The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปมติสำคัญของคณะกรรมการผังเมือง เล่มที่ 17

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DPT eBook, 2021-03-09 02:13:09

สรุปมติสำคัญของคณะกรรมการผังเมือง เล่มที่ 17

สรุปมติสำคัญของคณะกรรมการผังเมือง เล่มที่ 17

- 342 -

ลําดับท่ี เรื่อง/มติ อางอิง

(ครง้ั ที่/วนั ทป่ี ระชมุ )

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากในฐานะเจาของกรรมสิทธิ์ท่ีดิน จํานวน

๖๐๘ ไร บริษัทฯ มีความประสงคจะนําที่ดินมาพัฒนาเปนอาคารหรือคลังสินคา

เพื่อใหเ ชา หรือขาย

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง เนื่องจากพื้นที่อยูในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม จึงใหเปนไปตาม

กฎหมายปฏริ ปู ที่ดนิ เพอ่ื เกษตรกรรม

มตทิ ีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทปฏิรูป
เพื่อเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีนํ้าตาล)
ในบริเวณท่ีดินหมายเลข ๗.๑ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมืองรวมจงั หวดั ระยอง

เร่ืองท่ี ๓๔ ขอแกไขท่ีดินประเภทปฏิรปู เพ่ือเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบ
และเสนทแยงสีน้ําตาล) ในบริเวณท่ีดินหมายเลข ๗.๑ เปนท่ีดินประเภท
อตุ สาหกรรมและคลังสนิ คา (สีมว ง)

ผรู อง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแ ก บรษิ ัท ไทยซงั ชิน นวิ แมททีเรยี ล จาํ กดั
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากบริษัทฯ กําหนดอยูในพ้ืนท่ี ๗.๑ ที่ดิน
ประเภทปฏริ ปู ท่ีดนิ เพอื่ เกษตรกรรม
ผลการพจิ ารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง เน่ืองจากพื้นท่ีอยูในเขตปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม จึงใหเปนไปตาม
กฎหมายปฏริ ปู ท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม

มตทิ ี่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทปฏิรูป
เพอื่ เกษตรกรรม (สเี ขยี วมกี รอบและเสน ทแยงสีนา้ํ ตาล) ในบริเวณ
ที่ดินหมายเลข ๗.๑ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด
ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมือง และคณะทีป่ รึกษาผงั เมอื งรวมจังหวดั ระยอง

เร่ืองที่ ๓๕ ขอแกไขท่ีดินประเภทปฏิรปู เพื่อเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบ
และเสนทแยงสีน้ําตาล) ในบริเวณท่ีดินหมายเลข ๗.๑ เปน ท่ีดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) และท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมทั่วไปท่ีไมเปน
มลพิษตอ ชุมชนและส่งิ แวดลอ ม (สขี าวมกี รอบและเสนทแยงสีมวง)

ผรู อง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท พี ไอ อินดัสทรี จํากดั

- 343 -

ลําดบั ท่ี เรื่อง/มติ อางอิง

(ครั้งท/่ี วนั ที่ประชมุ )

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัทฯ ไดรับใบอนุญาตประกอบ

กิจการโรงงาน (รง. ๔) ประเภทชนิดหรือโรงงานลาํ ดับท่ี ๕๒ (๔) ประกอบกิจการ

ผลติ รบั เบอรคอมปาวด (ยางสงั เคราะห)

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเหน็ สอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง เน่ืองจากพื้นท่ีอยูในเขตปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม จึงใหเปนไปตาม

กฎหมายวาดวยการปฏิรปู ท่ดี นิ เพ่ือเกษตรกรรม

มตทิ ป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทปฏิรูป
เพื่อเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีน้ําตาล)
ในบริเวณท่ีดินหมายเลข ๗.๑ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รองฯ กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผงั เมอื งรวมจงั หวัดระยอง

เรื่องท่ี ๓๖ ขอแกไขบริเวณสองขางทางถนนทางหลวงแผนดิน สายบานบึง -
บานคา ย (สาย ๓๑๓๘) ระยะ ๒๐๐ เมตร ใหเปนพืน้ ท่ีชมุ ชนสรางอาคารบานเรือน
ตึกแถว บานจัดสรร บานแถวเพ่ือเปนท่ีอยูอาศัย โดยใหกําหนดไวหรือใสเงื่อนไข
การใชประโยชนท่ีดินในผังสีและในระยะ ๑,๐๐๐ เมตร เฉพาะดานซาย
ของทางหลวงแผนดินสายบานบึง - บานคาย (สาย ๓๑๓๘) ตอจากระยะ ๒๐๐ เมตร
ตามแนวขนานใหเปนพื้นที่ดินประเภทอุตสาหกรรมทั่วไปที่ไมเปนมลพิษตอชมุ ชน
หรือส่ิงแวดลอมและคลังสนิ คา (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีมวง)

ผูรอง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแ ก องคการบริหารสวนตาํ บลหนองบวั
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากในฐานะองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
ตองการพฒั นาทดี่ ินเปนพ้นื ท่ีชุมชนเพ่ือสรา งอาคารบานเรือน ตึกแถว บานจัดสรร
บานแถว เพื่อเปนที่อยูอาศัย โดยใหกําหนดไวห รือใสเง่ือนไขการใชประโยชนท ่ีดนิ
ในผังสีและในระยะ ๑,๐๐๐ เมตร เฉพาะดานซายของทางหลวงแผนดินสายบานบึง -
บานคาย (สาย ๓๑๓๘) ตอจากระยะ ๒๐๐ เมตร ตามแนวขนานใหเปนท่ีดิน
ประเภทอตุ สาหกรรมทว่ั ไปที่ไมเปนมลพษิ ตอชุมชนหรอื สิง่ แวดลอมและคลังสินคา
(สขี าวมกี รอบและเสนทแยงสมี ว ง)
ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง เนื่องจากพื้นที่อยูในเขตปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม จึงใหเปนไปตาม
กฎหมายวาดว ยการปฏริ ูปท่ีดินเพือ่ เกษตรกรรม

- 344 -

ลาํ ดับที่ เรื่อง/มติ อางอิง
มติทป่ี ระชุม
(คร้ังท/่ี วันท่ีประชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทปฏิรูป

เพ่ือเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีนํ้าตาล)

ในบริเวณท่ีดินหมายเลข ๗.๑ บริเวณสองขางทางถนน

ทางหลวงแผนดิน สายบานบึง - บานคาย (สาย ๓๑๓๘) ระยะ

๒๐๐ เมตร ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผงั เมอื ง และคณะทีป่ รึกษาผังเมืองรวมจังหวดั ระยอง

เรื่องที่ ๓๗ ขอแกไขท่ีดินประเภทปฏิรปู เพ่ือเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบ
และเสนทแยงสีนํ้าตาล) ในบริเวณที่ดินหมายเลข ๗.๑ เปนที่ดินประเภท
อุตสาหกรรมที่ไมเปนมลพิษตอชุมชนหรือสิ่งแวดลอมและคลังสินคา (สีขาว
มีกรอบและเสนทแยงสีมว ง)

ผรู อ ง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก องคการบริหารสว นตาํ บลละหาร
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากในฐานะทองถิ่นที่ดูแลพ้ืนท่ีมีความประสงค
เ ป ล่ี ย น ก า ร ใ ช ประโยชน ที่ ดิ นประเภทอุ ตสาหกรรมท่ี ไม เป นมลพิ ษต อชุ มชน
หรอื ส่งิ แวดลอ มและคลังสินคา (สีขาวมกี รอบและเสน ทแยงสมี ว ง)
ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง เนื่องจากพื้นท่ีอยูในเขตปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม จึงใหเปนไปตาม
กฎหมายวา ดว ยการปฏิรปู ที่ดินเพ่อื เกษตรกรรม

มติทปี่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทปฏิรูป
เพ่ือเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีน้ําตาล)
ในบริเวณท่ีดินหมายเลข ๗.๑ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รองฯ กรมโยธาธิการและผงั เมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผงั เมืองรวมจงั หวัดระยอง

เร่ืองที่ ๓๘ ขอแกไขท่ีดินประเภทปฏิรูปเพื่อเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบ
และเสนทแยงสีน้ําตาล) ในบริเวณที่ดินหมายเลข ๗.๑ เปนที่ดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) และท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมท่ัวไปท่ีไมเปน
มลพิษตอชมุ ชนและสง่ิ แวดลอ ม (สีขาวมกี รอบและเสนทแยงสีมว ง)

ผรู อง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก บรษิ ัท คาวามาตะ อนิ โนเวชัน (ประเทศไทย)
จาํ กัด

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัทฯ ไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการ
โรงงาน (ร.ง. ๔) ประเภท ชนดิ หรอื โรงงานลาํ ดับท่ี ๔๑ (๒) ประกอบกจิ การผลิตแมพ มิ พ

- 345 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(ครั้งที่/วนั ทปี่ ระชมุ )

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นสอดคลองกนั )

คณะทปี่ รึกษาผงั เมืองรวมจังหวดั ระยอง กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง และ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง เนื่องจากพื้นที่อยูในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม จึงใหเปนไปตาม

กฎหมายวา ดว ยการปฏริ ปู ท่ีดนิ เพื่อเกษตรกรรม

มตทิ ่ีประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทปฏิรูป
เพื่อเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีนํ้าตาล)
ในบริเวณท่ีดินหมายเลข ๗.๑ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารอ งฯ กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผังเมอื งรวมจังหวัดระยอง

เรื่องท่ี ๓๙ ขอแกไขท่ีดินประเภทปฏิรปู เพ่ือเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบ
และเสนทแยงสีนํ้าตาล) ในบริเวณที่ดินหมายเลข ๗.๑ เปนที่ดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลงั สินคา (สีมวง)

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากปจจุบันท่ีดินดังกลาวใชประโยชน
เพื่อเตรียมการสําหรับการพัฒนาโครงการนิคมอุตสาหกรรมหรือสวนอุตสาหกรรม
(บางสวน) และพน้ื ที่เพาะปลูกสปั ปะรด สําหรบั โรงงานของ บมจ. อาหารสยาม

ผูร อ ง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษทั อาหารสยาม จาํ กัด (มหาชน)
ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง เน่ืองจากพ้ืนท่ีอยูในเขตปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม จึงใหเปนไปตาม
กฎหมายวา ดว ยการปฏิรูปทีด่ ินเพอ่ื เกษตรกรรม

มติทีป่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทปฏิรูป
เพ่ือเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีนํ้าตาล)
ในบริเวณท่ีดินหมายเลข ๗.๑ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยอง
กําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม
จงั หวัดระยอง

เรื่องที่ ๔๐ ขอแกไขที่ดินประเภทที่โลงเพ่ือนันทนาการและการรักษา
คุณภาพสิ่งแวดลอม (สีเขียวออน) ในบริเวณท่ีดินหมายเลข ๘.๓ เปนท่ีดินประเภท
ชุมชน (สชี มพ)ู

ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ไดแก นางจุฑามาศ ลีวัฒนวงศ และ
นายสาธร กิตยารักษ

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากปจจุบันอยูในข้ันตอนการขออนุญาต
จดั สรรทดี่ ินและเปนเจาของกรรมสิทธทิ์ ดี่ ิน จาํ นวน ๑๓ ไร ๒ งาน ๑๕ ตารางวา

- 346 -

ลําดับที่ เร่ือง/มติ อา งอิง

(ครง้ั ท/ี่ วนั ทีป่ ระชมุ )

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง เน่ืองจากหากมีการกําหนดพื้นท่ีเปนที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู)

อาจสงผลกระทบจากน้ําเสียที่จะไหลลงสูอางเก็บนํ้าได เน่ืองจากในขอกําหนด

ของที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู) สามารถสรางอาคารที่มีขนาดใหญไดหลายชนิด

ประเภท ซ่ึงขัดตอเจตนาท่ีกําหนดพ้ืนท่ีบริเวณริมอางเก็บน้ําเปนพ้ืนท่ีที่กําหนดไว

เพ่อื รักษาส่งิ แวดลอม

มติทป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทท่ีโลง
เพือ่ นันทนาการและการรกั ษาคุณภาพสิง่ แวดลอม (สเี ขียวออน)
ในบริเวณที่ดินหมายเลข ๘.๓ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง และคณะทปี่ รกึ ษา
ผงั เมืองรวมจงั หวดั ระยอง

เรื่องที่ ๔๑ ขอแกไขท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยง
สีขาว) ในบริเวณทีด่ นิ หมายเลข ๙.๑ เปนท่ดี นิ ประเภทปฏิรปู ท่ดี ินเพอ่ื เกษตรกรรม
(สขี าวมีกรอบและเสน ทแยงสนี าํ้ ตาล)

ผูรอง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก องคก ารบรหิ ารสวนตาํ บลน้าํ เปน
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากประชาชนไดต้ังรกรากปลูกบานเรือน
ท่ีอยอู าศัยและประกอบอาชีพในพ้นื ที่ดังกลา วเปน เวลานาน
ผลการพจิ ารณาคํารอง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง เน่ืองจากขัดตอเจตนาในการวางผังในพื้นที่ และเกินอํานาจหนาท่ี
ของคณะทป่ี รึกษาผังเมืองรวมจงั หวดั ระยองในการพจิ ารณา

มติท่ีประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม
(สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) ในบริเวณหมายเลข ๙.๑ ไวตาม
รางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ีปรกึ ษาผงั เมืองรวมจังหวัดระยอง

เรื่องท่ี ๔๒ ขอแกไขที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว)
ในบรเิ วณที่ดนิ หมายเลข ๙.๒ เปนทดี่ นิ ประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสนิ คา (สมี วง)

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท เหมราช อีสเทิรนซีบอรด
อินดัสเตรียล - เอสเตท จาํ กัด

- 347 -

ลาํ ดับท่ี เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครัง้ ท/่ี วนั ท่ปี ระชมุ )

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากไดรับการประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม

เร่ือง การจัดตั้งเขตอุตสาหกรรมทั่วไปนิคมอุตสาหกรรมอีเอส ๒๑ ในราชกิจจานุเบกษา

เลม ๑๑๗ ตอนพิเศษ ๓๗ ง ลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๔๓ เนื้อท่ีประมาณ

๑,๔๙๔.๐๖ ไร และประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง การเปล่ียนแปลงเขต

เขตอุตสาหกรรมท่ัวไป นิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิรนซีบอรด (ฉบับที่ ๔)

ในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๓ ตอนพิเศษ ๑๐๑ ง ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๙

เน้ือทป่ี ระมาณ ๘,๑๗๙ ไร ๒ งาน ๔๔ ตารางวา

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง เนื่องจากในขอกําหนดไดกําหนดพื้นท่ีตามประกาศกระทรวง

อตุ สาหกรรม เรอ่ื ง การเปล่ียนแปลงเขตเขตอุตสาหกรรมทว่ั ไป นิคมอุตสาหกรรม

เหมราชอสี เทริ น ซบี อรด (ฉบับที่ 4) ไวอ ยูแ ลว

มตทิ ่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท ี่ดินประเภทอนุรักษปาไม
(สีเขยี วออนมเี สนทแยงสีขาว) ในบรเิ วณหมายเลข ๙.๒ ไวต ามราง
ผงั เมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รอ งฯ กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง และคณะทปี่ รึกษา
ผงั เมอื งรวมจงั หวัดระยอง

เรื่องท่ี ๔๓ ขอแกไขท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยง
สีขาว) ในบริเวณที่ดินหมายเลข ๙.๒ เปนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมทั่วไปทีไ่ มเปน
มลพิษตอ ชุมชนหรือส่ิงแวดลอมและคลังสนิ คา (สขี าวมกี รอบและเสน ทแยงสีมว ง)

ผรู อ ง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก องคการบริหารสวนตําบลตาสิทธ์ิ
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากทองถ่ินมีความประสงคอนุญาตใหมี
การกอสรางอุตสาหกรรมที่ไมเปนมลพิษในพื้นที่เพื่อใหเก็บภาษีไดมากขึ้น
และงบพัฒนาทองถ่นิ มากขน้ึ
ผลการพิจารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคาํ รอง เน่อื งจากพื้นท่ีอยูในเขตอนุรักษปาไม (สเี ขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) จงึ ให
เปน ไปตามกฎหมายปาไม

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม
(สเี ขียวออนมเี สนทแยงสีขาว) ในบริเวณหมายเลข ๙.๒ ไวตามราง
ผงั เมืองรวมจังหวดั ระยองกําหนด ตามมติคณะอนกุ รรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทีป่ รึกษาผังเมืองรวมจงั หวัดระยอง

- 348 -

ลาํ ดับท่ี เรื่อง/มติ อา งอิง

(ครง้ั ท่/ี วนั ทปี่ ระชมุ )

เร่ืองที่ ๔๔ ขอแกไขท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยง

สขี าว) ในบริเวณท่ดี นิ หมายเลข ๙.๒ เปนทด่ี นิ ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา

(สมี ว ง)

ผรู อ ง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแ ก บรษิ ัท ไทยซงั ชิน นิวแมททเี รียล จํากดั

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากบริษัทฯ กําหนดอยูในพื้นที่ ๙.๒ ที่ดิน

ประเภทปฏริ ปู ทด่ี ินเพื่อเกษตร

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง เนื่องจากพื้นที่อยูในเขตอนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) จึงให

เปน ไปตามกฎหมายปาไม

มตทิ ่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม
(สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) ในบริเวณหมายเลข ๙.๒ ไว
ตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุ
กรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทีป่ รกึ ษาผงั เมอื งรวมจังหวดั ระยอง

เร่ืองที่ ๔๕ ขอแกไขท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยง
สขี าว) ในบรเิ วณท่ดี นิ หมายเลข ๙.๒ เปน ทีด่ นิ ประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สินคา
(สีมวง) และที่ดินประเภทอุตสาหกรรมท่ัวไปท่ีไมเปนมลพิษตอชุมชนและสิ่งแวดลอม
(สขี าวมีกรอบและเสน ทแยงสมี ว ง)

ผรู อง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษทั พี ไอ อนิ ดัสทรี จาํ กดั
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัทฯ กําหนดอยูในพ้ืนท่ี ๙.๒ ที่ดิน
ประเภทปฏริ ปู ทดี่ นิ เพ่อื เกษตรกรรม
ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง เนื่องจากพื้นท่ีอยูในเขตอนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว)
จึงใหเ ปน ไปตามกฎหมายปาไม

มตทิ ่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชป ระโยชนท่ีดินประเภทอนรุ กั ษปาไม
(สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) ในบริเวณหมายเลข ๙.๒ ไว
ตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมือง และคณะทปี่ รึกษาผงั เมืองรวมจังหวดั ระยอง

- 349 -

ลาํ ดับท่ี เรอื่ ง/มติ อา งอิง

(ครง้ั ท/ี่ วนั ที่ประชมุ )

เร่ืองท่ี ๔๖ ขอแกไขที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยง

สขี าว) ในบรเิ วณทด่ี นิ หมายเลข ๙.๒ เปน ทด่ี ินประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสินคา

(สีมวง) และท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมท่ัวไปท่ีไมเปนมลพิษตอชุมชนและส่ิงแวดลอม

(สีขาวมกี รอบและเสนทแยงสีมวง)

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท คาวามาตะ อินโนเวชัน

(ประเทศไทย) จํากัด

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัทฯ ไดรับใบอนุญาตประกอบ

กิจการโรงงาน (ร.ง. ๔) ประเภท ชนิดหรือโรงงานลําดับที่ ๔๑ (๒) ประกอบ

กจิ การผลิตแมพ ิมพ

ผลการพิจารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง คือ เนื่องจากพื้นท่ีอยูในเขตอนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว)

จงึ ใหเปน ไปตามกฎหมายปาไม

มติทีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษ
ปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) ในบริเวณหมายเลข
๙.๒ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมอื ง และคณะท่ีปรกึ ษาผงั เมอื งรวมจังหวัดระยอง

