าให้ประชาชน”

๓.๒ ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทลั
(๑) ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยกระดับหน่วยงานภาครฐั ไปสู่องค์กรดิจิทัลให้พร้อมท้ังข้อมูลสามารถบริการ

ได้ตรงตามความต้องการของประชาชน
กลยุทธ์ที่ ๑ ปรับเปล่ียนข้อมูลปัจจุบันให้เป็นข้อมูลดิจิทัลท่ีได้มาตรฐาน โดยการกาหนด

หลักเกณฑ์ แนวทาง หรือมาตรฐานการจัดทาข้อมูลดิจิทัล และสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์
แนวทาง หรอื มาตรฐานการจดั ทาขอ้ มลู ดิจทิ ลั รวมท้ังติดตามการปรับเปลี่ยนขอ้ มูลดจิ ทิ ลั ของหนว่ ยงานภาครฐั

กลยุทธ์ท่ี ๒ ปรับปรุงกระบวนการและพัฒนาบริการดิจิทัลตามความต้องการของ
ประชาชน โดยกาหนดหลักเกณฑ์ แนวทาง หรือมาตรฐานการพัฒนาบริการดิจิทัล สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับ
หน่วยงานภาครัฐ และมีการติดตามการปรับเปลี่ยนกระบวนการของบริการท่ีสาคัญ รวมท้ังส่งเสริมการพัฒนา
บริการดจิ ิทัลของหน่วยงานภาครัฐใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน

๒๐ | P a g e

กลยุทธ์ท่ี ๓ สร้างความพร้อมของบุคลากรและเครื่องมือเพื่อพัฒนาไปสู่องค์กรดิจิทัล
โดยการยกระดบั ทักษะและทัศนคตดิ ้านดิจทิ ัลของบุคลากรภาครฐั สร้างกลไกการบรหิ ารและการกากบั การทางาน
ด้านดิจิทัลทั้งในหน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค สนับสนุนเครื่องมือดิจิทัลที่จาเป็นในการเพ่ิมความสามารถ
ในการทางาน สนับสนุนมาตรการหรือกลไกทีจ่ าเป็นในการลดอุปสรรคต่อการปฏบิ ตั ิงานในรูปแบบดจิ ทิ ลั

ผลทค่ี าดวา่ จะได้รับ คอื หนว่ ยงานภาครัฐปฏิรูปการทางานเป็นดิจทิ ลั ตามมาตรฐานเดียวกัน
มีบริการดิจิทัลท่ีบูรณาการข้ามหน่วยงานด้วยมาตรฐานเดียวกัน และบุคลากรภาครัฐมีความพร้อมต่อการทางาน
ในรูปแบบดจิ ิทลั

(๒) ยุทธศาสตร์ที่ ๒ พัฒนาและบูรณาการแพลตฟอร์มดิจิทัลภาครัฐเพื่อการบริหารงานและ
บริการประชาชนอย่างมปี ระสิทธิภาพ

กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาแพลตฟอร์มเพ่ือให้ประชาชนสามารถใช้บริการดิจิทัลเต็มรูปแบบ
โดยการพฒั นาแพลตฟอร์มดจิ ิทลั ภาครฐั ที่ไดม้ าตรฐาน และสง่ เสรมิ การใช้งานบรกิ ารภาครฐั ผ่านแพลตฟอรม์ ดิจิทัล
ภาครฐั แบบเบ็ดเสรจ็

กลยุทธ์ท่ี ๒ พัฒนาแพลตฟอร์มเพ่ือยกระดับการบริหารงานภายในภาครัฐ โดยมุ่งเน้น
การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลสาหรับผู้บริหารระดับสูงของประเทศ และสนับสนุนการทางานของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ
สนับสนุนมาตรการทีจ่ าเปน็ ในการลดอปุ สรรคตอ่ การยกระดับการบริหารงานภายในภาครัฐ

กลยุทธ์ที่ ๓ สนับสนุนการสร้างสภาพแวดล้อมการทางานร่วมกันบนแพลตฟอร์มดิจิทัล
ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานดิจทิ ลั และสนับสนุนการสรา้ งสภาพแวดล้อมทเี่ อ้ือตอ่ การเชอ่ื มต่อการทางานร่วมกนั

ผลที่คาดว่าจะได้รับ คือ มีศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลดิจิทัล ทะเบียนดิจิทัลและศูนย์บริการ
ออนไลนแ์ บบเบด็ เสร็จ รวมทง้ั มีแพลตฟอร์มบริหารจัดการงานภาครัฐ ระบบยืนยนั ตัวตนอิเลก็ ทรอนิกส์ และระบบ
การชาระเงินดิจทิ ัล

(๓) ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่งเสริมการเปิดข้อมูลดิจิทัลภาครัฐ เเละการใช้ข้อมูลเพื่อส่งเสริมใหเ้ กดิ
ความโปรง่ ใส สร้างการมสี ่วนร่วม รวมถึงสรา้ งนวตั กรรมใหม่

กลยุทธ์ท่ี ๑ ผลักดันการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐพร้อมยกระดับศูนย์ข้อมูลเปิดภาครัฐ
มีแนวทางสาคัญ คือ กาหนดหลักเกณฑ์ แนวทาง/มาตรฐานข้อมูลเปิดภาครัฐ พัฒนาปรับปรุงและยกระดับ
ศนู ยก์ ลางข้อมลู เปดิ ภาครฐั สนบั สนนุ มาตรการทีจ่ าเปน็ ในการลดอปุ สรรค

กลยทุ ธท์ ่ี ๒ สง่ เสรมิ การใช้ประโยชน์จากข้อมูลเปิดเพ่ือความโปร่งใส สร้างการมสี ่วนร่วม
และส่งเสริมนวัตกรรม แนวทางการดาเนินการ คือ ส่งเสริมประชาสัมพันธ์ สร้างมาตรการกระตุ้น สร้างเครือข่าย
ความรว่ มมือกับภาคสว่ นทเ่ี ก่ียวข้องทัง้ ภายในและต่างประเทศ

ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ คือ หน่วยงานภาครัฐมีการเปิดเผยข้อมูลดิจิทัลสู่สาธารณะ รวมท้ัง
มีศนู ย์ข้อมลู เปดิ ภาครฐั และมีกิจกรรมสง่ เสริมการใช้ประโยชน์จากขอ้ มลู

๓.๓ เป้าหมายของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล คือ ยกระดับหน่วยงานภาครัฐทางานแบบชาญฉลาดขน้ึ
ด้วยเทคโนโลยดี ิจิทลั สร้างแพลตฟอร์มดิจิทลั ภาครัฐเพ่ือบริการที่ดีขน้ึ สาหรับประชาชน และสนับสนนุ การเปิดเผย
ข้อมูลภาครัฐ รวมทั้งการใช้ข้อมูลเพ่ือสร้างประโยชน์แก่ทุกภาคส่วน โดยมีกรอบแนวทางการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) มีสาระสาคัญ ดังนี้

(๑) ภาครัฐปฏิรูปการทางานและการให้บริการให้เป็นรูปแบบดิจิทัล โดยบริหารจัดการข้อมูล
ใหอ้ ยูใ่ นรูปแบบดจิ ทิ ลั ตามหลักธรรมาภิบาล

๒๑ | P a g e

(๒) ภาครฐั มีการเชื่อมโยงและแลกเปล่ยี นข้อมลู มขี อ้ มูลในรปู แบบดจิ ิทัลที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
ทสี่ ามารถเชอื่ มโยงและแลกเปล่ยี นข้อมูลดจิ ทิ ลั ได้อย่างเป็นระบบ รวมทง้ั เพ่มิ การใชป้ ระโยชน์จากขอ้ มูลชุดเดียวกัน
อยา่ งเตม็ ประสิทธภิ าพ

(๓) ภาครัฐพัฒนาการให้บริการที่เน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง เพื่ออานวยความสะดวกให้ประชาชน
สามารถติดตอ่ และทาธุรกรรมกับหนว่ ยงานภาครฐั ได้แบบทุกที่ ทุกเวลา

(๔) ภาครัฐมีการเชื่อมโยงการบริหารจัดการและให้บริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว
มกี ารทางานในรปู แบบดิจิทัลที่สามารถตดิ ตอ่ ส่ือสาร ทางานขา้ มหน่วยงานไดอ้ ย่างไมม่ ขี ้อจากัด

(๕) ภาครัฐเปิดเผยข้อมูลในรูปแบบดิจิทัล เปิดเผยข้อมูลในรูปแบบดิจิทัลต่อสาธารณะอย่าง
ไม่มเี งือ่ นไข และง่ายต่อการนาไปใชง้ านหรอื อยู่ในรปู แบบท่เี คร่อื งมือดจิ ิทลั อ่านได้

๓.๔ ประโยชน์ท่ีประชาชนจะได้รับในระยะ ๕ ปี ประชาชนได้รับบริการดิจิทัลจากภาครัฐที่สะดวก
ถกู ใจ ทาได้ทุกทที่ กุ เวลา

(๑) ประชาชนและธุรกิจเริ่มได้ใช้บริการภาครัฐผ่านช่องทางออนไลน์แบบเบ็ดเสร็จได้ ทาให้
ประหยดั ค่าใช้จา่ ย สะดวก และรวดเรว็ ในการใชบ้ รกิ าร

(๒) ได้รับบริการดิจิทัลตรงตามกับความต้องการมากขึ้น และใช้ง่ายด้วยบัตรประชาชนหรือ
การยนื ยันตวั ตนทางดจิ ิทัลในการตดิ ต่อหรอื ทาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

(๓) ประชาชนสามารถติดตามสถานะการขอใชบ้ รกิ ารภาครัฐได้อย่างสะดวก และสามารถตดิ ตาม
การช่วยเหลือ การแก้ไขปัญหาแบบเบ็ดเสร็จได้อย่างรวดเร็วฉับไว โดยการเชื่อมโยงข้อมูลและบูรณาการ
การทางานของหน่วยงานภาครัฐ

การพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ิทัลของหนว่ ยงานในกระบวนการยุติธรรมประเทศไทย

๑. การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของกระทรวงยุติธรรม๑ ได้กาหนดวิสัยทัศน์ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
ของกระทรวงยุติธรรม คือ “บริหารงานยุติธรรมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลระดับสากล” โดยได้พิจารณากาหนด
กรอบดาเนินงานสาคัญ ๖ ด้าน คือ ด้านนโยบาย ด้านการให้บริการข้อมูล ด้านระบบสารสนเทศ ด้านโครงสร้าง
พื้นฐาน และด้านบุคลากร โดยมีเป้าหมาย คือ จัดทามาตรฐานข้อมูลให้มีความม่ันคงปลอดภัย มีระบบบริการ
ประชาชน รวมทั้งการบูรณาการข้อมูลเพื่อการปฏิบัตงิ าน และการสนบั สนุนการตัดสินใจของผู้บริหารดว้ ยบุคลากร
ที่มคี วามรู้ความสามารถ โดยมยี ทุ ธศาสตร์สาคญั ๔ ดา้ น คือ

ยุทธศาสตรท่ี ๑: ยกระดับโครงรสร้างพ้ืนฐานสนับสนุนการปฏิบัติงานและการให้บริการท่ัวถึง
มน่ั คง และปลอดภัย มงุ่ เน้น ๒ ดา้ น คอื สงเสริมและขยายการใชบริการระบบ Cloud computing เพอ่ื สนบั สนุน
การปฏิบัติงานและรองรบั การให้บรกิ ารดิจิทัล และสร้างความม่ันคงปลอดภัยเทคโนโลยีดิจิทัลตามมาตรฐานสากล
มุง่ เนน้ การพฒั นาเพื่อการบรกิ ารดจิ ิทลั กระทรวงยตุ ิธรรมและการสื่อสารมงุ่ สู่การเป็นองค์กรดจิ ิทัล

ยุทธศาสตรท่ี ๒: เสริมสร้างมาตรฐานและผลักดันการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อขับเคลื่อน
กระทรวงยตุ ิธรรม โดยเพม่ิ ขีดความสามารถการบรหิ ารจดั การเทคโนโลยดี ิจทิ ัล และยกระดับมาตรฐานข้อมูลกลาง
ให้สามารถบูรณาการข้อมูลร่วมกันด้วยการจัดทาสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise architecture) รวมท้ัง
การประยุกตใช้และพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน การจัดทามาตรฐาน
การจัดเกบ็ และรูปแบบข้อมลู ดา้ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Data standard)

๑ แผนปฏิบตั กิ ารดจิ ิทลั กระทรวงยตุ ธิ รรม พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔

๒๒ | P a g e

ยุทธศาสตรที่ ๓: มุ่งการพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร การปฏิบัติงาน และการบริการ
ท่ีเป็นเลิศ เพิ่มชองทางในการเข้าถึงความยุติธรรม เพ่ือใหบริการประชาชนและผู้ท่ีเกี่ยวของได้ทุกที่ทุกเวลา อาทิ
การให้บริการผานทางอุปกรณสื่อสารไร้สาย การให้บริการผานทางระบบสนับสนุนการบริการ รวมถึงอานวย
ความสะดวกในการปฏิบัติงานของบุคลากรในกระทรวงยุติธรรม ทงั้ ในระดับบรหิ ารและปฏิบัติงาน อาทิ เทคโนโลยี
การวิเคราะห์ข้อมูลอัจฉริยะ (Business Intelligence) สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร ระบบสารสนเทศ
รองรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรของกระทรวงยุติธรรม และการบูรณาการ
แลกเปลย่ี นขอ้ มลู ดจิ ทิ ัลกระทรวงยตุ ธิ รรม

ยุทธศาสตรท่ี ๔: พัฒนาบุคลากรเขาสู่ยุคดิจิทัล พัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสารแก่บุคลากรผู้เกี่ยวข้องให้มีประสิทธิภาพ นาไปสู่การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอยางยั่งยืน
เพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานเพ่ือให้เกิดความคุ้มค่าตอการลงทุนในระดับผู้บริหาร พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารให้สามารถบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลได้อยางมีประสิทธิภาพ และบุคลากร
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พัฒนาความรู้ตามภารกิจหนาท่ี เพื่อให้มีความสามารถบริหารจัดการ
และดาเนินงานดา้ นเทคโนโลยีดจิ ิทัลไดอ้ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ

ปัจจัยความสาเร็จ ความสาเร็จในการขับเคล่ือนเทคโนโลยีดิจิทัลให้สามารถบรรลุได้ตามวิสัยทัศน
พันธกิจและยุทธศาสตรด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งกาหนดไว้ ๖ ปัจจัยสาคัญ ประกอบด้วย การสนับสนุนและ
นโยบายที่ชัดเจนจากผู้บริหาร ความร่วมมือของสวนราชการในสังกัดและเจ้าหนาที่ผู้ปฏิบัติ ทัศนคติในการใช้
เทคโนโลยีดิจิทัล การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญของ
ผู้พัฒนาระบบ และการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อรองรบั การเขา้ สู่
ยคุ ดจิ ทิ ลั

๒. การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลยุติธรรม ได้กาหนดวิสัยทัศน์ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล คือ
“ศาลยุติธรรมใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาให้บริการประชาชนเพื่อเข้าถึงการอานวยความยุติธรรม โดยสะดวก รวดเร็ว
และประหยัดคา่ ใช้จ่าย” โดยไดก้ าหนดยทุ ธศาสตร์การดาเนนิ งานสาคัญ ๕ ดาน คือ

ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาระบบงานสารสนเทศเพ่ือยกระดับงานอานวยความยุติธรรม คือ ศาลยุติธรรม
มีระบบงานสารสนเทศท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกันท้ังในส่วน e-Court และ e-Office เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน
และให้บรกิ ารประชาชนอยา่ งรวดเร็ว ประหยดั เวลา และคา่ ใชจ้ า่ ย

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ บริหารจัดการและบูรณาการข้อมูลเพ่ือนามาใช้ประโยชน์ร่วมกัน คือ ศาลยุติธรรม
มีการบริหารจัดการและบูรณาการการใช้ประโยชน์ของข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงานภายในศาลยุติธรรม
และหน่วยงานภายนอกทเี่ ก่ียวขอ้ ง เพ่ือให้ประชาชนเข้าถงึ การบรกิ ารไดส้ ะดวกและงา่ ยขึ้น

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ ปรับกระบวนทัศนแ์ ละยกระดบั ศักยภาพดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศของบคุ ลากร
ศาลยุติธรรม คือ ผู้บริหารและบุคลากรศาลยุติธรรมทุกระดับมีความสามารถและทักษะในการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั
อย่างชาญฉลาดในการปฏิบัติงาน เพ่ือเพิ่มความโปร่งใส และความเช่ือมั่นต่อการอานวยความยุติธรรมของ
ประชาชนในสังคม

