The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปมติสำคัญของคณะกรรมการผังเมือง เล่มที่ 17

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DPT eBook, 2021-03-09 02:13:09

สรุปมติสำคัญของคณะกรรมการผังเมือง เล่มที่ 17

สรุปมติสำคัญของคณะกรรมการผังเมือง เล่มที่ 17

- 192 -

ลาํ ดบั ที่ เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครง้ั ท่ี/วนั ท่ีประชมุ )

๑) ขอ ๘ ขอยกเลิกขอหามการประกอบกิจการ โรงงานลําดับที่ ๘๘ (๑)

(๒) (๓) ใหสามารถดาํ เนนิ การไดใ นพน้ื ที่

๒) ขอ ๘ ขอยกเลิกขอหามการประกอบกิจการโรงงานลําดับที่ ๘๘ (๑)

(๒) (๓) ใหสามารถดาํ เนนิ การไดในอาคารสงู หรืออาคารขนาดใหญพเิ ศษได

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ๑ เรื่อง ไดแก บริษัท อุสาหกรรมนํ้าตาลอีสาน

จาํ กดั

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากมีแผนการขยายอาคารโรงงาน

และสํานักงานในอนาคตและมีความจําเปนในกระบวนการผลิต ท่ีจําเปนตองใช

อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษในกระบวนผลิตไฟฟาจากความรอน ซึ่งเปน

ผลมาจากกระบวนการบําบัดของเสียจากการผลิตนํ้าตาล โดยผลพลอยไดจะเปน

การนําพลังงานกลบั มาใชใหม การลดของเสียจากการผลิต

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเห็นตา งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ คือ เห็นควรใหตามคํารอง

เน่ืองจากในพื้นท่ีสีเขียวควรมีการประกอบกิจการตอเน่ืองท่ีจะสงเสริมพ้ืนท่ี

ทางการเกษตรกรรม เพ่ือรองรับการขยายตัวในอนาคต อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ

พิเศษควรเอือ้ ตอกิจกรรมเพ่ือสง เสรมิ กระบวนการผลติ ทางการเกษตร

มติทปี่ ระชมุ ใหตามคํารอง โดยใหยกเลกิ ขอหามขอกําหนดการใชประโยชน
ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ
หมายเลข ๓.๓ โรงงานลําดับที่ ๘๘ (๑) (๒) (๓) ใหสามารถ
ดําเนินการไดในพื้นท่ีและในอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษ
ไดเฉพาะในพ้ืนที่ที่ผูรองมีกรรมสิทธิ์ และไดยื่นคํารองมา ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารอง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมอื งรวมจังหวัดกาฬสินธุ

38. เรอ่ื ง คํารองผงั เมอื งรวมจังหวัดสโุ ขทยั ครง้ั ที่ 10/๒๕๕8

ผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัย ไดดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม วนั ที่ 4 ก.ย. 58

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง รวมพ้ืนท่ีประมาณ ๖,๕๙๖ ตารางกิโลเมตร วาระท่ี 4.1.6

หรือประมาณ ๒,๗๑๒,๓๙๔ ไร ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง หนา 56 - 67

เม่ือวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๘ ไดนําไปปดประกาศ ๙๐ วัน เพ่ือใหประชาชน

ผูมีสวนไดเสียไปตรวจดูและยื่นคํารอง ต้ังแตวันท่ี ๑๕ พฤษภาคม – ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘

เมอื่ ครบกาํ หนดมีคํารองดานการใชประโยชนท่ีดิน จาํ นวน ๕ ฉบับ ๘ ราย ๓ เรอื่ ง

คํารองดานขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน จํานวน ๗ ฉบับ ๑๑ ราย ๕ เร่ือง

คาํ รองอนื่ ๆ จํานวน ๑ ฉบับ ๕ ราย ๑ เร่อื ง รายละเอียดปรากฏ ดังนี้

คาํ รองดานการใชประโยชนท ดี่ ิน (จาํ นวน ๓ เร่อื ง)

เรื่องที่ ๑ ขอเปล่ียนแปลงท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

บริเวณหมายเลข ๓.๑ (บางสวน) เปน ที่ดนิ ประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สนิ คา (สมี วง)

ผูรอ ง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บรษิ ทั นํ้าตาลทิพยส ุโขทัย จาํ กัด

- 193 -

ลําดับที่ เรื่อง/มติ อางอิง

(คร้งั ท/ี่ วนั ทีป่ ระชมุ )

เหตุผลในการขอแกไข บริษัทไดใชประโยชนที่ดินในการกอสรางโรงงาน

อุตสาหกรรมผลิตน้ําตาลทรายและโรงไฟฟา ชีวมวล โรงงานปุยอินทรีย

และในอนาคตมีแผนจะพัฒนาพ้ืนที่ดังกลาวเปนนิคมอุตสาหกรรมผลิตน้ําตาลทราย

และอุตสาหกรรมตอเน่ือง เชน โรงงานผลิตเอทานอล โรงงานไบโอพลาสติก

โรงงาน Poly Lactic Acid และอ่ืน ๆ ซ่ึงไมกอใหเกิดผลกระทบกับสภาพแวดลอม

ของทอ งถิ่นโดยใชว ตั ถดุ ิบหลกั (ออย) ของเกษตรกร

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ ตางกัน)

คณะทีป่ รึกษาผังเมืองรวมจงั หวัดสุโขทยั เห็นควรใหต ามคํารอ ง

กรมโยธาธิการและผังเมือง เห็นควรยกรอง โดยใหคงการใชประโยชน

ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัด

สุโขทัย

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรใหตามคํารอง โดยมี

เงื่อนไข ๓ ประการ ดังน้ี

๑. ใหเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท ี่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑ บางสวน เฉพาะบริเวณพ้ืนที่ที่เปนกรรมสิทธิ์

หรือสิทธิครอบครองโดยชอบที่มีอยูเดิมของบริษัทผูรอง (บริษัท น้ําตาลทิพย

สุโขทัย จํากัด) เปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสนิ คา (สีมวง) โดยขอบเขต

บริเวณที่ดินทแ่ี กไขอยูในตําบลบานตึก และตําบลดงคู อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทยั

ตามหลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์ท่ีดินเปนโฉนดที่ดิน จํานวน ๖๒ ฉบับ และ นส.๓ก/นส.๓

จาํ นวน ๗๔ ฉบบั รวมจาํ นวน ๑๓๖ ฉบับ พ้ืนที่รวมประมาณ ๑,๙๑๖ – ๑ - ๑๔ ไร

๒. ใหดาํ เนินการไดเ ฉพาะกิจการโรงงาน จาํ นวน ๖ ประเภท ดังนี้

๒.๑ ลําดับที่ ๑๑ (๓) (๔) โรงงานผลิตนํ้าตาลดิบ นํ้าตาลทรายขาว

และนา้ํ ตาลทรายขาวบริสุทธ์ิ

๒.๒ ลําดับท่ี ๑๗ โรงงานเอทานอล

๒.๓ ลาํ ดับท่ี ๔๓ (๑) โรงงานการทําปยุ อินทรีย

๒.๔ ลําดบั ท่ี ๕๓ (๕) โรงงานไบโอพลาสตกิ โรงงาน Poly Lactic Acid

๒.๕ ลาํ ดบั ที่ ๘๘ (๒) โรงงานไฟฟา ชวี มวล

๓. อาคารโรงงานของบริษัทผูรอง ตองมีระยะหางจากแมน้ํา ลําคลอง

หรือแหลงนํ้าสาธารณะไมนอยกวา ๑๕ เมตร ตองมีระยะหางจากทางหลวง

หรือถนนสาธารณะ ไมนอยกวา ๑๕ เมตร และตองมีระยะหางจากเขตอนุรักษปาไม

ไมน อยกวา ๕๐ เมตร

มตทิ ป่ี ระชมุ ใหตามคํารอง โดยใหเปล่ียนแปลงท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑ บางสวน
เปนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง)
ต า ม ม ติ ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ผั ง เ มื อ ง พิ จ า ร ณ า คํ า ร อ ง ฯ
และคณะทป่ี รึกษาผงั เมอื งรวมจังหวดั สโุ ขทัย เฉพาะบริเวณ
พ้นื ทเี่ ปน กรรมสิทธ์ิท่ดี นิ ของผูรองทย่ี ่ืนขอมา และจะตองมี

- 194 -

ลาํ ดับท่ี เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครั้งที/่ วันท่ีประชุม)

ระยะหางจากแนวเขตอนุรักษปาไมไมนอยกวา ๕๐ เมตร

มีระยะหางจากทางหลวงหรือถนนสาธารณะ แมนํ้า ลําคลอง

และแหลงนํ้าสาธารณะ ไมนอยกวา ๑๕ เมตร และใหสามารถ

ดาํ เนนิ การไดเ ฉพาะประเภทโรงงานท่ีผูรองยน่ื ขอมาเทา นน้ั

เร่อื งท่ี ๒ ขอเปลีย่ นแปลงการใชประโยชนทด่ี นิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๓, ๓.๑๔ และ ๓.๑๕ เปนการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชุมชน (สชี มพ)ู ในเขตบริเวณตําบลบานกลว ย ตาํ บลปากแคว และตําบลบา นหลุม

ผรู อง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๕ ราย ไดแ ก
๑. หอการคา จังหวดั สโุ ขทัย
๒. ชมรมโรงแรมจังหวดั สโุ ขทยั
๓. สมาคมการทอ งเที่ยวจงั หวดั สุโขทัย
๔. สมาคมพอ คา จงั หวดั สโุ ขทัย
๕. สภาอุตสาหกรรมจงั หวัดสโุ ขทัย
เหตุผลในการขอแกไข
๑. เนอ่ื งจากพนื้ ทใ่ี นเขตอําเภอเมอื งสโุ ขทยั มคี วามเจริญมากขน้ึ มคี วามจําเปน
ทจี่ ะตอ งขยายพื้นทีเ่ มืองเพื่อรองรบั การขยายตวั ของชมุ ชน
๒. พ้ืนท่ีสีเขียวโดยรอบการใชประโยชนที่ดินหมายเลข ๑.๗ มีความเจริญ
มากขึ้น จึงสมควรเปลย่ี นพน้ื ทีใ่ หเ ปนทด่ี นิ ประเภทชมุ ชน
๓. หากประกาศเปนพื้นที่สีเขียว จะไมสามารถดําเนินการขออนุญาต
กอสรา ง ซ่ึงเปนผลตอ การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ของจงั หวัดสโุ ขทยั
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัย กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๓, ๓.๑๔ และ ๓.๑๕ ไวตามท่ีรางผังเมืองรวม
จงั หวดั กําหนด

มตทิ ่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๓, ๓.๑๔
และ ๓.๑๕ เขตบริเวณตําบลบานกลวย ตําบลปากแคว
และตําบลบานหลุม ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัย
กําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม
จงั หวัดสโุ ขทยั

เรอื่ งที่ ๓ ขอเปลยี่ นแปลงการใชประโยชนทดี่ นิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สเี ขียว) บริเวณหมายเลข ๑.๗ เปน ท่ีดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลอื ง)

- 195 -

ลาํ ดบั ที่ เร่ือง/มติ อา งอิง

(คร้งั ท่/ี วันท่ีประชมุ )

ผูรอง จํานวน ๓ ฉบับ ๓ ราย ไดแก นางฉัตรพิกุล โชติสุข และผูรองอ่ืน

รวม ๓ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากสภาพชุมชนในเขตพ้ืนท่ีของขาพเจา

มีความเปล่ียนแปลงไปอยางชัดเจนไมไดทําเกษตรกรรมเหมือนแตกอน จึงขอใหมี

การเปล่ยี นแปลงพน้ื ทีส่ ีเขยี วเปน พืน้ ทสี่ เี หลอื ง (ท่ีดินประเภทอยูอาศยั หนาแนนนอ ย)

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัย กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู) บริเวณ