เร่ืองท่ี ๔๗ ขอแกไขท่ีดินประเภท……… (สี........) ในบริเวณที่ดินหมายเลข .....
ของผงั ปดประกาศ ๙๐ วัน เปน ทด่ี ินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมว ง)

ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ไดแก บริษัท สตารี-ปโตรเลียม รีไฟนนิ่ง
จาํ กดั (มหาชน) และบริษทั พีทที ี - โกลบอล เคมิคอล จาํ กดั (มหาชน)

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากบริษัทฯ เจาของกรรมสิทธิ์ท่ีดินและเปน
ผูประกอบการผลิตนํ้ามันเช้ือเพลิงในบริเวณท่ีดินหมายเลข ๓.๑๓ และมีสิทธิใช
ที่ดินบริเวณหมายเลข ๓.๑๖ เพื่อเปนทาเรือสําหรับประกอบกิจการสนับสนุนการ
ผลิตนํ้ามันเช้อื เพลิง

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง เน่ืองจากพื้นท่ีดังกลาวไมมีการกําหนดการใชประโยชนท่ีดินบริษัทฯ
จึงมสี ทิ ธิสามารถประกอบกจิ การในพน้ื ทไ่ี ดอยแู ลว

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง เนื่องจากพ้ืนที่ดังกลาวไมไดมีการกําหนดการใช
ประโยชนที่ดิน ซ่ึงเปนอํานาจหนาท่ีของกรมเจาทา ท่ีจะพิจารณา
ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมอื ง และคณะทปี่ รึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง

- 350 -

ลาํ ดบั ท่ี เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครง้ั ท่ี/วันที่ประชมุ )

เร่ืองท่ี ๔๘ ขอยกเลิกท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง)

ในบริเวณท่ดี ินหมายเลข ๓.๑๖ ของผังปดประกาศ ๙๐ วนั

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแ ก นายเจริญ เดชคมุ

เหตุผลในการขอแกไ ข เนื่องจากไมต อ งการใหมกี ารกาํ หนดพ้นื ท่สี มี วงในทะเล

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง เนื่องจากผูรองเขาใจสิทธิในการใชประโยชนที่ดินที่คลาดเคล่ือน หากมี

การกําหนดตามทไี่ ดร อ งขอจะขัดตอ ขอเท็จจรงิ ตามวตั ถุประสงคของผรู อ ง

มตทิ ป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลังสินคา (สีมวง) ในบริเวณท่ีดินหมายเลข ๓.๑๖ ไวตาม
รางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะปรกึ ษาผงั เมอื งรวมจงั หวัดระยอง

ดา นขอกําหนดการใชประโยชนทดี่ นิ (จํานวน ๔๓ เรือ่ ง)
เรื่องท่ี ๑
๑) ขอใหปรับปรงุ ขอกําหนดใหมีระยะกันชนบริเวณทางดานตะวนั ตกและใต
ของนคิ มอตุ สาหกรรมเอเชยี ตามแนวทางของคณะกรรมการ ๔ ฝา ย
๒) ขอใหปรับปรุงขอกําหนดพ้ืนท่ีชนบทเกษตรกรรมที่อยูในระยะกันชน
ตามขอเสนอของคณะกรรมการแกไขปญ หาการปฏิบตั ิ ตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง
๓) ขอใหเ พ่ิมขอกําหนดระยะกันชนในบางบรเิ วณโดยรอบนิคมอุตสาหกรรม
ไดแ ก ทางดานตะวนั ตกและตอนใตของนิคมอุตสาหกรรมเอเชีย เพ่ือใหมรี ะยะกันชน
๔) ท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคาไมมีมาตรการกันชน จึงควร
มกี ารกาํ หนดเปน ประเภทชนบทและเกษตรกรรม และมาตรการระยะกันชน
๕) ขอใหปรับปรุงขอกําหนดที่ดินประเภท ช ๑ ในบริเวณ ๑.๓ และ ๑.๔
โดยขอใหระบุขอหามการจัดสรรที่ดินเพื่ออุตสาหกรรม และหามการใชประโยชนท่ีดิน
เพื่ออุตสาหกรรมหรือเกี่ยวของกับอุตสาหกรรม คลังสินคา ที่เปนมลพิษตอชุมชน
หรือสง่ิ แวดลอม
๖) ขอแกไขระยะถอยรนของการใชประโยชนที่ดินริมฝง แมนํ้า ลําคลอง
แหลง นา้ํ สาธารณะทุกชนิดจาก ๑๕ เมตร เพม่ิ เปน ๓๐ เมตร เพ่ือปกปอ งคุณภาพ
แหลงนํา้ ตาง ๆ
ผรู อง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก กลุมอนรุ ักษพ ทิ ักษสิง่ แวดลอมมาบตาพุด
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากผูรองตองการปกปองพ้ืนท่ีเมืองระยอง
และพื้นท่ีโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมในมาบตาพุด ใหประชาชนมีสุขภาวะ
และสง่ิ แวดลอมที่ดีข้นึ

- 351 -

ลาํ ดบั ที่ เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครงั้ ท่ี/วันทปี่ ระชมุ )

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง ขอ ๑ - ๔ เน่ืองจากผังจังหวัดเปนผังเชิงนโยบาย การเสนอในการกําหนด

ขอกําหนดดังกลาว ควรไปกําหนดในขอกําหนดของผังเมืองรวมระดับชุมชน

ซ่ึงเปนผังท่ีมีรายละเอียดทั้งขอมูลและขอกําหนดของผังที่มากกวา โดยบริเวณ

ดงั กลาวอยูในผงั เมืองรวมอุตสาหกรรมหลักและชุมชม จังหวัดระยอง และผงั เมืองรวม

เมืองระยอง และมีเทศบัญญัติของเทศบาลเมืองมาบตาพุด บังคับใชอยูในปจจุบัน

จึงอาจเกิดขัดแยงกับการกําหนดบริเวณตามเทศบัญญัติดังกลาว อีกท้ัง ในขณะน้ี

ยังอยูในระหวางการปรับปรุงผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน

จังหวัดระยอง จึงควรนําขอเสนอดังกลาวเสนอตอเทศบาลเมืองมาบตาพุดเพื่อใช

ประกอบการพิจารณา ในการปรบั ปรุงผังเมืองรวม ในระดับชุมชนซ่ึงจะมีความละเอยี ด

ในการศึกษาและมีการจัดทําผังเมืองรวมในพ้ืนท่ีที่มีความเหมาะสมและสอดคลอง

ที่มากกวา โดยเม่ือผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง มีผล

บังคับใชใ นพื้นทด่ี ังกลาวจะมีผลแทนท่ีการกําหนดเอาไวในผังเมืองรวมจังหวัดระยอง

ขอ ๕ เน่ืองจากบริเวณหมายเลข ๑.๓ มีเทศบัญญัติของเทศบาลเมือง

มาบตาพุดบังคับใชอยูในปจจุบัน โดยควรนําขอเสนอดังกลาวเสนอตอเทศบาล

เมืองมาบตาพุด เพื่อใชประกอบการพิจารณาในการปรับปรุงผังเมืองรวมในระดับ

ชุมชน ซ่ึงจะมีความละเอียดในการศึกษาและมีการจัดทําผังเมืองรวมในพื้นท่ี

ท่ีมีความเหมาะสมและสอดคลองที่มากกวา โดยเมื่อผังเมืองรวมบริเวณ

อุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง มีผลบังคับใชในพ้ืนท่ีดังกลาวจะมีผล

แทนท่กี ารกําหนดเอาไวใ นผังเมืองรวมจังหวัดระยอง ในสว นบรเิ วณหมายเลข ๑.๔

ควรนําขอเสนอดงั กลาวเสนอตอเทศบาลนครระยอง เพอื่ ใชประกอบการพิจารณา

ในการปรับปรุงผังเมืองรวมในระดับชุมชน ซึ่งจะมีความละเอียดในการศึกษา

และมีการจัดทําผังเมืองรวมในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมและสอดคลองท่ีมากกวา

โดยเม่ือผังเมืองรวมเมืองระยอง มีผลบังคับใชในพ้ืนที่ดังกลาวจะมีผลแทนท่ี

การกําหนดเอาไวใ นผังเมืองรวมจังหวดั ระยอง

ขอ ๖ เน่ืองจากการกําหนดดังกลาวอาจเปนอุปสรรคในการตั้งท่ีอยูอาศัย

และในพื้นท่มี ีพระราชบญั ญตั ิควบคมุ อาคารบังคับใชอ ยูแ ลว

มติที่ประชุม ยกคํารอง โดยใหค งขอกาํ หนดการใชป ระโยชนทด่ี ินประเภท
ชุมชน ช ๑ (สีชมพู) ในบริเวณที่ดินหมายเลข ๑.๓ และ ๑.๔
ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมอื ง และคณะทีป่ รึกษาผงั เมืองรวมจังหวดั ระยอง

- 352 -

ลาํ ดับที่ เรือ่ ง/มติ อางอิง

(ครัง้ ที่/วนั ท่ปี ระชมุ )

เรอื่ งท่ี ๒

๑) ขอใหย กเลิกการยกเวน ขอ กาํ หนดท่อี นญุ าตใหสรางโรงงาน ลําดบั ท่ี ๙๒

๒) ขอใหปรับปรงุ ขอ กําหนดทีด่ นิ ประเภท ช ๑ ในบรเิ วณ ๑.๔ โดยขอให

ระบุขอหามการจัดสรรที่ดินเพื่ออุตสาหกรรมและหามการใชประโยชนท่ีดิน

เพื่ออุตสาหกรรมหรือเกี่ยวของกับอุตสาหกรรม คลังสินคา ที่เปนมลพิษตอชุมชน

หรือสิ่งแวดลอม

๓) โดยขอใหเปล่ียนแปลงระยะถอยรนของการใชประโยชนท่ีดินริมฝง

แมน ้ํา ลําคลองและแหลง นํา้ สาธารณะทกุ ชนดิ จาก ๑๕ เมตร เพมิ่ เปน ๓๐ เมตร

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก กลุมรักษสิ่งแวดลอมบานแลง

เครอื ขายประชาชนภาคตะวนั ออก

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากผูรองตองการปกปองพ้ืนที่เมืองระยอง

และพ้นื ท่บี า นแลงใหป ระชาชนมสี ขุ ภาวะและสงิ่ แวดลอ มทีด่ ขี ึ้น

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอ ง คอื ขอ ๑ เนอื่ งจากคณะที่ปรกึ ษาผังเมืองรวมฯ พจิ ารณาแลววา โรงงาน

ลําดับท่ี ๙๒ ยังคงมีความจําเปนตอพ้ืนที่ อีกทั้ง กระทรวงอุตสาหกรรมไดยกเลิก

จากการเปนอตุ สาหกรรมท่มี ีความเส่ยี งจากอันตรายทเ่ี กิดจากการประกอบกิจการแลว

ขอ ๒ เน่ืองจากควรนําขอเสนอดังกลาวเสนอตอเทศบาลนครระยอง เพ่ือใช

ประกอบการพจิ ารณาในการปรับปรุงผังเมืองรวมในระดับชุมชน ซงึ่ จะมคี วามละเอียด

ในการศึกษาและมีการจัดทําผังเมืองรวมในพื้นที่ท่ีมีความเหมาะสมและสอดคลอง

ที่มากกวา โดยเมื่อผังเมืองรวมเมืองระยองมีผลบังคับใชในพ้ืนท่ีดังกลาวจะมีผล

แทนทกี่ ารกําหนดเอาไวในผังเมืองรวมจังหวัดระยอง

ขอ ๓ เนื่องจากการกําหนดดังกลาวอาจเปนอุปสรรคในการต้ังที่อยูอาศัย

และในพื้นทม่ี ี พระราชบญั ญตั ิควบคมุ อาคารบงั คับใชอยแู ลว

มติทป่ี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ประเภทชุมชน ช ๑ (สีชมพู) ในบริเวณท่ีดินหมายเลข ๑.๔
ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมือง และคณะท่ปี รึกษาผังเมืองรวมจังหวดั ระยอง

เร่ืองที่ ๓ ขอแกไขขอกําหนดที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา
(สีมวง) บรเิ วณทีด่ ินหมายเลข ๓.๑ ดงั น้ี

๑) ขอใหยกเลิกขอกําหนด ขอ ๙ (๑.๑๖) การประกอบกิจการอุตสาหกรรม
ชุดเคลือบผิวโลหะดว ยไฟฟา

๒) ขอใหกําหนดในขอกําหนดวา สําหรับชนิดประเภทโรงงานในนิคม
อุตสาหกรรมหรือเขตประกอบการอุตสาหกรรม ใหเปน ไปตามประเภทอุตสาหกรรม
เปา หมายทไ่ี ดรบั อนมุ ัตติ ามรายงานผลกระทบสิง่ แวดลอม

- 353 -

ลาํ ดบั ท่ี เร่อื ง/มติ อางอิง

(ครงั้ ท่ี/วันท่ีประชมุ )

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท เหมราชอีสเทิรนซีบอรด

อินดัสเตรยี ลเอสเตท จํากัด

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากกลุมอุตสาหกรรมเปาหมายของนิคมเหมราชฯ

เปนกลุมอุตสาหกรรมผลิตช้ินสวนและประกอบรถยนต ซ่ึงมีชิ้นสวนยานยนต

บางประเภทจําเปนตองมีขั้นตอนการชุมเคลือบผิวโลหะดวยไฟฟา และไดรับ

อนมุ ัตริ ายงานผลกระทบสิ่งแวดลอ ม ฉบบั เมือ่ วนั ท่ี ๑๑ มกราคม ๒๕๔๖

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มคี วามเห็นสอดคลองกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ใหต ามคํารอ งโดยมีเงื่อนไข ในประเดน็ ที่ ๑ และเหน็ ควรยกคํารอง ในประเดน็ ที่ ๒ คือ

ประเดน็ ที่ ๑ เห็นควรใหตามคาํ รองโดยมีเงอื่ นไข เนอ่ื งจากคณะท่ีปรึกษา

ผังเมืองรวมจังหวัดระยอง พิจารณาแลววาเปนอุตสาหกรรมท่ีเก่ียวของและ

ตอเน่ืองกับพื้นที่ท้ังปจจุบันเปนอุตสาหกรรมที่ไมสงผลกระทบรุนแรง โดยมี

ขอเสนอเพิ่มเติมใหดําเนินการตามเง่ือนไขการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม

(EIA) อยา งเครงครัด

ประเด็นที่ ๒ เห็นควรยกคํารอง เนื่องจากเน้ือหาเก่ียวของกับอุตสาหกรรม

เปาหมายที่ไดรับอนุมัติ ตามรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเปนการกําหนดตาม

กลุมอุตสาหกรรม มิไดมีการกําหนดชนิด ประเภทโรงงาน ท่ีชัดเจนดังเชน

ทกี่ าํ หนดไวในขอกาํ หนด

มติท่ปี ระชุม ใหตามคาํ รอ งบางสวน โดยใหแ กไ ขเปล่ียนแปลงขอกําหนดการใช
ประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง)
บรเิ วณหมายเลข ๓.๑ ใหส ามารถประกอบกิจการอุตสาหกรรม
ชุดเคลอื บผวิ โลหะดวยไฟฟา เฉพาะพน้ื ทีท่ ่ีเปนกรรมสิทธ์ิท่ีดิน
ของผูรอง และยกคํารอง การขอใหกําหนดในขอกําหนดวา
สําหรับชนิดประเภทโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมหรือเขต
ประกอบการอุตสาหกรรม ที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลังสินคา (สีมวง) บริเวณที่ดินหมายเลข ๓.๑
ใหเปนไปตามประเภทอุตสาหกรรมเปาหมายท่ีไดรับอนุมัตติ าม
รายงานผลกระทบส่ิงแวดลอม ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทปี่ รึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง

เรื่องที่ ๔ ขอแกไขขอกําหนดที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา
(สีมวง) บรเิ วณทด่ี นิ หมายเลข ๓.๒ ดงั นี้

๑) ขอใหยกเลิกขอกําหนด ขอ ๙ (๑.๑๖) การประกอบกิจการอุตสาหกรรม
ชดุ เคลือบผิวโลหะดว ยไฟฟา

๒) ขอใหกําหนดในขอกําหนดวา สําหรับชนิดประเภทโรงงานในนิคม
อุตสาหกรรมหรือเขตประกอบการอุตสาหกรรม ใหเปนไปตามประเภทอุตสาหกรรม
เปา หมายท่ีไดรับอนมุ ัติตามรายงานผลกระทบสิง่ แวดลอ ม

- 354 -

ลาํ ดับท่ี เร่ือง/มติ อางอิง

(ครั้งที/่ วนั ท่ปี ระชมุ )

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท เอสเอ็มอี แฟคทอรี่ จํากัด

และบรษิ ัท อีสเทิรน ซบี อรด อิน ดสั เตรียลเอสเตท (ระยอง) จาํ กดั

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากกลุมอุตสาหกรรมเปนบริษัทในกลุม

ของเหมราชฯ มีประเภทอุตสาหกรรมท่เี หมอื นกัน

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการ ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ใหต ามคาํ รอง โดยมเี งือ่ นไข ในประเดน็ ท่ี ๑ และเหน็ ควรยกคาํ รอง ในประเด็นท่ี ๒ คอื

ประเดน็ ที่ ๑ เหน็ ควรใหต ามคํารองโดยมเี งอื่ นไข เนอ่ื งจากคณะทป่ี รึกษา

ผังเมืองรวมฯ พิจารณาแลววาเปนอุตสาหกรรมท่ีเก่ียวของและตอเน่ืองกับพื้นท่ี

ทั้งปจจุบันเปนอุตสาหกรรมที่ไมสงผลกระทบรุนแรง โดยมีขอเสนอเพิ่มเติม

ใหดําเนนิ การตามเงอื่ นไขการวเิ คราะหผ ลกระทบส่งิ แวดลอม (EIA) อยา งเครง ครัด

ประเด็นท่ี ๒ เห็นควรยกคํารอง เนื่องจากเน้ือหาเกี่ยวของกับอุตสาหกรรม

เปาหมายที่ไดรับอนุมัติตามรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม เปนการกําหนด

ตามกลุมอุตสาหกรรมมิไดมีการกําหนดชนิดประเภทโรงงาน ที่ชัดเจนดังเชน

ทีก่ ําหนดไวใ นขอ กาํ หนด

มติท่ปี ระชมุ ใหตามคาํ รอ งบางสวน โดยใหแกไ ขเปล่ียนแปลงขอกาํ หนดการใช
ประโยชนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง)
บริเวณหมายเลข ๓.๒ ใหสามารถประกอบกิจการอุตสาหกรรม
ชุดเคลือบผิวโลหะดวยไฟฟา เฉพาะพ้ืนท่ีท่ีเปนกรรมสิทธ์ิท่ีดิน
ของผูรอง และยกคํารอง การขอใหกําหนดในขอกําหนดวา
สําหรับชนิดประเภทโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมหรือเขต
ประกอบการอุตสาหกรรม ที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลังสินคา (สีมวง) บริเวณที่ดินหมายเลข ๓.๒ ใหเปนไป
ตามประเภทอุตสาหกรรมเปาหมายที่ไดรับอนุมัติตามรายงาน
ผลกระทบสิ่งแวดลอม ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รองฯ กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง และคณะที่ปรกึ ษา
ผังเมอื งรวมจังหวัดระยอง

เร่ืองที่ ๕ ขอใหกําหนดมาตรการเกี่ยวกับพื้นที่กันชนโดยรอบเขต
อุตสาหกรรมในท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) บริเวณที่ดิน
หมายเลข ๓.๑๓ ตามขอเสนอของคณะกรรมการสี่ฝา ย