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ พฒั นาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือสนับสนุน
งานตามภารกิจของศาลยุติธรรม คือ ศาลยุติธรรมมีโครงสร้างพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
ทีม่ ีความมัน่ คงปลอดภยั มมี าตรฐาน สามารถรองรับการปฏิบตั ิงานและการใหบ้ ริการประชาชนอยา่ งเหมาะสม

๒๓ | P a g e

ยุทธศาสตร์ที่ ๕ พัฒนานวัตกรรมดิจิทัลเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการอานวยความยุติธรรม
ศาลยุติธรรมใช้นวัตกรรมดิจิทัลที่ทันสมัยเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการคดีและอานวยความยุติธรรม
ไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ และเสียค่าใช้จ่ายนอ้ ย

นอกจากการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลแล้ว ศาลยุติธรรมได้กาหนดเป้าหมาย
ประจาปี (Annual goals) ในการพัฒนาเทคโนโลยีดิจทิ ลั ของศาลยตุ ธิ รรมไวส้ าหรบั ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔ ดงั น้ี

เป้าหมายประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปีสาหรับการบริการที่รวดเร็วและดีเพิ่มมากขึ้น (Faster and
better service) โดยพัฒนาระบบสารสนเทศในการติดต่อราชการศาลชั้นต้น ท่ีรวดเร็ว ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย
มีระบบติดต่อส่ือสารท่ีรวดเร็วทั่วถึงทุกพ้ืนท่ีผ่านระบบ Streaming และ Conference โดยการสร้างวัฒนธรรม
องคก์ รในการปรบั เปลี่ยนวิธีคิดและวิธีการทางาน

เป้าหมายประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มเี ป้าหมายเป็นศาลดิจิทัล (Digital court) คอื ศาลยตุ ิธรรมท่วั ประเทศ
ให้บริการแก่ประชาชนด้วยระบบดิจิทัล ทาให้การบริการสะดวก รวดเร็ว ประหยัดค่าใช้จ่าย ลดการใช้กระดาษ
รวมท้ังบูรณาการเช่ือมโยงข้อมูลด้วยระบบดิจิทัลของหน่วยงานภายใน หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมและ
หนว่ ยงานอ่นื ที่เก่ยี วขอ้ ง

เป้าหมายประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๔ มเี ปา้ หมายมุ่งเน้นการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิผล (Effectiveness)
ศาลยุติธรรมมีระบบสารสนเทศที่มีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน ข้อมูลที่จัดเก็บในระบบดิจิทัลมีการรักษาความลับ
และมีความม่ันคงปลอดภัย มีการเพิ่มช่องทางการให้บริการประชาชนที่หลากหลายผ่านนวัติกรรมดิจิทัล รวมท้ัง
มีระบบการบริหารจัดการงานศาลท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้บริหารศาลยุติธรรมสามารถใช้ข้อมูลและระบบดิจิทัล
เพื่อสนบั สนนุ การตัดสินใจและสร้างคุณค่าศาลยุติธรรมได้จากข้อมลู

การนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยสนับสนุนการดาเนินงานของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม
และศาลยุติธรรมมุ่งเน้นการสนับสนุนการบริการที่ดีเพ่ิมข้ึน การบูรณาการทางานระหว่างหน่วยงาน รวมท้ัง
สนับสนุนการดาเนินงานให้มีความทันสมัย รวดเร็ว ประหยัดค่าใช้จ่าย ลดต้นทุนของการดาเนินงานและ
การดาเนินงานมีประสิทธิภาพเพิ่มมากข้ึน นอกจากน้ี ต้องการพัฒนาศักยภาพการทางานของบุคลากรให้มีความรู้
ทักษะทางดานดิจิทัลให้ดีเพิ่มขึ้น รวมท้ังตอบสนองตอการใหบริการประชาชนได้อยางมีประสิทธิภาพ โดยกาหนด
เป้าหมาย คือ พัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อการบริการท่ีรวดเร็ว ประหยัดค่าใช้จ่าย มีการบูรณาการเชื่อมโยงข้อมูล
ที่มีมาตรฐานระหว่างหน่วยงาน เพื่อใช้ข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจและสร้างคุณค่าให้กับองค์กรด้วยนวัตกรรม
ดจิ ิทลั และสรา้ งวฒั นธรรมทยี่ อมรับการปรับเปลยี่ นเข้าสยู่ ุคดิจิทลั

๒๔ | P a g e

ทศิ ทางการพัฒนาเทคโนโลยดี จิ ิทลั ของศาลในตา่ งประเทศ

การนาเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใชใ้ นศาล State Courts แหง่ สาธารณรัฐสิงคโปร์๒

การปรบั สภาพแวดลอ้ มทางดิจิทลั ให้เอื้อสาหรับอานวยความสะดวกและชว่ ยเหลือประชาชน มสี ว่ นสาคัญ
ของศาลในสาธารณรฐั สงิ คโปร์ โดยนาเทคโนโลยีดิจิทลั มาใชส้ นับสนุนการดาเนนิ งาน ดังน้ี

๑. การส่งมอบบริการของศาลที่เป็นเลิศ (Delivering excellent court services) โดยมุ่งเน้นไปท่ี
การให้คาปรึกษาแบบรวมศูนย์ บริการด้านจิตวิทยา และปรับเปลี่ยนบริการถอดความ รวมท้ังมีการจัดเตรียมบริการ
ข้อมูลและทรัพยากรทางกฎหมายให้เข้าถึงได้สะดวก ปรับปรุงระบบการเข้าถึงเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของศาลสาหรับ
ผู้ต้องขงั นอกจากนี้ ยงั รวมถงึ การใหค้ าแนะนาทางกฎหมาย โดยมีแนวทางการดาเนินงานทางดจิ ทิ ัล ดังนี้

๑.๑ การอานวยความสะดวกให้บริการประชาชนผ่านอุปกรณ์เคล่ือนที่ส่ือสารไร้สาย (Mobile
technology facility services) เพื่อที่จะสนับสนุนให้นักกฎหมายใช้ประโยชน์จาก Mobile ได้ใช้ในห้อง
พจิ ารณาคดีทุกแห่ง รวมท้ังการใช้ Skype ซึง่ คกู่ รณสี ามารถมีส่วนร่วมในการพิจารณาคดีเสมือนได้ โดยการประชุม
ผ่านทางวิดีโอเพ่ือความสะดวก ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายสาหรับคู่กรณี นอกจากนี้ ยังจัดให้มีระบบช่วยเหลือ
สาหรับผู้ที่สูญเสียการได้ยินและช่วยเรื่องการฟัง (Assistive listening systems) โดยห้องพิจารณาคดีและห้องประชุม
ท้ังหมดได้รับการติดตั้งระบบ Assistive listening systems เพ่ือใช้เครื่องช่วยฟัง รวมทั้งมีเครื่องมือให้บรกิ ารออนไลน์
สาหรับคดีแพ่ง (Civil online toolkit) ที่ครบวงจรและสะดวกสบายโดยสามารถเข้าถึงได้จากอุปกรณ์ประเภทต่าง ๆ
ได้ตลอดเวลาสาหรับค่คู วามท่ีไมม่ ที นายความ หรอื ผู้แทนในการฟ้องคดี

๑.๒ ศาลเทคโนโลยี (Technology courts) นักกฎหมายสามารถเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์พกพา
ส่วนตัวเข้ากับระบบภาพและเสียงเพื่อแสดงหลักฐาน โดยแสดงภาพบนจอภาพและหน้าจอ เพื่อให้ทุกคนได้ดู
พร้อมกันผ่านระบบจัดการจอแสดงผลส่วนกลาง (Centralized display management system: CDMS) เพื่อให้
นักกฎหมายและสมาชิกของสาธารณชนได้รับทราบตารางการพิจารณาคดีท่ีเป็นปัจจุบันและทันสมัย โดยเชื่อมโยง
บูรณาการระบบ CDMS เข้ากับระบบการฟ้องคดีทางอิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ (e-Litigation) ซ่ึงช่วยให้ผู้ใช้
สามารถเข้าถึงข้อมูลท่ีเก่ียวข้องได้ นอกจากน้ี ศาลยังอนุญาตให้แสดงภาพวัตถุ ๓ มิติหรือเอกสารสาเนาภาพถ่าย
จากอปุ กรณ์เคลือ่ นที่สื่อสารไร้สายอัจฉรยิ ะ (Smartphone) ไดด้ ว้ ย

๒. ยกระดับการเข้าถึงความยุติธรรมของผู้ต้องขัง (Enhancing inmates’ access to justice) มุ่งเน้น
เร่อื งการพจิ ารณาแนวทางการแกไ้ ขปัญหาท่นี ามาใชโ้ ดยศาลของรัฐในการจัดการคดตี ่าง ๆ ได้แก่

๒.๑ ระบบถอดความดิจิทัล (Digital transcription system (DTS)) โดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
ทห่ี ลากหลาย เพือ่ จัดทาระบบแบบบูรณาการและอานวยความสะดวกในการบนั ทึกเสียงดจิ ทิ ลั จากการพจิ ารณาคดี
และทาการถอดความแบบอัตโนมัติ ระบบยังอนุญาตให้มีการซิงโครไนส์ข้อมูลจากการบันทึกเสียงแบบดิจิทัล
พร้อมคาอธิบายประกอบ ซ่ึงทาโดยผู้พิพากษาระหว่างการพิจารณาคดี คุณสมบัติน้ีช่วยให้ผู้พิพากษาดาเนินการ
ค้นหาและทบทวนการบันทึกเสียง และคาอธิบายประกอบท่ีเก่ียวข้องหลังจากการพิจารณาคดี นอกจากนี้
ยังรองรับการถอดความจากระยะไกลเพ่ือให้ผู้ถอดความของศาลไม่จาเป็นต้องอยู่ในห้องพิจารณาคดี และปัจจุบัน
ในบางศาลได้นาระบบถอดความอย่างชาญฉลาดของศาล (Intelligent court transcription system) ท่ีเป็นเทคโนโลยี
การรู้จาเสียงธรรมชาติ (Natural speech recognition) และแปลงเสียงเป็นข้อความโดยอัตโนมัติ รวมทั้งการแทรก
เครอ่ื งหมายวรรคตอนมาใชง้ าน

๒ เอกสารการประชมุ การจดั ทาแผนประจาปี ๒๐๑๙ ของ State Court หวั ขอ้ “State Courts: 2020 and Beyond”

๒๕ | P a g e

๒.๒ ระบบการพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic hearings) ห้องพิจารณาคดีท้ังหมด
ในอาคารศาลของสงิ คโปร์มกี ารตดิ ตัง้ โครงสร้างพน้ื ฐานระบบเครือข่ายทีจ่ าเป็นเพือ่ อานวยความสะดวกในการพิจารณาคดี
ทางอิเล็กทรอนิกส์ คู่กรณีสามารถนาคอมพิวเตอร์พกพามาที่ศาล และเข้าถึงไฟล์คดีอิเล็กทรอนิกส์ของตนเอง
โดยใชเ้ ทคโนโลยีทเี่ หมาะสมได้

นอกจากนี้ มีการนาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence (AI)) สาหรับการแปลง
คาภาษาอังกฤษจากการไต่สวนในศาลแบบอัตโนมัติ ซึ่งจะช่วยให้ผู้พิพากษาและฝ่ายต่าง ๆ สามารถทบทวนคาให้การ
ของศาลได้ในทันที การถอดความหลักฐานจากการบันทึกเสียงสามารถดูได้ผ่านทางหน้าจอฉายภาพหรือ
หน้าจอคอมพวิ เตอร์ในหอ้ งพิจารณา/ไตส่ วนคดี

๓. การปรับเปลี่ยนขีดความสามารถของบุคลากร (Transforming capabilities) โดยการพัฒนากลยุทธ์
ของศาลที่ครอบคลุมและสอดคล้องกับพิมพ์เขียวรัฐบาลดิจิทัล (Digital government blueprint) เพ่ือสนับสนุน
การดาเนินงาน Smart nation ในระดับประเทศ รวมท้ังเพ่ิมระดับทักษะดิจิทัลของพนักงาน และปลูกฝังวัฒนธรรม
องคก์ รทพ่ี ร้อมรับการเปลย่ี นแปลงโดยมีแนวทาง ดังน้ี

(๑) กลยุทธ์ด้านวิทยาศาตร์ข้อมูล (Data science strategy) กาหนดเป้าหมายและกลยุทธ์ท่ีครอบคลมุ
วตั ถปุ ระสงค์ และการดาเนินการตามแผน รวมท้งั พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์และใช้งานข้อมลู ใหก้ ับบุคลากร

(๒) การสร้างทีมทางานด้านการพัฒนาระบบดิจิทัล (Developing a digital workforce) โดยกาหนด
กลยุทธ์สองด้านสาคัญ คือ สนับสนุนให้พนักงานมีทักษะและความรู้ดิจิทัล รวมท้ังจัดหาทรัพยากรเพ่ือสนับสนุน
การใช้ความรูแ้ ละทักษะ

(๓) การปรบั เปลี่ยนภายในศาล State Courts (Transformation @ state courts) คอื มคี วามคดิ ริเร่มิ
เพ่ือเสริมสร้างการเปลี่ยนแปลงทางความคิดและความสามารถทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้กับบุคลากรของ
ศาล State courts ท่วั ประเทศในสาธารณรัฐสิงคโปร์

ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทลั ของศาลประชาชนแหง่ สาธารณรัฐประชาชนจีน๓

ศาลประชาชนสูงสุด (SPC) ในการประชุม World internet conference ใน Wuzhen, Zhejiang, China
ได้เผยแพร่เอกสารทางเทคนิคเพื่อสร้างความเข้าใจที่ดีข้ึนเก่ียวกับวิธีการที่ศาล ของจีนใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต
หรือเรียกว่า Internet court หรือ ศาลอินเทอร์เน็ต โดยกาหนดให้ศาลอินเทอร์เน็ตเป็นศาลที่มีเขตอานาจ
การพิจารณาคดที เ่ี ก่ยี วข้องกับอินเทอรเ์ น็ต โดยมีการนาเทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใช้ ดังนี้

๑. การพิจารณาคดีอย่างเปิดเผย (Judicial openness) ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ศาลประชาชนสูงสุดได้
ลงทนุ ในการสรา้ งแพลตฟอร์มออนไลน์แบบเปิด ๔ แหง่ เพ่อื เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกบั กระบวนการพิจารณาตัดสินคดี
ของศาลและการใช้งาน โดยมีข้อมูลการดาเนินงาน ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ คือ มีคดีเข้าสู่การพิจารณา
มากกวา่ ๑.๑ พนั ล้านคดี และไม่น้อยกวา่ ๒๒ ลา้ นคดี ได้เปิดเผยไวใ้ นข้อมลู กระบวนการพจิ ารณาคดีออนไลน์ของ
ศาลจีน โดยมีการถ่ายทอดสดการพิจารณาคดีของศาล จานวน ๕.๕ ล้านคดี ซ่ึงมีผู้ชมมากกว่า ๒๐,๐๐๐ ล้านครัง้
นอกจากน้ี China judgement online ได้ตีพิมพ์คาตัดสินของศาล จานวน ๘๐ ล้านคดี และมีผู้เย่ียมชมมากกว่า
๓๗ พันล้านคน จากจานวนกว่า ๒๑๐ ประเทศ ซ่ึงทาให้ China judgement online เป็นเว็บไซต์ท่ีมีฐานข้อมูล
การพจิ ารณาคดีทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ ในโลก

๓ เวบ็ ไซต์ China Justice Observer (CJO) สานกั งานกฎหมายในปกั ก่งิ
https://www.chinajusticeobserver.com/a/supreme-peoples-court-issues-a-white-paper-on-china-court-and-
internet-judiciary

๒๖ | P a g e

๒. บริการออนไลน์สาหรับนักกฎหมาย (Online services for the legal profession) เม่ือวันท่ี
๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ศาลประชาชนสูงสุดได้จัดตั้งแพลตฟอร์มออนไลน์สาหรับนกั กฎหมายอยา่ งเป็นทางการ
บริการที่มีให้ในแพลตฟอร์มออนไลน์นี้ ไม่จากัดการเข้าถึงไฟล์คดี การตรวจสอบสถานะคดี และการขอขยายเวลา
ของคดี รวมทง้ั การติดตอ่ ผพู้ ิพากษา และบริการทางอิเล็กทรอนิกสส์ าหรบั เอกสารทางกฎหมาย

๓. การแก้ไขข้อพิพาทท่ีหลากหลายแบบครบวงจร (One-Stop diversified dispute resolution)
ศาลประชาชนจีนจัดต้ังการระงับข้อพิพาทที่มีความหลากหลายด้วยระบบ One-Stop โดยให้การเข้าถึงการดาเนินการ
ทางศาลในแบบออนไลน์ รวมท้ังการติดตามการระงับข้อพิพาทท้ังหมด ในแบบบริการออนไลน์และออฟไลน์
โดยในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ศาลประชาชนสูงสุดได้เปิดตัวแพลตฟอร์มการไกล่เกล่ียออนไลน์แบบครบวงจร
ที่ครอบคลุมกระบวนการไกล่เกล่ียตั้งแต่การยอมรับ การจาแนกประเภทการแก้ปัญหาไปจนถึงข้อเสนอแนะ
แพลตฟอร์มน้ีมฟี งั กช์ น่ั จานวนมากใหเ้ ลอื กใช้งาน