หมายเลข ๑.๗ ไวตามทร่ี างผังเมืองรวมจงั หวัดกําหนด

มตทิ ีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๑.๗
ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัยกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมอื ง และคณะทป่ี รกึ ษาผังเมอื งรวมจังหวัดสุโขทยั

คํารองดานการแกไขขอ กาํ หนดการใชประโยชนท่ีดนิ (จํานวน ๕ เรอ่ื ง)
เร่ืองท่ี ๑ ขอแกไขขอกําหนดในขอหาม ขอท่ี ๙ (๑) โรงงาน ตามประกาศ
กระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง มาตรการคุมครองความปลอดภัยในการดําเนินงาน
(ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒ เวนแตโรงงานลาํ ดับที่ ๙๑ (๒) เฉพาะโรงงานบรรจุกาซ
สําหรับกาซธรรมชาติ และขอที่ ๙ (๒) โรงงานประเภทอื่น นอกจาก (๑) ที่ไมมี
ระบบวิธีการควบคุมการปลอยของเสีย มลพิษ หรือสิ่งใด ๆ ที่มีผลกระทบ
ตอสง่ิ แวดลอม ตามกฎหมายวา ดวยโรงงาน
ผรู อ ง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก เทศบาลเมืองสวรรคโลก
เหตุผลในการขอแกไข เทศบาลเมืองสวรรคโลก จะกอสรางศูนยกําจัด
ขยะชุมชนและแปรรูปขยะเปนไฟฟา อาจเขาขายเปนโรงงานตามพระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และตามขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินผังเมืองรวมจังหวัด
สุโขทัย ไดกําหนดการใชประโยชนที่ดินบริเวณที่ต้ังศูนยกําจัดขยะฯ เปนพื้นท่ี
สีเขียว ตามขอ ๙ และหามใชประโยชนท่ีดินเพื่อกิจการ ตามขอ ๙ (๑) และ ๙ (๒)
ทําใหพ้ืนที่ดังกลาว อาจจะไมสามารถดําเนินการกิจการดังกลาวได ซึ่งจะทําให
ประสบปญหาในการจัดการขยะอยางมาก และประชาชนไดรับความเดือดรอน
เทศบาลฯ จึงรองขอใหคณะกรรมการผังเมืองไดโปรดพิจารณาปรับปรุง แกไข
แผนผัง ขอ กําหนด และรายการประกอบแผนผงั ผงั เมืองรวมจงั หวดั สโุ ขทัยในพ้นื ทด่ี ังกลาว
ใ ห ส า ม า ร ถ จั ด ตั้ ง ศู น ย กํ า จั ด ข ย ะ ชุ ม ช น ด ว ย วิ ธี ก า ร แ ป ร รู ป เป นพลั งงานไฟฟ า
ตามแผนปฏิบัติการของจังหวัดสุโขทัยที่จะทําใหศูนยกําจัดขยะฯ ของเทศบาล
เมืองสวรรคโลกเปนสถานท่ีกําจัดขยะของหนวยงานองคกรปกครองสวนทองถิ่น
ในกลมุ โซนเหนือ ตอ ไป

- 196 -

ลาํ ดบั ท่ี เรือ่ ง/มติ อางอิง

(ครั้งท/ี่ วันท่ปี ระชมุ )

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัย กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สเี ขียว) ไวต ามทร่ี า งผังเมืองรวมจงั หวัดกําหนด

มตทิ ี่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๙
ขอหามโรงงานลําดับท่ี ๙๑ (๒) และขอ ๙ (๒) โรงงานที่ไมมี
ระบบวิธีการควบคุมการปลอยของเสียฯ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดสุโขทัยกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมอื งรวมจังหวดั สุโขทยั

เรื่องที่ ๒ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขยี ว) ดงั นี้

ขอ ๙ (๑) ขอใหสามารถกอสรางโรงงานลําดับที่ ๘๙ โรงงานท่ีผลิตกาซ
ซ่ึงมิใชก าซธรรมชาติ เฉพาะโรงงานกา ซชีวภาพ

ขอ ๙ (๓) ขออนุญาตสรางคลังนํ้ามันและสถานท่ีเก็บรักษานํ้ามัน
ลักษณะท่ีสาม ตามกฎหมายวาดวยการควบคุมนํ้ามันเช้ือเพลิง เพื่อการจําหนาย
ไดในพืน้ ที่

ผรู อ ง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก บริษทั น้าํ ตาลไทยเอกลักษณ จํากัด
เหตุผลในการขอแกไข บริษัท น้ําตาลไทยเอกลักษณ จํากัด มีที่ดิน
อยูในตําบลในเมือง อําเภอสวรรคโลก จํานวน ๑,๓๐๗ ไร ๒ งาน ๔๘ ตารางวา
เพ่ือดําเนินการลงทุนในการผลิตเอทิลแอลกอฮอล และพลังงานไฟฟาโดยใชวัตถุดิบ
จากออยเปนหลัก ซึ่งในปจจุบันบริเวณนี้เปนแหลงออยใหญที่ชาวไรออยปลูกออย
และสงออยไปโรงงานนํ้าตาลท่ีอยูหางออกไป ตองเสียคาใชจายในการขนสงออย
ปละกวา ๑๐๐ ลานบาท หากมีการจดั ตง้ั โรงงานที่ใชออยเปนวัตถุดบิ ในบริเวณนจ้ี ะชวยลด
คาใชจายใหกับชาวไรออยไดในการดําเนินงานของโครงการจะจัดใหมีระบบบําบัด
น้ําเสียจากขบวนการผลิต อาจเลือกใชระบบบําบัดแบบไรอากาศ ซึ่งจะเกิดกาซ
ชีวภาพขึ้น จึงอาจเขาขายโรงงานลําดับที่ ๘๙ ซึ่งอยูในขอหามตามขอกําหนดการใช
ประโยชนท่ีดินขอ ๙ (๑) และโรงงานจะมีถังเก็บเอทิลแอลกอฮอลและนํ้ามัน
จึงอยใู นขอ หามตามขอกาํ หนดการใชป ระโยชนที่ดิน ขอ ๙ (๓)
ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเหน็ ตา งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัย เห็นควรใหตามคํารอง โดยกําหนด
ใหสามารถดําเนินการตามขอหามขอ ๙ (๑) และ ๙ (๓) ไดในบริเวณท่ีดิน
ของบริษัท นํ้าตาลเอกลักษณ จํากัด ซ่ึงอยูในบริเวณท่ีดินหมายเลข ๓.๘ จํานวน
พื้นท่ี ๑,๓๐๗ ไร ๒ งาน ๔๘ ตารางวา เน่ืองจากพื้นที่ดังกลาวปจจุบันมีการประกอบ
กิจการอุตสาหกรรมผลิตเอทิลแอลกอฮอลใ นพื้นที่อยูแลว และอตุ สาหกรรมฯ ดังกลาว

- 197 -

ลาํ ดับท่ี เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครงั้ ท่/ี วันที่ประชมุ )

จําเปนท่ีจะตองใชกาซในการผลิตกระแสไฟฟา และประกอบกับแหลงผลิตออย

ซง่ึ เปน วตั ถดุ บิ หลกั อยใู นบรเิ วณพนื้ ท่ีโดยรอบโรงงานจึงเหน็ ควรใหประกอบกิจการ

ทีเ่ กี่ยวของตามคาํ รอง
กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง

๑. เห็นควรใหตามคํารองบางสวน โดยใหแกไขขอกําหนดการใช

ประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ในบริเวณพ้ืนที่คํารอง

ตามกรรมสิทธ์ิของผูรอง ในสวนที่เก่ียวกับขอหาม (๑) โดยเพิ่มขอยกเวนโรงงาน

ลําดบั ท่ี ๘๙ เฉพาะโรงงานกา ซชีวภาพ ใหดาํ เนนิ การได เน่ืองจากโรงงานของผูรอง

เปนโรงงานท่เี กยี่ วกับการผลิตพลังงานทดแทนตามนโยบายของรัฐบาล

๒. เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอหามคลังนํ้ามันและสถานท่ีเก็บรักษา

น้ํามัน ลักษณะท่ีสามตามกฎหมายวาดวยการควบคุมนํ้ามันเช้ือเพลิงเพ่ือการจําหนาย

เนือ่ งจากเจตนารมณของการกําหนดขอ หามคลงั นา้ํ มันและสถานทเี่ ก็บรักษาน้ํามัน

เปนไปเพอื่ ความปลอดภัย

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรใหตามคํารอง

โดยใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) ขอ ๙ (๑) ใหผรู อ งสามารถดําเนินกิจการโรงงานลําดับที่ ๘๙ เฉพาะโรงงาน

กาซชีวภาพ และเหน็ ควรยกคํารองเก่ียวกบั ขอกําหนด ขอ ๙ (๓) การดาํ เนินการกจิ การ

คลังน้ํามันและสถานที่เก็บรักษานํ้ามัน ลักษณะท่ีสามตามกฎหมายวาดวยการควบคุม

น้ํามันเช้ือเพลิงเพื่อการจําหนายได ท้ังนี้ มีเงื่อนไขใหดําเนินการไดในที่ดินประเภท

ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขยี ว) บริเวณหมายเลข ๓.๘ บางสวน เฉพาะบรเิ วณท่ีดิน

ของผูรอง (บริษัท นํ้าตาลไทยเอกลักษณ จํากัด) จํานวนพ้ืนที่ประมาณ ๑,๓๐๗ –

๒ - ๔๘ ไร

มตทิ ปี่ ระชุม ใหตามคํารองบางสวน โดยใหแกไขขอกําหนดการใช
ประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
บริเวณหมายเลข ๓.๘ ใหขอ ๙ (๑) โรงงานลําดับที่ ๘๙
โรงงานที่ผลิตกาซซึ่งมิใชกาซธรรมชาติ เฉพาะโรงงานกาช
ชีวภาพ สามารถดําเนินการไดเฉพาะในบริเวณที่ดินของผูรอง
ตามกรรมสิทธิ์ท่ีดินท่ียื่นคํารองมาและใหยกคํารอง ขอ ๙ (๓)
คลังน้ํามันและสถานที่เก็บรักษาน้ํามัน ลักษณะท่ีสาม
ตามกฎหมายวาดวยการควบคุมน้ํามันเช้ือเพลิงเพ่ือการจําหนาย
ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิ จารณาคําร องฯ
และกรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง

เรือ่ งที่ ๓ มี ๒ ประเด็นยอย ดงั น้ี
๑. ขอแกไ ขขอกําหนดการใชประโยชนทดี่ ินประเภทชุมชน (สชี มพ)ู ดังน้ี
แกไขขอหาม ขอ ๗ วรรคสอง (๙) เปล่ียนแปลงยกเลิกการอยูอาศัย หรือประกอบ
พาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ เปล่ยี นแปลงเปนหา มอาคารคา ปลีก คาสง
ขนาดใหญ

- 198 -

ลาํ ดับที่ เรื่อง/มติ อา งอิง

(ครัง้ ท/ี่ วันท่ีประชมุ )

๒. ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขยี ว) ดังน้ี ยกเลกิ ขอ หา ม ขอ ๙ วรรคสอง (๕) โรงแรมตามกฎหมายวาดว ยโรงแรม

บริเวณคํารอง ที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู) และที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขยี ว)

ผรู อง จํานวน ๑ ฉบับ ๕ ราย ไดแก

๑. หอการคา จังหวัดสุโขทยั

๒. ชมรมโรงแรมจังหวดั สุโขทยั

๓. สมาคมการทอ งเท่ียวจังหวัดสุโขทยั

๔. สมาคมพอคา จังหวดั สุโขทัย

๕. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดสุโขทยั

เหตุผลในการขอแกไข

๑. ในพ้นื ท่ชี มุ ชนของจงั หวดั สุโขทยั เรม่ิ มีการขยายตวั ของชมุ ชนในหลายพ้ืนที่