ผรู อ ง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแ ก กลุม รักษาสง่ิ แวดลอมมาบตาพุด และพวก
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากผูรองตองการปกปองพื้นที่เมืองระยอง
และพื้นที่โดยรอบนิคมอุตสาหกรรมในมาบตาพุด ใหประชาชนมีสุขภาวะ
และสิ่งแวดลอมท่ดี ีขนึ้

- 355 -

ลําดับที่ เรือ่ ง/มติ อางอิง

(ครัง้ ที/่ วนั ที่ประชมุ )

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรยกคํารอง คือ เน่ืองจาก

บริเวณดังกลาวมีเทศบัญญัติของเทศบาลเมืองมาบตาพุดบังคับใชอยูในปจจุบัน

การกําหนดดังกลา วจงึ ขัดแยงกับการกําหนดบริเวณตามเทศบัญญัติดังกลาว อีกทั้ง

การกําหนดดังกลา วจึงขดั แยง กบั การกําหนดบริเวณตามเทศบัญญัตดิ ังกลา ว อีกทั้ง

ในขณะนี้ยังอยูในระหวางการปรับปรุงผังเมืองรวมบริเวณ อุตสาหกรรมหลัก

และชุมชน จังหวัดระยอง ซึ่งไดนําไปกําหนดเอาไวแลวในการจัดทํารางผังเมืองรวม

อันเปนการปรับปรุงผังเมืองรวมในระดับชมุ ชน ซ่ึงจะมีความละเอียดในการศึกษา

และมีการจัดทําผังเมืองรวมในพื้นที่ท่ีมีความเหมาะสมและสอดคลองที่มากกวา

โดยเมอ่ื ผงั เมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จงั หวัดระยอง มีผลบังคบั ใช

ในพ้นื ท่ดี ังกลา วจะมีผลแทนทก่ี ารกําหนดเอาไวใ นผังเมืองรวมจงั หวัดระยอง

มตทิ ี่ประชมุ ยกคํารอ ง โดยใหคงขอ กาํ หนดการใชประโยชนท่ดี ินประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) บริเวณท่ีดินหมายเลข
๓.๑๓ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผงั เมอื งรวมจังหวัดระยอง

เรื่องที่ ๖ ขอแกไขขอกําหนดท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา
(สีมว ง) บริเวณทดี่ นิ หมายเลข ๓.๑๓ ดังนี้

๑) ขอยกเลิกขอหามการใชประโยชนท่ีดินเพื่อการประกอบกิจการผลิต
พลงั งานไฟฟา ท่ีใชถานหนิ เปน เชื้อเพลิง

๒) การแกไขโดยการเพิ่มขอยกเวนบริเวณท่ีสามารถประกอบอุตสาหกรรม
ตอ งหามใหรวมถงึ บริเวณหมายเลข ๓.๑๖

๓) การแกไขโดยการเพ่ิมเติมขอกําหนดใหโรงงานท่ีไดรับอนุญาตให
ไปประกอบกิจการอยูกอนวันท่ีผังเมืองรวมจังหวัดระยองมีผลใชบังคับและยังประกอบ
กจิ การอยูขยายพ้ืนทโี่ รงงานได

ผรู อ ง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก บริษัท โกลว เอสพพี ี ๓ จํากัด
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากในบริเวณ ๓.๑๓ ขอกําหนดมิไดหาม
กิจกรรมดงั กลา ว
ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง คอื เน่อื งจากสามารถประกอบกจิ การตามที่รองขอไดอยแู ลว

มติท่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) บริเวณท่ีดินหมายเลข
๓.๑๓ ไวตามรางผังเมอื งรวมจงั หวัดระยองกําหนด ตามมติ

- 356 -

ลําดบั ที่ เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครง้ั ที่/วันทปี่ ระชมุ )

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผังเมอื ง และคณะทปี่ รกึ ษาผังเมืองรวมจังหวดั ระยอง

เรือ่ งที่ ๗
๑) ขอใหย กเลกิ ขอกําหนด ยกเวน ๓.๑๓
๒) ขอใหยกเลิกขอยกเวนการอนุญาตใหสรางโรงงานบําบัดน้ําเสียรวม
ของชมุ ชนและโรงงานกําจัดขยะมูลฝอยรวมของชมุ ชน
๓) ขอใหเปล่ียนแปลงขอกําหนดท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา
(สีมวง) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๓๑๓ โดยใหอนุญาตการกอสรางโรงงานเพ่ิมเติมได
เฉพาะกรณีโรงงานขนาดเล็กท่ีแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตรของทองถน่ิ เทา น้ัน
๔) ขอใหแกไขขอกําหนดโดยระบุเพ่ิมเติมวาหามประกอบกิจการอื่น ๆ
ท่กี อ มลพิษทีเ่ กดิ จากการเผาเชอ้ื เพลงิ ถานหนิ เชน หมอ น้ําอุตสาหกรรมในโรงงาน
๕) ขอแกไ ขระยะถอยรนของการใชประโยชนที่ดนิ ริมฝง แมน ้าํ ลําคลอง แหลงนํ้า
สาธารณะทุกชนิด จาก ๑๕ เมตร เพ่มิ เปน ๓๐ เมตร เพื่อปกปองคุณภาพแหลงนํ้าตา ง ๆ
ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก กลุมรักษส่ิงแวดลอมบานแลง
เครือขา ยประชาชนภาคตะวนั ออก
เหตุผลในการขอแกไ ข เน่ืองจากผูรอ งตองการปกปองพื้นท่ีชมุ ชน เมืองระยอง
เมืองมาบตาพุด และพน้ื ทบี่ า นแลงใหประชาชนมสี ขุ ภาวะและสิง่ แวดลอ มทีด่ ีข้ึน
ผลการพิจารณาคาํ รอง (มีความเหน็ สอดคลองกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผงั เมืองพิจารณาคาํ รองฯ เห็นควรยกคาํ รอง คอื
ขอ ๑ เนื่องจากบริเวณดังกลาวมีเทศบัญญัติของเทศบาลเมืองมาบตาพุด
บังคับใชอยูในปจจุบัน การกําหนดดังกลาวจึงขัดแยงกับการกําหนดบริเวณตาม
เทศบัญญัติดังกลาว อีกท้ัง อาจขัดตอบทบาทท่ีไดกําหนดไวในพื้นที่ที่มีอุตสาหกรรม
ความสําคญั ตอประเทศ
ขอ ๒ เนื่องจากหากยกเลิกตามที่รองขอ ชุมชนจะเกิดความเดือดรอน
เพราะไมสามารถสรางโรงงานบําบัดนํ้าเสียรวมของชุมชนและโรงงานกําจัดขยะ
มูลฝอยรวมของชมุ ชนได
ขอ ๓ เนื่องจากขัดตอบทบาทท่ีไดกําหนดไวในพื้นท่ีที่มีอุตสาหกรรม
ความสําคญั ตอ ประเทศ และขดั ตอ เจตนาในการวางผัง
ขอ ๔ เน่ืองจากขัดตอบทบาทท่ีไดกําหนดไวในพ้ืนท่ีท่ีมีอุตสาหกรรม
ความสําคญั ตอประเทศ และขดั ตอเจตนาในการวางผัง
ขอ ๕ เนอ่ื งจากบริเวณดังกลาวมีเทศบญั ญตั ิของเทศบาลเมืองมาบตาพุด
บังคับใชอยูในปจจุบัน และในกรณีของลําคลอง แหลงนํ้าขนาดเล็กมีพระราชบัญญัติ
ควบคมุ อาคารบงั คบั ใชอ ยูแ ลว

มตทิ ปี่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
อตุ สาหกรรมและคลังสนิ คา (สีมว ง) บริเวณทด่ี นิ หมายเลข

- 357 -

ลําดับท่ี เรื่อง/มติ อางอิง

(คร้งั ท่/ี วนั ทป่ี ระชมุ )

๓.๑๓ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผงั เมือง และคณะทปี่ รกึ ษาผังเมอื งรวมจังหวัดระยอง

เรื่องท่ี ๘
๑) ขอแกไข ขอ ๙ (๑.๗.๒) แทนที่ดวย “การประกอบกิจการอุตสาหกรรม
ปโตรเคมีคัล ที่ใชวัตถุดิบซ่ึงไดจากการกลั่นนํ้ามันปโตรเลียมหรือการแยกกาซ
ธรรมชาติ ทั้งน้ี ยกเวน บรเิ วณหมายเลข ๓.๑๔”
๒) ขอใหแกไข ขอ ๙ (๑.๒๐) แทนท่ีดวย “โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม
(Central Waste Treatment Plant) เวนแตโรงงานบําบัดนํ้าเสียรวมของชุมชน
และโรงงานกําจดั ขยะมูลฝอยรวมของชมุ ชน ทงั้ นี้ ยกเวนบรเิ วณหมายเลข ๓.๑๔”
ผรู อง จํานวน ๑ ฉบับ ๑๔ ราย ไดแก บริษทั ชินเอทซซุ ลิ โิ คนส (ประเทศไทย)
จาํ กดั และผูรอ งอ่นื รวม ๑๔ ราย
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากในขอกําหนดของผังเมืองรวมบริเวณ
อตุ สาหกรรมหลักและชมุ ชน จังหวัดระยอง ไดมีการยกเลกิ ขอ กาํ หนดนีไ้ ปแลว
ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ใหตามคํารอง ในคํารองขอแกไข ขอ ๙ (๑.๗.๒) เนื่องจากในผังเมืองรวม
อุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง ขอกําหนดอนุญาตใหสามารถ
ประกอบกิจการได จึงควรกําหนดใหสอดคลองกันและเห็นควรใหตามคํารอง
ในคํารองขอแกไข ขอ ๙ (๑.๒๐) เน่ืองจากเพื่อใหโรงงานสามารถดําเนินการทํา
ระบบบาํ บดั นาํ้ เสียของโรงงานได

มตทิ ปี่ ระชุม ใหตามคํารอง โดยใหแกไขเปล่ียนแปลงขอกําหนดการใช
ประโยชนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง)
บริเวณที่ดินหมายเลข ๓.๑๔ ตามที่เสนอ ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมอื ง และคณะทปี่ รกึ ษาผงั เมอื งรวมจังหวดั ระยอง

เร่ืองที่ ๙
๑) ขอใหย กเลกิ ขอกาํ หนด ยกเวน ๓.๑๓
๒) ขอใหยกเลิกขอยกเวนการอนุญาตใหสรางโรงงานบําบัดนํ้าเสียรวม
ของชุมชนและโรงงานกาํ จดั ขยะมูลฝอยรวมของชมุ ชน
๓) ขอใหเ ปล่ียนแปลงขอกําหนด โดยใหอนุญาตการกอสรางโรงงานเพิ่มเติม
ไดเ ฉพาะกรณโี รงงานขนาดเล็กท่แี ปรรปู ผลผลิตทางการเกษตรของทองถิน่ เทานัน้
๔) ขอใหแกไขขอกําหนดโดยระบุเพิ่มเติมวาหามประกอบกิจการอ่ืน ๆ
ท่ีกอมลภาวะที่เกดิ จากการเผาเชื้อเพลงิ ถานหนิ เชน หมอ นาํ้ อตุ สาหกรรมในโรงงาน

- 358 -

ลาํ ดบั ท่ี เรื่อง/มติ อางอิง

(คร้งั ท/ี่ วนั ทป่ี ระชมุ )

๕) ขอแกไขระยะถอยรนของการใชประโยชนที่ดินริมฝง แมน้ํา ลําคลอง

แหลงน้ํา สาธารณะทุกชนิด จาก ๑๕ เมตร เพ่ิมเปน ๓๐ เมตร เพ่ือปกปอง

คณุ ภาพแหลง นาํ้ ตาง ๆ

๖) ขอใหแ กไขขอกําหนดโดยระบเุ พ่ิมเติมวา หา มทาํ การกอสรา งทุกชนิด

บนพนื้ ท่ีสาธารณะ

ผูรอ ง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก กลุมรักษส ิ่งแวดลอ มบานแลง และพวก

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากผูรองตองการปกปองพื้นที่เมืองระยอง

และพ้ืนท่บี านแลงใหประชาชนมีสขุ ภาวะและสิง่ แวดลอมที่ดีข้ึน

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอ ง คือ

ขอ ๑ เนื่องจากรองในพ้ืนท่ีที่ไมตรงกับประเด็นของเหตุผลท่ีไดใหไว

(อาจเกิดจากการระบุบริเวณท่ีผิดพลาด) ซึ่งบริเวณดังกลาวมีเทศบัญญัติของเทศบาล

เมืองมาบตาพุดบังคับใชอยูในปจจุบัน การกําหนดดังกลาว จึงขัดแยงกับการกําหนด

บริเวณตามเทศบัญญัติดังกลาว อีกทั้ง อาจขัดตอบทบาทที่ไดกําหนดไวในพื้นที่

ที่มอี ตุ สาหกรรมความสําคญั ตอประเทศ

ขอ ๒ เน่ืองจากหากยกเลิกตามที่รองขอ ชุมชนจะเกิดความเดือดรอน

เพราะไมสามารถสรางโรงงานบําบัดนํ้าเสียรวมของชุมชนและโรงงานกําจัดขยะ

มูลฝอยรวมของชุมชนได

ขอ ๓ เน่ืองจากขัดตอบทบาทท่ีไดกําหนดไวในพื้นที่ท่ีมีอุตสาหกรรม

ความสําคัญตอ ประเทศ และขัดตอ เจตนาในการวางผัง

ขอ ๔ เน่ืองจากขัดตอบทบาทที่ไดกําหนดไวในพ้ืนท่ีท่ีมีอุตสาหกรรม

ความสาํ คญั ตอ ประเทศ และขดั ตอเจตนาในการวางผงั

ขอ ๕ เนื่องจากบริเวณดังกลาวมีเทศบัญญัติของเทศบาลเมืองมาบตาพุด

บังคับใชอยูในปจจุบัน และในกรณีของลําคลอง แหลงนํ้าขนาดเล็กมีพระราชบัญญัติ

ควบคุมอาคารบังคับใชอ ยแู ลว

ขอ ๖ เน่ืองจากหากเปน ท่ีดินสาธารณะ มีกฎหมายหา มเอกชนทําการกอสรา ง

ทุกชนิดบนพื้นท่สี าธารณะกอนไดรบั อนญุ าตอยูแลว

มติทปี่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) บริเวณท่ีดินหมายเลข
๓.๑๕ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมือง และคณะทป่ี รึกษาผงั เมืองรวมจังหวดั ระยอง

เรื่องที่ ๑๐ ขอใหยกเลิกขอกําหนดขอ ๙ (๑.๗.๒) การประกอบกิจการ
อุตสาหกรรมปโตรเคมีคัล ท่ีใชวัตถุดิบ ซ่ึงไดจากการกลั่นนํา้ มันปโตรเลียมหรือ

- 359 -

ลําดับท่ี เรือ่ ง/มติ อางอิง

(ครั้งท/่ี วนั ทีป่ ระชมุ )

การแยกกาซธรรมชาติ และขอใหยกเลิกขอกําหนดขอ ๙ (๑.๑๑) การประกอบ

กิจการกล่ันนํ้ามันปโตรเลียมและการแยกกาซธรรมชาติ ท่ีดินประเภท

อตุ สาหกรรมและคลังสนิ คา (สมี วง) บริเวณทดี่ นิ หมายเลข ๓.๑๖

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท สตารปโตรเล่ียมไทย จํากัด

(มหาชน)

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง บริษัทฯ มีพื้นท่ีอยูในบริเวณ ๓.๑๓ ที่สามารถดําเนินกิจการดังกลาวได

และบริเวณพ้ืนท่ีในทะเลควรเปนกิจกรรมอ่ืนที่มีเหมาะสมกับพื้นท่ีมากกวา

เชน กิจการที่เกี่ยวของกับการทาเรือ หรือการขนถายวัตถุดิบเพื่อรองรับอุตสาหกรรม

ในพื้นท่ี อีกท้ัง ในพ้ืนท่ีถมทะเลไมควรใหมีกิจกรรมมีเก่ียวกับการกล่ันน้ํามัน

ปโ ตรเลียม ซ่งึ มมี ลภาวะสงู

มติที่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) บริเวณที่ดินหมายเลข
๓.๑๖ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมอื ง และคณะทป่ี รกึ ษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง

เรือ่ งที่ ๑๑
๑) ขอยกเลิกขอหามการใชประโยชนท่ีดินเพื่อการประกอบกิจการผลิต
พลังงานไฟฟาท่ีใชถานหินเปนเชื้อเพลิง เปนการแกไขโดยการเพ่ิมขอยกเวนบริเวณ
ที่สามารถประกอบอุตสาหกรรมตองหาม ใหรวมถึงบริเวณหมายเลข ๓.๑๖
เชนเดยี วกบั บริเวณ ๓.๑๓ และ ๓.๑๕
๒) แกไขโดยการเพิ่มเติมขอกําหนดใหโรงงานท่ีไดรับอนุญาตใหประกอบ
กิจการอยูกอนวันท่ีผังเมืองรวมจังหวัดระยองมีผลใชบังคับและยังประกอบกิจการ
อยขู ยายพื้นที่โรงงานได
ผรู อง จํานวน ๑ ฉบบั ๔ ราย ไดแ ก บริษทั เก็คโค - วัน จํากัดและผูรองอ่ืน
รวม ๔ ราย
ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคาํ รอ ง ในประเด็นท่ี ๑ และ ๒ กับ เหน็ ควรใหตามคาํ รอง ในประเดน็ ที่ ๓ คอื
ประเดน็ ที่ ๑ และ ๒ เหน็ ควรยกคํารอง คือ ประเด็นที่ ๑ เนอื่ งจากไมควร
ใหขยายกิจการในสวนอื่น ๆ ของบริเวณหมายเลขดังกลาว ควรพิจารณาเฉพาะแปลง
ที่ดินที่ไดรองขอ ประเด็นที่ ๒ เน่ืองจากไมควรใหขยายกิจการในสวนอื่น ๆ
ของบริเวณหมายเลขดงั กลาว ควรพิจารณาเฉพาะแปลงที่ดนิ ท่ีไดร อ งขอ

- 360 -

ลําดับที่ เร่อื ง/มติ อางอิง

(ครงั้ ท่ี/วันท่ีประชมุ )

ประเด็นที่ ๓ เห็นควรใหตามคํารอง คือ ประเด็นที่ ๓ เนื่องจากกิจการ

ดังกลาวมีความสําคัญตอการจัดการดานพลังงานของประเทศ และกิจการได

ดําเนินการอยูกอนแลว โดยใหขยายพื้นที่โรงงานไดเฉพาะในเขตประกอบการเดมิ

ที่ไดม กี ารถือครองอยูในปจจุบนั

มตทิ ่ีประชมุ ยกคํารอง ในประเด็นที่ ๑ และประเด็น ๒ โดยใหคงขอกําหนด
การใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา
(สีมวง) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๓.๑๓ และ ๓.๑๕ ไวตาม
รางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด และใหตามคํารอง
ในประเด็นที่ ๓ โดยใหแกไขเพิ่มเติมขอกําหนดใหโรงงาน
ที่ไดรับอนุญาตใหไปประกอบกิจการอยูกอนวันที่ผังเมืองรวม
จังหวัดระยองมีผลใชบังคับและยังประกอบกิจการอยูขยาย
พนื้ ทีโ่ รงงานไดไมเ กิน ๑ เทา ตามมตคิ ณะอนุกรรมการผงั เมือง
พจิ ารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง และคณะทีป่ รึกษา
ผงั เมอื งรวมจังหวัดระยอง

เร่ืองที่ ๑๒ การแกไขโดยการเพิ่มขอยกเวนบริเวณที่สามารถประกอบ
อุตสาหกรรมตองหาม ใหรวมถึงบริเวณหมายเลข ๓.๑๖ เชนเดียวกับบริเวณ
๓.๑๓ และ ๓.๑๕