๔. ศาลอินเทอร์เน็ต (Internet courts) ศาลอินเทอร์เน็ตก่อตั้งขึ้นที่หางโจวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่
๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยมีศาลอินเทอร์เน็ตปักก่ิงและศาลอินเทอร์เน็ตกวางโจวจัดต้ังข้ึนอย่างต่อเนื่อง
ในวันท่ี ๙ กันยายน และ วันท่ี ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามลาดับ โดยศาลอินเทอร์เน็ตได้รับการออกแบบ
ให้เป็นศาลหลักท่ีมีเขตอานาจศาลท่ีกาหนดเป็นคดีท่ีเกี่ยวข้องกับอินเทอร์เน็ต โดยได้ดาเนินการตามกลไก
การพิจารณาคดีตามแนวทางของ “ข้อพิพาทออนไลน์” เขตอานาจศาลส่วนกลางครอบคลุมคดีที่เกี่ยวข้องกับ
อินเทอร์เน็ต ๑๑ ประเภท คดีดังกล่าวได้ดาเนินการทางออนไลน์ตลอดกระบวนการท้ังหมด เม่ือเปรียบเทียบกับ
การจัดการคดีโดยเฉลี่ยใช้เวลา ๔๕ นาที ในการพิจารณาคดีทางออนไลน์ และใช้เวลา ๓๘ วัน ในการสรุปคดี
ซ่ึงช่วยประหยัดเวลามากถึง ร้อยละ ๙๘ โดยคู่กรณีท้ังสองฝ่ายยอมรับการตัดสินครั้งแรก และหยุดการอุทธรณ์
ต่อไป แสดงให้เห็นว่าคุณภาพการพิจารณาคดี และประสิทธิภาพของศาลอินเทอร์เน็ตได้รับการยอมรับอย่าง
กวา้ งขวางในจีน ศาลอนิ เทอรเ์ นต็ เป็นศนู ยบ์ ่มเพาะของศาลยุตธิ รรมของจนี และเป็นศาลซงึ่ เทคโนโลยีใหม่ ๆ จะถูก
นาไปใชก้ ่อนและถูกขยายผลนาไปสูศ่ าลอ่ืน ๆ ของจนี ต่อไป

๕. กฎของกระบวนการดาเนินคดีทางออนไลน์ (The rules of online litigation procedures) ในเดือน
กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ศาลประชาชนสูงสุดได้ออกกฎระเบียบในหลายประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับการพิจารณาคดี
ของศาลอินเทอร์เน็ต ซ่ึงจัดต้ังเขตอานาจศาลและชี้แจงกฎระเบียบขั้นตอนสาหรับการดาเนินคดีออนไลน์ เช่น
การพสิ จู นต์ ัวตน การตอบสนองการพิสูจน์การได้ยนิ การบริการลายเซน็ อเิ ล็กทรอนิกส์ และการปรบั ปรงุ การพัฒนา
ระบบการดาเนินคดีออนไลน์ นอกจากน้ี ได้มีการนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาเพื่อรองรับการพัฒนาศาลจีนไปเป็น
ศาลอัจฉรยิ ะ (Smart court) ซง่ึ จนี ได้เริม่ ดาเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยจดั ทาองคป์ ระกอบสาคัญพื้นฐาน
ของการเป็นศาลอจั ฉรยิ ะรองรับไว้

๖. ระบบการสร้างไฟล์คดีในรูปแบบดิจิทัลท่ีสามารถเข้าถึงได้แบบพร้อมกัน การแปลงไฟล์คดี
เป็นดิจิทัลเป็นหลักการพ้ืนฐานและข้อกาหนดเบื้องต้นของ “ศาลอัจฉริยะ” ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ศาลประชาชน
สูงสุด โดยได้ให้ความสาคัญอย่างยิ่งในการส่งเสริมการสร้างไฟล์ในรูปแบบดิจิทัล และการประยุกต์ใช้ในเชิงลึก
ณ วันท่ี ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ศาลจีน ๓,๓๖๓ แห่ง ได้สร้างระบบไฟล์ดิจิทัลท่ีสร้างขึ้นและบุคลากรสามารถ
เข้าถึงเพื่อใช้ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ได้พร้อมกัน ปัจจุบัน มีคดีจานวนร้อยละ ๖๗ ท่ีจัดเก็บเป็นสานวนอิเล็กทรอนิกส์
โดยปลอดกระดาษตลอดกระบวนการทง้ั หมด

๒๗ | P a g e

๗. การจัดการและการใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ของศาล (Judicial Big Data) ศาลประชาชนสูงสุดเปิดตัว
อย่างเป็นทางการสาหรับการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่และแพลตฟอร์มบริการของศาลประชาชน (China justice
Big Data service platform) สามารถรวบรวมข้อมูลงานคดีและการบังคับให้เป็นปัจจุบันโดยอัตโนมัติ การบริหาร
กระบวนการยตุ ธิ รรมและการวิจัยจาก ๓,๕๐๗ ศาลทวั่ ประเทศ โดยมีการปรับปรุงขอ้ มลู อตั โนมัติทุก ๆ ๕ นาที

๘. การเก็บรักษาและการตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ (หลักฐานดิจิทัล)
(Online preservation and authentication of e-Evidence) (Digital evidence) ศาลของจนี พยายามท่ีจะ
จัดการกับปัญหาในการเก็บรวบรวมหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์และการพิสูจน์ตัวตน โดยได้เริ่มใช้เทคโนโลยี
บล็อกเชน (Block chian) ร่วมกับฐานขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data) และการจัดเก็บข้อมูลบนคลาวด์ในกระบวนการ
ยุติธรรม ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ศาลในจีน ๒๒ จังหวัด เชื่อมโยงกับแพลตฟอร์มการจัดเก็บหลักฐาน
ทางอิเล็กทรอนิกส์ระดับชาติ ภายใต้การทางานของ Block chain ซ่ึงเชื่อมโยงอย่างกว้างขวางกับ ๒๗ เว็บไซต์
รวมถึงศูนย์บรกิ ารเวลาแห่งชาติ และแพลตฟอร์มการระงับข้อพิพาทที่หลากหลาย

๙. ระบบผู้ช่วยอัจฉริยะสาหรับการบริหารจัดการคดี (Smart assistant system for case handling)
ศาลของประเทศจีนได้พัฒนาแพลตฟอร์มผู้ช่วยท่ีชาญฉลาดหลากหลายรูปแบบสาหรับการบริหารจัดการคดีและ
งานธุรการ ฟังก์ชันอันชาญฉลาดท่ีพัฒนาขึ้นภายใต้สถานการณ์ เช่น การจัดการความเสี่ยงในการจัดทาคดี
การแปลงเสียงเป็นข้อความ การแปลงภาพเป็นข้อความ การจัดทาโปรไฟล์คดีแบบอัจฉริยะ การตรวจสอบ
การประพฤติผิดอัตโนมัติภายในศาล ข้อเสนอแนะของกฎหมายท่ีเก่ียวข้องและคดีที่คล้ายกันสาหรับการอ้างอิง
การสร้างและการแก้ไขเอกสารทางศาลอัตโนมัติ และระบบเตือนความเส่ียงในการตัดสินใจที่ถูกนาไปใช้
ในระดบั ตา่ ง ๆ

๑๐. การกากับดูแลและการจัดการดาเนินงานของศาลอัจฉริยะ (Smart supervision and management
of judicial operations) ศาลประชาชนสูงสุดได้จัดสร้างแพลตฟอร์มการจัดการดาเนินงานสาหรับหน่วยงาน
ของศาลท่ัวประเทศ แพลตฟอร์มดังกล่าวให้การตรวจสอบแบบอัตโนมัติและเป็นปัจจุบันเก่ียวกับการจัดการคดี
ความร่วมมือด้านการพิจารณาคดีระหว่างศาล การร้องเรียนและแสดงความคิดเห็นออนไลน์บนพื้นฐานของข้อมูล
จากระบบการพจิ ารณาคดขี องศาลทว่ั ประเทศ

๑๑. กลไกความร่วมมือออนไลน์สาหรับจัดการกับคดีอาญา (Online cooperative mechanisms for
dealing with criminal cases) ศาลจีนได้สารวจการใช้ข้อมูลขนาดใหญ่เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการ
คดีอาญา ซ่ึงมีการกาหนดกลไกความร่วมมือออนไลน์กับหน่วยงานตุลาการอ่ืน ศาลเซี่ยงไฮ้ได้พัฒนาระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศทส่ี นับสนุนแผนกตา่ ง ๆ สาหรับการทดลองใช้ในคดีอาญาซง่ึ รวบรวมกฎหมาย หลกั ฐาน และ
ทาให้มั่นใจว่ากระบวนการทางอาญาท่ีดาเนินการโดยเจ้าหน้าท่ีตารวจสามารถทาการตรวจสอบ รวมทั้งตรวจสอบ
ย้อนกลับได้ ระบบนชี้ ่วยให้ศาลในเซี่ยงไฮ้มเี ทคโนโลยที ี่ทันสมัย เชน่ การจดจาภาพ การประมวลผลภาษาธรรมชาติ
การระบุหลักฐาน การแสดงผลอัตโนมัติ และการแยกข้อมูลคดีท่ีสาคัญโดยอัตโนมัติ โดยเม่ือวันที่ ๓๑ มิถุนายน
พ.ศ. ๒๕๖๒ มีคดีในระบบนี้ จานวน ๒๔,๘๗๓ คดี การจับกุม จานวน ๘,๘๑๑ คดี และการฟ้องร้องดาเนินคดี
โดยผู้แทน จานวน ๗,๔๔๒ คดี มีคดีที่ได้รับการยอมรับ จานวน ๔,๘๑๒ คดี และมีคดีจานวน ๓,๔๘๓ คดี
ทีศ่ าลพิจารณาแล้วเสร็จ

๒๘ | P a g e

ทิศทางการพฒั นาเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ของศาลยุตธิ รรมแหง่ สาธารณรัฐเกาหลี๔

ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลยุติธรรมแห่งสาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งเป็นทิศทางการพัฒนา
เทคโนโลยีดิจิทัลในปี ค.ศ. ๒๐๒๐ - ๒๐๒๕ ภายใต้เป้าหมาย คือ Korea smart court ๔.๐ strategic plan ซึ่งมี
ทิศทางการนาเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใช้สนบั สนุนการดาเนินงานของศาล โดยกาหนดกลยทุ ธ์สาคัญ ดงั นี้

ด้านที่ ๑ ริเร่ิมเปิดเผยข้อมูลในกระบวนการยุติธรรมด้วยนวัตกรรม (Judicial information disclosure
structure innovation) ดว้ ยการลดข้อจากดั การเข้าถึงข้อมลู ของประชาชนโดยที่ไม่ต้องมาศาล เพมิ่ ความโปร่งใส
และความน่าเช่ือถือในการดาเนินงานของศาล โดยการสร้างช่องทางการเข้าถึงข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม
ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ผ่านช่องทางเดียว (Judicial information disclosure structure innovation)
รวมทงั้ จดั ตงั้ ศูนย์กลางแลกเปลย่ี นข้อมลู ทเ่ี ก่ยี วองค์กรศาลสาหรบั ประชาชน

ด้านท่ี ๒ สร้างนวัตกรรมบริการท่ีมุ่งเน้นให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Judicial information disclosure
structure innovation) โดยการปรับปรุงกระบวนการบริการท่ีเกี่ยวกับการย่ืนฟ้องทางอิเล็กทรอนิกส์ให้ใช้งาน
ได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว มากยิ่งข้ึน มีการบูรณาการระบบการย่ืนคาฟ้องรวมทุกประเภทไว้ในจุดเดียว (Integrated
judicial complaints porta) รวมท้ัง การพัฒนาระบบแนะนาสนับสนุนการย่ืนฟ้องท่ีมีความฉลาดโดยสามารถ
แนะนาการยื่นฟ้องทีเ่ ป็นประโยชนต์ อ่ ผฟู้ ้องคดีได้ (Intelligenct litigation procedure guidance) และการจัดทา
คู่มือคาอธิบายขั้นตอนสาหรับการย่ืนฟ้องคดี (Litigation document procedure guidance) นอกจากนี้ ได้เพิ่ม
ช่องทางการให้บริการยื่นฟ้องคดีผ่านอุปกรณ์เคล่ือนที่สื่อสารไร้สาย (Mobile e-Litigation services) สาหรับ
ประชาชน

ด้านที่ ๓ พัฒนาบริการสาหรับตุลาการและพนักงานคดีด้วยระบบการบริหารจัดการคดีให้มีความฉลาด
ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Judicial services’ Innovation driven by Intelligence case Management)
โดยสร้างนวัตกรรมการบริการสนับสนุนการพิจารณาพิพากษา/ไต่สวนคดี การปรับปรุงกระบวนการยื่นฟ้องคดี
ให้ใช้งานได้ง่าย และทางานในรูปแบบอัตโนมัติ สนับสนุนการดาเนินงานของฝ่ายธุรการศาลให้มีประสิทธิภาพ
เพิ่มขึน้

ด้านท่ี ๔ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นศาลดิจทิ ัล (IT structure to be digital
court) โดยมงุ่ เนน้ การเตรยี มโครงสร้างพืน้ ฐานรองรบั การพัฒนาฐานข้อมลู ขนาดใหญ่เพื่อการวิเคราะห์ (Big Data
analysis) การพัฒนาระบบดิจิทัลด้วยกรอบมาตรฐานภาครัฐ Government Standard framework โดย
การจัดทาสถาปัตยกรรมระบบดิจิทัล (Application architecture) การเชื่อมโยงบูรณาการข้อมูล (Integrated
data architechture) และการทาสถาปัตยกรรมคลาวด์ (Cloud-based infrastruce architechture)

๔ Mr. Lee Deokyoung ผเู้ ช่ยี วชาญอาวุโสด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศจากสาธารณรฐั เกาหลี ประจาสานักวิทยาการสารสนเทศ

๒๙ | P a g e

แนวโน้มเทคโนโลยดี จิ ิทัลในอนาคต

ปัจจุบันเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีส่วนสาคัญในการพัฒนากระบวนการทางานในหลาย ๆ ด้าน รวมไปถึง
กระบวนการยุติธรรม หนว่ ยงานภาครัฐ องคก์ รศาลต่าง ๆ ท้งั ในและต่างประเทศ โดยไดน้ าเทคโนโลยดี ิจิทัลเข้ามา
ประยุกต์ใช้ในกระบวนการข้ันตอนการทางานต่าง ๆ เพื่อช่วยลดข้ันตอนการปฏิบัติงาน ลดการใช้กระดาษ
ลดระยะเวลาการบริการ และช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางาน จากการศึกษาแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้พูดถึงกลยุทธ์ทางด้านเทคโนโลยี หรือ Strategic technology
ที่น่าสนใจในปี ค.ศ. ๒๐๒๐ เพ่ือให้องค์กรภาครัฐและเอกชนทั่วโลกเตรียมศึกษาถึงผลกระทบและโอกาสที่จะนา
เทคโนโลยีเหล่านี้มาปรับเปล่ียนองค์กรให้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงในอีก ๕ - ๑๐ ปีข้างหน้า ซึ่งแนวโน้ม
เทคโนโลยีในอนาคตพบว่ามีความแตกต่างจากที่ผ่านมาค่อนข้างมาก และจะส่งผลกระทบต่อการเปล่ียนแปลง
ของโลกในปัจจบุ ันและอนาคตอย่างมาก โดยผลการวจิ ัยได้ให้คาจากัดความของแนวโน้มเทคโนโลยีน้ีวา่ ‘People-
centric และ Smart Spaces’ โดยไดแ้ บ่งกล่มุ แนวโน้มของเทคโนโลยีออกเปน็ ๒ กลุ่ม ดงั น้ี๕

กลุ่มท่ี ๑ People-centric คือ การม่งุ เนน้ ประชาชนเป็นศนู ยก์ ลาง ประกอบด้วย
(๑) แนวคิด Hyperautomation การนาเทคโนโลยีมาช่วยงานแทนมนุษย์โดยอัตโนมัติ

ในบางสายงานซ่ึงมีการต่อยอดการพัฒนาการทางานร่วมกับเทคโนโลยีข้ันสูง เช่น เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
Artificial Intelligence หรือ AI และ Machine Learning เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการตัดสินใจและการทางาน
โดยอัตโนมัติใหด้ ยี งิ่ ขน้ึ