หากมีการจํากัดเรื่องของการกอสรางหรือการประกอบพาณิชยกรรมประเภท

อาคารขนาดใหญ จะทาํ ใหไมส ง เสรมิ ดานการลงทุนของนักลงทนุ ในเขตพืน้ ท่ีชุมชน

ตลอดจนการขอกอสรางอาคารของภาครัฐ เชน การสรางตลาดสดขนาดใหญ

จะไมสามารถดาํ เนนิ การได

๒. สุโขทัยเปนเมืองทองเท่ียวท่ีมีความสําคัญดานประวัติศาสตร

ของประเทศ ดังนั้น เพื่อเปนการสงเสริมดานการทองเที่ยวและดานเศรษฐกิจ

จึงควรสงเสริมใหมีการอนุญาตสรางโรงแรมไดในพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขยี ว) ในผังเมอื งรวมจังหวดั สโุ ขทัย

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเหน็ ตางกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัย เห็นควรยกคํารอง เน่ืองจาก

ขอ กาํ หนดของ (ราง) ขอ กําหนดผังเมอื งรวมจงั หวัดสโุ ขทยั มีความเหมาะสมแลว

กรมโยธาธิการและผงั เมือง
๑. เห็นควรยกคํารอง โดยคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ชุมชน (สีชมพู) ในสวนที่เก่ียวของกับขอหาม (๙) ซึ่งหามการอยูอาศัย
หรือการประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ เนื่องจากพื้นที่จังหวัดสุโขทัย
ไดกําหนดพ้ืนท่ีสําหรับประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญในพ้ืนท่ี
ผังเมืองรวมเมอื ง/ชุมชนแลว
๒. เห็นควรใหตามคํารองบางสวน โดยใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชน
ที่ดินประเภทเกษตรกรรม (สีเขียว) โดยใหสามารถประกอบกิจการโรงแรม
เฉพาะประเภทที่ ๑ และ๒ ไดเนื่องจากสุโขทัยเปนเมืองทองเท่ียวทางประวัติศาสตร
ของประเทศจึงตองสงเสรมิ กิจการท่เี กยี่ วของกบั การทอ งเที่ยว
คณะอนกุ รรมการผังเมอื งพจิ ารณาคํารองฯ มี ๒ ประการ ดังน้ี
๑. เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดนิ ประเภท
ชุมชน (สีชมพู) ในสวนที่เกี่ยวกับขอหาม (๙) การอยูอาศัย หรือประกอบ
พาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญไวตามที่รางผังเมืองรวมจังหวัดกําหนด

เนื่องจากในพนื้ ท่ีจังหวัดสโุ ขทัยไดกําหนดพื้นท่ีสาํ หรับประกอบกิจการ การอยูอาศัย

- 199 -

ลําดับท่ี เร่ือง/มติ อา งอิง

(ครั้งที่/วันท่ีประชุม)

หรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ ในเขตผังเมืองรวมเมือง/
ชุมชนแลว

๒. เห็นควรใหตามคํารอง โดยใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน

ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ในสวนที่เก่ียวกับขอหาม (๕) ใหสามารถ

ประกอบกิจการโรงแรมตามกฎหมายวาดวยโรงแรมได

มตทิ ป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามการใชประโยชนที่ดิน
ประเภทชุมชน (สีชมพู) ขอ ๗ วรรคสอง (๙) การอยูอาศัย
หรอื ประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ ไวตาม
รางผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัยกําหนด และใหตามคํารอง
โดยใหแกไขขอหามการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) ขอ ๙ วรรคสอง (๕) โรงแรม
ตามกฎหมายวาดวยโรงแรม ใหสามารถดําเนินการกิจการ
โรงแรมไดเ ฉพาะโรงแรมประเภท ๑, ๒ และ ๓

เรื่องที่ ๔ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู)
บริเวณหมายเลข ๑.๗ ดังน้ี ขอแกไขเปล่ียนแปลงขอกําหนด ขอท่ี ๗ วรรคสอง
(๙) การอยูอาศัย หรอื ประกอบพาณชิ ยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ เปลย่ี นแปลง
เปนหามใชประโยชนท่ีดินเพื่อประกอบกิจการพาณิชยกรรมประเภทอาคาร
ขนาดใหญพ เิ ศษหรืออาคารสงู แทน

ผูรอง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก บริษทั สยามแมคโคร จํากัด
เหตุผลในการขอแกไข
๑. ขอกําหนดดังกลาวไมเหมาะสมหรือสอดคลองกับสภาพการณ
ความเปน จรงิ และส่ิงแวดลอมท่เี ปลย่ี นไปอยางมากในปจ จุบนั
๒. หากมีการอนุญาตกอสรางอาคารขนาดใหญพิเศษในพ้ืนที่ไดจะชวย
ทาํ ใหม ีนักลงทุน ตลอดจนผูส นใจเขา มาลงทนุ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสโุ ขทัย
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเห็นสอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัย กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน
(สีชมพู) ไวต ามท่ีรางผังเมอื งรวมจังหวัดกําหนด

มติท่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามการใชประโยชนที่ดิน
ประเภทชุมชน (สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๗ ขอ ๗
วรรคสอง (๙) การอยูอาศัย หรือประกอบพาณิชยกรรม
ประเภทอาคารขนาดใหญ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัด
สุโขทัยกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา
คํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผังเมืองรวมจังหวดั สุโขทัย

- 200 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(ครั้งที่/วนั ทีป่ ระชุม)

เรื่องท่ี ๕ ขอเปล่ยี นแปลงแกไ ขขอ กําหนดการใชป ระโยชนท ดี่ ินประเภทชุมชน

(สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๗ ขอแกไขเปล่ียนแปลงขอกําหนด ขอท่ี ๗ วรรคสอง (๙)

การอยูอาศัย หรอื ประกอบพาณชิ ยกรรมประเภทอาคารขนาดใหญ (ตัดออก)

ผูรอง จํานวน ๓ ฉบับ ๓ ราย ไดแก นางฉัตรพิกุล โชติสุข และผูรองอ่ืน

รวม ๓ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากสภาพชุมชนในเขตพ้ืนท่ีของขาพเจา

มีความเปล่ียนแปลงไปอยางชัดเจนไมไดทําเกษตรกรรมเหมือนแตกอน จึงขอใหมี

การเปล่ยี นแปลงไมค วรหา มกอสรางอาคารพาณิชยกรรม หรือพาณชิ ยกรรมขนาดใหญ

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลองกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัย กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน

(สีชมพู) ไวต ามทรี่ า งผังเมอื งรวมจงั หวัดกําหนด

มตทิ ่ีประชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามการใชประโยชนท่ีดิน
ประเภทชุมชน (สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๗ ขอ ๗ วรรคสอง
(๙) การอยูอาศัย หรือประกอบพาณิชยกรรมประเภท
อาคารขนาดใหญ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัย
กําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
จังหวดั สโุ ขทัย

คํารองดานอืน่ ๆ (จาํ นวน ๑ เร่อื ง)
เรอื่ งที่ ๑ ขอชะลอการบงั คับใชผงั เมืองรวมจังหวัดออกไปกอน
ผรู อ ง จํานวน ๑ ฉบบั ๕ ราย ไดแก นายเกษม ธาราวิวฒั น และผูร องอ่ืน
รวม ๕ ราย
เหตผุ ลในการขอแกไข ปจจุบนั พื้นท่จี งั หวดั สโุ ขทัยไดเปล่ียนแปลงไปมาก
พ้ืนที่ท่ีเคยเปนไรนากลายเปนเมือง ประชาชนเพิ่มมากขึ้น ตลาดในเมืองคับแคบ
ท่ีอยูอาศัยหนาแนน ท่ดี ินราคาแพงทําใหเกิดปญหาตาง ๆ มากมาย การท่ีผังเมืองรวม
จังหวัดสุโขทัยฉบับนี้ประกาศใชออกมาจะทําใหจังหวัดสุโขทัยอยูกับความลาหลัง
และเต็มไปดวยปญหากับชาวบานในพนื้ ที่
ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเหน็ สอดคลองกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัย กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เหน็ ควรยกคํารอง โดยใหดําเนินการตามข้ันตอนการวางผังเมอื งรวมจงั หวดั สโุ ขทยั ตอ ไป

มติท่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงรางผังเมืองรวมจังหวัดสุโขทัยไว
และใหดําเนินการตามข้ันตอนการวางและจัดทําผังเมืองตอไป
ตามมตคิ ณะอนกุ รรมการผังเมอื งพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธกิ าร
และผังเมือง และคณะทีป่ รกึ ษาผงั เมืองรวมจังหวัดสุโขทยั

- 201 -

ลาํ ดับที่ เร่อื ง/มติ อา งอิง

(ครงั้ ท/่ี วนั ทปี่ ระชุม)

39. เร่ือง คํารอ งผังเมืองรวมจังหวดั อุดรธานี คร้ังท่ี 10/๒๕๕8

ผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานี ไดดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม วนั ท่ี 4 ก.ย. 58

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง มพี ้ืนทที่ ั้งหมด ๑๑,๗๓๐ ตารางกโิ ลเมตร หรือประมาณ วาระที่ 4.1.7

๗,๓๓๑,๔๓๘ ไร ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง เม่ือวันท่ี หนา 67 - 88

๑๓ มีนาคม ๒๕๕๘ นํารางผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานีไปปดประกาศ ๙๐ วัน

เพ่ือใหประชาชนผูมีสวนไดเสียไปตรวจดูและยื่นคํารอง ตั้งแตวันท่ี ๑๕ พฤษภาคม –

๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘ เมื่อครบกําหนดมีจํานวนผูรองรวม ๑๗ ฉบับ ๑๕ ราย ๑๔ เร่ือง

เปนคํารองดานขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน จํานวน ๗ เร่ือง และคํารอง

ดานการใชประโยชนที่ดิน จํานวน ๖ เรื่อง เรื่องอ่ืน ๆ จํานวน ๑ เรื่อง ไดนําคํารอง

เสนอคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานี เมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๘

เสนอกรมโยธาธิการและผังเมือง วันท่ี ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๘ และเสนอ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เมื่อวันท่ี ๑ - ๒ กันยายน ๒๕๕๘

รายละเอยี ดปรากฏ ดงั นี้

คาํ รอ งดา นการใชป ระโยชนที่ดนิ (จํานวน ๖ เรื่อง)

เร่ืองท่ี 1 ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) บรเิ วณหมายเลข 3.11 เปน ท่ีดินประเภทอุตสาหกรรม

และคลังสินคา (สีมวง)

ผูร อง จาํ นวน ๑ ฉบบั 1 ราย ไดแก บริษทั นันทนิ ี โฮลต้งิ จาํ กัด

เหตุผลในการขอแกไข บริษัทฯ เปดประกอบกิจการ เม่ือเดือนธันวาคม 2557

เพื่อแปรรูปยางพาราจากยางแผน ยางแทง ยางเครป เปนวัตถุดิบใหกับโรงงานเพ่ือ

จําหนายตางประเทศรอยละ 95 มีพื้นที่ประมาณ ๖๑๘ ไร มีโรงงานจํานวน 3 โรง

คนงานประมาณ 1,500 คน ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน

เมื่อวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๕๘ ใหไดรับการสงเสริมอุตสาหกรรมในประเภท ๗.๘

กจิ การพัฒนาพน้ื ที่สําหรบั กิจการอุตสาหกรรมและใหไดร ับสิทธิและประโยชนตาม

พระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติ

สงเสริมการลงทุน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2544 บริษัทจึงขอเปล่ียนการใชประโยชน

ทดี่ ินประเภทชนบทและเกษตรกรรมเปนท่ดี นิ ประเภทคลงั สนิ คาและอุตสาหกรรม

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดนิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) บรเิ วณหมายเลข 3.11 ไวตามทร่ี างผงั เมืองรวมจงั หวัดกําหนด