ผูร อง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก สาํ นักงานทา เรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากเปลยี่ นแปลงขอกําหนดการใชป ระโยชน
ที่ดนิ ของรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองตามขอเสนอ การขอแกไขปรับปรุงผังเมืองรวม
บริเวณอุตสาหกรรมหลักและชุมชน จังหวัดระยอง (ผังมาบตาพุด) ฉบับปรับปรุง
คร้ังที่ ๓ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๕ ณ จังหวัดชลบุรี
โดยคณะกรรมการพิจารณาการแกไขปรับปรุงรางผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรม
หลกั และชุมชนจังหวัดระยอง (ผงั มาบตาพุด) กระทรวงอุตสาหกรรม เมษายน ๒๕๕๖
ซ่ึงเปนขอเสนอที่สอดคลองกับนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ
และสอดคลองกับความตองการของภาคสวนที่เกี่ยวของ โดยยึดแนวทางการพัฒนา
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศของกระทรวงอุตสาหกรรม ภายใตหลักการการอยูอยาง
เกอ้ื กูล (Symbiosis) อยา งยัง่ ยืน
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคาํ รอง เนือ่ งจากพืน้ ที่ในทะเลควรเปนกิจกรรมอื่นที่มีเหมาะสมกับพื้นท่ีมากกวา เชน
กิจการท่ีเก่ียวของกับการทาเรือ หรือการขนถายวัตถุดิบเพื่อรองรับอุตสาหกรรม
ในพ้ืนท่ี อีกทั้ง ในพ้ืนท่ีถมทะเลไมควรใหมีกิจกรรมที่มีมลภาวะสูง อีกทั้ง ไดแกไข
ขอ กาํ หนดของกิจกรรมโรงไฟฟาท่ีใหขยายพื้นทโ่ี รงงานไดในเขตประกอบการเดิมแลว

- 361 -

ลาํ ดับท่ี เร่ือง/มติ อางอิง
มติที่ประชุม
(คร้งั ท/ี่ วนั ท่ีประชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท

อุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) บริเวณที่ดินหมายเลข

๓.๑๖ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผงั เมอื ง และคณะทป่ี รกึ ษาผงั เมืองรวมจังหวดั ระยอง

เร่ืองที่ ๑๓ ขอใหยกเลิกขอกําหนดท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลงั สินคา
(สีมวง) ขอ ๙ (๑.๑๑) การประกอบกิจการกล่ันนํ้ามันปโตรเลียม และการแยกกาซ
ธรรมชาติทดี่ นิ ประเภทอุตสาหกรรมและคลงั สนิ คา (สีมว ง)

ผรู อง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก บริษทั ปตท. จาํ กดั (มหาชน)
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจาก กนอ. อนุญาตให บริษัท ปตท. ใชพื้นท่ี
บรเิ วณทา เรอื อุตสาหกรรมนคิ มอุตสาหกรรมมีแผนจะพัฒนาโครงการใชป ระโยชน
จากความเย็นของ LNG (Cold Energy Utilization) เพ่อื ดงึ ความเยน็ บางสวนจาก LNG
มาใชป ระโยชน รวมถึงการแยกกาซอีเทนที่อาจปะปนมากับ LNG เพือ่ ใชประโยชน
อยางคุมคาในอนาคต โดยคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
ไดออกประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย เรื่อง การเปลยี่ นแปลงเขต
อุตสาหกรรมทั่วไป นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด (ฉบับที่ ๖) ซ่ึงไดขยายพ้ืนที่นิคม
อตุ สาหกรรมมาบตาพุดใหครอบคลุมพื้นท่ีในบริเวณทา เรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด
ในปจจุบนั เพ่ือรองรับการขยายตวั ของอตุ สาหกรรม
ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มีความเห็นตางกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง เห็นควรใหตามคํารอง เนื่องจาก
โครงการใชประโยชนจากความเย็นของ LNG (Cold Energy Utilization) เพ่ือดึงความเย็น
บางสวนจาก LNG มาใชประโยชน รวมถึงการแยกกาซอีเทนที่อาจปะปนมากับ LNG
เปนกิจกรรมท่ีมีความสอดคลองกับพ้ืนท่ี โดยพิจารณาใหเฉพาะกิจการที่เปนการ
ดาํ เนนิ การตามท่ีไดร องขอ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควรใหตามคํารอง โดยพิจารณาใหเฉพาะกิจการ LNG
(Cold Energy Utilization) เฉพาะท่ีดนิ ของบริษทั ฯ เทานน้ั

มติท่ีประชมุ ใหตามคํารอง โดยใหแกไขเปล่ียนแปลงขอกําหนดการใช
ประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง)
โดยใหยกเลิกขอหาม ขอ ๙ (๑.๑๑) การประกอบกิจการกลั่น
นํ้ามันปโตรเลียม และการแยกกาซธรรมชาติ เฉพาะกิจการ
LNG (Cold Energy Utilization) เฉพาะที่ดินของบริษัทฯ ท่ีมี
กรรมสิทธิ์และไดยื่นคํารองมา ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคาํ รอ งฯ และกรมโยธาธิการและผังเมอื ง

เรื่องท่ี ๑๔
๑. ขอใหยกเลิกขอกําหนดขอ ๙ (๑.๗.๒) การประกอบกิจการอุตสาหกรรม
ปโตรเคมคี ลั ทใี่ ชวตั ถุดบิ ซึง่ ไดจ ากการกลนั่ น้ํามนั ปโตรเลียมหรือการแยกกาซธรรมชาติ

- 362 -

ลาํ ดับท่ี เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครั้งท่ี/วนั ทีป่ ระชมุ )

๒) ขอใหยกเลิกขอกําหนด ขอ ๙ (๑.๑๑) การประกอบกิจการกล่ัน

นํา้ มันปโ ตรเลยี มและการแยกกาซธรรมชาติ

๓) การแกไขโดยการเพิ่มขอยกเวนบริเวณที่สามารถประกอบอุตสาหกรรม

ตอ งหามใหรวมถงึ บริเวณหมายเลข ๓.๑๖ เชน เดยี วกบั บริเวณ ๓.๑๓ และ ๓.๑๕

๔) ใสพนื้ ที่สมี วงตามที่ดาํ เนนิ การใหเ ปน ปจ จบุ ัน

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด

(มหาชน) สาขาที่ ๖

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากบริษัทฯ ไดสนับสุนนโยบายของรัฐ

ดานอุตสาหกรรมการกล่นั น้ํามันเช้ือเพลิง เพ่ือความม่ันคงและย่ังยืนมาโดยตลอด

และปฏิบัติตามกฎระเบียบของกรมโรงงานการนคิ มอุตสาหกรรมและการอนุรักษ

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ตลอดจนสนับสนุนและสงเสริมความปลอดภัย

สขุ อนามยั ในสถานที่ทํางานชุมชนทองถ่ินมาโดยตลอด

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นตา งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง เห็นควรใหตามคํารอง ในประเด็นท่ี ๑

คือ เฉพาะท่ีสอดคลองกับความเห็นท่ีไดพิจารณาไว กรณีโครงการใชประโยชน

จากความเย็นของ LNG (Cold Energy Utilization) เพ่ือดึงความเย็นบางสว นจาก

LNG มาใชประโยชน รวมถึงการแยกกาซอีเทน ท่ีอาจปะปนมากับ LNG เปนกิจกรรม

ที่มีความสอดคลองกับพ้ืนที่ โดยพิจารณาใหเฉพาะกิจการที่เปนการดําเนินการ

ตามท่ีไดรองขอในประเด็นที่ ๓ และ ๔ คือ เน่ืองจากพ้ืนท่ีในทะเลควรเปน

กิจกรรมอื่นที่มีเหมาะสมกับพื้นท่ีมากกวา เชน กิจการที่เกี่ยวของกับการทาเรือ

หรือการขนถายวัตถุดิบเพ่ือรองรับอุตสาหกรรมในพ้ืนท่ี อีกทั้ง ในพ้ืนท่ีถมทะเล

ไมควรใหมีกจิ กรรมท่เี ก่ยี วกับการกลน่ั นํ้ามันปโตรเลยี มซึ่งมีมลภาวะสูง

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คํารองฯ มีมตสิ อดคลอ งกนั คือ เหน็ ควรยกคาํ รอง ในประเดน็ ท่ี ๑, ๒, ๓ และ ๔

มตทิ ีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) บริเวณที่ดินหมายเลข
๓.๑๖ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมอื ง และคณะทป่ี รกึ ษาผงั เมืองรวมจังหวดั ระยอง

เรอ่ื งที่ ๑๕
๑) ขอใหยกเลิกขอกําหนด ขอ ๙ (๑.๑๖) การประกอบกิจการอุตสาหกรรม
ชดุ เคลอื บผวิ โลหะดว ยไฟฟา
๒) ขอใหกําหนดในขอกําหนดวา สําหรับชนิดประเภทโรงงานในนิคม
อุตสาหกรรมหรือเขตประกอบการอุตสาหกรรมที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลังสนิ คา (สีมว ง) ใหเปนไปตามประเภทอตุ สาหกรรมเปาหมายทีไ่ ดรับอนุมัติ
ตามรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอ ม

- 363 -

ลําดับท่ี เร่ือง/มติ อางอิง

(ครั้งท/ี่ วันทป่ี ระชมุ )

เหตุผลในการขอแกไ ข เนื่องจากบริษัทฯ จะดําเนนิ การจดั ต้งั นิคมอุตสาหกรรม

เหมราชอีสเทิรน ซีบอรด แหงท่ี ๔ ตําบลแมนํ้าคู จังหวัดระยอง โดยบริษัทฯ

เปนเจาของกรรมสิทธ์ิที่ดินทุกแปลงตามประกาศคณะกรรมการการนิคม

อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย เร่ือง การจัดต้ังเขตอุตสาหกรรมทั่วไป นิคมเหมราช

อีสเทิรนซีบอรด แหงที่ ๔ จังหวัดระยอง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓๒

ตอนพิเศษ ๘๖ ง ลงวันท่ี ๑๖ เมษายน ๒๕๕๘ ซึ่งบริษัทฯ อยูระหวางการจัดทํา

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม โดยกําหนดใหมีระยองแนวปองกัน (Protection Strip)

กวาง ๓๐ เมตร รอบนิคม (ตามปกติการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

กําหนดไวเพียง ๖ - ๑๐ เมตร เทาน้ัน) โดยบริษัทฯ จะกําหนดพื้นท่ีของนิคมฯ

ทไ่ี ดรบั การประกาศเขตเปนนิคมอุตสาหกรรมไปแลว ในบริเวณท่อี ยใู นระยะ ๕๐๐ เมตร

ดานทิศใตของอางเก็บน้ําหนองปลาไหลใหเปนสีเขียว พ้ืนท่ีระบบสาธารณูปโภค

หรือพน้ื ทพ่ี าณชิ ยกรรมเทา นัน้

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท เหมราช อีสเทิรนซีบอรด

อนิ ดสั เตรียล - เอสเตท ๔ จาํ กัด

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลอ งกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง เน่ืองจากมีการพิจารณาใหไวในพื้นท่ีท่ีรองขอเฉพาะบริเวณในความเห็น

กรณีกอนหนาน้ีอยูแลว

มตทิ ป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอ กําหนดการใชประโยชนที่ดนิ ประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา
คํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผงั เมืองรวมจังหวดั ระยอง

เรื่องที่ ๑๖
๑) ขอใหยกเลิกขอกําหนด ขอ ๙ (๑.๑๖) การประกอบกิจการอุตสาหกรรม
ชดุ เคลอื บผวิ โลหะดวยไฟฟา
๒) ขอใหกําหนดในขอกําหนดวา สําหรับชนิดประเภทโรงงานในนิคม
อุตสาหกรรมหรือเขตประกอบการอุตสาหกรรมที่ดินประเภทอุตสาหกรรมทั่วไป
ท่ีไมเปนมลพิษตอชุมชนหรือส่ิงแวดลอมและคลังสินคา (สีขาวมีกรอบและเสนทแยง
สีมวง) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๔.๒ ใหเปนไปตามประเภทอุตสาหกรรมเปาหมาย
ที่ไดร บั อนมุ ัตติ ามรายงานผลกระทบสิง่ แวดลอ ม
ผูรอ ง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก บรษิ ทั ระยอง ๒๐๑๒ จาํ กัด
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัทฯ จะดําเนินการจัดตั้งนิคม
เหมราชระยอง ๓๖ จังหวัดระยอง บริษัทฯ เปนเจาของกรรมสิทธ์ิที่ดินทุกแปลง
ตามประกาศคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย เรอ่ื ง การจัดตั้งเขต

- 364 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(คร้งั ที/่ วันท่ีประชมุ )

อตุ สาหกรรมทัว่ ไป นิคมเหมราชระยอง ๓๖ จงั หวดั ระยอง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เลม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๕๗ ง ลงวนั ที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๘

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มีความเห็นสอดคลองกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง เน่ืองจากไดพิจารณาเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินเปนประเภท

อุตสาหกรรมและคลังสนิ คา (สีมว ง) แลว

มตทิ ป่ี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
อุตสาหกรรมท่ัวไปท่ีไมเปนมลพิษตอชุมชนหรือสิ่งแวดลอม
และคลังสินคา (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีมวง) บริเวณที่ดิน
หมายเลข ๔.๒ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด
ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวดั ระยอง

เร่ืองที่ ๑๗ ขอใหกําหนดใหต้ังโรงงานรีไซเคิลของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
ในที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว)
บริเวณท่ีดนิ หมายเลข ๖.๒ โดยวธิ กี ารเผา

ผูร อ ง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก คุณสุจิตตา วงศอ นนั ตนนท
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากในอนาคตภายในป ๒๕๕๘ จะใชท่ีดิน
เพ่ือขอต้งั โรงงานอตุ สาหกรรมโดยวิธกี ารเผา
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคาํ รอง เนือ่ งจากยงั ไมเรมิ่ ประกอบกิจการและขัดตอเจตนาในการวางผังในพ้ืนที่

มตทิ ี่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
อนรุ กั ษช นบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสน ทแยง
สีเขียว) บริเวณที่ดินหมายเลข ๖.๒ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารอ งฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรกึ ษา
ผังเมอื งรวมจังหวดั ระยอง

เรื่องท่ี ๑๘ ขอเปล่ียนแปลงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณที่ดิน
หมายเลข ๖.๒ ใหสามารถกอสรา งอาคารขนาดใหญพ ิเศษไดในกิจการโรงงาน

- 365 -

ลําดับที่ เร่ือง/มติ อางอิง

(ครง้ั ท/ี่ วันท่ปี ระชมุ )

ผูร อ ง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแ ก บรษิ ัท โดล ไทยแลนด จาํ กดั

เหตผุ ลในการขอแกไข เนื่องจาก บริษทั ฯ มีการประกอบกิจการในพื้นทีแ่ ลว

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นตางกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง และกรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง

มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง เน่ืองจากคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม

จังหวัดระยองเห็นวา โรงงานลําดับที่ ๘ (๑) เปนอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร

ซ่ึงเปนกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับการเกษตร ซ่ึงถือไดวาเปนกิจกรรมหลักท่ีสามารถ

ดําเนินการไดในการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม

(สขี าวมีกรอบและเสน ทแยงสเี ขียว)

คณะอนุกรรมการผงั เมอื งพิจารณาคํารอ งฯ เห็นควรใหตามคาํ รอ ง เฉพาะท่ดี ิน

ของบริษทั ฯ ในแปลงทีด่ นิ ท่ผี ูรองขอและเฉพาะโรงงานลาํ ดบั ท่ี ๘ (๑) เทา น้ัน

มติทป่ี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยง
สีเขียว) บริเวณที่ดินหมายเลข ๖.๒ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคาํ รองฯ กรมโยธาธิการและผงั เมือง และคณะทป่ี รึกษา
ผงั เมอื งรวมจังหวัดระยอง

เร่ืองท่ี ๑๙ ขอแกไขหรือเปลี่ยนแปลงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินฯ
บริเวณปายุบใน อําเภอวังจันทร จังหวัดระยอง ที่ดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๖.๒
โดยขอยกเวนท่ีดินในบริเวณดังกลาว ใหสามารถ “ประกอบกิจการใหม ีความเหมาะสม
ตอสภาพพืน้ ทีแ่ ละโครงการในอนาคตของ บริษัท ปตท. ได”

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากที่ดินอยูในแผนการพัฒนาโครงการตาง ๆ
ของบริษัท ปตท. ในอนาคตอันใกล เชน โครงการเมืองตนแบบในการศึกษาวิจัย
เทคโนโลยี นวัตกรรม การประหยัดพลังงาน และพลังงานสีเขียวรวมถึงโครงการ
เพ่ือพัฒนาศึกษาวิจัยรวมถึงโครงการอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของ โดยยังมีโครงการในการพัฒนา
พน้ื ทใี่ หเปนนคิ มอุตสาหกรรม High technology เชิงวิจยั ทีป่ ลอดมลภาวะ

ผูรอง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก บริษทั ปตท. จํากดั (มหาชน)
ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง เนื่องจากคํารองเปนการระบุกิจกรรมท่ีกวางและไมชัดเจน

มติท่ีประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยง
สีเขียว) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๖.๒ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา
คํารอ งฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม
จงั หวัดระยอง

- 366 -

ลาํ ดับท่ี เร่ือง/มติ อางอิง

(ครั้งท/ี่ วันท่ปี ระชมุ )

เรื่องท่ี ๒๐ ขอแกไขใหมีท่ีวางตามแนวขนาน แนวขอบทางบริเวณ

สองขางถนนทางหลวงแผนดินสายบานบึง - บานคาย (สาย ๓๑๓๘) ในท่ีดิน

ประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว)

บรเิ วณท่ีดนิ หมายเลข ๖.๒ ไมน อ ยกวา ๖ เมตร

ผรู อง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก องคการบรหิ ารสวนตาํ บลหนองบวั

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากไดนําขอหารือในการประชุมสภาองคการ

บริหารสวนตาํ บลหนองบัวมาเสนอขอแกไข

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง เนื่องจากไมเหมาะสมและขัดกับหลักการการวางผังในดานความปลอดภัย

ของการสัญจรบนถนนสายหลัก

มติท่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยง
สีเขียว) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๖.๒ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผังเมอื งรวมจังหวดั ระยอง

เรอื่ งที่ ๒๑
๑) ขอใหยกเลิกขอกําหนดโดยขอใหหามโรงงานทุกจําพวกตามกฎหมาย
วา ดว ยโรงงาน
๒) ขอใหกําหนดขอหามการใชประโยชนที่ดินเพ่ือกิจการทุกชนิดที่ใชถานหนิ
หรอื ลกิ ไนตเปนเชอื้ เพลิงในการเผาไหม ไมวาจะเปนเชอ้ื เพลิงหลักหรือเช้ือเพลงิ รอง
๓) ขอใหระบุขอกําหนดหามใชประโยชนท่ีดินเพ่ือคลังสินคาทุกชนิด
ยกเวน สนิ คา การเกษตร
๔) ขอแกไขระยะถอยรนของการใชประโยชนที่ดินริมฝง แมน้ํา ลําคลอง
แหลงน้ําสาธารณะทุกชนิด จาก ๑๕ เมตร เพิ่มเปน ๓๐ เมตร เพื่อปกปองคุณภาพ
แหลง นาํ้ ตาง ๆ
ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก กลุมรักษสิ่งแวดลอมบานแลง เครือขาย
ประชาชนภาคตะวนั ออก
เหตผุ ลในการขอแกไข เนอื่ งจากเพ่อื รักษาสิง่ แวดลอ มในตําบลบา นแลง
ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอ ง ในประเด็นที่ ๑, ๓, ๔ คอื

- 367 -

ลาํ ดบั ท่ี เรื่อง/มติ อา งอิง

(ครงั้ ท่/ี วนั ทีป่ ระชมุ )