(๒) แนวคิด Multiexperience เป็นหลักการในเร่ือง ‘มนุษย์ต้องเข้าใจบริบทของเทคโนโลยี’
ให้เป็น ‘เทคโนโลยีท่ีเข้าใจบริบทของมนุษย์’ กล่าวคือ การทาให้คอมพิวเตอร์วิวัฒนาการจากระบบท่ีมีปฏิสัมพนั ธ์
เพียงจุดเดียวไปเป็นระบบท่ีมีหลายส่วนต่อประสานที่พร้อมปฏิสัมพันธ์กับมนุษย์ เช่น อุปกรณ์สวมใส่เพื่อสุขภาพ
เซ็นเซอรค์ อมพิวเตอรข์ ัน้ สูง ยานพาหนะอัตโนมัติ เปน็ ตน้

(๓) การเข้าถึงเทคโนโลยีอย่างเสรี หรือ Democratization เป็นการสนับสนุนให้ประชาชน
สามารถเข้าถึงความเชี่ยวชาญทางเทคโนโลยีได้อย่างง่ายดาย โดยไม่จาเป็นต้องมีการอบรมหรือเรียนรู้เพ่ิมเติม
ซึ่งแบ่งเป็น ๔ กลุ่มสาคัญ ได้แก่ Application development, Data & analytics, Design และ Knowledge
เช่น นักพัฒนาระบบและวิเคราะห์ข้อมูลสามารถสร้างโมเดลข้อมูลได้ แม้จะไม่มีทักษะด้าน Data scientist
แต่อาศัยการพฒั นาที่มเี ทคโนโลยี AI มาใชส้ นับสนนุ แทนได้

(๔) การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพ่ิมประสบการณ์ หรือ Human augmentation ซ่ึงนามาใช้
เพ่ือเพิ่มประสบการณ์ในเชิงกายภาพและการรับรู้ให้ดีย่ิงข้ึน เช่น อุปกรณ์สวมใส่เพ่ือสุขภาพถูกนามาใช้ใน
อุตสาหกรรมยานยนต์ และเหมืองแร่เพื่อเพ่ิมความปลอดภัยให้แก่พนักงาน หรือการใช้ประโยชน์จากข้อมูลและ
แอพพลเิ คชนั เพ่ือเพ่มิ ประสบการณใ์ นการเรียนรู้และความสามารถในการตดั สนิ ใจ เปน็ ต้น

(๕) วิวัฒนาการของเทคโนโลยีก่อให้เกิดวิกฤตด้านความเช่ือถือ (Trust) หรือเรียกว่า
Transparency และ Traceability ซึ่งผู้บริโภคเร่ิมตระหนักถึงการละเมิดความเป็นส่วนบุคคลมากข้ึน ก่อให้
เกิดความตระหนักด้านความโปร่งใส (Transparency) และการติดตามตรวจสอบ (Traceability) ซึ่งมุ่งเน้น
๖ ด้านสาคัญ ได้แก่ ศีลธรรม ความถูกต้อง ความเปิดเผย ความรับผิดชอบ ความสามารถ และความสอดคล้อง
ผลลพั ธ์ คือ กฎหมายคมุ้ ครองข้อมูลสว่ นบคุ คลทีเ่ ร่มิ บงั คับใชง้ านไปท่ัวโลก

๕ บทความ ๑๐ เทรนด์เทคโนโลยที น่ี า่ จับตามองในปี ค.ศ. ๒๐๒๐ https://www.trueidc.com/gartner-trends-2020/

๓๐ | P a g e

กลมุ่ ที่ ๒ กลมุ่ Smart spaces สภาพแวดล้อมทเ่ี อือ้ ใหม้ นุษย์ อุปกรณ์ และระบบทางานเช่ือมต่อกนั
ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ประกอบด้วย

(๑) The Empowered edge computing เป็นแนวคิดด้านโครงข่ายข้อมูลทถ่ี ูกจัดเก็บ
ประมวลผลจากอุปกรณ์ในสถานที่ท่ีใกล้กับแหล่งข้อมูล หรือเทคโนโลยี Internet of Thing หรือ IoT และ Edge
computing เพอ่ื นามาใชใ้ นการสร้างพน้ื ทอ่ี ัจฉริยะ และแอปพลเิ คชนั รวมทั้งบรกิ ารต่าง ๆ ให้ตรงกับความต้องการ
ของผู้รบั บริการใหม้ ากทสี่ ุด

(๒) The Distributed cloud เป็นการกระจายตัวของบริการระบบคลาวด์ไปยังสถานท่ีอื่นๆ
โดยท่ีศูนย์ข้อมูล (Data center) สามารถต้ังอยู่ที่ใดก็ได้โดยที่การบริหารจัดการทรัพยากรยังคงอยู่ภายใต้
การควบคุมของผู้ให้บริการคลาวด์ (Cloud provider) หรือ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงระบบคลาวด์แบบรวมศูนย์
ไปเปน็ ระบบคลาวด์แบบกระจายซงึ่ ถอื เปน็ ยุคใหม่ของ Cloud computing

(๓) Autonomous things การใช้ประโยชน์จาก AI ในการทางานแทนมนุษย์ซ่ึงเทคโนโลยีนี้
สามารถทางานได้ต้ังแต่กึ่งอัตโนมัติไปจนถึงอัตโนมัติภายใต้สภาวะแวดล้อมต่างๆ ท้ังบนอากาศ พื้นดิน และผืนนา้
ซ่ึงอุปกรณ์อัตโนมัติเหล่านี้เริ่มใช้งานแล้วในพื้นที่ปิด เช่น เหมืองหรือโกดังสินค้า แต่ในอนาคตจะถูกพัฒนา
จนสามารถทางานไดใ้ นทกุ พืน้ ท่ี เช่น โดรน โรบอ็ ต AI และอปุ กรณ์ IoT

(๔) เทคโนโลยีความปลอดภัย Blockchain เป็นการจัดเก็บข้อมูลแบบ Shared Database
หรือท่ีรู้จักกันในช่ือ “Distributed Ledger Technology (DLT)” ซึ่งเป็นรูปแบบการบันทึกข้อมูลท่ีรับประกัน
ความปลอดภัยว่าข้อมูลท่ีถูกบันทึกนั้น ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขได้ภายหลัง ซึ่งผู้ใช้งานทุกคนที่เข้าถึง
ข้อมูลจะได้เห็นข้อมูลชุดเดียวกันท้ังหมดโดยใช้หลักการ Cryptography และความสามารถของ Distributed
Computing สาหรบั การสรา้ งกลไกความนา่ เชอื่ ถอื

(๕) AI security การนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัย เชน่ AI เขา้ มาใชป้ ระโยชน์กับองค์กรทุกภาคส่วน
เพิ่มมากขึ้นในอนาคต ซึ่งในอีกด้านของเทคโนโลยี ยังคงมีช่องโหว่ด้านความม่ันคงปลอดภัยใหม่ ๆ เข้ามาด้วย
การรักษาความม่ันคงปลอดภัยด้าน AI security เป็นประเด็นสาคัญที่องค์กรต้องให้ความสนใจเพ่ิมมากขึ้น ๓
ประการ ได้แก่ การปกป้องระบบที่ใช้ AI หรือ Machine Learning การนา AI เข้ามาใช้เพ่ือเสริมการรักษา
ความมนั่ คงปลอดภยั ของระบบ และการเตรยี มพรอ้ มรบั มอื กบั แฮก็ เกอร์ท่ใี ช้ AI สนับสนนุ

นอกจากน้ี ยังมีเทคโนโลยีท่ีจะเข้ามามีบทบาทสาคัญในการสร้างระบบการทางานและ
การบรกิ ารของหน่วยงานทกุ ภาคสว่ นในรปู แบบต่าง๖ ๆ ได้แก่

(๖) เทคโนโลยี Virtual reality หรือ VR นามาใช้สาหรับการจาลองภาพ หรือสถานการณ์
เสมือนจริง โดยผ่านการรับรู้จากการมองเห็น เสียง สัมผัส แม้กระท้ังกล่ิน โดยจะตัดขาดเราออกจากสภาพแวดล้อม
ปัจจุบัน เพื่อเข้าไปสู่ภาพจาลองท่ีสร้างข้ึนมา ตัวอย่างเช่น การจาลองสถานที่ การบริหารจัดการความปลอดภัย
สาธารณะ การขยายพื้นท่ีการรักษาสุขภาพไปยังพื้นที่ห่างไกล (Telemedicine) รวมถึงการเพ่ิมรูปแบบใหม่ ๆ
ในการเรียนการสอน และการทอ่ งเทีย่ ว

๖ แนวโนม้ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ตามรา่ งแผนพฒั นารัฐบาลดิจทิ ลั ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

๓๑ | P a g e

(๗) เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence (AI)) เป็นระบบการเรียนรู้ข้อมูล
และทานายข้อมูลด้วยเครื่องมือดิจิทัลต้ังแต่ระดับพ้ืนฐานจนถึงระดับขั้นสูง การคานวนเชิงตรรกะ การคานวณ
เชิงสถิติ โครงข่ายประสาทเทียมและอื่น ๆ โดยเป็นเทคโนโลยีท่ีช่วยให้มนุษย์สามารถทางานได้รวดเร็วมากย่ิงข้ึน
เช่น การคน้ หาข้อมูลไดอ้ ยา่ งรวดเร็วขน้ึ สนบั สนุนข้อมลู เพือ่ ช่วยแพทยว์ ิเคราะห์โรคมะเรง็ เป็นตน้

(๘) เทคโนโลยีด้านข้อมูล (Data and Big Data analytics) การนากลุ่มข้อมูลหรือข้อมูล
ขนาดใหญ่ท่ีซับซ้อนมาประมวลผล วิเคราะห์ประเมิน และคาดการณ์โดยอาศัยเครื่องมือดิจิทัลเพ่ือการตอบสนอง
ผู้ใชง้ านแบบ Real-time อกี ทัง้ ชว่ ยสนบั สนนุ การวางแผน หรือสรา้ งสรรค์แนวคิดใหม่ ๆ เพือ่ การพัฒนาองค์กร

(๙) ระบบอัตโนมัติ (Automation) มีบทบาทในการจัดทาข้ันตอนการดาเนินงานแทนมนุษย์
หรือลดข้ันตอนบางอย่างลง และมีการประยุกต์ใช้เพื่อควบคุมหรือตรวจสอบสาหรับการผลิตเพื่อให้บริการ
โดยระบบอตั โนมตั ิ ซง่ึ มรี ะดบั ความสามารถต้ังแต่ระดบั น้อยจนถงึ ระดับสูง

(๑๐) เทคโนโลยี Internet of Things หรือ IoT เป็นการใช้เทคโนโลยีในการเชื่อมโยงข้อมูล
จากแหล่งจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ เข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ต ทาให้สามารถเห็นความเคล่ือนไหวข้อมูลท่ีรวดเร็ว
และเป็นปัจจุบันมากขึ้น เช่น การติดอุปกรณ์ Sensor ในพื้นท่ีป่าไม้เพื่อตรวจสอบการเจริญเติบโตของพ้ืนท่ีป่า
การควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การเปิด/ปิดระบบอัตโนมัติ ซึ่งการใช้เทคโนโลยี IoT
จะทาใหเ้ กิดขอ้ มลู ดิบมหาศาล และสามารถนาไปใชร้ ่วมกับเทคโนโลยี Big Data analytics เพือ่ วเิ คราะหข์ อ้ มลู ได้

(๑๑) Next generation telecom โทรคมนาคมยุคใหม่ (5G) เป็นเทคโนโลยีท่ีสนับสนุนการรบั สง่
ข้อมูลท่ีดีขึ้น มีแบนด์วิธ ความจุ และความปลอดภัย รวมทั้งความเสถียรในการรับส่งข้อมูลท่ีดีมากขึ้นโดยเทคโนโลยี
5G นี้รองรับเทคโนโลยีอื่น ๆ เพ่ือเสริมการทางานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น การรับส่งข้อมูลจาก Internet
of Things (IoT) นอกจากนี้แลว้ เทคโนโลยี 5G ยังมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองเป็นเทคโนโลยี 6G และ 7G ในอนาคต

(๑๒) Blockchain/Distributed ledger technology เป็นระบบโครงข่ายในการเก็บบัญชี
ธุรกรรมออนไลน์ ซ่ึงมีลักษณะเป็นเครือข่ายใยแมงมุมที่เก็บสถิติการทาธุรกรรมทางการเงิน และสินทรัพย์ชนิดอื่น ๆ
โดยไม่มีตัวกลาง เป็นเทคโนโลยีสาหรับการจัดเก็บข้อมูลแบบ Shared database ซ่ึงรู้จักกันในช่ือ“Distributed
ledger technology (DLT)” ซึ่งเป็นรูปแบบการบันทึกข้อมูลที่รับประกันความปลอดภัยว่าข้อมูลท่ีถูกบันทึก
ไปก่อนหน้านั้นจะไม่สามารถท่ีจะเปล่ียนแปลงหรือแก้ไขได้ ซ่ึงผู้ใช้งานทุกคนจะได้เห็นข้อมูลชุดเดียวกันท้ังหมด
โดยใช้หลักการ Cryptography และความสามารถของระบบ Distributed computing เพ่ือเป็นกลไกสร้างความน่าเช่ือถือ
ในการทาธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์

ศาลปกครองมีนโยบายการปรับเปลี่ยนศาลปกครองให้พร้อมเป็นศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์
(e-Admincourt) จึงจาเป็นต้องมีการสร้างความพร้อมในการจัดเก็บและใช้ประโยชน์ข้อมูลดิจิทัล รวมทั้ง
สร้างความน่าเช่ือถือให้กับการทาธรุ กรรมในรูปแบบดิจิทัลของศาลปกครอง และเป็นการเตรียมความพร้อมรองรบั
การพัฒนาก้าวไปสู่ศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) ต่อไปในอนาคต ซ่ึงมีเทคโนโลยีที่ศาลปกครอง
ตอ้ งพจิ ารณานามาประยุกต์ใช้เพื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพการดาเนินงาน ได้แก่

(๑๓) เทคโนโลยี Speed-to-Text ซ่ึงเป็นเทคโนโลยีประเภทหนึ่งของโปรแกรม Speech
recognition โดยเป็นเทคโนโลยีที่คอมพิวเตอร์สามารถแปลงเสียงพูดของมนุษย์ให้เป็นข้อความได้ ซึ่งปัจจุบัน
สามารถแปลงเสียงพูดของมนุษย์ที่เป็นภาษาไทยให้เป็นข้อความได้ด้วยความถูกต้องที่น่าเช่ือถือมากกว่า ร้อยละ
๗๐ เทคโนโลยีนี้นอกจากจะเป็นประโยชน์ให้แก่ผู้พิการแล้ว ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้กับงานในหลายด้าน

๓๒ | P a g e

รวมไปถึงงานท่ีต้องใช้คนในการบันทึกข้อมูลตามคาพูดของบุคคล ซ่ึงช่วยลดเวลาในการทางานได้ เทคโนโลยี
ดังกล่าวมกี ารพฒั นาและใช้งานใหม้ ีความน่าเช่ือถือและความถกู ตอ้ งไดเ้ พมิ่ ขน้ึ และใชง้ านกันอย่างแพร่หลายท่วั โลก

(๑๔) เทคโนโลยี Optical character recognition หรือที่เรียกว่า OCR คือ เทคโนโลยีท่ีทา
การแปลงไฟล์ภาพเอกสารให้เป็นไฟล์ข้อความโดยอัตโนมัติ ทาให้ไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์งาน ประโยชน์ที่ได้รับ
จากการใช้โปรแกรม OCR สะดวกในการนาข้อความไปใช้ในการปรับแต่งใช้ประโยชน์โดยไม่ต้องเสียเวลา ช่วยให้
การปฏิบตั ิงานง่ายและรวดเร็วมากขึ้น

(๑๕) เทคโนโลยกี ารยนื ยนั และพสิ ูจนต์ วั ตนทางดจิ ทิ ลั ๗ เพอ่ื สนบั สนุนการทาธรุ กรรมทางดิจิทัล
ให้มีความปลอดภัย และนา่ เชื่อถอื ซึ่งมีเทคโนโลยที ีถ่ ูกนามาใช้ในหลายรปู แบบ ไดแ้ ก่

๑) การยืนยันตัวตนทางชีวภาพ ซึ่งเป็นการยืนยันและพิสูจน์ตัวตนโดยใช้ข้อมูลทางชีวภาพ
ที่ทุกคนมีอยู่แล้ว ได้แก่ ลายน้ิวมือ เสียงพูด ม่านตา ใบหน้า และ ข้อมูลทางพันธุกรรม หรือ DNA ซ่ึงปัจจุบัน
มกี ารนามาประยกุ ต์ใช้อย่างแพรห่ ลายในองคก์ รตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่