มติทีป่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๑ ไวตามราง
ผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานกี ําหนด ตามมตคิ ณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทป่ี รึกษาผงั เมอื งรวมจงั หวดั อุดรธานี

- 202 -

ลาํ ดบั ท่ี เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(ครงั้ ที/่ วันท่ีประชุม)

เรื่องท่ี 2 ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๒ เปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม

และคลงั สนิ คา (สมี วง)
ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ 2 ราย ไดแก บริษัท ไทยนํามันสําปะหลัง

และบริษัท ไทยนํามนั สาํ ปะหลัง ๑

เหตผุ ลในการขอแกไ ข

1. บริษทั ฯ ประกอบกิจการโรงงานผลิตแปง มันสาํ ปะหลังสําเรจ็ รูปจัดอยูใน

ประเภทหรือชนิดของโรงงานลําดับที่ ๙ (๒) และประกอบกิจการโรงงานผลิตกาซ

ชวี ภาพ ซึ่งจดั อยูในประเภทหรือชนิดโรงงานลําดับท่ี ๘๙

2. บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจผลิตและจําหนายแปงมันสําปะหลังมากวา ๔๐ ป

ในป 2557 มีการจางแรงงานในทองถ่ิน ประมาณ 400 คน สงจําหนายท้ังใน -

ตางประเทศ บริษัทมีแผนจะขยายกําลังการผลิต รวมท้ังการขยายธุรกิจ

ท่ีเกี่ยวเน่ือง ในป ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ จะพัฒนาระบบการบริหารจัดการสิ่งแวดลอม

ดวยเทคโนโลยีใหม ๆ และยังไดขึ้นทะเบียนเปนผูขายคารบอนเครดิตใหกับ

UNFCC ดังนั้น หากการประกาศใชผังเมืองรวมจังหวัด บริษัทฯ ไมสามารถขยาย

กิจการประเภทลําดับ ๙ (๒) และลําดับที่ ๘๙ ได การลงทุนในเรื่องการพัฒนา

การบรหิ ารจดั การสิ่งแวดลอ มก็ยอมถูกจาํ กดั ไปดวย

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเห็นสอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สเี ขียว) บรเิ วณหมายเลข 3.12 ไวต ามทร่ี า งผงั เมืองรวมจงั หวัดกําหนด

มตทิ ี่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ ๓.๑๒ ไวตามราง
ผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานีกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทป่ี รกึ ษาผงั เมืองรวมจังหวัดอดุ รธานี

เร่ืองที่ ๓ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข 3.13 เปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา
(สมี ว ง)

ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ไดแก บริษัทเอเชีย แปซิฟคโปแตช
คอรป อเรชนั่ จํากัด และบริษทั เมอื งอุตสาหกรรมอุดรธานี จํากัด

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากที่ดินจํานวน 43 แปลง พื้นที่ 418 – 1 -
75.8 ไร บริษัท เอเชีย แปซิฟคโปแตช คอรปอเรชั่น จํากัด ไดซ้ือเพิ่มตอเนื่องจาก
บริเวณ 2.2 ท่ีมีอยูเดิม 1,260 ไร รวมท้ังสิ้น 1,681 – 1 - 96 ไร เพื่อรองรับ
การตั้งโรงแตงแรพรอ มสาธารณูปโภค ที่ดินดังกลาวเปนสวนหนึ่งในการขอประทานบตั ร
ทําเหมืองแร ตามทะเบียนคําขอท่ี 1 - 4/2547 และเปน สวนหนง่ึ ที่ระบุในรายงาน

- 203 -

ลาํ ดบั ที่ เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครั้งท่/ี วันที่ประชมุ )

การวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม (EIA) ซึ่งไดรับการพิจารณาใหความเห็นชอบจาก

คณะกรรมการผูชํานาญการ ของสํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ

กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม เมอื่ วันที่ 20 มกราคม 2557
บริษัท เมืองอุตสาหกรรมอุดรธานี จํากัด ไดดําเนินการจัดตั้งนิคม

อุตสาหกรรมอุดรธานี ในพื้นท่ีตําบลโนนสูง อําเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี

พื้นท่ี ๒,๒๑๓ – ๓ – ๓๓.๓ ไร โดยไดทําสัญญารวมดําเนินการกับการนิคม

อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) เพื่อจัดตั้งเปนนิคมอุตสาหกรรม ประเภท

อตุ สาหกรรมท่ัวไป ตามประกาศคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๒๐๙ ง ประกาศ ณ วันที่

๒๙ สงิ หาคม ๒๕๕๗

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลองกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรใหตามคํารอง โดยใหเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข 3.13 เปนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรม

และคลังสนิ คา (สีมว ง)

มติทีป่ ระชมุ ใหตามคํารอง โดยใหแกไขเปลี่ยนแปลงการใชประโยชน
ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ
หมายเลข ๓.๑๓ เ ป น ที่ ดิ น ป ร ะ เ ภ ท อุ ต ส า ห ก ร ร ม
และคลังสินคา (สีมวง) เฉพาะบริเวณที่ดินท่ีเปนกรรมสิทธิ์
ของผูรองท่ีไดย่ืนคํารองมา ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทปี่ รึกษาผงั เมอื งรวมจังหวัดอดุ รธานี

เรื่องที่ ๔ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสเี ขยี ว) บริเวณหมายเลข 4.1, 4.2,
4.3 และ 4.4

ผรู อง จํานวน ๑ ฉบับ 1 ราย ไดแ ก หอการคา จังหวดั อุดรธานี
เหตผุ ลในการขอแกไ ข
1. การกําหนดเขตพื้นท่ีอนุรักษใกลเขตเมืองมาก ไมเหมาะสม และอาจ
มกี ารทบั ซอนที่เอกชน ซง่ึ จะเปน ปญหาและสรางความสับสนในการใชผังเมืองรวม
ที่มีการใชที่ดินมากประเภทเกินไป ประกอบกับเมืองกําลังมีการขยายตัว
ตามแนววงแหวนรอบใหม
2. เขตพ้นื ทดี่ ังกลาว ถาเปนท่ีดนิ ของรฐั หรือทดี่ ินของ สปก. กค็ วรข้ึนกับ
กฎหมายของ สปก. หรือนโยบายของรัฐ ไมควรกําหนดลักษณะเฉพาะในผังเมือง
ฉบับน้ี ตลอดจนการกําหนดครั้งนี้อาจไปทับซอนและรอนสิทธ์ิของเอกชนได
และนโยบายของรัฐก็ไมแนนอน อาจปรับเปลี่ยน สปก. ไปทาํ กิจกรรมอ่ืน ๆ ในอนาคต
ซึ่งควรกําหนดพื้นทด่ี งั กลา วเปนการใชท ่ดี ินประเภทชนบทและเกษตรกรรมเทา น้ัน

- 204 -

ลําดับท่ี เรอื่ ง/มติ อา งอิง

(ครั้งท/่ี วนั ทป่ี ระชมุ )

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเหน็ ตางกัน)

คณะท่ีปรกึ ษาผงั เมอื งรวมจงั หวัดอุดรธานี เห็นควรใหต ามคาํ รอง บริเวณ

หมายเลข ๔.๑, ๔.๓ และ ๔.๔ โดยเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินจากที่ดิน

ประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว)

เปนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขยี ว) ดงั น้ี

เปลี่ยนแปลงบริเวณหมายเลข ๔.๑ (บางสวน) ใหเปล่ียนพ้ืนท่ีบริเวณ

ในระยะขนานระยะ ๑,๐๐๐ เมตร ตามทางหลวงแผนดินหมายเลข ๒ โดยวดั ระยะ

จากกึ่งกลางถนนทางหลวงแผนดินหมายเลข ๒ เปนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สเี ขยี ว) เนื่องจากเปนเสน ทางท่ีเชื่อมโยงไปยงั เขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย

เปล่ียนแปลงบริเวณหมายเลข ๔.๓ ท้ังบริเวณ เนื่องจากสภาพพ้ืนที่จริง

มีการเปลี่ยนแปลง มีอาคารพาณิชยกรรม (โชวรูมรถยนต) อาคารพาณิชย

สวนราชการ อูซ อมรถ เกาะตวั ตามริมถนนฟากตะวนั ตกของทางหลวงแผนดนิ หมายเลข ๒

เปลี่ยนแปลงบริเวณหมายเลข ๔.๔ (บางสวน) ใหเปล่ียนพื้นที่บริเวณ

ในระยะขนานระยะ ๑,๐๐๐ เมตร ตามทางหลวงแผนดนิ หมายเลข ๒ โดยวัดระยะ

จากกึ่งกลางถนนทางหลวงแผนดินหมายเลข ๒ เปนที่ดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สเี ขยี ว) เนื่องจากเปนเสนทางท่เี ช่ือมโยงไปจงั หวัดขอนแกน

เห็นควรยกคํารอง บริเวณหมายเลข ๔.๒ เนื่องจากบริเวณหมายเลข ๔.๒

เปนพ้นื ทีล่ ุม รบั น้ํา

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

มีความเหน็ สอดคลอ งกนั คอื เห็นควรยกคาํ รอง โดยใหคงการใชประโยชนท ด่ี นิ ประเภท

อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข

4.1, 4.2, 4.3 และ 4.4 ไวต ามทีร่ า งผังเมืองรวมจังหวดั กาํ หนด

มตทิ ปี่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษ
ชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยง
สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔.๑, ๔.๒, ๔.๓ และ ๔.๔ ไวตามราง
ผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานีกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมอื งพจิ ารณาคาํ รอ งฯ และกรมโยธาธกิ ารและผังเมือง

เร่ืองที่ ๕ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข 4.3
เปนทด่ี ินประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สนิ คา (สีมวง)

ผรู อง จาํ นวน ๑ ฉบบั 1 ราย ไดก  บริษทั อีสานเอนเทอรไ พรส
เหตุผลในการขอแกไ ข
1. บรษิ ัท อสี านเอนเทอรไพรส เปนผูใหเ ชา ทดี่ ินกับบริษทั น้าํ ตาลเกษตรผล
จํากัด ผูเชาไดดําเนินการจัดต้ังโรงงานตั้งแตป ๒๕๓๓/๒๕3๔ เพ่ือผลิตน้ําตาล
บนพ้ืนที่ (น.ส. 3 ก) จํานวน 27 แปลง ๘๒๑ ไร ตามใบอนุญาตประกอบกิจการ
โรงงานทะเบียนเลขท่ี ๓ - ๑๑ (๓) - ๑/๓๔ อด.