ขอ ๑ เน่ืองจากจะทําใหในพ้ืนที่ไมสามารถประกอบกิจการอุตสาหกรรม

ทีเ่ ก่ยี วขอ งกบั การบริการชุมชนใด ๆ ไดเ ลย

ขอ ๓ เนื่องจากขอกําหนดไดกําหนดขอหามประกอบกิจการอาคาร

ขนาดใหญสําหรับการดําเนินการเพ่ือกิจการอ่ืน และสถานที่เก็บวัตถุที่มีอันตราย

เอาไวแลว

ขอ ๔ เนื่องจากการกําหนดดังกลาวอาจเปนอุปสรรคในการต้ังที่อยูอาศัย

และในพืน้ ท่ีเม่ือมีการประกาศบงั คับใชจะมี พ.ร.บ. ควบคุมอาคารบังคับใชอยูแลว

และใหต ามคํารอ ง ในประเดน็ ท่ี ๒ คือ เนอ่ื งจากเปน วัตถดุ บิ ทอี่ าจสงผลกระทบตอชมุ ชน

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง ในประเด็นที่ ๑, ๓, ๔ โดยใหคงขอกําหนดการใช
ประโยชนที่ดนิ ประเภทอนรุ ักษช นบทและเกษตรกรรม (สีขาว
มีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณที่ดินหมายเลข ๖.๓
ไวตามรา งผงั เมืองรวมจงั หวดั ระยองกําหนด และใหต ามคํารอง
ในประเด็นที่ ๒ โดยใหเพิ่มเติมขอกําหนดขอหามการใช
ประโยชนที่ดินเพ่ือกิจการทุกชนิดท่ีใชถานหินหรือลิกไนต
เปนเชื้อเพลิงในการเผาไหม ไมวาจะเปนเชื้อเพลิงหลัก
หรือเชื้อเพลิงรอง ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา
คํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผงั เมอื งรวมจังหวดั ระยอง

เร่ืองที่ ๒๒ ขอใหหามโรงงานทุกจําพวกในตําบลนาตาขวัญ ที่ดินประเภท
อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณที่ดิน
หมายเลข ๖.๓ และที่ดินประเภทปฏิรูปท่ีดินเพื่อการเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบ
และเสน ทแยงสนี าํ้ ตาล) บริเวณทด่ี ินหมายเลข ๗.๔

ผรู อ ง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก กลมุ ตวั แทนเกษตรกร ตาํ บลนาตาขวญั
เหตุผลในการขอแกไข เนอื่ งจากไมตองการใหม ีโรงงานในตําบลนาตาขวัญ
ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผงั เมืองพจิ ารณาคํารองฯ มมี ติสอดคลอ งกัน คือ เห็นควรยกคํารอง
เนื่องจากจะทําใหในพื้นที่ไมสามารถประกอบกิจการอุตสาหกรรมที่เก่ียวของ
กบั การบรกิ ารชมุ ชนใด ๆ ไดเลย

มติท่ีประชุม ยกคํารอ ง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนทด่ี นิ ประเภท
อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สขี าวมกี รอบและเสน ทแยง
สีเขยี ว) บริเวณทีด่ นิ หมายเลข ๖.๓ และที่ดนิ ประเภทปฏิรูป
ที่ดินเพ่ือการเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีนํ้าตาล)
บริเวณที่ดินหมายเลข ๗.๔ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยอง
กําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัด
ระยอง

- 368 -

ลาํ ดับท่ี เรอื่ ง/มติ อา งอิง

(คร้งั ที/่ วันท่ปี ระชมุ )

เร่ืองท่ี ๒๓ ขอใหกําหนดพ้ืนที่เปนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

ท่ีดินประเภทปฏิรูปที่ดินเพ่ือการเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีนํ้าตาล)

บรเิ วณที่ดนิ หมายเลข ๗ .๑

ผรู อง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก นางสาวแสงแข เกษตรภิบาล

เหตุผลในการขอแกไ ข เนือ่ งจากผูร องไดขอดาํ เนนิ การในพื้นที่เปน เกษตรกรรม

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเหน็ สอดคลองกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคาํ รอง เนอ่ื งจากไดสิทธใิ์ นการดําเนินการอยแู ลว

มติที่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยง
สีน้ําตาล) บริเวณที่ดินหมายเลข ๗.๑ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รองฯ กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง และคณะทีป่ รกึ ษา
ผงั เมอื งรวมจงั หวดั ระยอง

เร่ืองที่ ๒๔ ขอใหสามารถสรางบอพักนํ้าเสียติดแมน้ํา ลําคลอง ไดในท่ีดิน
ประเภทปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีน้ําตาล)
บรเิ วณท่ีดินหมายเลข ๗.๑

ผูรอง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก บรษิ ทั ไทยเปเปอร - มลิ ล จํากัด
เหตผุ ลในการขอแกไข เนอื่ งจากพื้นทบ่ี างสวนของบรษิ ัทฯ เคยถกู ชลประทาน
เวนคนื ทีด่ ิน จงึ ทาํ ใหบ อ พกั นาํ้ เสยี อยูต ดิ กับแมนํ้าหรือลาํ คลอง
ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเหน็ สอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง เน่ืองจากควรมีการรักษาที่โลงริมฝงแมนํ้าระยองหรือคลองใหญเอาไว
เพื่อเปนการรักษาสภาพแวดลอม

มติทีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ปฏิรูปที่ดินเพ่ือการเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยง
สีน้ําตาล) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๗ .๑ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรกึ ษา
ผงั เมืองรวมจังหวัดระยอง

เรื่องท่ี ๒๕ ขอใหเพ่ิมบทเฉพาะกาลในประกาศผังเมืองรวมจังหวัดระยอง
ที่ดินประเภทปฏิรูปท่ีดินเพ่ือการเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยง
สนี ํา้ ตาล) บรเิ วณทด่ี นิ หมายเลข ๗.๑ โดยมีใจความสําคญั ดังน้ี “ประกาศผังเมืองรวม
จังหวัดระยอง ฉบับนี้ไมสงผลกระทบตอการขยายกิจการเพ่ิมกาํ ลังการผลิต หรือ

- 369 -

ลาํ ดับท่ี เรื่อง/มติ อา งอิง

(คร้ังที่/วันทีป่ ระชมุ )

เปล่ียนแปลงประเภทกิจการ หรอื การดาํ เนินการใด ๆ ทเ่ี ปน ไปโดยจําเปน และสมควร

ของโรงงานอุตสาหกรรมท่ีกระทาํ ในพ้ืนท่ีหรอื อนาบรเิ วณโรงงานเดิมกอนประกาศ

ผงั เมอื งรวมจังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ฉบับที่ ... พ.ศ ... มผี ลบังคับใช

ผูร อ ง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก บริษัท พี ไอ - อนิ ดัสทรี จาํ กัด

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากบริษัทฯ ไดรับอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน

ประเภท ๕๒ (๔) ไวแ ลว และในอนาคตอาจมีการขยายกจิ การหรอื เพมิ่ กาํ ลงั การผลติ

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคาํ รอง เนอ่ื งจากบริษัทสามารถประกอบกิจการไดอยูแลว

มตทิ ี่ประชุม ยกคาํ รอ ง โดยใหค งขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยง
สีน้ําตาล) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๗.๑ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผังเมอื งรวมจังหวัดระยอง

เร่ืองที่ ๒๖ ขอแกไขขอกําหนดใหกิจการท่ีบริษัทดําเนินอยูในปจจุบัน
ในสวนผลิตรองเทาและพื้นรองเทา ๕๓ (๗) ท่ีดินประเภทปฏิรูปท่ีดินเพื่อการเกษตรกรรม
(สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีน้ําตาล) บริเวณที่ดินหมายเลข ๗.๑ ไดรับการยกเวน
ใหดาํ เนนิ การไดตอไป

ผูรอง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก บริษัท ไทยซงั ซิน นวิ แมททรีเรียล จาํ กัด
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัทฯ ไดรับอนุญาตประกอบกิจการ
โรงงานประเภท ๕๒ (๔) และ ๕๓ (๗) และในอนาคตอาจมีการขยายกิจการ
หรอื เพม่ิ กําลังการผลติ
ผลการพิจารณาคาํ รอง (มีความเห็นสอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ใหตามคํารอง เฉพาะโรงงานลําดับที่ ๕๓ (๗) เฉพาะที่ดินของบริษัทฯ เทานั้น
สาํ หรับโรงงานลําดับท่ี ๕๒ (๔) ในขอ กําหนดสามารถดําเนนิ การได

มติทปี่ ระชมุ ใหตามคํารอง โดยใหแกไขเปล่ียนแปลงขอกําหนดการใช
ป ร ะ โ ย ช น ท่ี ดิ น ประเภ ท ปฏิ รู ปท่ี ดิ น เ พ่ื อการเ ก ษตร ก ร ร ม
(สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีนํ้าตาล) บริเวณท่ีดินหมายเลข
๗.๑ ใหส ามารถประกอบกิจการโรงงานลําดับที่ ๕๓ (๗) ไดเฉพาะ
ในท่ีดินของบริษัทฯ ท่ีไดย่ืนคํารองมา ตามมติคณะอนุ
กรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทปี่ รึกษาผงั เมืองรวมจังหวดั ระยอง

- 370 -

ลาํ ดับที่ เร่ือง/มติ อางอิง

(คร้งั ที่/วันท่ปี ระชมุ )

เรื่องท่ี ๒๗ ขอใหประเภทหรือชนิดของโรงงานลําดับท่ี ๓๙, ๔๑, ๕๓ (๗)

ที่ดินประเภทปฏิรูปท่ีดินเพื่อการเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยง

สีนํา้ ตาล) บริเวณที่ดินหมายเลข ๗.๑ ใหส ามารถประกอบกจิ การตอไป

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท พี เอ แคปปตอล จํากัด

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากบริษัทฯมีการดําเนินการพัฒนาท่ีดิน

ในพน้ื ทแ่ี ลว

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ใหตามคํารอง เนื่องจากบริษัทมีกระบวนการผลิตที่เก่ียวเนื่องกับประเภทโรงงาน

ลาํ ดับที่ ๓๙, ๔๑, ๕๓ (๗) ซ่งึ เปนกิจกรรมท่ีไมมีผลกระทบทร่ี ุนแรง แตใหขยายได

เฉพาะกจิ กรรมท่เี คยไดรบั อนุญาตมากอนและขยายกิจการไดเฉพาะในพน้ื ทเี่ ดมิ

มติทีป่ ระชุม ใหตามคํารอง โดยใหแกไขเปลี่ยนแปลงขอกําหนดการใช
ประโยชนที่ดินประเภทปฏิรูปที่ดินเพ่ือการเกษตรกรรม
(สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีนํ้าตาล) บริเวณที่ดิน
หมายเลข ๗.๑ ใหสามารถประกอบกิจการโรงงานลําดับที่
๓๙, ๔๑, ๕๓ (๗) ได โดยมีเง่ือนไขใหสามารถขยายโรงงานได
เฉพาะกิจกรรมที่เคยไดรับอนุญาตมากอน และเฉพาะ
ในที่ดินของบริษัทฯ ท่ีไดยื่นคํารอ งมา ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ปี รึกษาผังเมืองรวมจงั หวัดระยอง

เรื่องที่ ๒๘ ขอใหประเภทหรือชนิดของโรงงานลําดับท่ี ๕๒ (๓) ที่ดิน
ประเภทปฏิรูปท่ีดินเพื่อการเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีนํ้าตาล)
บริเวณที่ดนิ หมายเลข ๗.๑ ใหส ามารถประกอบกิจการตอไป

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท เนเชอรัลอารต แอนด เทคโนโลยี
จาํ กัด

เหตุผลในการขอแกไข เนือ่ งจากบรษิ ทั ฯ มกี ารดาํ เนินการพฒั นาทดี่ ินในพน้ื ทแ่ี ลว
ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอ ง เนอ่ื งจากบรษิ ทั สามารถประกอบกิจการไดอยูแลว

มตทิ ป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยง
สีนํ้าตาล) บริเวณที่ดินหมายเลข ๗.๑ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รอ งฯ กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง และคณะทป่ี รึกษา
ผงั เมืองรวมจงั หวดั ระยอง

- 371 -

ลาํ ดบั ท่ี เรื่อง/มติ อา งอิง

(ครั้งที่/วันทปี่ ระชมุ )

เรื่องที่ ๒๙ ขอเพิ่มโรงงานลําดับท่ี ๔๑ ลงในบัญชีโรงงานลําดับท่ี ๑๑

ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) (๑) หัวขอ ๑.๑ ในท่ีดินประเภท

ปฏิรูปที่ดินเพ่ือการเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีน้ําตาล) บริเวณที่ดิน

หมายเลข ๗.๑

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท คาวามาตะ อินโนเวชัน

(ประเทศไทย) จาํ กดั

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัทฯ มีการดําเนินการพัฒนาที่ดิน

ในพ้นื ท่ีแลว

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเห็นสอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ใหตามคํารอง เน่ืองจากเปนกิจกรรมที่ไมมีผลกระทบที่รุนแรง แตใหขยายได

เฉพาะในพ้นื ท่เี ดิมทไี่ ดร ับอนุญาต

มติทป่ี ระชุม ใหตามคํารอง โดยใหแกไขเพิ่มเติมโรงงานลําดับท่ี ๔๑ ลงใน
บัญชีโรงงาน ลําดับที่ ๑๑ ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) (๑) หัวขอ ๑.๑ ท่ีดินประเภทปฏิรูปท่ีดินเพื่อ
การเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยงสีนํ้าตาล) บริเวณ
ท่ีดินหมายเลข ๗.๑ เฉพาะในที่ดินของบรษิ ัทฯ ท่ีไดย่ืนคํารอ งมา
ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมอื ง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวดั ระยอง

เรื่องท่ี ๓๐ ขอเพิ่มโรงงานลําดับที่ ๕๓ (๗) ลงในบัญชีโรงงานลําดับท่ี ๑๑
ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) (๑) หัวขอ ๑.๑ ที่ดินประเภทปฏิรูปท่ีดิน
เพ่ือการเกษตรกรรม (สเี ขยี วมกี รอบและเสน ทแยงสนี ํ้าตาล) บรเิ วณท่ดี ินหมายเลข ๗.๑

ผรู อ ง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก บริษัท พฒั นาธุรกจิ สากล จาํ กัด
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัทฯ มีการดําเนินการพัฒนาท่ีดิน
ในพ้นื ทแี่ ลว
ผลการพจิ ารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ใหตามคํารอง เน่ืองจากเปนกิจกรรมท่ีไมมีผลกระทบที่รุนแรง แตใหขยายไดเฉพาะ
กิจกรรมทเ่ี คยไดรับอนุญาตมากอนและขยายกจิ การไดเ ฉพาะในพ้ืนท่ีเดิม

มตทิ ป่ี ระชมุ ใหตามคํารอง โดยใหแกไขเพ่ิมเติมโรงงานลําดับที่ ๕๓ (๗)
ลงในบัญชีโรงงาน ลําดับที่ ๑๑ ท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขียว) (๑) หวั ขอ ๑.๑ ทีด่ ินประเภทปฏิรูป
ท่ีดินเพ่ือการเกษตรกรรม (สีเขียวมีกรอบและเสนทแยง
สีนํ้าตาล) บรเิ วณทดี่ ินหมายเลข ๗.๑ โดยมเี งอื่ นไขใหสามารถ

- 372 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(คร้งั ท่/ี วนั ทป่ี ระชมุ )

ขยายโรงงานไดเฉพาะกิจกรรมที่เคยไดรับอนุญาตมากอน

และเฉพาะในที่ดินของบริษัทฯ ท่ีไดย่ืนคํารองมา ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผงั เมอื ง และคณะทีป่ รึกษาผงั เมืองรวมจังหวดั ระยอง

เร่ืองท่ี ๓๑ ที่ดินประเภทท่ีโลงเพ่ือนันทนาการและการรักษาคุณภาพ
สิง่ แวดลอม (สีเขียวออน) บรเิ วณท่ดี ินหมายเลข ๘.๓ ขอใหป ระกอบกจิ การขนาดใหญไ ด

ผรู อ ง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก นางจฑุ ามาศ ลีวิวฒั นวงศ
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากผูรองมีแผนการดําเนินการจัดทําโครงการ
จัดสรรท่ดี ินในพ้ืนที่
ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง เนื่องจากอยูในพ้ืนที่เพ่ือการอนุรักษส่ิงแวดลอม ซึ่งขัดตอเจตนา
ทกี่ ําหนดพ้นื ทีบ่ ริเวณริมอางเก็บนาํ้ เปนพื้นทีท่ ี่กาํ หนดไวเ พื่อรักษาสิ่งแวดลอม

มติทปี่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามการประกอบกิจการ
ข น า ด ใ ห ญ ไ ด ใ น ก า ร ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ท่ี ดิ น ป ร ะ เ ภ ท ที่ โ ล ง
เพื่อนันทนาการและการรกั ษาคุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน)
บริเวณท่ีดินหมายเลข ๘.๓ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัด
ระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา
คํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมืองรวมจงั หวัดระยอง

เรอ่ื งที่ ๓๒
๑) ขอใหยกเลิกขอหามในการกําหนดหามการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัย
การอยูอ าศัยประเภทอาคารขนาดใหญ และการอยูอาศัยประเภทอาคารชดุ หรือหอพัก
๒) ขอใหเปล่ียนแปลงการกําหนดที่วางริมเขตอางเก็บนํ้า ไมนอยกวา
๑๐๐ เมตร ในบริเวณหมายเลข ๘.๑, ๘.๒, ๘.๓ และ ๘.๔ เปนกําหนด ท่ีวาง
ริมเขตอางเก็บนํ้าไมนอยกวา ๑๒ เมตร ในบริเวณหมายเลข ๘.๑, ๘.๒, ๘.๓
และ ๘.๔ ตามแนวทางการกาํ หนดท่วี างริมแหลงนา้ํ สาธารณะ
ผูรอ ง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก บริษัท ปยะกรนี ลฟิ ว่ิง พรอ็ พเพอรตี้ จาํ กดั
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากผูรองมีแผนการดําเนินการจัดทําโครงการ
จดั สรรทีด่ นิ ในพ้นื ท่ี
ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเหน็ สอดคลอ งกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง เนื่องจากอยูในพ้ืนที่เพ่ือการอนุรักษส่ิงแวดลอมซ่ึงขัดตอเจตนา
ทก่ี ําหนดพ้นื ทบ่ี รเิ วณรมิ อา งเกบ็ นา้ํ เปน พนื้ ท่ีที่กาํ หนดไวเ พอ่ื รักษาสิง่ แวดลอม

- 373 -

ลําดบั ท่ี เรือ่ ง/มติ อางอิง
มตทิ ป่ี ระชุม
(ครง้ั ท/ี่ วนั ที่ประชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามของการใชประโยชน

ที่ดินประเภทที่โลงเพ่ือนันทนาการและการรักษาคุณภาพ

ส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัด

ระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา

ผังเมอื งรวมจังหวัดระยอง

เรื่องท่ี ๓๓ ขอแกไขขอกําหนดใหกิจการท่ีบริษัทดําเนินกิจการโรงงาน
ลําดับท่ี ๕๒ ที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนและเสนทแยงสีขาว) บริเวณ
ท่ดี นิ หมายเลข ๙.๒ ไดรับการยกเวนใหดําเนนิ การไดตอไป

ผรู อ ง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแ ก บริษทั พี ไอ อนิ ดัสทรี จํากัด
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัทฯ ไดรับอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
ประเภท ๕๒ (๔) ไวแ ลว และในอนาคตอาจมีการขยายกจิ การหรือเพมิ่ กาํ ลังการผลิต
ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอ ง เน่อื งจากเปน พน้ื ทีใ่ นเขตอนุรกั ษป าไม

มติที่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามโรงงานลําดับท่ี ๕๒
ในการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน
และเสนทแยงสีขาว) บริเวณที่ดินหมายเลข ๙.๒ ไวตามราง
ผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทป่ี รึกษาผงั เมืองรวมจังหวัดระยอง