๑.๑) ระบบการจดจาด้วยเสียง (Voice recognition security system) เทคโนโลยี
การยืนยันตัวตนด้วยเสียง หรือการจดจาเสียงของผู้ใช้งานเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีแบบไบโอเมตริก (Biometric)
หรือการแยกแยะตัวตนผ่านคุณลักษณะจาเพาะของบุคคลซ่ึงในกรณีน้ี คือ ‘เสียง’ ซ่ึงมีองค์กรธุรกิจ เช่น ธนาคาร
ได้นามาใช้ให้บริการ ซ่ึงเมื่อลูกค้าเร่ิมพูดประโยคแรกเม่ือโทรเข้าไปขอรับบริการจากธนาคาร ระบบจะสามารถ
วิเคราะห์ได้ทันทีว่าผู้ใช้งานเป็นเจ้าของบัญชีรายใด เพ่ือลดขั้นตอนการสอบถามข้อมูลเบ้ืองต้นจากระบบโต้ตอบ
อัตโนมัติ

๑.๒) ระบบการจดจาใบหน้า (Facial recognition) ซง่ึ ในปัจจุบัน ภาครฐั ภาคธุรกจิ
เอกชนได้มีการนาเทคโนโลยีการจดจาใบหน้าเข้ามาแทนที่การสแกนลายน้ิวมือ โดยให้เหตุผลว่าไบโอเมตริก
แบบการสแกนลายนิ้วมือมีอัตราความปลอดภัยในการใช้งานอยู่ท่ีประมาณ ๑:๕๐,๐๐๐ ตรงข้ามกับไบโอเมตริก
แบบจดจาใบหน้าที่ให้ความแม่นยาสูงกวา่ ท่ี ๑:๑,๐๐๐,๐๐๐

๑.๓) ระบบการสแกนม่านตา (Iris scanner) หลักการทางานของ Iris scanner
จะอาศัยกล้องและแสงอินฟราเรด (IR LED) ทางานร่วมกัน โดยกล้องจะเก็บภาพจากแสงอินฟราเรดที่สะท้อน
บนม่านตาเพ่ือจดจาภาพม่านตาของผู้ใช้งานแต่ละคน เช่น ระบบในสมาร์ทโฟนท่ีรองรับเทคโนโลยี Iris scanner
ซง่ึ สมารท์ โฟนในปัจจุบนั มีฟงั ก์ชันทีส่ ามารถมองหน้าจอเครอ่ื งแล้วล็อกอนิ เข้าระบบอัตโนมตั ไิ ด้ทันที

๒) การทาความรู้จักผู้ใช้บริการด้วยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic know your
customer หรือ e-KYC) ซึ่งเป็นกระบวนการท่ีสถาบันการเงินนามาใช้เป็นนวัตกรรมในการยืนยันระบุตัวตน
(Identification) และพิสูจน์ตัวตน (Verification) ผู้รับบริการทางอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงเป็นการอานวยความสะดวก
ใหก้ ับผู้รบั บรกิ ารของสถาบนั การเงนิ โดยท่ไี ม่จาเปน็ ต้องเดนิ ทางไปยังที่ตั้งของธนาคาร

๓) การระบุตัวตนทางดิจิทัล (Digital ID)๘ เป็นโครงสร้างพื้นฐานสาคัญในการทา
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับการเชื่อมโยงและการยืนยันตัวตนของผู้ทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
จากทุกภาคส่วนเข้ามาไว้ด้วยกัน เพื่อช่วยลดอุปสรรคการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การปลอมแปลง
เอกสาร หรอื การสวมสิทธ์ิการทาธุรกรรมในบรกิ ารทางดิจทิ ลั ตา่ ง ๆ

๗ บทความการนาเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใชใ้ นธุรกรรมการเงนิ ของธนาคารพานิชย์
https://www.scb.co.th/th/personal-banking/stories/5-technology-trends-for-secure-activities.html
๘ การยืนยันตวั ตนดว้ ย Digital ID: NDID และสานกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ https://www.digitalid.or.th/

๓๓ | P a g e

ความคาดหวัง และทศิ ทางการพัฒนาของศาลปกครอง

ความคาดหวงั จากผ้มู ีสว่ นได้เสยี

สานักงานศาลปกครองได้รวบรวมข้อมูลความคาดหวังจากผู้มีส่วนได้เสียท้ังภายนอกและภายในองค์กร
รวมทั้งปัญหาอุปสรรคจากผู้ใช้งานระบบดิจิทัลท่ีพัฒนาข้ึน ประกอบด้วย ตุลาการศาลปกครอง และบุคลากร
สานักงานศาลปกครอง ตลอดจนข้อสังเกตและข้อแนะนาจากคณะกรรมการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีปกครองและบริการประชาชน คณะอนุกรรมการบริหารศาลปกครอง
ดา้ นการบริหารและงบประมาณ และผเู้ ก่ียวข้อง มี ๓ สว่ น ดังน้ี

๑. การสารวจขอ้ มูลเพ่อื ประกอบการจัดทาแผนแมบ่ ทศาลปกครอง ระยะ ๒๐ ป๙ี

จ า กกา ร ส า ร ว จ คว า ม คิด เ ห็ น บุ คล า กร ภ า ย ใ น แ ล ะ บุ ค คล ภ า ย น อ ก ข อง ส า นั ก ง า น ศ า ล ป ก ค ร อ ง
จากการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทาแผนแม่บทศาลปกครอง ระยะ ๒๐ ปี ได้จัดเก็บข้อมูลความคาดหวังหรือ
ความต้องการเห็นศาลปกครองในอนาคตไปในทิศทางใดจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ตุลาการศาลปกครอง
(ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด และตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น) บุคลากรสานักงานศาลปกครอง ผู้ทรงคุณวุฒิ/
หน่วยงานภายนอก ประชาชนท่ัวไปและเจ้าหน้าที่ของรัฐ จานวน ๑,๗๔๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๖.๒๐ จากผู้ตอบแบบ
สารวจฯ ทงั้ ส้นิ จานวน ๒,๐๒๑ คน สรปุ ประเดน็ สาคญั ดังน้ี

๑.๑ ด้านการพิจารณาคดี มีความต้องการให้ศาลปกครองพิจารณาพิพากษาคดีได้รวดเร็ว ถูกต้อง
เป็นธรรม และทนั ตอ่ การเยียวยา มกี ารนาเทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาช่วยในการพิจารณาพิพากษาคดี ลดขน้ั ตอนกระบวน
พิจารณาท่ไี ม่จาเปน็ รวมท้ังสรา้ งมาตรฐานคาพิพากษา/คาสั่งท่ีมีความนา่ เชื่อถอื และได้รับการยอมรบั

๑.๒ ด้านการบริหารจัดการคดี เห็นว่าศาลปกครองควรมีการกาหนดขั้นตอนและกรอบระยะเวลา
มาตรฐานที่ชัดเจน มีกลไกการจัดการคดีคงค้างให้เสร็จโดยเร็ว มีการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยในการบริหาร
จัดการคดีให้ทันตอ่ การเยียวยาความเดอื ดร้อนอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๑.๓ ด้านศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์/ศาลปกครองอัจฉริยะ นาเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย
มาสนับสนุนช่วยเหลือการพิจารณาพิพากษาคดี การแสวงหาข้อเท็จจริงของตุลาการ และการบริการประชาชน
ให้มีความสะดวกรวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จ่าย และพัฒนาไปเป็นศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart court) ได้อย่าง
เตม็ รปู แบบอย่างมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล

๑.๔ ด้านการบังคับคดี นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบังคับคดีปกครองอย่างเต็มรูปแบบ
เพื่อใหก้ ารบงั คับคดปี กครองดาเนินการแลว้ เสร็จอยา่ งรวดเร็วและเป็นไปตามกรอบเวลามาตรฐานทีก่ าหนด

๑.๕ ด้านการพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรสู่ความเป็นเลิศ นาระบบเทคโนโลยีดิจิทัล
เพอ่ื รองรบั การปฏบิ ัตงิ านในรปู แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Office) อย่างบูรณาการและครบวงจร พัฒนาและบูรณาการ
ระบบข้อมูลเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานและการตัดสินใจสาหรับผู้บริหาร มุ่งยกระดับคุณภาพการให้บริการ
ประชาชนท่ีสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส และประหยัดค่าใช้จ่าย รวมท้ังพัฒนาทรัพยากรบุคคลสู่ความเป็นเลิศ
โดยพัฒนาบุคลากรของศาลปกครองให้เป็น Smart person “คนดี คนเก่ง มีความสุขในการทางาน มุ่งอานวย
ความยตุ ธิ รรมใหแ้ ก่ประชาชนโดยสะดวก และรวดเร็ว”

๙ การสารวจขอ้ มลู เพอ่ื ประกอบการจัดทาแผนแมบ่ ทศาลปกครอง ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)
โดยสานกั บริหารยทุ ธศาสตร์

๓๔ | P a g e

๒. การสารวจข้อมูลเพอ่ื ประกอบการจัดทาแผนพฒั นาดิจิทัลของศาลปกครอง ๑๐

จากการสารวจความคิดเห็นบุคลากรภายในของศาลปกครองและสานักงานศาลปกครองผ่านระบบ
ออนไลน์เพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับ (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕
จากตุลาการศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นต้น ผู้บริหารและบุคลากรของสานักงานศาลปกครองระดับ
ชานาญการหรือชานาญงานขึ้นไป ซ่ึงมีผู้ตอบแบบสารวจให้ความเห็นและข้อเสนอแนะกลับมา จานวนท้ังหมด
๑,๐๔๑ คน จากจานวนทั้งหมด ๑,๙๑๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๓๐ ของบุคลากรที่เป็นกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
โดยมขี อ้ สงั เกต ขอ้ แนะนาจากผู้ตอบแบบสารวจฯ สรุปประเดน็ สาคญั ดงั นี้

๒.๑ ควรสร้างความพรอ้ มของระบบฐานข้อมูลกฎหมาย คาพิพากษา/คาส่ังศาลปกครอง และศาลอนื่
รวมท้งั ความเห็นทางกฎหมายขององค์กรสาคัญ ๆ ใหท้ ันสมัย เขา้ ถงึ งา่ ย และควรมีการทบทวนการบันทึกข้อมูลคดี
ทัง้ หมดเพื่อเป็นฐานของ Big Data ท่ีถูกต้องในอนาคต และควรมีระบบจัดเก็บขอ้ มลู ท่ที ันสมยั และปลอดภยั เพมิ่ ข้นึ

๒.๒ เพ่ิมประสิทธิภาพความพร้อมการพัฒนาระบบดิจิทัล ระบบสืบค้นให้ได้แบบ Google ต้องการ
ระบบทีส่ ามารถใชง้ านผ่านมือถือได้อย่างปลอดภัย มกี ารพัฒนาระบบการตรวจคาฟ้อง แก้ไขคาฟอ้ ง และการจัดทา
คาสัง่ หรือคาพิพากษา/คาสงั่ ทางอิเล็กทรอนิกส์ และปรบั ปรุงระบบการบงั คบั คดี โดยปรับปรุงโปรแกรมให้สามารถ
ใช้งานได้ง่าย และสะดวก รวดเร็ว และควรรับฟังปัญหาจากผู้ใช้งานอย่างแท้จริงและนามาปรับปรุง นอกจากนี้
ควรพัฒนาระบบให้รองรบั เทคโนโลยีทท่ี นั สมัยได้

๒.๓ ควรเพ่ิมประสิทธิภาพความพร้อมของอุปกรณ์และเครื่องมือทางดิจิทัล (คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
คอมพิวเตอร์พกพา เครื่องสแกนเอกสารที่รวดเร็ว ฯลฯ) ต้องการให้จัดหาคอมพิวเตอร์พกพาท่ีมีประสิทธิภาพ
สนับสนุนการปฏิบัติงาน รวมทั้งการปรับปรุงกระบวนการทางานที่ยังมีแนวทางการดาเนินงานในรูปแบบเช่นเดิม
โดยยังมีการพิมพ์เอกสารออกมาเสนองานตามลาดับช้ันการบังคับบัญชา ยังต้องมีการลงนามในเอกสารให้เป็น
ลายลักษณ์อักษร ซ่ึงทาให้เห็นว่าเทคโนโลยีที่ทันสมัยอาจนามาใช้ได้บางกรณีเท่านั้น รวมท้ังควรจัดหาเครื่องมือ
ระบบงานที่ง่ายต่อการใช้งาน มีระบบสัญญาณเครือข่ายท่ีสามารถทางานนอกสถานท่ีหรือที่บ้านได้ นอกจากน้ี
ควรปรับปรุงระบบการจัดหาท่ีล่าช้า สมควรจัดให้มีระบบพิเศษใช้เฉพาะเกี่ยวกับการจัดหาพัสดุของสานักงาน
ศาลปกครองทมี่ คี วามสอดคล้องกับพระราชบัญญัตกิ ารจัดซื้อจดั จ้างพัสดุ

๒.๔ ควรพัฒนาความพร้อมของบคุ ลากรที่คงยังมีข้อจากัดทางด้านทักษะ และทัศนคติเก่ียวกับการใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงาน รวมทั้งควรมุ่งเน้นการพัฒนาตุลาการให้ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้ได้
ด้วยตนเอง หรอื จดั ส่งเจ้าหน้าท่ีไปแนะนาใหค้ วามรู้ และควรใหบ้ คุ ลากรทุกคนเข้าใจในแนวทางเดียวกนั นอกจากนี้
ควรมีการกาหนดแนวทางการอานวยความสะดวกให้แก่ประชาชนท่ียังขาดความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ และ
เครื่องมือทางดิจิทัล ท่ีทาให้ไม่สามารถเข้าถึงการใช้งานระบบดิจิทัลได้อย่างท่ัวถึงทุกคน รวมท้ัง ควรพัฒนาบุคลากร
ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลและผู้ดูแลระบบให้มีความรู้ความสามารถท่ีเพียงพอในการพัฒนาระบบด้วยเทคโนโลยี
ทีท่ นั สมยั ให้มปี ระสิทธิภาพเพมิ่ ขน้ึ

๒.๕ ความพร้อมเกี่ยวกับความปลอดภัยและการป้องกันการโจมตีจากบุคคลท่ีมีความเชี่ยวชาญ
รวมท้ังการเข้าถึงความลับของข้อมูลในคดีโดยมิชอบจากผู้ไม่ประสงค์ดี เห็นว่าควรมีการจัดเก็บข้อมูลเอกสาร
ในสานวนให้เป็นข้อมูลดิจิทัลในระยะยาวและไม่ให้สูญหาย ให้ความสาคัญเรื่องข้อมูลส่วนบุคคล ความลับในคดี
เอกสารในสานวน และความปลอดภัยการจัดเก็บฐานข้อมูลที่สาคัญของงานด้านคดีของศาลปกครอง ควรมี
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ ความผิดพลาดท่ีเกิดจากระบบดิจิทัล และความผิดพลาดในการใช้งานระบบดิจิทัล
ของแต่ละบุคคล นอกจากนี้ ควรมีการควบคุมการเข้าถึงของบุคคลที่อาจเข้าถึงข้อมูลในทางที่มิชอบ สร้างวินัย
การใช้งานระบบ รวมท้ังการเก็บรักษาและกาหนดสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลซ่ึงต้องพิจารณาให้รอบด้าน จัดให้มี

๑๐ การสารวจขอ้ มลู เพอ่ื ประกอบการจดั ทาแผนพฒั นาดจิ ทิ ลั ของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕
โดยสานักวทิ ยาการสารสนเทศ

๓๕ | P a g e

การบริหารความเส่ียงทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้มีเสถียรภาพในการให้บริการระบบได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
รวมทั้งควรมีการปรับปรุงระบบ Backup ที่ดีพอ และมีแผนทดสอบการ backup & restore อย่างสมบูรณ์
เพื่อสร้างความพร้อมในการกู้ข้อมูลกลับมาได้ปลอดภัยเมื่อเกิดระบบล่ม รวมท้ังปรับปรุงระบบการใช้ลายมือช่ือ
อิเลก็ ทรอนกิ สใ์ ห้มีความเหมาะสม

ท้ังน้ี งบประมาณและคนต้องพร้อมจึงจะดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
และควรเร่งรัดการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนพัฒนาดิจิทัลฯ เนื่องจากแผนพัฒนาดิจิทัลฯ ฉบับน้ีจะบรรลุ
ผลสาเร็จตามเป้าหมายได้ หากผู้บริหารศาลปกครอง และผู้บริหารและบุคลากรสานักงานศาลปกครองทุกคน
ให้ความร่วมมือ ประกอบกับควรมีการจัดหางบประมาณที่เพียงพอ เพื่อจัดให้มีระบบงานท่ีมีประสิทธิภาพและ
อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการปฏิบตั งิ านท่คี รบถ้วนเพยี งพอ รวมทง้ั ควรมกี ารสรา้ งแรงจงู ใจให้บคุ ลากรปรับเปล่ยี นความพร้อม
เข้าสู่ยคุ ดิจิทลั ให้เพิ่มมากขนึ้ เนอื่ งจากยงั มบี ุคลากรทไี่ มพ่ ร้อมรับการเปลยี่ นูสย่ คุ ดิจิทลั อีกจานวนมาก