- 205 -

ลาํ ดับท่ี เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครงั้ ที่/วนั ที่ประชุม)

2. บริษัทฯ ขอแกไขเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน จากที่ดิน

ประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว)

เปนการใชประโยชนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) เพราะหาก

ประกาศผงั เมอื งรวมจังหวัดแลว ทางบริษัทจะขยายโรงงานไมได

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลองกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษชนบท

และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข 4.3

ไวต ามทรี่ า งผังเมืองรวมจงั หวัดกาํ หนด

มติทีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณ
หมายเลข ๔.๓ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานีกําหนด
ตามมติ คณะอนุ กรรมการผั งเมื องพิ จารณาคํ าร องฯ
และกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม
จงั หวดั อุดรธรนี

เร่ืองท่ี ๖ ขอสงวนสิทธิ์ในที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน
และเสน ทแยงสีขาว) หมายเลข 5.15 เพอื่ เพาะปลูกสวนยางพาราและแปรรูปยางพารา

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบบั 1 ราย ไดแ ก บริษัท เรืองอทุ ยั จาํ กดั
เหตุผลในการขอแกไข บริษัท เรืองอุทัย จํากัด มีพ้ืนที่ 86 ไร 80 ตารางวา
ในที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนและเสนทแยงสีขาว) บริษัทฯ ตองการสงวน
สิทธ์ิในที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนและเสนทแยงสีขาว) หมายเลข
5.15 เพ่อื เพาะปลูกสวนยางพาราและแปรรปู ยางพารา
ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงสงวนสิทธิ์ในท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน
และเสนทแยงสีขาว) บรเิ วณหมายเลข 5.15 ไวต ามทร่ี างผังเมืองรวมจังหวัดกําหนด

มติที่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม
(สีเขียวออนและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๑๕
ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานีกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมือง และคณะทป่ี รึกษาผงั เมืองรวมจังหวดั อดุ รธนี

คํารอ งดานการแกไ ขขอกําหนดการใชประโยชนทีด่ ิน (จํานวน 7 เร่ือง)
เร่ืองที่ 1 ขอยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลังสินคา (สีมวง) ในบริเวณหมายเลข 2.1 ขอกําหนด 8 ที่โรงงานตองมีท่ีวาง
โดยรอบแปลงทีด่ ินเพ่ือเปน แนวกันชนไมน อยกวา 50 เมตร

- 206 -

ลําดบั ท่ี เรือ่ ง/มติ อางอิง

(ครั้งท/่ี วันท่ปี ระชุม)

ผูรอง จาํ นวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแก บริษัท เมอื งอตุ สาหกรรมอุดรธานี จํากดั

เหตผุ ลในการขอแกไข

1. เนื่องจากบรษิ ทั เมอื งอุตสาหกรรมอุดรธานี จํากัด ไดด าํ เนนิ การจดั ต้ัง
นิคมอุตสาหกรรมอุดรธานี ในพ้ืนท่ีตําบลโนนสูง และตําบลหนองไผ

อําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี มีพื้นท่ี ๒,๒๑๓ ไร ๓ งาน ๓๓.๓ ตารางวา โดยไดทําสัญญา

รวมดําเนินการกับการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) เพ่ือจัดตั้ง

เปนนิคมอุตสาหกรรมประเภทอุตสาหกรรมทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการ

การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี ๑๓๑

ตอนพเิ ศษ ๒๐๙ ง ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๗

2. ขอยกเวนขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ในขอ ๘ โดยนิคม

อุตสาหกรรมอุดรธานี จะดําเนินการภายใตพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรม

แหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒ และขอบังคับคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรม

แหงประเทศไทยวาดวยมาตรฐานระบบสาธารณูปโภคส่ิงอํานวยความสะดวก

และบรกิ ารในนิคมอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๕๕

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ สอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คอื เหน็ ควร

ใหตามคํารอง โดยใหยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม

และคลังสินคา (สีมวง) ในบริเวณหมายเลข 2.1 ขอกําหนด ขอ 8 ท่ีโรงงานตองมี

ท่ีวา งโดยรอบแปลงที่ดนิ เพ่ือเปน แนวกันชนไมน อยกวา 50 เมตร

มติที่ประชุม ใหตามคํารอง โดยใหยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน
ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) ในบริเวณ
หมายเลข ๒.๑ ขอ ๘ โรงงานตองมีท่ีวางโดยรอบแปลงท่ีดิน
เพ่ือเปนแนวกันชนไมนอยกวา ๕๐ เมตร ทั้งนี้ โดยไมใหใช
บงั คับกบั นิคมอุตสาหกรรม ตามประกาศคณะกรรมการการนคิ ม
อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ตามมติคณะอนกุ รรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง และคณะทปี่ รึกษา
ผังเมืองรวมจงั หวัดอุดรธานี

เรื่องที่ 2 ขอแกไ ขทด่ี ินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขยี ว) บรเิ วณ
หมายเลข ๓.๑๒ จํานวน 2 ประเดน็ ดังนี้

1. ประเด็นแรก
- ขอยกเลิกขอหามจัดสรรท่ีดินเพ่ือประกอบการพาณิชยกรรม

ขอกาํ หนด 9 (7)
- ขอยกเลกิ ขอ หามจัดสรรทดี่ ินเพื่อการอยูอาศัย ขอกาํ หนด 9 (๖)

2. ประเด็นที่สอง ขอแกไขขอกําหนดเปน
(๗) หามจัดสรรที่ดินเพ่ือประกอบการพาณิชยกรรม เวนแต บริเวณ

หมายเลข ๓.๙ และ ๓.๑๒

- 207 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครัง้ ท/่ี วนั ทปี่ ระชุม)

(๖) หามจัดสรรท่ีดินเพ่ือการอยูอาศัย เวนแตบริเวณหมายเลข ๓.๙

และ ๓.๑๒

ผูร อง จาํ นวน 4 ฉบับ 2 ราย (นางวิไล พรมจักร และนายวัชรินทร ภัยหลกี ล้)ี

เหตุผลในการขอแกไข การกําหนดขอหามในขอ ๙ (๗) (๖) เปนการรอนสิทธ

ท่ีดิน เน่ืองจากท่ีดินอยูใกลถนน ๒๑๐ บริเวณสะพานบานปากดง บริเวณโรงเรียน

หนองขนุ เหลา หลักวิทยา กิโลเมตรท่ี 9 - ๑๐ ตองการพฒั นาพนื้ ทเ่ี พอื่ รองรับการขยายตัว

ของชุมชนและธุรกจิ เพ่อื พฒั นาเศรษฐกิจในอนาคตตามขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดนิ

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มคี วามเห็นตางกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานี เห็นควรใหตามคํารอง

ในประเดน็ ที่ ๑ โดยใหก าํ หนดท่ดี ินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขียว) บริเวณ

หมายเลข ๓.๑๒ ใหสามารถดําเนินการจัดสรรทด่ี ินเพ่ือการอยูอาศัยเฉพาะในพื้นที่

ตามเสน ขนานระยะ ๑,๐๐๐ เมตร จากก่ึงกลางถนนทางหลวงแผน ดินหมายเลข ๒๑๐

เห็นควรยกคํารอง ในประเด็นท่ี ๒ เน่ืองจากไมสนับสนุนใหเกิด

การขยายตวั ของการพัฒนาที่ดนิ เพอ่ื การจัดสรรที่อยูอาศยั เตม็ ทง้ั บริเวณหมายเลข

๓.๑๒ เพราะจะเปนการบุกรุกพ้ืนท่เี กษตรกรรม

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนด

การใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข

๓.๑๒ ท้ัง 2 ประเด็น

มติท่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๒
ขอหามจัดสรรที่ดินเพื่อประกอบการพาณิชยกรรม และจัดสรรที่ดิน
เพื่อการอยูอาศัย ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานีกําหนด
ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ และกรมโยธาธิการ
และผังเมือง

เรื่องที่ 3 ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) ใหเพ่ิมบริเวณหมายเลข ๓.๑๒ สามารถดําเนินการ
จัดสรรท่ีดินเพื่อประกอบการพาณิชยกรรม และจัดสรรที่ดินเพ่ือการอยูอาศัย
ในขอ กําหนดขอท่ี ๙ (๖) และ ๙ (๗) โดยใหแกไ ขเพ่มิ เตมิ ดังน้ี

(๖) หา มจดั สรรที่ดนิ เพอ่ื การอยอู าศัย เวนแตบ รเิ วณหมายเลข ๓.๙ และ ๓.๑๒
(๗) หามจัดสรรท่ีดินเพื่อประกอบการพาณิชยกรรม เวนแตบริเวณ
หมายเลข ๓.๙ และ ๓.๑๒
ผรู อ ง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก บริษัท พิมานสริ ิ จํากดั
เหตผุ ลในการขอแกไ ข บริษทั พมิ านสิริ จํากัด เปน บรษิ ทั พัฒนาอสังหาริมทรัพย
และเปนบริษัทในเครือของธนาสิริกรุป จํากัด (มหาชน) บริษัทอยูในระหวางดําเนินการ
ขอใบอนญุ าตจัดสรรท่ดี นิ เพื่อการอยูอาศัย ภายใตช อื่ “โครงการสริ ิวลิ เลจอดุ รธานี -

- 208 -

ลําดับท่ี เรอื่ ง/มติ อา งอิง

(คร้งั ที/่ วนั ทป่ี ระชมุ )

แอรพอรต ต้ังอยูริมทางหลวงแผนดินหมายเลข 210 ตําบลนิคมสงเคราะหติดกับ

โรงเรียนบานหนองขุนเหลา หลกั วิทยา มีพื้นท่ี 64 ไรเพื่อพัฒนาพื้นท่ีสอดคลองกับ

ขอ กาํ หนดการใชป ระโยชนท ีด่ นิ ของจงั หวดั หนองคาย ซึง่ เปนสมาชิกในกลมุ จงั หวัด

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๑ รองรับการขยายตัวของชุมชนเพื่อพัฒนา

คุณภาพชีวิต ส่ิงแวดลอม สาธารณูปโภค ความปลอดภัย และสุขอนามัยรอบ ๆ

ชมุ ชนใหดีขนึ้

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ ตา งกนั )

คณะท่ปี รึกษาผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานี เหน็ ควรใหต ามคํารอง โดยให

กําหนดที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๒

ใหสามารถดําเนินการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัยเฉพาะในพื้นท่ีตามเสนขนานระยะ

๑,๐๐๐ เมตร จากกงึ่ กลางถนนทางหลวงแผน ดนิ หมายเลข ๒๑๐

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใช

ประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๒

ขอ ๙ (7) หามจัดสรรท่ีดินเพ่ือประกอบการพาณิชยกรรม และขอ 9 (๖) หาม

จัดสรรท่ีดินเพ่ือการอยูอาศัยเวนแตบริเวณหมายเลข ๓.๙ ไวตามที่รางผังเมืองรวม

กําหนด

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน
ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข
๓.๑๒ ขอหามจัดสรรท่ีดินเพ่ือประกอบการพาณิชยกรรม
และจัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัย ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดอุดรธานีกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รองฯ และกรมโยธาธิการและผงั เมือง

เร่ืองที่ 4 ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) โดยใหเพ่ิมบริเวณหมายเลข ๓.๑๒ สามารถดําเนินการ
จดั สรรทีด่ ินเพื่อการอยูอาศัยในขอกําหนด ขอที่ ๙ ดงั นี้

(๖) หามจัดสรรที่ดินเพ่ือการอยูอาศัย เวนแตบริเวณหมายเลข ๓.๙
และบริเวณหมายเลข ๓.๑๒ หรอื

(๖) หามจัดสรรท่ีดินเพ่ือการอยูอาศัย เวนแตบริเวณหมายเลข ๓.๙
และจัดสรรเพื่อการอยอู าศยั ประเภทบานเดยี่ ว บริเวณหมายเลข ๓.๑๒

ผรู อ ง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก นายชนาเทพ เผาพงษไ พบลู ย
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากนายชนาเทพ เผาพงษไพบูลย บริษัท
ในเครือและนักลงทุนชาวไทยและตางชาติ มีความประสงคจะพัฒนาโครงการ
หมูบานจัดสรรและโรงแรมภายใตแนวคิด "Garden City เมืองตนไม บานเชิงเขา"
เนนแบบอนุรักษบนพื้นที่บริเวณหมายเลข ๓.๑๒ ตามสําเนาโฉนดและ น.ส.๓
จํานวน ๑๖ ฉบับ เนอื้ ท่ปี ระมาณ ๓๐๐ ไร ตงั้ อยถู นนบา นโนนบุญมี ตําบลนิคมสงเคราะห
อําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ปจจุบันโครงการอยูในขั้นตอนการพัฒนาโครงการ
ไดลงทนุ สาํ รวจเสน เนนิ ชนั ตนไมด านกายภาพตา ง ๆ ตั้งแตป ๒๕๕๖ ใชเ วลาพัฒนา

- 209 -

ลาํ ดับท่ี เรื่อง/มติ อา งอิง

(คร้ังที/่ วนั ทป่ี ระชุม)