เร่ืองท่ี ๓๔ ขอแกไขขอกําหนดใหกิจการที่บริษัทดําเนินอยูในปจจุบัน
ในสวนผลิตรองเทาและพื้นรองเทา ๕๓ (๗) ที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน
และเสน ทแยงสขี าว) บรเิ วณท่ดี ินหมายเลข ๙.๒ ไดรับการยกเวน ใหด าํ เนินการไดตอไป

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท ไทยซังซิน นิวแมททรีเรียล
จํากดั

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัทฯ ไดรับอนุญาตประกอบกิจการ
โรงงานประเภท ๕๒ (๔) และ ๕๓ (๗) และในอนาคตอาจมีการขยายกิจการ
หรอื เพิม่ กาํ ลงั การผลิต

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคาํ รอง เนื่องจากเปน พื้นที่ในเขตอนรุ ักษป าไม

- 374 -

ลําดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อางอิง
มติที่ประชมุ
(ครั้งท/่ี วันที่ประชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามโรงงานลําดับที่ ๕๒

ในการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน

และเสนทแยงสีขาว) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๙.๒ ไวตามราง

ผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ

ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะที่ปรกึ ษาผงั เมอื งรวมจงั หวัดระยอง

เร่ืองท่ี ๓๕ ขอใหประเภทหรือชนิดของโรงงานลําดับท่ี ๓๙, ๔๑, ๕๓
ท่ีดนิ ประเภทอนรุ กั ษป าไม (สีเขียวออนและเสนทแยงสีขาว) บรเิ วณที่ดนิ หมายเลข
๙.๒ ใหส ามารถประกอบกจิ การตอ ไป

ผรู อ ง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย บรษิ ทั พี เอ แคปปต อล จํากัด
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัทฯ มีการดําเนินการพัฒนาท่ีดิน
ในพ้นื ทีแ่ ลว
ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอ ง เน่อื งจากเปน พืน้ ท่ีในเขตอนรุ ักษป า ไม

มติที่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามโรงงานลําดับที่ ๓๙,
๔๑, ๕๓ ในการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม
(สีเขียวออนและเสนทแยงสีขาว) บริเวณที่ดินหมายเลข
๙.๒ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมอื ง และคณะที่ปรกึ ษาผงั เมืองรวมจังหวดั ระยอง

เร่ืองที่ ๓๖ ขอใหประเภทหรือชนิดของโรงงานลําดับท่ี ๕๒ (๓) ท่ีดิน
ประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนและเสนทแยงสีขาว) บริเวณที่ดินหมายเลข
๙.๒ ใหส ามารถประกอบกจิ การตอไป

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท เนเชอรัลอารต แอนด
เทคโนโลยี จาํ กดั

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัทฯ มีการดําเนินการพัฒนาท่ีดิน
ในพ้ืนที่แลว

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอ ง เน่ืองจากเปน พ้ืนที่ในเขตอนุรกั ษป า ไม

- 375 -

ลําดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อางอิง
มตทิ ่ีประชมุ
(ครั้งท/่ี วนั ทป่ี ระชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามโรงงานลําดับท่ี ๕๒ (๓)

ในการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน

และเสนทแยงสีขาว) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๙.๒ ไวตามราง

ผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ

ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะที่ปรกึ ษาผงั เมอื งรวมจงั หวัดระยอง

เร่ืองที่ ๓๗ ขอใหป ระเภทหรือชนิดของโรงงานลําดับที่ ๕๑ ท่ดี ินประเภท
อนุรักษปาไม (สีเขียวออนและเสนทแยงสีขาว) บริเวณที่ดินหมายเลข ๙.๒
ใหสามารถประกอบกิจการตอไป

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท คาวามาตะ อินโนเวชัน
(ประเทศไทย) จํากดั

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากบริษัทฯ มีการดําเนินการพัฒนาท่ีดิน
ในพื้นทแ่ี ลว

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลอ งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคาํ รอ ง เนอื่ งจากเปนพื้นทใี่ นเขตอนรุ ักษปา ไม

มตทิ ีป่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามโรงงานลําดับท่ี ๕๑
ในการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน
และเสนทแยงสีขาว) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๙.๒ ไวตามราง
ผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทป่ี รึกษาผังเมอื งรวมจงั หวัดระยอง

เรี่องท่ี ๓๘ ขอใหประเภทหรือชนิดของโรงงานลําดับท่ี ๕๓ ท่ีดินประเภท
อนุรักษปาไม (สีเขียวออนและเสนทแยงสีขาว) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๙.๒
ใหสามารถประกอบกจิ การตอไป

ผูร อ ง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย บริษัท พัฒนาธรุ กิจสากล จาํ กดั
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัทฯ มีการดําเนินการพัฒนาที่ดิน
ในพืน้ ทแ่ี ลว
ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลองกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอ ง เนอื่ งจากเปน พื้นท่ใี นเขตอนุรักษปา ไม

- 376 -

ลาํ ดับท่ี เรอื่ ง/มติ อางอิง
มติท่ีประชมุ
(ครัง้ ที/่ วันท่ีประชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามโรงงานลําดับท่ี ๕๓

ในการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน

และเสนทแยงสีขาว) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๙.๒ ไวตาม

รา งผังเมืองรวมจงั หวัดระยองกาํ หนด ตามมตคิ ณะอนุกรรมการ

ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะทป่ี รกึ ษาผงั เมอื งรวมจังหวดั ระยอง

เรอ่ื งท่ี ๓๙
๑) ขอเพิ่มขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน ที่ดินประเภทอนุรักษปาไม
(สีเขียวออนและเสนทแยงสีขาว) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๙.๗ โดยระบุเพ่ิมเติมวา
หามใชประโยชนท่ีดินเพื่ออุตสาหกรรมและคลังสินคา และหามจัดสรรท่ีดิน
เพื่ออุตสาหกรรม เนื่องจากจะกอใหเกิดมลพิษ ฝุน และการสัญจรรถบรรทุก
ขนาดใหญท ี่จะรบกวนสตั วป าและทาํ ลายทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีควรคาแกการอนุรักษ
๒) ขอใหเปลี่ยนแปลงระยะถอยรนของการใชประโยชนท่ีดินริมฝงแมนํ้า
ลาํ คลอง และแหลง นํา้ สาธารณะทุกชนดิ จาก ๑๕ เมตร เพิม่ เปน ๓๐ เมตร
ผรู อ ง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก กลุม รักษาสง่ิ แวดลอ มบานแลง
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากผูรองตองการปกปองพ้ืนที่บานแลง
ใหป ระชาชนมสี ขุ ภาวะและสงิ่ แวดลอมที่ดีขนึ้
ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง เน่ืองจากในการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน
และเสนทแยงสีขาว) ขอกําหนดไดหามกิจกรรมอุตสาหกรรมไวแลว เนื่องจาก
การกําหนดดังกลาวอาจเปนอุปสรรคในการตั้งท่ีอยูอาศัยและในพ้ืนที่เมื่อมีการ
ประกาศบังคับใชจะมพี ระราชบัญญตั ิควบคมุ อาคารบังคับใชอ ยแู ลว

มติทีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหาม และระยะถอยรน
ริมฝงแมนํ้า ลําคลอง และแหลงน้ําสาธารณะ ในการใช
ประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนและเสนทแยง
สีขาว) บริเวณที่ดินหมายเลข ๙.๗ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดระยองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผงั เมอื งรวมจังหวดั ระยอง

เร่ืองที่ ๔๐ ขอแกไขเปน “การใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม
(สีเขียวออนและเสนทแยงสีขาว) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๙.๑๒ ซึ่งเอกชน
เ ป น เ จ า ข อ ง ห รื อ ผู ค ร อ บ ค ร อ ง โ ด ย ช อ บ ด ว ย ก ฎ ห ม า ย ใ ห ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ที่ ดิ น
เพ่ือเกษตรกรรม หรือเกี่ยวของกับเกษตรกรรม การอยูอาศัย หรือ ที่เก่ียวของกับ

- 377 -

ลาํ ดับท่ี เร่อื ง/มติ อา งอิง

(ครัง้ ท/่ี วันที่ประชมุ )

กิจการการทองเที่ยว หรือสาธารณประโยชนเทานั้น และหามใชประโยชนที่ดิน

เพ่ือกจิ การตามทีก่ าํ หนดดงั ตอ ไปน.้ี ....”

ผูรอง จาํ นวน ๓ ฉบบั ๓ ราย นางสุนีย อนิ ฉัตร และผรู องอ่ืนรวม ๓ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากผูรองตองการปกปองพื้นที่บานแลง

ใหประชาชนมสี ขุ ภาวะและสิ่งแวดลอมท่ีดีขึ้น

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเห็นตา งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง และกรมโยธาธิการและผังเมอื ง

มมี ติสอดคลอ งกัน คอื เหน็ ควรใหตามคาํ รอง เฉพาะบรเิ วณพื้นท่ีเกาะเสม็ด

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรยกคํารอง เนื่องจาก

เปน พนื้ ทีอ่ นรุ กั ษป า ไม (เขตอทุ ยาน) และอยใู นเขตอทุ ยานเขาแหลมหญา

คณะกรรมการผังเมืองมีขอสังเกตและขอเสนอแนะ ดังน้ี พื้นที่ประเภท

อนรุ ักษป า ไม (สเี ขียวออนและเสนทแยงสขี าว) มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการอนุรักษ

พ้ืนท่ีใหคงสภาพไว ไมควรทําการพัฒนาในพ้ืนที่ และปจจุบันพ้ืนที่อนุรักษปาไม

มีจํานวนลดนอยลง จึงควรอนุรักษรักษาไว สวนเรื่องนักทองเท่ียวควรจะตอง

วางแผนบริหารจัดการ เชน การจํากัดจํานวนนักทองเที่ยว รวมทั้ง ในขอกําหนด

การใชป ระโยชนท ดี่ นิ กย็ ังสามารถสรางทอ่ี ยูอาศัย ทําการเกษตรได แตไ มควรสราง

อาคารขนาดใหญ

มติท่ีประชุม ยกคํารอ ง โดยใหค งขอ กําหนดการใชประโยชนที่ดนิ ประเภท
อนรุ กั ษปาไม (สเี ขยี วออนและเสนทแยงสขี าว) บริเวณทด่ี นิ
หมายเลข ๙.๑๒ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยอง
กําหนด ตามมติคณะอนกุ รรมการผังเมืองพิจารณาคาํ รอ งฯ

เร่ืองท่ี ๔๑ ขอใหกําหนดใหสามารถประกอบกิจการผลิตกระแสไฟฟาได
ในทุกพนื้ ที่

ผูรอ ง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก พลงั งานจังหวัดระยอง
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากการหา มโรงไฟฟาชนิดตาง ๆ ไมสามารถ
ดําเนนิ การกอ สรางไดท าํ ใหแผนการผลติ ไฟฟา ของกระทรวงพลังงานประสบปญหา
ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง
เนื่องจากในขอกําหนดเกือบทุกบริเวณในจังหวัด มีขอกําหนดการอนุญาตให
ประกอบกิจการโรงไฟฟาได โดยบางบริเวณหามเฉพาะที่ไมใ ชถ านหินเปนเชอื้ เพลิง

มตทิ ่ีประชมุ ยกคํารอง เนื่องจากในขอกําหนดเกือบทุกบริเวณอนุญาต
ใหป ระกอบกิจการโรงไฟฟาได ยกเวนบางบริเวณท่ีหา มเฉพาะ
ที่ไมใชถานหินเปนเช้ือเพลิง ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคํารอ งฯ กรมโยธาธิการและผังเมอื ง และคณะที่ปรกึ ษา
ผงั เมอื งรวมจงั หวัดระยอง

- 378 -

ลาํ ดบั ท่ี เร่ือง/มติ อางอิง

(ครั้งท่/ี วนั ทีป่ ระชมุ )

เร่ืองท่ี ๔๒

๑) ขอใหมีขอหามการต้ังโรงงานในพ้ืนท่ีสีเขียวในอําเภอแกลง, วังจันทร

และเขาชะเมา ลําดับท่ี ๘๘ ยกเวนโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม

พลังงานนํ้าและชีวมวล ขนาดไมเกิน ๓ เมกะวัตต (ตองอยูหางชุมชนไมตํ่ากวา

๕ กิโลเมตร) และ ๑๐๒ โดยไมมขี อยกเวน

๒) กําหนดใหโรงงานลําดับที่ ๑๐๑, ๑๐๕ และ ๑๐๖ ตองผานกระบวนการ

ประชาพจิ ารณและใหอ ยใู นพ้นื ทีท่ ี่เหมาะสม

๓) ขอใหหามโรงหลอหลอมชิ้นสวนโลหะ, อุตสาหกรรมโม บดยอยหิน,

โรงงานรถยนต และฟารมปศุสตั วขนาดใหญ

ผูรอ ง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก ประชาชนในตาํ บลกระแสบน

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากเพื่อใหเหมาะสมกับบริบทของพื้นท่ี

ชนบทและเกษตรกรรมและเปน การรกั ษาส่ิงแวดลอ ม

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ ตางกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง และกรมโยธาธิการและผังเมอื ง

มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง ในประเด็นท่ี ๑, ๒ คือ เน่ืองจาก

๑) การรองขออาจสงผลกระทบตอการจัดการดานพลังงานในวงกวาง และขอ ๒)

เน่ืองจากเปนอํานาจการพิจารณาของภาคสวนอ่ืน และเห็นควรใหตามคํารอง

ในประเด็นที่ ๓ คือ ขอ ๓ เฉพาะตําบลกระแสบนตามถ่ินที่อยูของผูรอง โดยมี

เง่ือนไขวาไดเฉพาะโรงงานลําดับที่ ๓ (๑) โม บด ยอย หิน โรงหลอหลอมชิ้นสวน

โลหะ โรงงานรถยนต และฟารมปศสุ ตั วขนาดใหญ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรยกคํารองทุกประเด็น

เนื่องจากเปนคํารองของประชาชนเพียงบางสวน ซ่ึงมิไดแสดงเอกสารท่ีระบุวา

เปน ผูมีสว นไดเ สยี จากตําบลกระแสบนท้ังหมด

มตทิ ีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณอําเภอแกลง อําเภอ
วังจันทรและเขาชะเมา ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยอง
กาํ หนด ตามมติคณะอนกุ รรมการผงั เมืองพิจารณาคํารองฯ

เร่อื งท่ี ๔๓
๑. ขอใหบังคับใชผ ังเมืองรวมโดยมกี ําหนดระยะเวลา ๑๐ ป
๒. ขอใหแกขอ ๔ (๑) สง เสรมิ และพฒั นาจงั หวัดระยอง ใหเปนศูนยก ลาง
ดานอุตสาหกรรม ดานเกษตรกรรม ดานการคา การบริการ และการทองเที่ยว
โดยกําหนดท่ีต้ังอุตสาหกรรมใหอยูในพื้นที่กําหนดเฉพาะท่ีมีในนิคมและกําหนด
ใหมีมาตรฐานดานส่ิงแวดลอมสูงสุด อีกทั้ง สงเสริม พัฒนาและอนุรักษพ้ืนท่ี
จังหวัดระยอง ใหเปนศูนยกลางดานเกษตรกรรมของภาคตะวันออก เสริมสราง
ความม่ันคงทางอาหาร มุงเนนเกษตรอินทรียแบบเศรษฐกิจพอเพียงและสงเสริม
การดแู ลสุขภาพดว ยธรรมชาติบําบดั

- 379 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครง้ั ท/ี่ วนั ทป่ี ระชมุ )

๓. ขอแกไขขอกําหนดท่ีดินประเภทชุมชน (ช ๑) บริเวณหมายเลข ๑.๒

และ ๑.๔ ดังน้ี

- ตัดขอความยกเวน ลาํ ดบั ท่ี ๙๒ ยกเวนโรงงาน

- ใหเพม่ิ ทีเ่ วนวางรมิ ฝง แมนาํ้ ระยองหรือคลองใหญเปน ๓๐ เมตร

- ตัดขอกําหนดท่ีเกี่ยวของกับการจัดสรรท่ีดินเพ่ืออุตสาหกรรม

ทงั้ หมด

- เพิ่มขอ หา มการจดั สรรที่ดนิ เพอื่ ประกอบอตุ สาหกรรม

- ไมใหป ระกาศทีด่ ินโดยใชการกําหนดโฉนดที่ดนิ เปน ขอบเขตในที่ดิน

ประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสนิ คา

๔. ขอใหแกขอกําหนดท่ีดินประเภทชุมชน (ช ๒) บริเวณหมายเลข ๒.๓

และ ๒.๕ ดงั นี้

- ใหแกขอ ๘ วรรคแรก โดยใหกําหนดขอความ ดังนี้ “ขอ ๘ ที่ดิน

ประเภทชุมชน (ช ๒) ใหใ ชประโยชนท ด่ี ินเพ่ือการอยูอาศัย พาณชิ ยกรรม เกษตรกรรม

สถาบนั ราชการ สถาบันการศกึ ษา สถาบนั ศาสนา การสาธารณปู โภค และสาธารณปู การ

- ขอใหตดั ขอ ยกเวน โรงงานลําดบั ที่ ๘๘ และ ๑๐๑ ออก

- ใหเ พ่มิ ท่ีเวนวางรมิ ฝง แมน ํา้ ระยองหรือคลองใหญเปน ๓๐ เมตร

- เพม่ิ ขอหามการจัดสรรทีด่ ินเพอ่ื ประกอบอตุ สาหกรรม

- ไมใ หประกาศท่ีดินโดยใชการกาํ หนดโฉนดที่ดนิ เปน ขอบเขตในที่ดิน

ประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สินคา

๕. ขอแกไขขอกําหนดขอ ๙ ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา

บริเวณหมายเลข ๓.๖, ๓.๗, ๓.๘, ๓.๙ และ ๓.๑๐ ดงั นี้

- ใหแกขอ ๙ วรรคแรก โดยใหกําหนดขอความ ดังนี้ “ขอ ๙ ท่ีดิน

ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคาใหใชประโยชนที่ดินเพ่ืออุตสาหกรรม

หรือเก่ียวของกับอุตสาหกรรม คลังสินคา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค

และสาธารณูปการ

- ใหเ พิ่มทีเ่ วนวา งริมฝง แมน าํ้ ประแสเปน ๓๐ เมตร

- ไมใ หประกาศที่ดนิ โดยใชการกําหนดโฉนดท่ีดินเปน ขอบเขตในท่ีดิน

ประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สนิ คา

๖. ขอแกไขขอกําหนดที่ดินประเภทอุตสาหกรรมทั่วไปที่ไมเปนมลพิษ

ตอชมุ ชนหรอื สิ่งแวดลอ มและคลงั สนิ คา ดงั นี้

- ใหแกขอ ๑๐ วรรคแรก โดยใหกําหนดขอความดังนี้“ขอ ๑๐ ที่ดิน

ประเภทอตุ สาหกรรมทัว่ ไปที่ไมเปนมลพิษตอชมุ ชนหรอื สง่ิ แวดลอมและคลังสินคา

ใหใชประโยชนที่ดินเพ่ืออุตสาหกรรมหรือเกี่ยวของกับอุตสาหกรรม คลังสินคา

ท่ีไมเปนมลพิษตอชุมชนหรือส่ิงแวดลอมและคลังสินคา สถาบันราชการ

การสาธารณปู โภค และสาธารณปู การ

- ขอแกไ ขขอ (๑) (๑.๒๒) เปน การประกอบกจิ การผลิตไฟฟาทุกประเภท

- 380 -

ลําดับที่ เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(คร้งั ที่/วันท่ปี ระชมุ )

๗. ขอแกไขขอกําหนดขอ ๑๑ ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

บริเวณหมายเลข ๕.๑, ๕.๓, ๕.๕ และ ๕.๖ ดงั นี้

- ใหแกขอ ๑๑ วรรคแรก โดยใหกําหนดขอความดงั นี้ “ขอ ๑๑ ท่ีดิน

ประเภทชนบทและเกษตรกรรม ใหใชประโยชนที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม หรือ