๓. ขอ้ สงั เกต และขอ้ แนะนาของคณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการท่เี กี่ยวข้อง

๓.๑ คณะกรรมการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง
และบริการประชาชน

(๑) ควรมีการปรับแก้ไขกลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครอง โดยการกาหนด
เจา้ ภาพผู้รบั ผดิ ชอบขบั เคล่ือนในแต่ละกลไกใหช้ ัดเจนมากขนึ้

(๒) แผนพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครองฉบับน้ีควรมีความสอดคลองกับแผนแมบท
ศาลปกครอง ระยะ ๒๐ ปี เพื่อให้สามารถของบประมาณโครงการต่าง ๆ ในแต่ละปีได้ และได้รับความร่วมมือ
ในการพัฒนาและการฝึกอบรมด้วย รวมท้ังพิจารณาจัดทาโครงการและงบประมาณตามแผนพัฒนาดิจิทัล
ใหชัดเจนเนื่องจากงบประมาณเป็นปัจจัยสาคัญในการดาเนินงานและประเมินโครงการตามแผนพัฒนาดิจิทัลฯ
ท่ีเป็นรูปธรรม รวมทั้งควรกาหนดเทคโนโลยีที่จะนามาใช้ ผลผลิตและประโยชน์ท่ีประชาชนจะได้รับภายใต้
โครงการใหม้ คี วามชดั เจน

(๓) การจัดหาตุลาการศาลปกครองหรือพนักงานคดีปกครองในอนาคต จะต้องคัดเลือกบุคคล
ที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เนื่องจากเห็นว่าศาลประชาชนสูงสุดแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน มีการนา
เทคโนโลยที ท่ี นั สมัยมาใช้ในการทางานอย่างเปน็ รูปธรรม ดงั นัน้ สานกั งานศาลปกคองจึงต้องพิจารณานาส่ิงใหม ๆ
มาประยกุ ตใ์ ชงานของศาลปกครองโดยมงุ่ ท่ีประชาชนเป็นหลัก

(๔) ควรใหท้ ุกหน่วยงานภายในองค์กรรับทราบและแสดงความคิดเห็นตอ่ แผนพฒั นาเทคโนโลยี
ดิจิทัลฯ โดยการสารวจรับฟังความคิดเห็นของตุลาการศาลปกครอง การประชุมหารือผู้บริหารสานักงานศาลปกครอง
ผู้อานวยการสานัก เนอื่ งจากผูใ้ ช้งานแผนน้ีคือหนว่ ยงานภายในสานกั งานศาลปกครอง

๓.๒ คณะอนุกรรมการบริหารศาลปกครองด้านการบรหิ ารและงบประมาณ
(๑) ด้านการพัฒนาระบบที่ยังตอ้ งปรบั ปรุงพฒั นาเพ่ิมเตมิ โดยมีข้อสังเกตสาคัญ ดงั นี้
 ระบบการแจ้งเตือนยังขาดการแจ้งเตือนสาหรับผู้บริหารศาลปกครอง หรือตุลาการ

ในเรื่องของคดีที่มีความสาคัญท่ีมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากการดาเนินการท่ีไม่ได้ตอบสนองต่อความต้องการของ
ตุลาการได้ทันท่วงที เพื่อตอบสนองต่อคาฟ้องตามกาหนดเวลา เพ่ือป้องกันการค้างการโต้ตอบเมื่อมีคาฟ้องย่ืนเข้า
มาในระบบ เนื่องจากตุลาการศาลปกครองมีภาระงานมาก ระบบการแจ้งเตือนจึงควรมีการปรับปรุงพัฒนาให้
ตอบสนองแกไ้ ขปญั หาดังกลา่ วและสามารถชว่ ยในการพัฒนางานของศาลปกครองได้อย่างแทจ้ รงิ

 ปัญหาการฟ้องคดีปกครองทางอิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีการย่ืนฟ้องมายังศาลปกครองสงู สุด
แต่คดีที่ย่ืนฟ้องดังกล่าวเป็นคดีในอานาจการพิจารณาของศาลปกครองชั้นต้น ในกรณีน้ีศาลปกครองสูงสุดไม่

๓๖ | P a g e

สามารถส่งคาฟ้องไปยังศาลปกครองช้ันต้นในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ จึงควรมีการปรับปรุงโปรแกรมให้สนับสนุน
กระบวนการพจิ ารณาพิพากษาคดีทีม่ ีประสทิ ธภิ าพเพิ่มมากขึ้น

 ปัญหาเร่ืองระบบสืบค้นคาพิพากษา/คาสั่งของศาลปกครองท่ีไม่ได้ตอบสนอง
การใชง้ านของผูใ้ ชบ้ รกิ าร เน่อื งจากไมส่ ามารถคน้ หาคาพพิ ากษาได้อยา่ งตรงความต้องการ

 ปัญหาเร่ืองระบบการพิจารณาคดีทางไกลท่ียังไม่ตอบสนองต่อความต้องการของ
ตุลาการ คือ เมื่อมีการถ่ายทอดสดการพิจารณาคดีไปสู่ศาลปกครองในภูมิภาค ตุลาการผู้แถลงคดีท่ีอยู่ในภูมิภาค
ไม่สามารถลงนามอิเล็กทรอนิกส์ได้ เน่ืองจากระบบไม่รองรับการลงลายมือชื่อทางอิเล็กทรอินกส์สาหรับ
การพจิ ารณาพพิ ากษา/ไต่สวนคดที างอิเล็กทรอนิกส์

 ปัญหาเรื่องการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจในระบบงานคดีปกครอง
อิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าว รวมทั้ง ปัญหาการจ่ายสานวนแบบอัตโนมัติ ซ่ึงเจ้าหน้าท่ีผู้ลงรายการต่างๆ ยังไม่มีความรู้
ความเข้าใจในการใช้งานระบบ จึงทาให้ระบบดังกล่าวไม่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรืออาจจัดทา
ระบบการสนับสนุนอ่ืนข้ึนมาให้เพียงพอ ในส่วนการจัดระบบของเจ้าหน้าท่ีรองรับ ยังไม่มีการจัดเจ้าหน้าท่ี
ในการสนับสนุนเร่ืองดังกล่าวไว้เป็นการเฉพาะ เช่น ในกรณีท่ีเกิดปัญหาระบบทางานไม่สมบูรณ์ที่เกิดมาจาก
อีกฝ่ายหน่ึงใช้งานระบบ ส่วนอีกฝ่ายหน่ึงไม่ได้ใช้งานระบบ ต้องใช้วิธีพิมพ์สานวนออกมาในรูปแบบกระดาษและ
ลงนาม แล้วจึงสแกนกลับเข้าไปเพื่อจะให้อยู่ในระบบอิเล็กทรอนิกส์การดาเนินการดังกล่าว หากเป็นกรณีท่ีมี
สานวนในปริมาณมาก โดยไม่มีการจัดเจ้าหน้าท่ีและเครื่องมือสนับสนุนไว้เป็นการเฉพาะจะทาให้เกิดปัญหา
ในการเพม่ิ ภาระงานให้แก่พนักงานคดปี กครองประจาตลุ าการเจ้าของสานวนเป็นผูด้ าเนินการแทน

(๒) การพัฒนาบุคลากรที่ยังต้องมีการพัฒนารองรับการพัฒนาเทคโนโลยีดิจทัลตาม
ข้อสังเกตสาคัญ ดงั น้ี

 สิ่งสาคัญท่ีสุดในการพัฒนาเทคโนโลยี คือ สานักงานฯ ต้องพัฒนาบุคลากรในทุกส่วน
ให้สามารถรับผิดชอบดาเนินการในทุกระบบงานที่เกี่ยวข้องกับหน้าท่ีได้อย่างถูกต้อง เน่ืองจากหากศาลปกครอง
มีการลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีในจานวนมหาศาล แต่บุคลากรผู้ใช้งานเทคโนโลยียังขาดความรู้ความเข้าใจ
และไมส่ ามารถใช้งานระบบได้ จะเปน็ การลงทนุ ทไ่ี มก่ อ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ศาลปกครอง

 สานักงานศาลปกครองควรจะต้องมีหลักสูตรการพัฒนาให้บุคลากรทั้งในส่วนของ
ตุลาการศาลปกครองและบุคลากร โดยกาหนดเป็นหลักสูตรภาคบังคับให้ตุลาการศาลปกครองและบุคลากร
สานักงานศาลปกครอง ทุกคนต้องเรียนรู้ และสามารถใช้งานระบบศาลปกครองอัจฉริยะได้จริง รวมท้ังควรมี
การกาหนดเงื่อนไขในการสรรหาคัดเลือกตุลาการศาลปกครองและบุคลากรของสานักงานให้เป็นผู้ท่ีมีความรู้
ความเข้าใจและสามารถใช้งานระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ดังกล่าวได้จึงจะมีสิทธิได้รับการคัดเลือกเข้ามา
ปฏบิ ตั ิงาน ณ ศาลปกครอง

 ควรมีการกาหนดคุณสมบัติในการใช้งานระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่จาเป็นไว้
ในระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรเพ่ือเป็นการจงู ใจใหบ้ ุคลากรมีการพัฒนาตนเองด้วย เนื่องจาก
ปัญหาหลักในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของศาลปกครอง คือ ปัญหาเรื่องความรู้ความเข้าใจและ
ความสามารถในการใช้งานเทคโนโลยขี องบคุ ลากร

 ควรมีการจัดฝึกอบรมตุลาการศาลปกครองเก่ียวกับวิธีการใช้งานระบบดิจิทัล และ
เมอ่ื มีการฝึกอบรมแล้ว และควรจดั ทาค่มู อื การใชง้ านโดยละเอียดเพื่อใช้ในการทบทวนความรู้หลงั การฝึกอบรมดว้ ย

๓๗ | P a g e

(๓) ด้านการนาเทคโนโลยมี าประยกุ ต์ใช้ มขี อ้ สังเกตสาคัญ ดงั นี้
 ควรแสดงให้เห็นว่าศาลปกครองจะพัฒนาไปสู่ศาลปกครองอัจฉริยะอย่างไร เช่น

AI, Big Data, Speech-to-Text เปน็ ตน้ โดยถ้ามใี นสว่ นของ Speech-to-Text นจี้ ะทาให้กระบวนการไตส่ วนพยาน
หรือการดาเนินกระบวนพิจารณาคดีมีความสะดวกรวดเร็ว และจะพัฒนาไปสู่ข้ันตอนการจัดทาคาพิพากษา/คาสงั่
เพ่ือช่วยตุลาการในการปฏิบัติงานโดยให้ระบบเสนอแนะข้อกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องพร้อม ท้ังแสดง
คาพพิ ากษา/คาส่ังศาลปกครองท่ีมขี ้อเท็จจริงในคดีใกล้เคียงกบั คดีที่กาลงั พจิ ารณา

 การใช้งานระบบดิจิทัลของศาลปกครองควรมีระบบการรักษาความปลอดภัยของ
ข้อมูล โดยผู้รับผิดชอบต้องดาเนินการจัดหาระบบการรักษาความปลอดภัยท่ีดีท่ีสุดเพื่อป้องกันความเสียหาย
ทจี่ ะเกดิ ขึ้น

(๔) ขอ้ คดิ เห็นเกี่ยวกับแผนพฒั นาดิจิทัลฯ มขี อ้ สงั เกตสาคัญ ดงั น้ี
 ควรแบ่งการพัฒนาเป็นระยะส้ัน ระยะกลาง และระยะยาว เพื่อให้ทราบว่าในแต่ละปี

ศาลปกครองจะพัฒนาไปสู่ระดับใด และเพื่อให้สามารถวางแผนเสนอของบประมาณในแต่ละปีให้สอดคล้องกับ
แผนการพัฒนาดังกล่าว รวมท้ังควรกาหนดข้ันตอนและระยะเวลาการดาเนินโครงการและการใช้จ่ายงบประมาณ
ในโครงการต่าง ๆ และจัดทารายละเอียดโครงการรองรับตามแผนดังกล่าว เพื่อให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องมีความเข้าใจ
และไม่ขดั ขอ้ งในการขอรับจดั สรรงบประมาณเพ่ือดาเนินการตามแผนทกี่ าหนดไว้

 ขอให้เตรียมการจัดทาแผนพัฒนาดิจิทัลฉบับในระยะถัดไปว่าจะใช้งบประมาณ
ในจานวนเท่าใด รวมทั้งเพิ่มเติมในส่วนของการพัฒนาบุคลากรทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจ
และสามารถใช้งานระบบดิจิทัลได้อย่างแท้จริงพร้อมท้ังประชาสัมพันธ์ให้คู่กรณีหรือประชาชนรับทราบเพื่อเข้าถึง
การอานวยความยุติธรรมผา่ นระบบศาลปกครองอิเล็กทรอนกิ ส์

 การกาหนดกรอบระยะเวลาของแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครองควรให้สัมพันธ์กับ
แผนแมบ่ ทศาลปกครอง ระยะ ๒๐ ปีฯ เน่ืองจากแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครองถือเป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บท
ศาลปกครอง ระยะ ๒๐ ปี

 การกาหนดเป้าหมายและผลที่คาดว่าจะได้รับของแต่ละยุทธศาสตร์ให้เป็นรูปธรรม
จึงขอให้เพ่ิมเติมในส่วนท่ีเป็นตัวชี้วัดของแต่ละยุทธศาสตร์ให้มีความเป็นรูปธรรมมากย่ิงข้ึน ว่าเม่ือสิ้นสุดระยะเวลา
ตามแผนในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ศาลปกครองจะได้อะไรจากการดาเนินงานตามแผนในภาพรวมในแต่ละยทุ ธศาสตร์

 สานักงานศาลปกครองควรกาหนด จัดทาเป็นโครงการและงบประมาณท่ีต้องใช้จ่าย
ในแต่ละยุทธศาสตร์ แต่ละช่วงระยะเวลาของแผนให้เป็นรูปธรรม เพ่ือสามารถพิจารณาความคุ้มค่าในการดาเนินงาน
เพ่ือให้คณะอนุกรรมการฯ ให้ความเห็นชอบแผนหรือเห็นชอบโครงการได้อย่างมั่นใจ และในส่วนของแผนพัฒนา
ดิจิทัลของศาลปกครองท่ีเสนอมา รวมทั้งให้พิจารณาข้อมูลกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องว่าแต่ละเรื่องที่จะดาเนินการมี
ความพรอ้ มด้านกฎหมายรองรับการดาเนินงาน

 ควรต้องมีการเตรียมการพัฒนาจัดทาคู่มือและระเบียบการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง
เพ่ือรองรับและแก้ปัญหาเจ้าหน้าท่ีท่ีไม่ยอมปฏิบัติงานในระบบดิจิทัลให้มาใช้งานผ่านระบบดิจิทัลได้อย่างถูกต้อง
ตามระเบียบข้ันตอนท่ีกาหนดไวอ้ ย่างชดั เจน

๓๘ | P a g e

๔. ทิศทางการพฒั นาตามแผนแม่บทศาลปกครองระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐๑๑

องค์ประกอบสาระสาคัญของแผนแม่บทศาลปกครอง ระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ ประกอบด้วย
วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ และเป้าหมายการพฒั นาศาลปกครอง ดังนี้

วิสยั ทัศน์
“อานวยความยุติธรรมทางปกครองด้วยความเป็นธรรม รวดเร็ว ทันสมัยเพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบาล
ในสงั คม และเป็นศาลแหง่ ความเป็นเลศิ ”

พันธกิจ ประกอบด้วย ๕ พันธกจิ ดงั นี้
พันธกิจท่ี ๑ พิพากษาคดีและบังคับคดีปกครองด้วยความถูกต้อง เป็นธรรม รวดเร็วและ
เกิดสัมฤทธผิ ล ทกุ ภาคส่วนในสังคมเขา้ ถงึ การอานวยความยตุ ิธรรมทางปกครองได้โดยงา่ ย และท่ัวถงึ
พันธกิจที่ ๒ วางหลักปฏิบัติราชการทางปกครองที่เป็นบรรทัดฐานในการใช้อานาจทางปกครอง
ทเ่ี ป็นธรรม เพอ่ื ปอ้ งกนั และลดการเกิดข้อพิพาททางปกครอง
พันธกิจท่ี ๓ ยกระดับการดาเนินงานของศาลปกครองให้มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพตามมาตรฐาน
สากล และมธี รรมาภบิ าล เพื่อใหท้ ุกภาคส่วนในสงั คมได้รบั การบริการอยา่ งมีคุณภาพ
พันธกิจท่ี ๔ ส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านสิทธิและหน้าท่ีตามกฎหมายปกครองและ
หลักปฏบิ ตั ิราชการที่ดจี ากแนวคาวนิ ิจฉยั ของศาลปกครองให้แก่ทุกภาคสว่ นในสังคม
พนั ธกิจท่ี ๕ เสรมิ สรา้ งความสัมพนั ธแ์ ละเครือข่ายความรว่ มมือระหวา่ งองค์กรตุลาการในด้านวิชาการ
และอ่นื ๆ ทจี่ าเป็นทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ

แผนท่นี าทางและเปา้ หมายการพัฒนาศาลปกครอง ระยะ ๒๐ ปี (Road map)

๑๑ แผนแม่บทศาลปกครอง ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)

๓๙ | P a g e

ตามแผนท่ีนาทาง (Roadmap) และเป้าหมายการพัฒนาศาลปกครอง ระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐
ไดก้ าหนดเปา้ หมายการพฒั นา ดงั น้ี

- ศาลปกครองจะมีการบริหารจัดการคดี การพิจารณาพิพากษาคดีและการบังคับคดีให้เป็นไป
ตามกรอบระยะเวลามาตรฐานท่กี าหนด ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕

- ศาลปกครองปรบั เปลี่ยนเป็นศาลปกครองอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt) ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐
- ศาลปกครองพัฒนาไปเป็นศาลปกครองอจั ฉริยะ (Smart court) ในปี พ.ศ. ๒๕๗๕
- ศาลปกครองพฒั นไปสู่ศาลปกครองแหง่ ความเป็นเลิศ (Court excellence) ในปี พ.ศ. ๒๕๘๐

การจัดทาแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครองฯ ฉบับนี้ได้พิจารณาแผนท่ีนาทางในระยะ ๒๐ ปี เพื่อพิจารณา
ทิศทางการพัฒนาที่เหมาะสม รวมท้ังพิจารณาประเด็นและเป้าหมายการพัฒนาภายใต้แผนแม่บทของศาลปกครอง
ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ท่ีเป็นเป้าหมายที่จาเป็นต้องนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยสาหรับการกาหนด
ทศิ ทางการพัฒนาดิจทิ ัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ตามแผนแม่บทฯ ในด้านสาคัญ ดงั น้ี

แผนแม่บทดา้ นท่ี ๑ การเพมิ่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการคดปี กครอง
ประเด็นท่ี ๑ : การเสริมสรา้ งและพฒั นามาตรฐานการพิจารณาคดใี หม้ ีประสิทธภิ าพเพ่อื ให้ประชาชน
ได้รบั การคมุ้ ครองสทิ ธิและเสรีภาพอย่างทั่วถึง
เปา้ หมายการพัฒนา

กระบวนพิจารณาพิพากษาคดีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ศาลปกครองให้การคุ้มครองสิทธิและ
เสรภี าพของประชาชนอย่างสมบูรณ์

แนวทางการดาเนนิ งานทเ่ี กย่ี วกบั ด้านเทคโนโลยดี ิจทิ ลั
(๑) พัฒนา/ปรับปรุงระบบสนับสนุนการพิจารณาคดีเสรมิ สร้างมาตรฐานการพิจารณาพิพากษาคดีแต่ละ
ประเภทใหแ้ ลว้ เสรจ็ ตามกรอบระยะเวลาทก่ี าหนด
(๒) การพัฒนาระบบสืบค้นคาพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดให้ได้ผลการค้นหาท่ีมีข้อเท็จจริงใกล้เคียง
กนั เพื่อเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพกระบวนพิจารณาพิพากษาคดี
(๓) เพ่มิ โอกาสการเข้าถึงการอานวยความยุติธรรมของศาลปกครองไดส้ ะดวกและทว่ั ถงึ ย่ิงขึ้น
(๔) สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของศาลปกครอง กระบวนพิจารณาคดีของศาลปกครอง
ให้แกป่ ระชาชน โดยเฉพาะประชาชนในพ้ืนทห่ี า่ งไกล
ประเด็นแผนแม่บทท่ี ๑.๓ การบังคับคดีปกครองที่มปี ระสทิ ธิภาพและเปน็ ท่ยี อมรับของคกู่ รณี
เปา้ หมายการดาเนินงาน : การบังคับคดปี กครองสามารถดาเนินการแลว้ เสร็จ ร้อยละ ๘๐
แนวทางการดาเนินงานท่เี กี่ยวกบั ดา้ นเทคโนโลยดี ิจทิ ัล
เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการบังคับคดีปกครอง โดยนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
ในการบังคับคดีปกครองอย่างเต็มรูปแบบ เพ่ือให้การบังคับคดีปกครองดาเนินการแล้วเสร็จอย่างรวดเร็ว
และเปน็ ไปตามกรอบเวลามาตรฐานที่กาหนด

๔๐ | P a g e

แผนแม่บทด้านท่ี ๒ การเสรมิ สรา้ งธรรมาภิบาลในสงั คม ในระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕)
เป้าหมายการดาเนินงาน การส่งเสริมการปฏิบัติงานของหน่วยงานทางปกครองและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
ที่มีสถิติการฟ้อง/ถูกฟ้องคดีสูง ให้อยู่ในแนวคาวินิจฉัยของศาลปกครองและประชาชนมีความรู้และความเข้าใจ
เกีย่ วกบั บทบาทหนา้ ทีข่ องศาลปกครอง
แนวทางการดาเนินงานท่เี กี่ยวกับด้านเทคโนโลยีดจิ ิทัล
(๑) ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารแบบบูรณาการอย่างครบวงจร เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้
และมีความเขา้ ใจเกี่ยวกับศาลปกครอง บทบาทหนา้ ที่ของศาลปกครอง และการอานวยความยุตธิ รรมทางปกครอง
อยา่ งกวา้ งขวาง
(๒) พฒั นาหลกั สูตรระบบการเรียนรู้ผ่านส่ือดิจิทัล (Digital learning) เชน่ e-Learning, e-Training และ
m-Learning ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีของรัฐสามารถเรียนรู้ผา่ นระบบอินเทอร์เน็ตหรือแอปพลเิ คชันพฒั นาระบบศาลปกครอง
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt) ให้มีความม่ันคงปลอดภัยเพื่ออานวยความสะดวกในการพิจารณาพิพากษาคดี
และให้ประชาชนเข้าถึงได้โดยงา่ ย

แผนแมบ่ ทด้านที่ ๓ การพัฒนาศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) ในระยะ ๕ ปี
(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕)

เป้าหมายการดาเนินงาน มีระบบศาลปกครองอิเล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt) สาหรับการพิจารณา
พพิ ากษาคดปี กครองและใหบ้ ริการประชาชนทัง้ ศาลปกครองในสว่ นกลาง และศาลปกครองในภมู ภิ าค

แนวทางการดาเนนิ งาน
(๑) ศกึ ษาและติดตามแนวโนม้ เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะเทคโนโลยสี ารสนเทศในดา้ นงานยตุ ิธรรม
ของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เพอื่ ประเมินความเปน็ ไปไดใ้ นการนามาใช้กับศาลปกครอง
(๒) ยกระดับการทางานของศาลปกครองจากรูปแบบเดิมไปสู่การให้บริการผ่านระบบดิจิทัลอย่างเป็นระบบ
และขบั เคลอ่ื นให้เกิดการเปล่ียนแปลงไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ
(๓) ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศข้ันสูง เพ่ือปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพของกระบวนการ
ยตุ ิธรรมและกระบวนวิธพี ิจารณาคดปี กครอง รวมทัง้ มงุ่ ไปส่กู ารเป็นศาลปกครองอัจฉรยิ ะ (Smart Admincourt)
(๔) เช่ือมโยงและแลกเปล่ียนข้อมูลสารสนเทศกับหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมเพ่ือลดความซ้าซ้อน
และความผิดพลาดในการจดั เกบ็ ข้อมูล

แผนแมบ่ ทด้านท่ี ๔ การพัฒนาระบบการบริหารจดั การองค์กรส่คู วามเปน็ เลิศ
ประเดน็ แผนแม่บทด้านท่ี ๔.๑ การบริหารและพฒั นาทรัพยากรบุคคลสูค่ วามเปน็ เลศิ
เป้าหมายการดาเนินงาน: บุคลากรมีทักษะที่พร้อมสาหรับศตวรรษที่ ๒๑ และมีความเช่ียวชาญเฉพาะ
ด้าน (นวัตกรรม/มีวิจารณญาณ/ทักษะดิจิทัล) ระบบการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลเป็นรูปแบบดิจิทัล
และบคุ ลากรของศาลปกครองมีการดารงตนสอดคล้องกบั วฒั นธรรมศาลปกครอง ร้อยละ ๘๐
แนวทางการดาเนนิ งาน
(๑) พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์และการปรับตัวให้ทันต่อเทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนแปลง
ไปอย่างรวดเรว็
(๒) พัฒนาบุคลากรของศาลปกครองให้เป็น Smart person “คนดี คนเก่ง มีความสุขในการทางาน
มุ่งอานวยความยตุ ิธรรมใหแ้ ก่ประชาชนโดยสะดวก และรวดเรว็ ”

๔๑ | P a g e

ประเด็นแผนบทที่ ๔.๒ การบรหิ ารจัดการองค์กรใหม้ มี าตรฐานในระดับสากล
เปา้ หมายการดาเนินงาน: พฒั นาและปรบั ระบบวธิ กี ารปฏิบัตงิ านให้มคี วามทนั สมัย และมีธรรมาภบิ าล
แนวทางการดาเนนิ งาน
(๑) ยกระดับคุณภาพการให้บริการประชาชนท่ีเป็นเลิศ สะดวก รวดเร็ว โปร่งใส มีช่องทางที่หลากหลาย
เสยี ค่าใช้จา่ ยน้อย ครอบคลุมทุกกลมุ่ เปา้ หมาย
(๒) เพิ่มประสิทธิภาพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อรองรับการปฏิบัติงานในรูปแบบ
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Office) อย่างบูรณาการและครบวงจร เพื่อให้ระบบงานทั้งในส่วนที่เก่ียวข้องกับการให้บริการ
ประชาชน (Front office) และการบริหารจดั การองค์กร (Back office) มกี ารนาเทคโนโลยีมาใช้อยา่ งเต็มรูปแบบ

(๓) พฒั นาองคก์ รใหม้ คี วามทันสมยั ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงและมีขดี สมรรถนะสงู

๔๒ | P a g e

กรอบแนวทางการจัดทาแผนพฒั นาดิจิทลั ของศาลปกครอง
พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕

การวิเคราะห์จัดทาแผนพัฒนาดิจิทัลท่ีสอดคล้องตามภารกิจของศาลปกครองและสานักงานศาลปกครอง
ต้องพิจารณาองค์ประกอบสาคัญในการนาเทคโนโลยีดิจิทัลช่วยขับเคลื่อนภารกิจและบริการขององค์กร
โดยกาหนดกรอบแนวทางการจัดทาแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ท่ีครอบคลุม
กระบวนการหลัก กระบวนการสนับสนุนและบริการสาคัญที่จาเป็นต้องการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยสนับสนุน
การดาเนนิ งานให้บรรลุเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ของศาลปกครอง ประกอบด้วย

๑. ความคาดหวังของผู้เกี่ยวข้องท้ังภายนอกและภายใน รวมท้ังทิศทางการพัฒนาของแผนแม่บท
ศาลปกครอง ระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ จะพบว่าความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละด้าน
ตามแผนแมบ่ ทของศาลปกครอง ท่สี ามารถนาเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาช่วยสนบั สนนุ การดาเนินงานสาคัญ ดงั นี้

๑.๑ ดา้ นการพจิ ารณาพพิ ากษาคดี คาดหวังให้ศาลปกครองพิจารณาพิพากษาคดีไดร้ วดเรว็ ถูกต้อง
และเป็นธรรม ทันต่อการเยียวยา โดยลดข้ันตอนกระบวนพิจารณาคดีท่ีไม่จาเป็น รวมท้ังจัดทาคาพิพากษา/คาส่ัง
ของศาลปกครองท่มี คี ุณภาพมาตรฐาน น่าเช่ือถือ เพื่อให้ได้รับการยอมรับ

๑.๒ ด้านการบรหิ ารจัดการคดี คาดหวังให้ศาลปกครองมีการบรหิ ารจดั การคดีได้ทันต่อการเยียวยา
ของประชาชนหรือคู่ความผู้ได้รับความเดือดร้อน โดยการกาหนดขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการพิจารณาคดีที่ชัดเจน
ควรมีกลไกและเทคโนโลยีดิจิทัลที่จัดการคดีคงค้างให้เสร็จโดยเร็วและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพ
การบงั คับคดีให้เกดิ ผลทางกฎหมายโดยเร็ว

๔๓ | P a g e

๑.๓ ด้านการพัฒนาศาลปครองอัจฉริยะ (Smart Admincourt) ศาลปกครองสามารถพัฒนา
เป็นศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart court) ได้อย่างเต็มรูปแบบท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล นาเทคโนโลยี
สมัยใหม่ เช่น Artificial Intelligence (AI) มาใช้เพ่ือลดภาระงานของตุลาการ และช่วยการรับฟ้องคดีให้มี
ความสะดวก พิจารณาคดีให้มีความรวดเร็ว และประหยัดเวลามากยิ่งข้ึน รวมท้ังมีการดาเนินกระบวนพิจารณา
ทีท่ ันสมยั

๑.๔ ด้านการพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรสู่ความเป็นเลิศ โดยการยกระดับคุณภาพ
การให้บริการประชาชน และการเพิ่มประสิทธิภาพเทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับองค์กร (e-Office) รวมท้ังพัฒนา
เพ่ิมทกั ษะดา้ นดิจิทัลใหก้ ับบุคลากรศาลปกครอง

๒. สถานการณ์เทคโนโลยีดิจิทัลจากภายนอก ทิศทางแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร ได้พูดถึงกลยุทธ์ทางด้านเทคโนโลยี หรือ Strategic technology ท่ีน่าสนใจ
ในปี ค.ศ. ๒๐๒๐ เพื่อให้องค์กรภาครัฐและเอกชนทั่วโลกเตรียมศึกษาถึงผลกระทบและโอกาสท่ีจะนาเทคโนโลยี
เหล่านี้มาปรับเปลี่ยนองค์กรให้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงในอีก ๕ - ๑๐ ปีข้างหน้า ซ่ึงแนวโน้มเทคโนโลยี
ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจบุ ันและอนาคต ซง่ึ แนวโน้มเทคโนโลยีน้วี ่า ‘People-
centric และ Smart Spaces’

๓. ทิศทางการพัฒนาตามแผนแม่บทศาลปกครองระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ ซึ่งมีเป้าหมาย
การพัฒนาท่ีสาคัญ คือ ศาลปกครองจะมีการบริหารจัดการคดี การพิจารณาพิพากษาคดีและการบังคับคดีให้เป็น
ไปตามกรอบระยะเวลามาตรฐานที่กาหนดในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ศาลปกครองปรับเปลี่ยนเป็นศาลปกครอง
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Admincourt) ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ศาลปกครองพัฒนาไปเป็นศาลปกครองอัจฉริยะ (Smart
court) ในปี พ.ศ. ๒๕๗๕ และพฒั นาไปสู่ศาลปกครองแห่งความเป็นเลิศ (Court excellence) ในปี พ.ศ. ๒๕๘๐

๔. สถานภาพด้านเทคโนโลยดี จิ ิทลั ของศาลปกครอง โดยพิจารณาสถานภาพปจั จบุ นั ท่เี ป็นองค์ประกอบ
ทางดา้ นดิจทิ ัลตามกรอบสถาปตั ยกรรมองค์กร ได้แก่ พิจารณาระบบดิจิทัลเพ่ือการบริการประชาชน การสนับสนุน
ภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุน ระบบฐานข้อมูล โครงสร้างพ้ืนฐานทางดิจิทัลเพ่ือการสื่อสาร กฎ ระเบียบ
สนับสนุนการดาเนินงานผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ มาตรฐานการดาเนินงานทางดิจิทัล การบริหารจัดการ และ
การพฒั นาบุคลากร

๕. วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของศาลปกครอง เพื่อประเมินสถานการณ์ของศาลปกครอง และกาหนด
จุดอ่อนและจุดแข็งจากสภาพแวดล้อมภายใน โอกาส และอุปสรรคหรือความท้าทายจากสภาพแวดล้อมภายนอก
ตลอดจนผลกระทบที่มีศักยภาพจากปัจจัยเหล่านี้ต่อการทางานของ ศาลปกครองและสานักงานศาลปกคร อง
ภายใตก้ รอบสถาปตั ยกรรมองคก์ ร (Enterprise Architecture) ทพ่ี ิจารณาเชอื่ มโยงการบริการ กระบวนการหลัก
กระบวนการสนับสนุน การพัฒนาบุคลากร และองค์ประกอบทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครองและ
สานักงานศาลปกครอง