พรอมขายประมาณ ๖ - ๘ ป มีเปาหมายลูกคาทองถิ่น กรุงเทพฯ และชาวตา งชาติ

ระดับพรีเมี่ยมท่ีกําลังหาบานพักตากอากาศ บานพัก ยามเกษียณวัย พ้ืนท่ีรองรับ

ประมาณ 500 - 700 ครวั เรือน

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) ในบริเวณหมายเลข ๓.๑๒ ขอกําหนด ๙ (๖) หามจัดสรร

ท่ีดิน เพื่อการอยูอาศัย เวนแตบริเวณหมายเลข ๓.๙ และบริเวณหมายเลข 3.12

หรือ (๖) หามจัดสรรที่ดินเพ่ือการอยูอาศัย เวนแตบริเวณหมายเลข 3.9

และการจัดสรรเพือ่ การอยอู าศยั ประเภทบา นเดย่ี ว บรเิ วณหมายเลข ๓.๑๒

มตทิ ป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๒
ขอหามจัดสรรท่ีดินเพ่ือการอยูอาศัยไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดอุดรธานีกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รอ งฯ กรมโยธาธิการและผงั เมือง และคณะทปี่ รึกษา
ผงั เมอื งรวมจงั หวดั อดุ รธานี

เรื่องท่ี 5 ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขียว) ในบรเิ วณหมายเลข ๓.๑๕ ในขอกาํ หนดขอ ท่ี ๙ (๗) (๖) ดังนี้

ประเด็นท่ี ๑
- ขอยกเลิกขอ หามจัดสรรทดี่ นิ เพอ่ื การอยูอาศัย ขอ กาํ หนดขอ ๙ (๗)
- ขอยกเลิกขอหามจัดสรรที่ดินเพื่อประกอบการพาณิชยกรรม ขอกําหนด
ขอ ๙ (๘)
ประเด็นท่ี ๒ ขอยกเวน ขอ หา ม
(๖) หามจัดสรรท่ีดินเพื่อการอยูอาศัย เวนแตบริเวณหมายเลข ๓.๙
และบริเวณหมายเลข ๓.๑๕
(๗) หามจัดสรรท่ีดินเพ่ือประกอบการพาณิชยกรรม เวนแตบริเวณ
หมายเลข ๓.๙ และบรเิ วณหมายเลข ๓.๑๕
ผรู อ ง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก นางวิไล พรมจกั ร
เหตุผลในการขอแกไข การกําหนดขอหามในขอ ๙ (๗) (๖) เปนการรอนสิทธ
ที่ดินเพราะพื้นที่อยูตําบลนิคมสงเคราะห ริมทางหลวงแผนดินหมายเลข ๒๑๐
ตรงขามโรงเรียนหนองขุนเหลาหลักวิทยา ตองการพัฒนาพ้ืนที่เพ่ือรองรับ
การขยายตวั ของชมุ ชนและธุรกจิ เพอื่ พฒั นาเศรษฐกจิ ในอนาคต
ผลการพิจารณาคํารอง (มคี วามเหน็ ตา งกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานี ในประเด็นท่ี ๑ เห็นควร
ใหตามคํารอง โดยกําหนดใหท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม บริเวณหมายเลข
๓.๑๕ สามารถดําเนินการจัดสรรที่ดนิ เพ่อื การอยูอาศัย เฉพาะในพ้ืนท่ีตามเสน ขนาน
ระยะ ๑,๐๐๐ เมตร จากกึง่ กลางทางหลวงแผนดนิ หมายเลข ๒๑๐

- 210 -

ลําดบั ที่ เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(ครั้งที่/วันท่ีประชมุ )

ในประเด็นที่ ๒ ยกคํารอง เน่ืองจากไมสนับสนุนใหเกิดการขยายตัว

ของการพัฒนาที่ดินเพ่ือการจัดสรรที่อยูอาศัย เต็มทั้งบริเวณหมายเลข ๓.๑๕

เพราะจะเปนการบุกรกุ พน้ื ทีเ่ กษตรกรรม

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนด

การใชป ระโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขยี ว) ในบริเวณหมายเลข

๓.๑๕ ขอ กาํ หนด ๙ (7) และ 9 (๖)

มติทีป่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๕
ข อห า ม จั ด ส ร ร ท่ี ดิ น เ พ่ื อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร พ า ณิ ช ย ก ร ร ม
และจัดสรรท่ีดินเพื่อการอยูอาศัย ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดอุดรธานีกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคํารองฯ และกรมโยธาธกิ ารและผังเมือง

เรื่องที่ 6 ขอยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขียว) ขอกําหนดขอ ๙ (7) และ 9 (๖)

- ขอยกเลกิ ขอ หา มจดั สรรทดี่ ินเพอื่ ประกอบการพาณชิ ยกรรม
- ขอยกเลกิ ขอหามจดั สรรท่ีดินเพอื่ การอยูอาศยั
ผรู อง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแ ก หอการคาจังหวัดอุดรธานี
เหตผุ ลในการขอแกไข
1. การหามจัดสรรที่ดินเพื่อประกอบการพาณิชยกรรม และเพ่ือการอยูอาศัย
เปนการไมสงเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจของเมือง และจะสรางปญหาแกผูประกอบการ
SMEs ในอนาคต โดยเฉพาะในแนวเชื่อมตอกับเขตเศรษฐกิจพิเศษ และทางหลวง
แผนดนิ ทเี่ ช่ือมกบั จังหวดั ตาง ๆ
2. ในพน้ื ที่ชนบทและเกษตรกรรม ควรหา มเฉพาะผูประกอบการขนาดใหญ
และอุตสาหกรรม แตไมควรหามธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก ประกอบกับพื้นท่ี
บางสวนของท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) มีความเปนชุมชน
และโอกาสเติบโตตามศักยภาพไดมาก เชน บริเวณพื้นที่ 3.8 และ 3.9 ท่ีในอนาคต
ตองรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษของรัฐบาล (จังหวัดหนองคาย) ซึ่งจะเปนกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจที่ตอเน่ืองเขตเศรษฐกิจพิเศษ การคาชายแดน ตามนโยบายของรัฐ
หรือบริเวณทางหลวงแผนดินหมายเลข 2 (ขอนแกน - อุดรธานี - หนองคาย)
ทางหลวงแผนดินหมายเลข 22 (อดุ รธานี - สกลนคร) และทางหลวงแผนดินหมายเลข
210 (อุดรธานี - หนองบัวลําภ)ู ทงั้ 2 ขางทางเปน พน้ื ท่ีท่มี ีศักยภาพสงู มโี อกาสเติบโต
ตามการขยายตัวของเมืองไดม าก จึงไมค วรจํากัดดว ยขอกําหนดเชน น้ี
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเห็นตา งกัน)
คณะทีป่ รึกษาผังเมอื งรวมจังหวดั อุดรธานี เห็นควรใหตามคาํ รอ ง
๑. โดยกําหนดใหท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม บริเวณหมายเลข ๓.๘
ใหสามารถจัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัย และจัดสรรท่ีดินเพ่ือประกอบการพาณิชยกรรมได
เ นื่ อ ง จ า ก เ ป น บ ริ เ ว ณ พ้ื น ที่ ต อ เ นื่ อ ง กั บ เ ข ต เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พิ เ ศ ษ อํ า เ ภ อ ส ร ะ ใ ค ร
จังหวัดหนองคาย และเพือ่ ใหสอดคลอ งกับบริเวณหมายเลข ๓.๙

- 211 -

ลาํ ดบั ท่ี เร่อื ง/มติ อางอิง

(คร้งั ท/่ี วันทปี่ ระชมุ )

๒. กําหนดใหท่ีดินประเภทชนบทและเกษตร (สีเขียว) สามารถจัดสรร

ที่ดินเพื่อการอยูอาศัยและจัดสรรท่ีดิน เพ่ือประกอบการพาณิชยกรรมไดในระยะ

๑,๐๐๐ เมตร จากกึง่ กลางถนนสายประธานและสายหลัก

๒.๑ บริเวณพื้นท่ี ๓.๑๓, ๓.๑๔ และบริเวณ ๓.๑๘ ตามแนวถนน

ทางหลวงแผน ดนิ หมายเลข ๒ (อุดรธานี - ขอนแกน )

๒.๒ บริเวณพื้นท่ี ๓.๑๑ และ ๓.๑๓ ตามแนวถนนทางหลวงแผนดิน

หมายเลข ๒๒ (อุดรธานี - สกลนคร)

๒.๓ บริเวณพื้นท่ี ๓.๑๒, ๓.๑๔ และบริเวณ ๓.๑๕ ตามแนวถนน

ทางหลวงแผนดินหมายเลข ๒๑๐ (อุดรธานี - วังสะพุง) และทางหลวงแผนดิน

หมายเลข ๒๓๑๓

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชน

ทดี่ ินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ขอ กาํ หนด ๙ (7) และ 9 (๖)

มติทีป่ ระชุม ใหตามคํารองบางสวน โดยใหยกเลิกขอกําหนดการใช
ประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
ขอหามจัดสรรที่ดินเพื่อประกอบการพาณชิ ยกรรม และจัดสรร
ที่ดินเพ่ือการอยูอาศัย ใหสามารถดําเนินการไดเฉพาะบริเวณ
หมายเลข ๓.๘ บางสวน ตั้งแตบริเวณฟากเหนือของถนน
ทางหลวงแผนดินหมายเลข ๒๐๒๑ ไปจรดถงึ ทางหลวงแผนดนิ
หมายเลข ๒ สวนบริเวณอ่ืน ใหคงขอกําหนดไวตามเดิม
และในกรณนี ้ี เหน็ ควรใหจ งั หวดั อื่นใชเปนแนวทางการกําหนด
หลักการใหผอนคลายขอกําหนดท่ีเขมงวดในกรณีการจัดสรรท่ีดนิ
เพ่ือการอยูอาศัยในที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) ของผังเมืองรวมจังหวัด เชนเดียวกับกรณีผังเมืองรวม
จงั หวัดอุดรธานี

เรื่องท่ี 7 ขอแกไขและยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) ในบริเวณ
หมายเลข ๔.๑ จาํ นวน ๒ ประเดน็ ดงั นี้

- ขอยกเลกิ ขอ หามจัดสรรท่ีดินเพ่ือการอยูอาศัย ขอ กาํ หนดขอ ๑๐ (๗)
- ขอยกเลิกขอ หามจดั สรรที่ดินเพอ่ื ประกอบพาณชิ ยกรรม ขอ ๑๐ (๘)
หรอื แกไ ขขอกําหนดเปน
(๗) จัดสรรท่ดี ินเพอื่ ประกอบพาณิชยกรรม เวนแตบรเิ วณ ๔.๑
(๘) จัดสรรที่ดนิ เพื่อการอยูอาศยั เวนแตบ ริเวณ ๔.๑
ผูรอ ง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก นายวสนั ต ภัยหลกี ลี้
เหตุผลในการขอแกไข การกําหนดขอหามในขอ 10 (๗) (๘) เปนการรอนสิทธิ์
ท่ีดิน เน่ืองจากพื้นที่อยูกิโลเมตรที่ 5 - 6 ทางเขาเมืองอุดรธานี ตองการพัฒนาพ้ืนที่
เพื่อรองรบั การขยายตัวของชุมชนและธรุ กิจเพื่อพฒั นาเศรษฐกจิ ในอนาคต

- 212 -

ลาํ ดับท่ี เรื่อง/มติ อา งอิง

(ครง้ั ท/่ี วนั ท่ปี ระชมุ )

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกัน)

คณะท่ีปรกึ ษาผงั เมืองรวมจังหวัดอดุ รธานี เห็นควรยกคาํ รอง

ประเด็นที่ ๑ เน่อื งจากอยูในพ้นื ที่อนุรักษช นบทและเกษตรกรรม ซึง่ เปน
พนื้ ทเี่ กษตรกรรมชน้ั ดี และเปน พน้ื ทร่ี าบลมุ และรองรับน้าํ ในฤดนู ้ําหลาก