เกี่ยวของกับเกษตรกรรม สถาบันราชการ สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา

การสาธารณปู โภค และสาธารณูปการ

- ขอแกไขขอ (๑.๒) เปนโรงงานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม

เร่ือง การกําหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ประกอบกิจการเก่ียวกับ

อุตสาหกรรมบริการหรืออุตสาหกรรมท่ีใหบริการแกชุมชน พ.ศ. ๒๕๓๕ แตไม

หมายความรวมถึงโรงงานลําดบั ท่ี ๒๖ (๒) ลําดับท่ี ๖๓ (๒)

- เพ่มิ ขอ หา มการจัดสรรทด่ี นิ เพื่อประกอบอุตสาหกรรม

- ไมใหประกาศทดี่ ินโดยใชการกําหนดโฉนดท่ีดนิ เปนขอบเขตในท่ีดิน

ประเภทอุตสาหกรรมและคลงั สินคา

๘. ขอแกไขขอกําหนดที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม

บริเวณหมายเลข ๖.๑, ๖.๒ และ ๖.๓ ดงั น้ี

- ใหแกข อ ๑๒ วรรคแรก โดยใหกาํ หนดขอความ ดงั น้ี “ขอ ๑๒ ทีด่ ิน

ประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

หรือเก่ียวของกับเกษตรกรรม สถาบันราชการ สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา

การสาธารณปู โภค และสาธารณูปการ และการอนรุ กั ษและรกั ษาสง่ิ แวดลอม”

- ขอใหต ดั ขอยกเวน โรงงานลาํ ดบั ที่ ๘๘ และ ๑๐๑ ออก

- ใหเ พ่มิ ที่เวนวา งริมแหลง นํา้ สาธารณะ เปน 30 เมตร

- เพม่ิ ขอ หามการจดั สรรทด่ี นิ เพ่ือประกอบอตุ สาหกรรม

- ไมใ หป ระกาศทดี่ ินโดยใชการกาํ หนดโฉนดที่ดนิ เปนขอบเขตในที่ดิน

ประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสนิ คา

- หามใหสัมปทานเหมอื งแร

- หา มประกอบกจิ การโรงงานลาํ ดบั ท่ี ๑๐๕ และ ๑๐๖

- หามขยายที่ดินประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสนิ คา ในพน้ื ที่ ๓.๖

๙. ขอแกไขขอกําหนดในท่ีดินประเภทปฏิรูปเพ่ือการเกษตร บริเวณ

หมายเลย ๗.๒ โดยหา มใหส ัมปทานเหมอื งแร

๑๐. ขอแกไ ขขอกาํ หนด ขอ ๑๔ ดงั น้ี

- ใหมีทวี่ างริมอางเก็บน้ําไมนอ ยกวา ๕๐๐ เมตร

- เพมิ่ ขอหา มการจดั สรรท่ีดินเพือ่ ประกอบอุตสาหกรรม

- ไมใ หประกาศท่ีดนิ โดยใชการกาํ หนดโฉนดท่ีดินเปน ขอบเขตในที่ดิน

ประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สินคา

- หามใหส มั ปทานเหมืองแร

๑๑. ขอแกไขขอกําหนด ขอ ๑๕ บริเวณหมายเลข ๙.๒ ๙.๓ ๙.๔

และ ๙.๕ ดังนี้

- 381 -

ลําดับท่ี เร่อื ง/มติ อา งอิง

(ครั้งที่/วันทีป่ ระชมุ )

- เพม่ิ ขอหา มการจัดสรรทดี่ ินเพือ่ ประกอบอตุ สาหกรรม

- ไมใหป ระกาศที่ดนิ โดยใชการกาํ หนดโฉนดท่ีดนิ เปน ขอบเขตในที่ดิน

ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสนิ คา

- หา มใหส ัมปทานเหมอื งแร

- หามประกาศพ้ืนที่เปนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมทั่วไปที่ไมเปน

มลพษิ ตอชุมชนหรือส่งิ แวดลอมและคลงั สนิ คา

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๓ ราย ไดแก สภาองคกรชุมชนตําบลปายุบใน

และผูรองอนื่ รวม ๓ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากเพ่ือใหเหมาะสมกับบริบทของพ้ืนที่

ชนบทและเกษตรกรรมและเปนการรกั ษาสง่ิ แวดลอม

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเห็นสอดคลองกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอ ง

มตทิ ่ีประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ประเภทตาง ๆ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด
ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมอื ง และคณะปรึกษาผงั เมอื งรวมจงั หวดั ระยอง

คํารองดานอืน่ ๆ (จํานวน 1 เร่ือง)
เร่ือง ขอใหดําเนินการประกาศบังคับใชผังเมืองรวมภายใน ๑๕ วัน
นบั แตวนั ทไี่ ดร ับเอกสาร
ผูรอง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก นายธีระพล ลายประดษิ ฐ
เหตุผลในการขอแกไข เนอ่ื งจากตอ งการใหม ีผงั เมืองรวมบงั คบั ใชอ ยูในพ้นื ท่ี
ผลการพจิ ารณาคํารอง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคาํ รอ ง เน่ืองจากตอ งดาํ เนินการตามข้ันตอนทกี่ ฎหมายกาํ หนดไว

มติทป่ี ระชุม ยกคํารอง เนื่องจากตองดําเนินการตามข้ันตอนที่กฎหมาย
กําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม
จงั หวัดระยอง

- 382 -

ลําดบั ท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครัง้ ท/่ี วนั ทีป่ ระชมุ )

50. เรือ่ ง คํารอ งผังเมืองรวมจงั หวดั ระยอง (สบื เนอ่ื งจาการประชมุ ครัง้ ที่ 11/2558) คร้งั ที่ 12/๒๕๕8

สืบเนื่องจากการประชุมคณะกรรมการผังเมือง ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๘ วันท่ี วันที่ 24 ก.ย. 58

๙ - ๑๐ กนั ยายน ๒๕๕๘ ในคํารอ งท่ี ๒๙ เรื่อง ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชน วาระท่ี 4.1.1

ที่ดินบริเวณสองขางทางหลวงแผนดิน สายบานบึง – บานคาย (สาย ๓๑๓๘) หนา 5 - 6

ระยะ ๒๐๐ เมตร ใหเปนพื้นท่ีชุมชน สรางอาคารบานเรือน ตึกแถว บานจัดสรร

บานแถวเพ่ือเปนท่ีอยูอาศัย โดยใหกําหนดไวหรือใสเง่ือนไขการใชประโยชนที่ดิน

ในผังสีและในระยะ ๑,๐๐๐ เมตร เฉพาะดานซายของทางหลวงแผนดินสายบานบึง -

บานคาย (สาย ๓๑๓๘) ตอจากระยะ ๒๐๐ เมตร ตามแนวขนานใหที่ดินประเภท

อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณท่ีดิน

หมายเลข ๖.๒ เปนพื้นท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมท่ัวไปที่ไมเปนมลพิษตอชุมชน

หรือสิ่งแวดลอมและคลังสินคา (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีมวง) รวมทั้งประเด็น

ที่องคการบริหารสวนตําบลหนองบัวไดรับขอมูลเพิ่มเติมจากประชาชน ตามหนังสือ

ท่ี รย ๗๓๒๐๓.๐๑/๑๖๔๖ ลงวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๕๘ ขอเปลี่ยนแปลงการใช

ประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ที่อยูติดกับนิคม

อุตสาหกรรมโรจนะในระยะ ๑,๐๐๐ เมตร เปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม

และคลังสินคา (สีมวง) คณะกรรมการผังเมืองไดมีมติเห็นชอบใหจังหวัดระยอง

และเทศบาลตําบลหนองบัว ไปรวบรวมขอมูลเชิงพ้ืนที่และสํารวจความคิดเห็น

ของเจาของท่ีดินในบริเวณดังกลาว รวมทัง้ หนังสือยืนยันจากนิคมอุตสาหกรรมโรจนะ

วามีความประสงคจะขยายเขตอุตสาหกรรมในพื้นท่ีบริเวณดังกลาวหรือไม

และนําเสนอตอคณะกรรมการผังเมืองในการประชุมคร้ังตอไป ขณะน้ี สํานักงาน

โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดระยองไดดําเนินการรวบรวมขอมูลเพ่ือประกอบ

การพิจารณาเรียบรอยแลว รายละเอยี ดปรากฏ ดงั นี้

เรอ่ื งท่ี ๒๙ มรี ายละเอียดการขอแกไ ขขอกาํ หนด ดงั น้ี

๑) บริเวณสองขางทางถนนทางหลวงแผนดินสายบานบึง – บานคาย

(สาย ๓๑๓๘) ระยะ ๒๐๐ เมตร ใหเปนพ้ืนท่ีชุมชน สรางอาคารบานเรือน ตึกแถว

บานจัดสรร บานแถวเพื่อเปนท่ีอยูอาศัย โดยใหกําหนดไวหรือ ใสเง่ือนไขการใช

ประโยชนที่ดินในผังสีและในระยะ ๑,๐๐๐ เมตร เฉพาะดานซายของทางหลวง

แผนดินสายบานบึง - บานคาย (สาย ๓๑๓๘) ตอจากระยะ ๒๐๐ เมตร

ตามแนวขนานใหท่ีดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบ

และเสนทแยงสีเขียว) บริเวณที่ดินหมายเลข ๖.๒ เปนพ้ืนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรม

ทั่วไปที่ไมเปนมลพิษตอชุมชนหรือส่ิงแวดลอมและคลังสินคา (สีขาวมีกรอบ

และเสนทแยงสมี วง)

๒) บริเวณสองขางทางถนนทางหลวงชนบทสาย รย. ๔๐๕๘ (หัวชวด -

ทาเสา) ตลอดแนวขนานระยะ ๕๐๐ เมตร ใหเปนพื้นท่ีดินประเภทอุตสาหกรรม

ท่ัวไปที่ไมเปนมลพิษตอชุมชนหรือสิ่งแวดลอมและคลังสินคา (สีขาวมีกรอบ

และเสน ทแยงสีมว ง)

- 383 -

ลาํ ดับที่ เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครงั้ ที่/วันท่ีประชมุ )

๓) บริเวณสองขางทางหลวงชนบทสายหนองกลับ – โรงงานน้ําตาล

ตลอดแนวขนานระยะ ๕๐๐ เมตร กําหนดใหเปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมท่ัวไป

ที่ไมเปนมลพิษตอชุมชนและสิ่งแวดลอมและคลังสินคา (สีขาวมีกรอบและเสนทแยง

สีมวง)

๔) บริเวณสองขางทางถนนทางหลวงทองถิ่นสายปาหวาย – โรงงาน

น้ําตาล ตลอดแนวขนานระยะ ๕๐๐ เมตร โดยเริ่มตั้งแตสะพานคลองปาหวาย

ไปจนถึงทางหลวงชนบทสาย รย ๔๐๕๘ (หัวชวด – ทาเสา) กําหนดใหเปนพื้นท่ี

ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมท่ัวไปท่ีไมเปนมลพิษตอชุมชนและสิ่งแวดลอม

และคลังสินคา (สขี าวมีกรอบและเสน ทแยงสมี ว ง)

๕) สนับสนุนใหพ้ืนท่ีนิคมอุตสาหกรรมระยอง (บานคาย) เปนพ้ืนท่ีดิน

ประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสินคา (สีมว ง)

๖) สนับสนุนใหอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) เปนพื้นที่ดิน

ประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสนิ คา (สีมวง)

๗) กําหนดใหพื้นท่ีโดยรอบสวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน)

ระยะ ๑,๐๐๐ เมตร เปน พ้ืนท่ีอุตสาหกรรมท่ัวไปที่ไมเปนมลพิษตอชุมชนหรือ

ส่ิงแวดลอมและคลังสินคา (สีขาวมกี รอบและเสนทแยงสมี วง)

ผูรอ ง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก องคก ารบริหารสว นตาํ บลหนองบัว

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากในฐานะองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

ตองการพัฒนาท่ีดินเปนพื้นที่ชุมชนเพ่ือสรางอาคารบานเรือน ตึกแถวบานจัดสรร

บานแถวเพื่อเปนท่ีอยูอาศัย โดยใหกําหนดไวหรือใสเง่ือนไขการใชประโยชนที่ดิน

ในผังสีและในระยะ ๑,๐๐๐ เมตร เฉพาะดานซายทางถนนทางหลวงแผนดิน

สายบาน บึงบานคาย (สาย ๓๑๓๘) ตอจากระยะ ๒๐๐ เมตร ตามแนวขนาน

ใหเปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมท่ัวไปท่ีไมเปนมลพิษตอชุมชนหรือส่ิงแวดลอม

และคลงั สินคา (สีขาวมกี รอบและเสนทแยงสมี วง)

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเหน็ สอดคลอ งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดระยอง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง เนื่องจากขดั ตอ เจตนาในการวางผังในพ้ืนท่ี

สําหรับในประเด็นท่ีองคการบริหารสวนตําบลหนองบัวไดรับ ข อมูล

เพิ่มเติมขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) ท่ีอยูติดกับนิคมอุตสาหกรรมโรจนะในระยะ ๑,๐๐๐ เมตร เปนท่ีดิน

ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สมี ว ง) ใหจงั หวดั และองคการบรหิ ารสวนตําบล

หนองบวั ไปรวบรวมขอมูลเชิงพื้นที่และสํารวจน้นั องคก ารบริหารสว นตําบลหนองบัว

ไดประสานกับสวนอุตสาหกรรมโรจนะแลว ปรากฏวาไมสามารถใหข อมูลเพ่ิมเตมิ

ไดตามหนังสือองคการบริหารสวนตําบลหนองบัว ท่ี รย. ๗๓๒๐๓.๐๑/๑๗๔๓

ลงวันที่ ๒๑ กนั ยายน ๒๕๕๘

- 384 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง
มติท่ีประชุม
(ครั้งท่/ี วันที่ประชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนด และการใชประโยชนท่ีดิน

ประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบ

และเสนทแยงสีเขียว) บริเวณท่ีดินหมายเลข ๖.๒ และการใช

ประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

ท่ีอยูติดกับนิคมอุตสาหกรรมโรจนะ ในระยะ ๑,๐๐๐ เมตร

ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดระยองกําหนด ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผงั เมือง และคณะท่ีปรกึ ษาผังเมืองรวมจงั หวัดระยอง

51. เร่อื ง คาํ รอ งผงั เมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธ านี ครง้ั ท่ี 12/๒๕๕8

ผังเมืองรวมจังหวดั สุราษฎรธานี ไดดําเนินการวางและจัดทําผงั เมืองรวม วนั ที่ 24 ก.ย. 58

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง รวมพื้นที่ประมาณ ๑๒,๘๙๑ ตารางกิโลเมตร วาระที่ 4.1.2

หรือประมาณ ๘,๐๕๗,๗๑๖ ไร ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง หนา 7 - 25

เมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๘ โดยนําไปปดประกาศ ๙๐ วัน เพื่อใหประชาชน

ผมู สี ว นไดเ สียไปตรวจดแู ละยนื่ คาํ รอง ต้ังแตวนั ท่ี ๑๕ พฤษภาคม – ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘

เมื่อครบกําหนดมีคํารองดานการใชประโยชนท่ีดิน จํานวน ๑๐ ฉบับ ๘ ราย ๘ เร่ือง

คํารองดานขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน จํานวน ๘ ฉบับ ๘ ราย ๗ เร่ือง และคํารอง

ดานอืน่ ๆ จํานวน ๒ ฉบบั ๒ ราย ๒ เรื่อง

คาํ รองดานการใชประโยชนทด่ี ิน (จาํ นวน 8 เรื่อง)

เร่ืองท่ี ๑ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทท่ีโลงเพื่อการรักษา

คุณภาพสิ่งแวดลอม (สีฟา) บริเวณหมายเลข ๖.๕ (บางสวน) เปนท่ีดินประเภทชุมชน

(สีชมพ)ู

ผูรอง 2 ฉบับ 2 ราย ไดแก นายวิทยา กิจจาวิจิตร รวมกับนายพัฒนะ

ศรภี ักดี และนายณรงคช ัย ลีววิ ฒั นว งศ

เหตผุ ลในการขอแกไข

ผูรองที่ ๑ พื้นที่ดังกลาวอยใู กลท ะเล โรงเรียน วัด ชุมชนอยูอาศัย รานอาหาร

และท่ีพักจํานวนมาก จึงควรสงเสริมใหมีการพัฒนาที่ดินเพื่อประโยชนในการทองเทยี่ ว

ใหเพมิ่ มากขึ้น

ผูรองที่ ๒ พ้ืนท่ีดังกลาวอยใู กลทะเล โรงเรยี น วัด ชุมชนอยูอาศัย รานอาหาร

และที่พักจํานวนมาก และผูรองเตรียมจะดําเนินการพาณิชยและการจัดสรรท่ีดิน

และประกอบพาณชิ ยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคาํ รอง เน่ืองจากพืน้ ทสี่ ว นใหญเปนพ้ืนท่ีเกษตรกรรมและเปน พ้ืนที่ท่ีมีการตั้งถิ่น

ฐานเบาบาง เปนพ้ืนท่ีชายฝงทะเลท่ีควรอนุรักษและรักษาไว และสภาพพื้นท่ี

ไมเหมาะสมตอการขยายตัวของชุมชนในอนาคต หากมีการเปลี่ยนแปลงสภาพพ้ืนที่

กฎหมายเปดโอกาสใหแกไขปรับปรุงผังเมืองรวมได ตามมาตรา 26 วรรคสาม

แหงพระราชบญั ญตั ิการผังเมอื ง พ.ศ. 2518

- 385 -

ลําดับที่ เรอ่ื ง/มติ อางอิง
มตทิ ป่ี ระชมุ
(ครั้งท/ี่ วันท่ปี ระชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทที่โลง

เพ่ือการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม (สีฟา) บริเวณหมายเลข ๖.๕

ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานีกําหนด ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผงั เมือง และคณะทีป่ รึกษาผงั เมืองรวมจังหวดั สุราษฎรธ านี

เร่ืองท่ี ๒ ขอเปลีย่ นแปลงการใชประโยชนทดี่ ินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๑ (บางสวน) และ ๓.๑๖ (บางสวน) เปนที่ดิน
ประเภทชมุ ชน (สีชมพู)

ผูรอง 2 ฉบับ 1 ราย ไดแก นายพิริยะ ธานีรณานนท (บริษัท บานสวยกรุป
(สรุ าษฎรธ านี) จาํ กัด)

เหตุผลในการขอแกไข บริษัทฯ มีโครงการจะกอสรางและจัดสรรที่ดิน
(อาคารพาณชิ ย – พกั อาศัย) ในที่ดินสว นที่เหลือตามกฎหมายวาดวยการจัดสรรทีด่ ิน