การจัดทาแผนพัฒนาดิจิทัลของศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ได้พิจารณาองค์ประกอบสาคัญ
ตามกรอบแนวทางการจัดทาแผนพัฒนาดิจิทัล เพ่ือกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทศาสตร์ กลยุทธ์ รวมทั้งโครงการ
เพมิ่ เตมิ จากแผนแมบ่ ทศาลปกครอง ระยะ ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ โดยโครงการเพม่ิ เตมิ พิจารณาองค์ประกอบ
สาคัญที่ขับเคล่ือนการพัฒนาเปลี่ยนแปลงด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ได้แก่ โครงการท่ีเกี่ยวกับเทคโยโลยีท่ีทันสมัย
การพัฒนาฐานข้อมลู ขนาดใหญ่ การพัฒนาบคุ ลากร การสร้างวฒั นธรรมองค์กร เป็นตน้

๔๔ | P a g e

สถาณการณท์ เ่ี ปน็ โอกาส ความทา้ ทาย
และสถานภาพดา้ นเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลปกครอง

โอกาสจากทศิ ทางนโยบายการพัฒนาดจิ ทิ ลั ของประเทศไทย

๑. ทิศทางการพฒั นาเทคโนโลยีดิจทิ ัลประเทศไทย
แผนการพัฒนาดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในระยะ ๑๐ ปี ขา้ งหน้ามุ่งพัฒนาดจิ ทิ ลั เพอ่ื ปรบั เปล่ียน

ให้เป็นดิจิทัลไทยแลนด์อย่างสมบูรณ์ (Digital Thailand: Full transformation) ในทุกภาคส่วน ท้ังเศรษฐกิจ
สังคม และภาคบริการประชาชน รวมทั้งผลักดันให้ภาครัฐมีการพัฒนาบริการโดยมุ่งเน้นให้ประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง
(People-centric) ภายใต้แผนพัฒนรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย (Digital government) พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕
ซงึ่ มีทิศทางการพฒั นาทางเทคโนโลยดี ิจิทัลในองค์ประกอบสาคัญ ดังน้ี

(๑) การพัฒนาการบริการในรูปแบบดิจิทัลสาหรับประชาชน (Citizen portal) โดยสร้าง
เป็นแพลตฟอร์มกลางท่ีรวบรวมข้อมูลและงานบริการต่าง ๆ เพ่ือประชาชน โดยบูรณาการระบบดิจิทัลระหว่าง
หน่วยงานให้ประชาชนสามารถหาข้อมูลสาหรับการดาเนินชีวิต รวมถึงทาธุรกรรมออนไลน์ไว้ในเว็บไซต์เดียวกัน
เพื่อความสะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูล และบริการของหน่วยงานภาครัฐ รวมถึง Open data platform ให้เป็น
แพลตฟอร์มกลางท่ีรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลเชิงสถิติจากทุกหน่วยงานภาครัฐไว้ในเว็บไซต์เดียวกัน โดยมี
วตั ถุประสงค์เพื่อใหภ้ าคประชาชนและภาคธรุ กิจนาข้อมลู ไปพัฒนาหรือคิดค้นต่อยอดธุรกจิ ของตน

(๒) การปรับเปลี่ยนภาครัฐเข้าสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล (Digital government transformation)
ผลักดันหน่วยงานของรัฐให้จัดทาข้อมูลและบริการในรูปแบบดิจิทัลให้สอดคล้องกันเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหวา่ งหน่วยงานภาครัฐ ท่ีรวดเร็ว ถกู ตอ้ ง และนา่ เช่ือถือ เพ่อื การนาไปใช้ประโยชนส์ าหรับการเพ่ิมประสิทธิภาพ
การบริหารจัดการและให้บริการภาครัฐ เช่น นาไปใช้กรอกข้อมูลอัตโนมัติ หรือนาไปเผยแพร่บน Open data
platform

(๓) การแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล (Digital transformation) ผลักดันหน่วยงานภาครฐั
ใหม้ กี ารจดั ทาข้อมูลและบริการในรูปแบบดิจทิ ัลใหส้ อดคลอ้ งและมีมาตรฐานเดียวกัน

(๔) การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานทางดิจิทัล (Digital infrastructure) ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
โทรคมนาคม และการแพร่ภาพกระจายเสียงท่ีมีความทันสมัย มีคุณภาพ ขนาดเพียงพอ ครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีและ
สามารถให้บริการได้อย่างต่อเน่ือง เพ่ือรองรับการเข้าถึงกรบริการประชาชน และการเชื่อมโยงแลกเปล่ียนข้อมูล
ระหวา่ งหน่วยงานภาครฐั

(๕) การพัฒนาทักษะทางดิจิทัลให้กับบุคลากร (Digital government capacity building)
สร้างความพร้อมของบุคลากรและเครื่องมือ เพื่อพัฒนาไปสู่องค์กรดิจิทัล โดยยกระดับทักษะและทัศนคติ
ด้านดิจทิ ัลของบคุ ลากรภาครฐั และสนับสนนุ เคร่อื งมอื ดิจิทลั ท่จี าเป็นในการเพม่ิ ความสามารถในการทางาน

(๖) การปรับปรุงกฎระเบียบ และพัฒนามาตรฐานทางเทคโนโลยีดิจิทัล กฎหมาย กฎ ระเบียบ
ควรได้รับการปรับปรุงแก้ไขเพื่ออานวยความสะดวกในการพัฒนาสู่รัฐบาลดิจิทัลโดยเฉพาะการแลกเปล่ียนและ
การเชือ่ มโยงข้อมลู ระหวา่ งหนว่ ยงาน

๔๕ | P a g e

ความท้าทายในการพัฒนาเทคโนโลยดี จิ ิทัลของศาลปกครอง

๑. ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของศาลในต่างประเทศ ทิศทางการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้

ในการดาเนินงานของศาลในประเทศผนู้ า เชน่ สาธารณรฐั ประชาชนจนี สาธารณรัฐสิงคโปร์ และสาธารณรฐั เกาหลี
ซึ่งเร่ิมนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้อย่างเต็มรูปแบบสนับสนุนกระบวนพิจารณาพิพากษาคดี และการบริหารจัดการคดี
ของศาล รวมท้ังยกระดับการใช้งานไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสิทธภิ าพเพ่ือบรกิ ารประชาชน โดยมีทศิ ทางสาคัญ ดังนี้

๑.๑ ด้านการให้บริการ ศาลของสาธารณรัฐสิงคโปร์มีการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาจัดเตรียมติดตั้งไว้
เพื่อให้บริการ ณ ที่ตั้งของศาล และในห้องพิจารณา/ไต่สวนคดี รวมท้ังใช้สนับสนุนการบริการทางออนไลน์ใน
รูปแบบต่างๆ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงศาลให้กับประชาชน และการเข้าถึงเอกสารดิจิทัลผ่านอินเทอร์เน็ตสาหรับคู่กรณี
และผู้ต้องขัง มีการบริการออนไลน์สาหรับนักกฎหมาย การเผยแพร่ข้อมูลกฎหมาย กฎ และระเบียบ รวมถึง
มีระบบการพิสูจน์ตัวตน และการให้บริการศาลอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้ ศาลของสาธารณรัฐเกาหลีมีทิศทาง
การริเริ่มให้บริการเปิดเผยข้อมูลในกระบวนการยุติธรรมเพื่อเพ่ิมความโปร่งใสและความน่าเช่ือถือในการดาเนินงาน
ของศาล โดยมุ่งเน้นให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ด้วยการปรับปรุงบริการที่เกี่ยวกับการย่ืนฟ้องทางอิเล็กทรอนิกส์
ใหใ้ ชง้ านได้ง่าย สะดวก และรวดเรว็ มีการบรู ณาการระบบการย่ืนคาฟ้องรวมทุกประเภทในจุดเดียว มกี ารพัฒนา
ระบบแนะนาสนับสนุนการยื่นฟ้องท่ีมีความฉลาด โดยสามารถแนะนาการย่ืนฟ้องท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้ฟ้องได้
และเพม่ิ ชอ่ งทางการให้บริการยนื่ ฟอ้ งคดีผา่ นอปุ กรณเ์ คลื่อนทีส่ ่ือสารไรส้ าย (Mobile e-Litigation services)

๑.๒ ด้านการพิจารณาพิพากษาคดี ในศาลของสาธารณรัฐสิงคโปร์มีการใช้เทคโนโลยี เพื่อช่วย
ในการถอดความดิจิทัล การพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ การนาเสนอเอกสาร/พยานหลักฐานในรูปแบบดิจิทัล
การพสิ จู น์ตวั ตนทางดจิ ทิ ัล แหล่งขอ้ มลู ออนไลน์ท่คี รบวงจร และอานวยความสะดวกสาหรบั การพิจารณาคดโี ดยให้
ผู้พิพากษาสามารถเข้าถึงข้อมูลได้จากอุปกรณ์ประเภทต่าง ๆ ได้หลากหลาย นอกจากนี้ ศาลของจีนได้มีระบบไฟล์
ดิจิทัลที่สร้างข้ึน และอนุญาตให้ผู้เก่ียวข้องสามารถเข้าใช้งานได้ในเวลาเดียวกัน ซ่ึงจะช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพใน
การปฏิบัติงาน โดยมีคดีมากกว่าร้อยละ ๕๐ ท่ีจัดเก็บในรูปแบบสานวนอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีปลอดการใช้กระดาษ
ตลอดกระบวนการท้ังหมด รวมท้ังการเก็บรักษาและการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์
ออนไลน์ใหม้ คี วามมั่นคงปลอดภยั ด้วยเทคโนโลยีบลอ็ กเชน (Blockchian) รว่ มกับฐานขอ้ มลู ขนาดใหญ่ (Big Data)

๑.๓ ด้านการบริหารจัดการคดี ศาลของสาธารณรัฐประชาชนจีนมีการพัฒนาแพลตฟอร์มผู้ช่วย
ท่ีชาญฉลาดหลายรูปแบบสาหรับการบริหารจัดการคดีและงานธรุ การ ฟังกช์ ันอนั ชาญฉลาดท่ีพฒั นาขน้ึ เพ่ือจัดการ
กับสถานการณ์สาคัญ เช่น การจัดการความเสี่ยงในการจัดทาคดีท่ีมีระยะเวลานาน ระบบการแปลงเสียงเป็น
ข้อความ การแปลงภาพเป็นข้อความ การจัดทาโปรไฟล์คดีด้วยระบบอัจฉริยะ การนาเสนอข้อเสนอแนะของ
กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง และคดีท่ีคล้ายกันสาหรับการอ้างอิง การสร้างและการแก้ไขเอกสารทางศาลอัตโนมัติ ระบบ
เตือนความเสีย่ งในการตดั สนิ ใจท่ีถูกนาไปใช้ในระดับต่าง ๆ

๑.๔ ด้านการบังคับคดี ศาลของสาธารณรัฐประชาชนจีนมีการพัฒนาแพลตฟอร์มการจัดการบังคับ
คดี เพ่ือจัดการหน่วยงานบังคับใช้ของศาลทั่วประเทศ แพลตฟอร์มดังกล่าวให้การตรวจสอบแบบอัตโนมัติและเป็น
ปัจจุบันเกี่ยวกับการจัดการคดี ความร่วมมือด้านการพิจารณาคดีระหว่างศาล การร้องเรียนและแสดงความคิดเห็น
ออนไลนบ์ นพืน้ ฐานของข้อมลู จากระบบบังคบั คดี และระบบพิจารณาคดขี องศาลทั่วประเทศ

๔๖ | P a g e

๑.๕ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ศาลของสาธารณรัฐเกาหลีมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเทคโนโลยีดิจิทัล
ให้เป็นศาลดิจิทัล (IT structure to be digital court) โดยมุ่งเน้นการเตรียมโครงสร้างพ้ืนฐานรองรับการพัฒนา
ฐานข้อมูลขนาดใหญ่เพ่ือการวิเคราะห์ (Big Data analysis) การพัฒนาระบบดิจิทัลด้วยกรอบมาตรฐานรัฐบาล
ดิจิทัล e-Government standard framework ที่ใช้กับภาครัฐท่ัวประเทศ การจัดทาสถาปัตยกรรมระบบดิจิทัล
(Application architecture) การเชื่อมโยงบูรณาการข้อมูล (Integrated data architechture) และการทาสถาปัตยกรรม
คลาวด์ (Cloud base infrastruce architechture)

๑.๖ ด้านบุคลากร ศาลของสาธารณรฐั สิงคโปร์พฒั นากลยทุ ธ์ของศาลที่ครอบคลุมและสอดคล้องกับ
ทิศทางการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศ พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์และใช้งานข้อมูลให้กับบุคลากร
มีแนวทางสนับสนุนให้บุคลากรมีทักษะและความรู้ดิจิทัล รวมท้ังจัดหาทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการใช้ความรู้และทักษะ
รวมทง้ั เสรมิ สร้างการเปลย่ี นแปลงทางความคิดและความสามารถบุคลากรของศาล

๒. ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย ได้แก่
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมและศาลยุติธรรม โดยมีทิศทางการพัฒนาด้านนโยบาย ด้านการใหบริการ
ขอมูล ดา้ นระบบสารสนเทศ ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน และด้านบคุ ลากร โดยมีเป้าหมาย คอื จดั ทามาตรฐานข้อมูลให้
มีความม่นั คงปลอดภัย มีระบบบริการประชาชน รวมทง้ั การบูรณาการข้อมลู เพื่อการปฏิบัติงาน และการสนับสนุน
การตดั สนิ ใจของผู้บริหารดว้ ยบคุ ลากรที่มีความรู้ความสามารถ โดยมที ิศทางสาคัญ ดงั น้ี

๒.๑ ด้านการบริการประชาชนและการอานวยความยุติธรรม ได้เพิ่มช องทางการเข้าถึง
ความยุติธรรมให้บริการประชาชนและผู้ที่เก่ียวข้องเข้าถึงได้ทุกสถานที่และทุกเวลา เช่น การให้บริการผานทาง
อุปกรณเคล่ือนท่ีสื่อสารไร้สาย การให้บริการผานทางระบบดิจิทัลเพื่อการบริการด้านต่างๆ รวมทั้งยกระดับ
การอานวยความยุติธรรมของศาลยุติธรรมด้วยระบบงานสารสนเทศที่เป็นมาตรฐานเดียวกันท้ังในส่วนของ
e-Court และ e-Office เพื่อสนับสนุนการปฏบิ ัติงานและให้บริการประชาชนให้มีความรวดเร็ว ประหยัดเวลาและ
ค่าใช้จ่าย โดยมุ่งเน้นการพฒั นาระบบสารสนเทศรองรบั การปฏิบตั ิงานในยุคดิจิทลั ระบบสารสนเทศทางภมู ิศาสตร
และบูรณาการแลกเปล่ียนข้อมูลดิจิทัลของหน่วยงานในสังกัดของกระทรวงยุติธรรมให้มีการเช่ือมโยงและสามารถ
ใช้งานรว่ มกนั ไดท้ วั่ ทุกหนว่ ยงาน

๒.๒ ด้านการบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูล ศาลยุติธรรมและกระทรวงยุติธรรมได้มีทิศทาง
การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลในเร่ืองการบูรณาการข้อมูล โดยศาลยุติธรรมมีการกาหนดแนวทางการบริหารจัดการ
และบูรณาการข้อมูลเพ่ือใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่างหน่วยงานภายในของศาลยุติธรรม รวมทั้งเช่ือมโยงกับ
หน่วยงานภายนอกท่ีเก่ียวข้องในการอานวยความยุติธรรม เพ่ือให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการได้สะดวก
และง่ายข้ึน ในส่วนของกระทรวงยุติธรรมได้จัดให้มีการบูรณาการข้อมูลเพ่ืออานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน
ของบุคลากรในหน่วยงานของกระทรวงยุติธรรม ท้ังในระดับบริหารและระดับปฏิบัติงาน เช่น เทคโนโลยี
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลระบบธุรกจิ อัจฉรยิ ะ (Business Intelligence) เพอื่ สนับสนนุ การตัดสินใจของผูบรหิ าร

๒.๓ ด้านโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐาน
ใหม้ คี วามม่นั คงปลอดภยั และมีมาตรฐาน สามารถรองรบั การปฏิบัตงิ านและการใหบ้ รกิ ารประชาชนอยา่ งเหมาะสม
นอกจากน้ี ยังมีการกาหนดทิศทางให้มีการใชน้ วัตกรรมดิจิทัลท่ีทันสมัยเพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การคดี
และการอานวยความยุติธรรม

๔๗ | P a g e


Click to View FlipBook Version