ประเด็นที่ 2 เน่ืองจากไมสนับสนุนใหเกิดการบุกรุกหรือขยายตัว

ของการพฒั นาทดี่ นิ เพ่อื การจัดสรรที่อยูอาศัยในพืน้ ที่เกษตรกรรมชั้นดี

เนื่องจากอยูในพ้ืนที่อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม ซ่ึงเปนพ้ืนท่ี

เกษตรกรรมช้นั ดีและเปน พ้นื ที่ราบลมุ และรองรบั นาํ้ ในฤดูนาํ้ หลาก

กรมโยธาธิการและผังเมือง คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

เห็นควรยกคาํ รอ ง โดยใหคงขอ กําหนดการใชประโยชนท ี่ดนิ ประเภทอนรุ กั ษชนบท

และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) ในบริเวณหมายเลข ๔.๑

ขอกําหนด ๑๐ (๗) และ 10 (๘)

มติท่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหค งขอ กาํ หนดการใชป ระโยชนทด่ี ินประเภท
อนรุ ักษช นบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสน ทแยง
สีเขียว) ในบริเวณหมายเลข ๔.๑ ขอหามจัดสรรที่ดิน
เพื่อประกอบพาณิชยกรรม และจัดสรรท่ีดินเพื่อการอยูอาศัย
ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานีกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมือง และคณะที่ปรกึ ษาผังเมืองจังหวัดอุดรธานี

คาํ รอ งดานเรอ่ื งอน่ื ๆ (จํานวน 1 เรือ่ ง)
เร่ือง ขอเสนอขอแกไขการใชประโยชนท่ีดินและขอกําหนดรางผังเมืองรวม
จังหวัดอุดรธานี จาํ นวน ๒๐ ประเดน็ ยอย ดังน้ี
1. ขอแกไขสาระสําคัญในขอกําหนดการใชประโยชนทด่ี นิ ขอ 4 (๑) (๒)
(๓) (๔) (๕) ใหสามารถใชประโยชนตามศักยภาพและวัตถุประสงคของการจัดทํา
ผังเมืองรวมจังหวดั อุดรธานีในคร้งั นี้
2. ปรับเปล่ียนและเพ่ิมเติมการใชประโยชนการใชท่ีดินและผังสีใหสอดคลอง
ตามความเปน จริง ณ ปจจุบนั
3. กําหนดเขตพื้นที่มรดกโลก
4. กําหนดยุทธศาสตรพ้ืนที่ทําเกษตรใหเหมาะสมกับประเภทของพืชผล
ทางการเกษตร พรอมกับมกี ารกําหนดพนื้ ท่ีการทดลองดา นการเกษตร
5. ยกเลิกการกําหนดใหนิคมอุตสาหกรรมเปนคลังสินคา โดยใหแยก
คลังสินคาออกจากนิคมอุตสาหกรรมและกําหนดบริเวณคลังสินคาใหอยูในพื้นท่ี
ใกลเคียงทเี่ หมาะสม
6. จะตองมีการกําหนดกรอบเสนทางการคมนาคมท่ีเปนเสนทางหลัก
และรองไมวาจะเปนถนนและระบบรางระหวางเมืองและระบบคลังสินคาหลัก
ใหมีความชดั เจน
7. แกไ ขเพือ่ กลับสูข อ เทจ็ จริงของสภาพปจจุบนั และอนาคต

- 213 -

ลําดับที่ เรื่อง/มติ อา งอิง

(ครงั้ ที่/วันทีป่ ระชมุ )

8. ขยายพื้นที่เพ่ือรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมและคลังสินคา
โดยใชบริเวณพ้ืนท่ี เลขที่ ๓.๑๓ และ/หรือเพิ่มแนวระบุพิกัด ๒.๒ ใหม ในบริเวณ
ใกลเ คยี งกับสถานรี ถไฟหนองตะไก/ โนนสงู

9. แกไขขอกาํ หนดประโยชนก ารใชท่ีดินบรเิ วณหมายเลข ๔.๓ และ ๔.๔
ทตี่ ดิ ถนนหลกั และถนนรอง เพอ่ื ไมใ หเปน เง่อื นไขการพัฒนาและการลงทนุ

10. ขอกําหนดขอน้ีในเร่ืองของการใชอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ

ควรยกเลกิ เนอ่ื งจากมีพระราชบญั ญัตคิ วบคุมอาคารกํากบั อยูแ ลว

11. แกไขสาระเปน พ้ืนทชี่ มุ ชน

12. แกไขขอ กาํ หนดการใชประโยชนท่ดี ิน ขอ ๘ ดงั น้ี
(๑) แกไขตัดขอความ "โรงงานตองมีท่ีวางโดยรอบแปลงท่ีดิน

เพ่ือเปนแนวกันชนไมนอยกวา ๕๐ เมตร" เน่ืองจากมีกฎหมายอื่นบังคับ เชน
พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมและพระราชบัญญัติกระทรวงอุตสาหกรรม
และพระราชบัญญตั คิ วบคมุ อาคารวาดว ยประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สินคา

(๒) แกไขตัดขอความ "ในอาคารท่ีไมใชอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ"
ออก

13. แกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน ขอ ๙ โดยแกไขตัดขอความ
"ในอาคารทไ่ี มใชอาคารสูงหรอื อาคารขนาดใหญ" ออก

14. ทําการศึกษาความเปนไปไดและความเหมาะสม รวมไปถึงผลกระทบ
ในระยะยาวจากการรุกเขาไปยังแหลงรับน้ําหลากตามธรรมชาติของจังหวัด
กรณีนํ้าหลากในฤดูฝน ตัวอยางที่เห็นผลกระทบในลักษณะท่ีไดกลาวมาน้ี ไดแก
บรเิ วณ รังสิต หนองจอก ลาดกระบัง

15. ควรกาํ หนดพนื้ ที่ใหมที่เหมาะสม

16. ควรกําหนดการใชพื้นที่ตามแนวบนถนนสายหลัก (ถนนประธาน)

ใหเปนไปตามประกาศกรมโยธาธิการและผังเมือง เรื่อง เก่ียวกับอาคารพาณิชยกรรม

ประเภทคา ปลกี คาสง ในพนื้ ทีน่ อกเขตผังเมืองรวม

17. ควรแกไขขอกําหนดในขอหามท่ีจํากัดการใหใชประโยชนที่ดิน

ในบริเวณหมายเลข ๔.๓ และ ๔.๔ ท่ตี ิดแนวถนนหลกั และรอง

18. ควรยกเลิกขอนี้หรือกําหนดขนาด เพื่อไมเปนอุปสรรคการพัฒนา

จงั หวดั

19. เสนอเพ่ิมพ้ืนท่ีจัดสรรท่ีดินเพื่อประกอบการพาณิชยกรรมบริเวณ

หมายเลข ๔.๓ ทด่ี นิ ทต่ี ดิ กับถนนมิตรภาพ เสน ทางขอนแกนเขาอุดรธานีทั้งสองฝง

20. เสนอเพิ่มพ้ืนที่จัดสรรที่ดินเพ่ือประกอบการที่อยูอาศัย เวนแต
บรเิ วณหมายเลข ๔.๓ ที่ดินท่ีติดถนนมติ รภาพเสน ทางขอนแกนเขาอุดรธานีท้ังสองฝง

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแ ก สภาอตุ สาหกรรมจงั หวดั อุดรธานี

เหตผุ ลในการขอแกไ ข

1. สาระสําคัญในขอกําหนดการใชป ระโยชนทีด่ ิน ขอ 4 (๑) (๒) (๓) (๔)

(๕) ไมตรงกบั ขอ กําหนดการใชท ่ีดนิ และผงั สี

- 214 -

ลําดบั ท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครง้ั ท่/ี วนั ทป่ี ระชมุ )

2. ขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินตามผังสีไมสอดคลองตอการจัดทํา

ผังเมืองรวม ซึ่งจะทําใหเกิดการชะลอตัวและอาจเกิดการชะงักงันตอการพัฒนา

ทางเศรษฐกจิ ของจงั หวัดอดุ รธานี
3. ไมมกี ารกําหนดเขตพน้ื ทม่ี รดกโลก

4. ขาดการกําหนดยุทธศาสตรพ้ืนที่ทําเกษตรใหเหมาะสมกับประเภท

ของพืชผลทางการเกษตร

6. ไมมียุทธศาสตรในการวางผังเมืองเพ่ือทําการรองรับยุทธศาสตรจังหวัด

และของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ในการเปนศูนยกลางการขนสง

การวจิ ยั พัฒนาอตุ สาหกรรม

๗. ขาดการเตรียมพรอมเพื่อรองรับการเติบโตของเมืองไปสูการเปนมหานคร

ในอนาคต

๘. ในขอกาํ หนดการใชประโยชนท ี่ดิน ขอ ๖ (๒) (๔) (๗)

- พ้ืนที่บริเวณหมายเลข ๒.๑ และ ๒.๒ ซึ่งเปนพื้นที่ กนอ. และโปแตช

มีการกําหนดไวจํานวนนอยกวาความเปนจริงไมเพียงพอในอนาคต และไมมีการกําหนด

พน้ื ทเี่ พอื่ รองรบั การพัฒนาคลงั สินคา

- พื้นที่บริเวณหมายเลข ๔.๓ และ ๔.๔ ท่ีติดถนนหลักและถนนรอง

ปจ จบุ นั เปน พน้ื ท่ีท่ีอยูอาศยั และพาณิชยกรรม และมผี ลกระทบตอ ราคาซอื้ - ขายทด่ี นิ

๙. เปนขอกําหนดที่กวางเกินขอบเขตในการบังคับใชและอาจเปน

การลิดรอนสิทธิ์

๑๐. ในขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ขอ ๘ สาระขัดแยงไมตรงกับ

ขอ กําหนดการใชท ดี่ นิ และผังสี ดงั นี้

1) โรงงานตองมีที่วางโดยรอบแปลงที่ดินเพื่อเปนแนวกันชน

ไมนอยกวา ๕๐ เมตร

2) อาคารทไี่ มใ ชอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ ซึง่ จะเปนการบังคับใช
เกินพระราชบัญญัติและกฎหมาย รวมทั้งเปนการจํากัดไมใหเกิดอุตสาหกรรม

ขนาดใหญในพน้ื ที่เขตอตุ สาหกรรม

๑๑. ในขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ขอ ๙ สาระขัดแยงไมตรงกับ

ขอกาํ หนดการใชท ด่ี นิ และผงั สี ดังนี้

1) ในอาคารที่ไมใชอาคารสงู หรอื อาคารขนาดใหญ

2) ไมส อดคลองและไมเ อือ้ ตอการลงทนุ ในเขตนคิ มอุตสาหกรรม

- เนื่องจากบริเวณหมายเลข ๓.๙ โดยธรรมชาติเปนที่ชุมนํ้า

น้าํ หลาก ในชวงฤดูฝน ซึง่ อาจมีน้ําทว มสูงได และแลงซาํ้ ซากในฤดูแลง

- บริเวณดังกลาวปจจุบันยังไมมีการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน

เชน ไฟฟา ประปาและถนนมาตรฐาน ท่พี รอ มใชง านไดอยา งเหมาะสม

- เนื่องจากบริเวณดังกลาวเปนถนนมิตรภาพไปสูจังหวัดหนองคาย

ทํ า ใ ห เ ป น จุ ด ที่ จ ะ ต อ ง มี ก า ร พั ฒ น า ก า ร ค า พ า ณิ ช ย ก ร ร ม ต า ม เ ส น ท า ง ห ลั ก

แตถูกกาํ หนดหา มกอสรางอาคารขนาดใหญต ลอดเสนทาง

- 215 -

ลําดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(คร้งั ที/่ วนั ทีป่ ระชุม)

๑๒. สภาพปจจุบันขัดแยงไมตรงกับขอกําหนดการใชที่ดินและผังสี

โดยเฉพาะบริเวณหมายเลข ๔.๓ และ ๔.๔ ตลอดทางตามแนวถนนมิตรภาพ

เขา ตวั จงั หวัด

1๓. เปนการปดโอกาสการพัฒนาตามแนวถนนประธาน (ถนนหลัก)