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ ตา งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผงั เมอื งรวมจงั หวดั สรุ าษฎรธานี เหน็ ควรยกคํารอง
1) กําหนดพ้ืนท่ีชุมชน (สีชมพู) ควรเปนพื้นที่ที่มีความเปนเมืองมีความหนาแนน
ของอาคาร เพ่ือชวยใหรัฐจัดใหมีระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการใหเพียงพอ
แ ล ะ ไ ม ค ว ร เ ป ด โ อ ก า ส ใ ห มี ก า ร พั ฒ น า ด า น ท่ี อ ยู อาศัยในที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม เพอ่ื ปองกันไมใหเกดิ ปญหาความไมพอเพียงของสาธารณูปโภคในอนาคต
2) ในระหวางบังคับใชผังเมืองรวม หากสภาพพื้นที่มีการเปล่ียนแปลง
กฎหมายเปดโอกาสใหแกไขปรับปรุงผังเมืองรวมได ตามมาตรา 26 วรรคสาม
แหง พระราชบญั ญัตกิ ารผังเมอื ง พ.ศ. 2518
กรมโยธาธิการและผังเมือง เห็นควรยกคํารองโดยมีเงื่อนไข ใหแกไข
ขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
ใหสามารถดําเนินการเก่ียวกับการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัย และจัดสรรที่ดิน
เพื่อประกอบพาณิชยกรรมได ในบริเวณหมายเลข ๓.๑๑ เฉพาะแปลงโฉนดท่ีดิน
เลขที่ ๓๖๙๙๕, ๓๖๙๙๖ และ ๓๖๙๙๗ และบริเวณหมายเลข ๓.๑๖ เฉพาะแปลง
โฉนดท่ดี นิ เลขท่ี ๓๗๒๑๐, ๓๗๕๕๘, ๓๗๕๕๙, ๓๗๕๖๐ และ ๓๗๕๖๕
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรยกคํารองโดยใหคง
การใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข
๓.๑๑ และ ๓.๑๖ ไวต ามที่รางผงั เมืองรวมกําหนด แตมเี งอ่ื นไขใหแกไขขอ กําหนด
การใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ใหสามารถดําเนินการ
เกี่ยวกับการจัดสรรท่ีดินเพ่ือการอยูอาศัย และจัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม
ไดเฉพาะบริเวณที่ดินท่ีเปนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองโดยชอบดวยกฎหมาย
ของผูรอง ในบริเวณหมายเลข ๓.๑๑ เฉพาะแปลงโฉนดท่ีดินเลขที่ ๓๖๙๙๕,
๓๖๙๙๖ และ ๓๖๙๙๗ และบรเิ วณหมายเลข ๓.๑๖ เฉพาะแปลงโฉนดทด่ี ินเลขท่ี
๓๗๒๑๐, ๓๗๕๕๘, ๓๗๕๕๙, ๓๗๕๖๐ และ ๓๗๕๖๕

- 386 -

ลาํ ดับท่ี เร่ือง/มติ อา งอิง
มตทิ ่ปี ระชมุ
(คร้งั ที่/วนั ทป่ี ระชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม บริเวณหมายเลข ๓.๑๑ และ ๓.๑๖

ไวตามรา งผงั เมืองรวมจงั หวดั สุราษฎรธานีกาํ หนด แตใ หแกไข

ข อ กํ า ห น ด ให สามารถดํ าเนิ นการเก่ี ยวกั บการจั ดสรรท่ี ดิ น

เพื่อการอยูอาศัย และจัดสรรท่ีดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม

ไดเฉพาะบริเวณท่ีดินที่เปนกรรมสิทธิ์ครอบครองโดยชอบ

ดวยกฎหมายของผูรองที่ไดยื่นคํารองมา ตามมติคณะอนุกรรมการ

ผงั เมืองพิจารณาคํารองฯ และกรมโยธาธิการและผงั เมอื ง

เรื่องที่ ๓ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู)
บริเวณหมายเลข ๑.๘ (บางสวน) เปน ท่ดี นิ ประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง)

ผรู อ ง 1 ฉบับ 1 ราย ไดแ ก บริษัท โกลบอล อินเตอร จํากัด โดยนางธนิดา
พวงจําปา

เหตุผลในการขอแกไข
1) บริษัทไดดําเนินโครงการสรางถังเก็บนํ้ามันปาลมดิบใหเชา ซ่ึงมีมูลคา
การลงทุนมากกวา ๓๐๐ ลานบาท เพื่อใชเปนคลังสําหรับเก็บนํ้ามันดิบและกอสราง
เรียบรอยแลว โดยจะเริ่มดําเนินการประกอบธุรกิจ ในวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๘
ซึ่งโครงการจะกอใหเกิดการจางงานในพื้นท่ี และเปนประโยชนโดยรวมของอําเภอ
ดอนสกั และจงั หวดั สรุ าษฎรธานี
2) พื้นที่โดยรอบไมมีชุมชนและประชาชนพักอาศัย และอยูใกลกับทาเรือ
เอนกประสงคแหลมทวด ซึ่งมีศักยภาพในการดําเนินการดานโลจิสติกสท้ังทางบก
และทางน้าํ
3) บริษัทไดลงทุนซ้ือที่ดินบริเวณโดยรอบอีกจํานวน ๕ แปลง เพ่ือใช
ประโยชนในการดาํ เนนิ ธรุ กจิ กอ สรา งเปนถงั เกบ็ น้ํามันปาลมดบิ สวนขยาย
4) หากมีการกําหนดเขตผังตามผังเมือง บริษัทจะเกิดความเสียหาย
เปน มลู คา ไมต่ํากวา ๑,๕๐๐ ลา นบาท
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง

มตทิ ป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชุมชน
(สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๘ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัด
สุราษฎรธานีกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมอื งรวมจังหวดั สุราษฎรธานี

เร่ืองที่ ๔ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู)
บรเิ วณหมายเลข ๑.๘ (บางสวน) เปนที่ดนิ ประเภทอุตสาหกรรมและคลงั สนิ คา (สีมวง)

- 387 -

ลาํ ดบั ท่ี เร่ือง/มติ อางอิง

(ครัง้ ท่/ี วันทีป่ ระชมุ )

ผูรอ ง จํานวน 1 ฉบบั 1 ราย คือ นายธนฤทธิ์ เมอื งนลิ

เหตุผลในการขอแกไข ผูรองมีความประสงคจะใชพ้ืนที่ดังกลาวเปนสต็อก

เกบ็ หนิ และอปุ กรณกอ สรา ง

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลองกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอ ง

มติท่ีประชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชุมชน
(สชี มพ)ู บริเวณหมายเลข ๑.๘ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัด
สุราษฎรธานีกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคาํ รองฯ กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง และคณะที่ปรกึ ษา
ผงั เมอื งรวมจังหวดั สรุ าษฎรธานี

เรื่องที่ ๕ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู)
บริเวณหมายเลข ๑.๑๑ (บางสว น) เปนทด่ี นิ ประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สินคา (สีมว ง)

ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย คือ บรษิ ัท วงศบณั ฑิต จํากดั โดยนายวทิ ยา มากสิน
เหตุผลในการขอแกไข บริษัทฯ ไดรับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ใหป ระกอบการโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป ลําดับ ๕๒ (๓) ตง้ั แตว นั ที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๓๘
ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นสอดคลองกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคาํ รอ ง

มติที่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน
(สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๑๑ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดสุราษฎรธานีกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานี

เร่อื งท่ี ๖ ขอเปลย่ี นแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๘ (บางสวน) เปนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา
(สีมวง)

ผูรอง 1 ฉบับ 1 ราย คือ บริษัท พี.ซี.ปาลม (๒๕๕๐) จํากัด โดยนางสุมาลี
อดุ มลาภ

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากในปจจุบันท่ีดินแปลงดังกลาวไดใชประโยชน
ท่ีดินเพ่ือประกอบกิจการอุตสาหกรรมโรงงานสกัดน้ํามันปาลม ลําดับที่ ๗ (๑)
และมีโครงการตอเนอ่ื งทีจ่ ะนาํ วสั ดุเหลอื ใชจ ากการผลติ มาใชป ระโยชนผลิตกระแสไฟฟา

- 388 -

ลําดบั ที่ เร่ือง/มติ อา งอิง

(ครัง้ ท/ี่ วันทป่ี ระชมุ )

จากการบําบัดน้ําเสีย (โรงงานลําดับท่ี ๘๘) และโรงงานลําดับท่ี ๘๙ และเศษทะลาย

ปาลมมาผลิตไฟฟาจากชีวมวล โดยบริษัทไดรับอนุญาตจากอุตสาหกรรม

จังหวัดสุราษฎรธานี ใหประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมลําดับที่ ๗ (๑) ต้ังแต

วันท่ี ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารองโดยมีเงื่อนไข ใหแกไขในขอกําหนดการใชประโยชนที่ดนิ ประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๘ เฉพาะบริเวณท่ีดินที่ผูรองไดย่ืน

คํารอง โดยใหสามารถดําเนินการเกี่ยวกับโรงงานลําดับที่ 89 ได เน่ืองจากโรงงาน

ลาํ ดบั ดงั กลาว เปน โรงงานท่เี ก่ียวเน่ืองกับโรงงานลําดับที่ 7 (1)

มติทีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๘ ไวตาม
รางผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานีกําหนด แตใหแกไข
ขอกาํ หนดใหสามารถดําเนนิ การเกยี่ วกับโรงงานลาํ ดบั ที่ ๘๙
ไดเฉพาะบริเวณที่ดินที่เปนกรรมสิทธ์ิครอบครองโดยชอบ
ดวยกฎ หมายของผูรองท่ีไดยื่นคํารองมา ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมือง และคณะท่ีปรกึ ษาผงั เมืองรวมจังหวดั สุราษฎรธ านี

เรื่องท่ี ๗ ขอเปล่ยี นแปลงการใชประโยชนทดี่ นิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข 3.16 (บางสวน) เปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลังสินคา (สมี วง)

ผรู อง จํานวน 1 ฉบบั 1 ราย คือ บรษิ ทั วงศบัณฑติ จาํ กดั โดยนายวทิ ยา มากสนิ
เหตุผลในการขอแกไข บริษัทฯ ไดรับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ใหประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป ลําดับ ๕๒ (๓) ตั้งแตวันท่ี ๒๒ มิถุนายน
๒๕๓๖
ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเหน็ สอดคลอ งกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง

มติทปี่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๖
ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานีกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมอื ง และคณะทีป่ รกึ ษาผงั เมอื งรวมจงั หวดั สรุ าษฎรธานี

- 389 -

ลาํ ดบั ท่ี เรื่อง/มติ อางอิง

(ครงั้ ที/่ วันทป่ี ระชมุ )

เรื่องท่ี ๘ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๖ (บางสวน) เปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม

และคลงั สินคา (สีมว ง)

ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย คือ บริษัท ดับบลิวเอชเอ คอรปอเรช่ัน จํากัด

(มหาชน)

เหตุผลในการขอแกไข บริษัทตองการดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับอุตสาหกรรม

และคลังสนิ คา

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคาํ รอง

มติทปี่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๖ ไวตามราง
ผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานีกําหนด ตามมติคณะอนุ
กรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทป่ี รึกษาผังเมืองรวมจังหวดั สรุ าษฎรธ านี

คํารองดา นขอกาํ หนดการใชประโยชนท ี่ดนิ (จํานวน 7 เร่ือง)
เร่ืองท่ี ๑ ขอแกไขหรือยกเวนขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๒๐ (บางสวน)
ขอ ๙ (๙) การประกอบอุตสาหกรรมที่มีพื้นที่ประกอบการท้ังหมดรวมกัน
เกิน ๑๐,๐๐๐ ตารางเมตร เวนแตในบริเวณระยะ ๑,๐๐๐ เมตร จากริมทางหลวง
แผนดินหมายเลข ๔๑ ทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔๔ ทางหลวงแผนดินหมายเลข
๔๐๑ ใหดําเนินการได โดยอาคารแตละหลังจะมีขนาดไมเกิน ๑๐,๐๐๐ ตารางเมตร
และตองอยูหางจากริมเขตทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔๑ ทางหลวงแผนดิน
หมายเลข ๔๔ ทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔๐๑ ไมนอยกวา ๒๐ เมตร และหาง
จากแมนํ้าลําคลอง หรือแหลงนํ้าสาธารณะ ไมนอยกวา ๕๐ เมตร เปน
ไมติดขอกําหนดและใหสามารถประกอบกิจการโรงงานลําดับท่ี ๘๘ เพ่ือผลิตพลังงาน
ไฟฟา โดยใชพลังงานทดแทน จากการใชชวี มวลเปน เชื้อเพลงิ
ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย คือ บริษัท นาสาร คลีน เพาเวอร จํากัด
โดยนายเทวนิ อาวัลย
เหตุผลในการขอแกไ ข
1) บริษัทจะดําเนินการกอสรางโรงงานลําดับที่ ๘๘ เพ่ือผลิตไฟฟา
โดยใชพ ลังงานทดแทนจากการใชช วี มวลเปน เช้อื เพลงิ
2) บริษัทเร่ิมดําเนินการมาตั้งแตตนป ๒๕๕๗ โดยไดดําเนินการชี้แจง
ผูมีสวนไดเสีย (ประชาคม) ชวงวันที่ ๑ – ๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ และเทศบาลตําบล
ทาชี ไดเห็นชอบใหดําเนินโครงการ ในวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ และไดซ้ือท่ีดิน
จํานวน ๖๘ ไร ๒ งาน ๕ ตารางวา มลู คา ๑๗ ลานบาทโดยไดดําเนนิ การออกแบบ

- 390 -

ลําดับท่ี เร่ือง/มติ อางอิง

(ครั้งท/่ี วันทีป่ ระชมุ )

รายละเอียดแผนผังการดําเนินงาน มีเน้ือท่ี ๑๐๙,๖๐๐ ตารางเมตร มาตั้งแต

ตนป ๒๕๕๗ โดยคาดวาปลายป ๒๕๕๙ จะผลิตเปน เชิงพาณิชย

3) โครงการโรงไฟฟาชีวมวลเปนโครงการท่ีไดรบั การสนับสนุนจากกระทรวง

พลังงาน โดยประโยชนท่ีจะไดรับ คือ การสรางงานแกประชาชนในทองถ่ิน

สรางรายไดใหแกทองถ่ิน แกปญหาไฟตกไฟดับในสวนภูมิภาค ประชาชนมีรายได

จากการขายวสั ดุเหลอื ท้ิงจากเกษตรกรรม เชน ปกไม ปลายไม

4) ปจจุบันอยูระหวางดําเนินการขออนุญาตเก่ียวกับสัญญาขายไฟฟา

กับการไฟฟาสวนภูมิภาค ขออนุญาตประกอบการ ขอรับการสงเสริมการลงทุน

ขออนุญาตผลิตและจาํ หนา ยไฟฟา

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นสอดคลองกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ใหตามคํารองบางสวน โดยใหแกไขในขอกําหนด ขอ 9 (9) ใหพื้นท่ีของผูรอง

สามารถดําเนินการประกอบอุตสาหกรรมท่ีมีพื้นที่ประกอบการรวมกันเกิน

10,000 ตารางเมตร ไดโดยอาคารแตละหลังจะมีขนาดไมเกิน 10,000 ตารางเมตร

และตองอยูหางจากริมถนนไมนอยกวา 20 เมตร และหางจากแมนํ้า ลําคลอง

หรือแหลงนํ้าสาธารณะไมนอยกวา 50 เมตร เพื่อใหผูประกอบการสามารถดําเนิน

กิจการพลังงานทางเลอื กซึ่งเปนนโยบายของรฐั ได

มตทิ ีป่ ระชุม ใหตามคํารองบางสวน โดยใหแกไขขอกําหนดการใช
ประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
บริเวณหมายเลข ๓.๒๐ (บางสวน) ขอ ๙ (๙) ใหสามารถ
ดําเนินการประกอบอุตสาหกรรมที่มีพื้นท่ีประกอบการ
รวมกันเกิน ๑๐,๐๐๐ ตารางเมตรได โดยอาคาร แตละหลัง
จะมขี นาดไมเ กิน ๑๐,๐๐๐ ตารางเมตร และตอ งอยูห า งจาก
ริมถนนไมนอยกวา ๒๐ เมตร และหางจากแมน้ํา ลําคลอง
หรือแหลงน้ําสาธารณะ ไมนอยกวา ๕๐ เมตร เฉพาะบริเวณ
ท่ีดินท่ีเปนกรรมสิทธิ์ครอบครองโดยชอบดวยกฎหมาย
ของผูรองที่ไดย่ืนคํารองมา ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผังเมอื งรวมจังหวดั สรุ าษฎรธานี

เร่ืองท่ี ๒ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขยี ว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๗ เก่ียวกบั โรงงาน โดยใหส ามารถ
ประกอบโรงงานลําดับที่ ๑๖ โรงงานลําดับท่ี ๔๙ โรงงานลําดับท่ี ๕๐ โรงงาน
ลาํ ดับท่ี ๕๙ โรงงานลาํ ดบั ท่ี ๖๐ และโรงงานลําดบั ที่๘๙ ได

ผรู อ ง จาํ นวน 1 ฉบบั 1 ราย ไดแก นางนฤมล อศั วลาภนิรนั ดร

- 391 -

ลําดบั ท่ี เรือ่ ง/มติ อางอิง

(ครง้ั ที่/วนั ทป่ี ระชมุ )

เหตุผลในการขอแกไข ผูรองเล็งเห็นถึงศักยภาพและโอกาสเติบโต

ทางเศรษฐกิจ สังคม และการลงทุนท่ีจะเกิดข้ึนในพื้นที่ เพราะพ้ืนที่ดังกลาว

มเี สน ทางคมนาคมทเี่ หมาะสม และปจ จุบนั มีผูประกอบกจิ การจํานวนมากไดเลือก

ดําเนินธุรกิจ แตขอกําหนดทางผังเมืองหามมิใหประกอบกิจการโรงงานกวา

๑๙ ประเภท และ ในหลายประเภทก็ไมใชโ รงงานที่กอใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม

หรือชมุ ชน ทําใหโ อกาสในการประกอบกิจการโรงงานถูกจาํ กัดลง และเปนการลด

มูลคาของที่ดนิ ลง

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนกุ รรมการพจิ ารณาคํารอ งฯ มมี ติสอดคลอ งกนั คือ เหน็ ควรยกคาํ รอง

มติทป่ี ระชุม ยกคํารอ ง โดยใหค งขอ กําหนดการใชป ระโยชนท ี่ดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๗
เก่ียวกับขอหามโรงงานไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัด
สุราษฎรธานีกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคาํ รอ งฯ กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง และคณะทีป่ รกึ ษา
ผงั เมอื งรวมจงั หวดั สุราษฎรธ านี

เร่ืองท่ี ๓ ขอแกไ ขขอกาํ หนดการใชป ระโยชนทดี่ ิน จาํ นวน ๒ ประเด็น ดังน้ี
1) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๒
(บางสวน) ขอ ๙ (๒) ขอยกเลิกขอหามโรงงานลําดับที่ ๘๘ ท่ีเปนโรงงานผลิตพลังงาน
ไฟฟาจากนิวเคลียรและถานหิน เปนใหสามารถประกอบกิจการโรงงานผลิตพลังงาน
ไฟฟาถา นหินได
2) ที่ดินประเภทที่โลงเพ่ือการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม (สีฟา) บริเวณ
หมายเลข ๖.๕ (บางสวน) ขอ ๑๒ (๒) ขอใหแกไขขอกําหนดจากเดิม ใหสามารถ
ประกอบกิจการทาเทียบเรือ รวมท้ังระบบลําเลียงสินแรเพ่ือใชในกิจการผลิต
พลังงานไฟฟาได
ผูร อง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแ ก นายมงคล ธรรมฤทธ์ิ (นายกองคการ
บริหารสวนตาํ บลคนั ธลุ )ี
เหตุผลในการขอแกไข เพื่อเปดโอกาสใหมีการพัฒนาโครงการโรงงานผลิต
พลังงานไฟฟาถานหินในพื้นท่ีองคการบริหารสวนตําบลคันธุลีได ซึ่งจะทําให
ประชาชนและชุมชนในพื้นที่รัศมี ๕ กิโลเมตร จากท่ีตั้งโรงไฟฟาไดรับประโยชน
จากกองทุนพัฒนารอบโรงไฟฟา เกดิ การสรางงาน การกระจายรายได พัฒนากิจกรรม
ในชุมชนดานตาง ๆ เชน การพัฒนาอาชีพ การสนับสนุน ดานการศึกษา ศาสนา
วัฒนธรรม ประเพณี สาธารณสุข และสิ่งแวดลอม และเปนการเพิ่มความม่ันคง
ทางพลงั งานในประเทศไทย
ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มีความเห็นสอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุราษฎรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนกุ รรมการผังเมอื งพจิ ารณาคาํ รองฯ มมี ติสอดคลองกนั คอื เห็นควรยกคาํ รอง


Click to View FlipBook Version