ที่มีศักยภาพสูงมากของจงั หวัดอดุ รธานี

1๔. จดั สรรที่ดนิ เพ่ือประกอบการพาณชิ ยกรรม เวน แตบ ริเวณหมายเลข

๔.๓ บริเวณทตี่ ิดกับถนนมิตรภาพ

1๕. จดั สรรทีด่ นิ เพอ่ื ประกอบการอยูอาศัย เวนแตบรเิ วณหมายเลข ๔.๓

บริเวณทต่ี ิดกบั ถนนมติ รภาพ

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นตา งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดอุดรธานี กรมโยธาธิการและผังเมือง

มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง ในประเด็นที่ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘,

๙, ๑๐, ๑๑, ๑๔, ๑๕, ๑๖, ๑๗, ๑๘, ๑๙ และ ๒๐

เหน็ ควรใหต ามคาํ รอง ในประเด็นท่ี ๑๒ และ ๑๓

๑. ในขอกาํ หนดการใชป ระโยชนที่ดิน ขอ ๘ แกไ ขดังนี้

๑.๑. ตัดขอความ "โรงงานตองมีท่ีวางโดยรอบแปลงที่ดินเพื่อเปนแนวกนั ชน

ไมนอยกวา ๕๐ เมตร" เนื่องจากมีกฎหมายอ่ืนบังคับ เชน พระราชบัญญัติการนิคม

อุตสาหกรรม และพระราชบัญญัติกระทรวงอุตสาหกรรม และพระราชบัญญัติ

ควบคุมอาคารวา ดวยประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สินคา

๑.๒ ตัดขอความ "ในอาคารท่ีไมใชอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ" ออก

๒. ในขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ขอ ๙ แกไขโดยตัดขอความ

"ในอาคารทีไ่ มใชอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ" ออก

คณะอนุกรรมการผงั เมืองพิจารณาคาํ รอ งฯ เห็นควรยกคํารอ ง ยกเวน ขอ 12

เหน็ ควรใหตามคาํ รอง โดยใหแ กไขขอกําหนดการใชประโยชนท ดี่ ิน ขอ ๘ ดังนี้

๑. ตัดขอความ " โรงงานตองมีท่ีวางโดยรอบแปลงท่ีดินเพ่ือเปนแนวกันชน

ไมน อยกวา ๕๐ เมตร " ออก

๒ ตดั ขอ ความ " ในอาคารที่ไมใชอ าคารสงู หรืออาคารขนาดใหญ “ ออก

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง ในประเด็นท่ี ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐,
๑๑, ๑๓, ๑๔, ๑๕, ๑๖, ๑๗, ๑๘, ๑๙ และ ๒๐ ยกเวน
ประเด็นท่ี 12 ใหตามคํารอง โดยใหแกไขขอกําหนด
การใชประโยชนทด่ี ิน ขอ ๘ ดังน้ี
๑. ตัดขอความ “โรงงานตองมีท่ีวางโดยรอบแปลงที่ดิน
เพื่อเปนแนวกนั ชนไมนอยกวา ๕๐ เมตร” ออก
๒. ตัดขอความ “ในอาคารที่ไมใชอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ”
ออก เนื่ องจากมี กฎหมายอ่ื นใช บั งคั บอยู แล ว เช น
พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรม และพระราชบัญญัติ
โรงงาน และพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ตามมติ
คณะอนกุ รรมการผังเมอื งพิจารณาคาํ รองฯ

- 216 -

ลาํ ดบั ท่ี เร่อื ง/มติ อางอิง

(ครง้ั ท่/ี วันทีป่ ระชมุ )

40. เรอ่ื ง คํารองผงั เมืองรวมจงั หวัดลําพูน ครง้ั ที่ 10/๒๕๕8

ผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน ไดดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม วันที่ 4 ก.ย. 58

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง พื้นที่วางผังท้ังหมดประมาณ 4,505 ตารางกิโลเมตร วาระที่ 4.1.8

ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง เม่ือวันท่ี ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ หนา 88 - 104

ไดนํารางผังเมืองรวมจังหวัดลําพูนไปปดประกาศ ๙๐ วัน เพ่ือใหประชาชนผูมีสวนไดเสยี

ไปตรวจดูและย่ืนคํารอง ตั้งแตวันท่ี ๑๕ พฤษภาคม - ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘

เมอื่ ครบกําหนดมีคํารอง ๙ ฉบบั ๙ ราย ๑๑ เร่อื ง โดยเปน คาํ รองดานการใชประโยชน

ท่ีดิน จํานวน ๕ ฉบับ ๕ ราย ๕ เร่ือง คํารองดานขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน

จํานวน ๕ ฉบับ ๕ ราย ๖ เรื่อง ไดนําคํารองเสนอคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัด

ลําพูน เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม ๒๕๕๘ เสนอกรมโยธาธิการและผังเมือง เม่ือวันที่

18 สิงหาคม ๒๕๕๘ และเสนอคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

เมื่อวันท่ี ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๕๘

คํารองดา นการใชป ระโยชนท ีด่ นิ (จํานวน ๕ เรอ่ื ง)

เรื่องท่ี ๑ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษชนบท

และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๖

บางสวน เปน การใชป ระโยชนท ดี่ นิ ประเภทชมุ ชน (สชี มพ)ู

ผรู อ ง จํานวน 1 ฉบบั 1 ราย ไดแ ก นายประเสรฐิ ตานอย

เหตุผลในการขอแกไข เพอื่ ในอนาคตจะสามารถพฒั นาที่ดินไดม ากขึ้น

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มีความเหน็ ตางกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน และกรมโยธาธิการและผังเมือง

ใหตามคํารอง เนื่องจากบริเวณที่ตั้งอยูในเขตเทศบาลตําบลปาซาง ซึ่งตามราง

ผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน กําหนดใหเปนท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู) ท้ังนี้

ใหปรับแนวท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู) ใหตรงกับการกําหนดเขตเทศบาลตําบล

ปาซาง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การยุบรวมองคการบริหารสวนตําบล

ปากบอ งกบั เทศบาลตําบลปาซาง พ.ศ. ๒๕๔๗

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรยกคํารอง โดยใหคง

การใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบ

และเสน ทแยงสเี ขยี ว) บรเิ วณหมายเลข ๓.๖ ไวต ามทรี่ า งผงั เมืองรวมจังหวดั กําหนด

มตทิ ่ปี ระชุม ใหตามคํารอง โดยใหแกไขเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดิน
ประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบ
และเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๖ บางสวน เปน
การใชประโยชนที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู) ตามมติ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
จังหวัดลําพูน โดยใหปรับแนวที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู)
ใหต รงกบั การกาํ หนดเขตเทศบาลตาํ บลปาซาง ตามประกาศ
กระทรวงมหาดไทย เร่ือง การยุบรวมองคการบริหารสวน
ตาํ บลปากบอ งกับเทศบาลตาํ บลปาซาง พ.ศ. ๒๕๔๗

- 217 -

ลาํ ดับท่ี เรื่อง/มติ อา งอิง

(คร้งั ท่/ี วันท่ปี ระชมุ )

เรื่องที่ ๒ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู)

บริเวณหมายเลข ๑.๓ บางสวน เปนการใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม

และคลงั สนิ คา (สีมวง)

ผรู อ ง จาํ นวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแก บรษิ ัท ซับเบริ บเอสเต็ท จํากัด

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากทางบริษัทฯ เปนผูมีกรรมสิทธ์ิในที่ดิน

ไดมีโครงการกอสรางโครงการนิคมอุตสาหกรรมลําพูน ๒ ซึ่งไดรวมดําเนินการ

กับการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) ขณะน้ี โครงการกําลังปรับปรุงพื้นท่ี

และดําเนินงานตามข้ันตอนของกฎหมายท่ีเก่ียวของ และเพ่ือมิใหเกิดขอจํากัด

ในการพัฒนาเมืองลําพูนและไมใหเกิดความเสียหายแกความเจริญทางเศรษฐกิจ

และสังคมของจังหวัดลําพูน จึงตองการใหตรวจสอบความถูกตองแมนยําใหสอดคลอง

กบั สภาพความเปน จริงและการใชประโยชนของพ้นื ทโี่ ครงการนิคมอุตสาหกรรมลําพนู ๒

มกี ารลงทุนขน้ั ตํ่ามูลคากวา ๕,๐๐๐ ลานบาท โดยระยะตอ ไปจะมีโรงงานเขา มากอสราง

ลงทุนภายในนิคมฯ กวา ๔๐,๐๐๐ ลานบาท และการจางงานภายในจังหวัด

อีกกวา ๓๐,๐๐๐ อัตรา อันจะเปนประโยชนในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

ภายในจงั หวัดและกลุมจงั หวัดในภาคเหนอื ของประเทศ

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มีความเหน็ สอดคลองกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนกุ รรมการผงั เมอื งพิจารณาคาํ รองฯ มคี วามเห็นสอดคลองกัน คือ ยกคํารอ ง

โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

บริเวณหมายเลข ๑.๓ ไวตามที่รางผังเมืองรวมจังหวัดกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ

ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองจังหวัด

ลําพนู

มตทิ ป่ี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๑.๓ ไว
ตามที่รางผังเมืองรวมจังหวัดกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมอื งพจิ ารณาคาํ รองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ี
ปรกึ ษาผังเมอื งจงั หวัดลาํ พนู

เรื่องที่ ๓ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู)
บริเวณหมายเลข ๑.๑ บางสวน เปนการใชประโยชนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลังสินคา (สีมวง) หรือที่ดินประเภทอุตสาหกรรมทั่วไปท่ีไมเปนมลพิษ
ตอชุมชนหรอื สิง่ แวดลอ มและคลังสินคา (สีขาวมกี รอบและเสนทแยงสีมว ง)

ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแก บริษัท กัซซัน เชียงใหม พร็อพเพอรต้ี
จาํ กดั

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากบริษัท กัซซัน เชียงใหม พรอพเพอรต้ี จํากัด
ไดเปดดําเนินธุรกิจดานสนามกอลฟ คลับเฮาท โรงแรมและอสังหาริมทรัพยกวา ๑๐ ป
ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๗ และถือครองที่ดินในนามบริษัทฯกวา ๑๐ ป และปจจุบันที่ดิน
ประเมินไรล ะ ๘๐๐,๐๐๐ บาท แตเ นอ่ื งจากสภาวะเศรษฐกจิ และการเมอื งทีเ่ ปลย่ี นแปลง

- 218 -

ลําดับท่ี เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครงั้ ท่/ี วันทีป่ ระชุม)

ตลอดเวลา ทําใหธุรกิจสนามกอลฟเปนไปดวยความลําบาก รายรับไมเพียงพอ

และทางบริษัทตองเลี้ยงดูพนักงานซ่ึงสวนใหญเปนชาวบานละแวกชุมชนบานธิ

และมะเขือแจกวา ๕๐๐ ชีวิต เม่ือธุรกิจลงทุนกวา ๒,๐๐๐ ลานบาท และรายได

ไมเพียงพอ จึงทําใหทางบริษัทฯ ตองดิ้นรนเพ่ือความอยูรอด และขณะน้ีไดมีผูรวมทุน

กลุมคนไทยเขามารวมทุนชวยเหลือและตองการท่ีจะพัฒนาท่ีดินขอบ ๆ สนามกอลฟ

เปน อตุ สาหกรรมหรือคลังสินคาและทีอ่ ยูอาศัย

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงการใช

ประโยชนท ่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๑ ไวตามท่ีรางผังเมืองรวม

จังหวดั กาํ หนด

มติท่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ชุมชน (สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๑ ไวตามท่ีรางผังเมืองรวม
จังหวัดลําพูนกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมืองรวมจังหวัดลําพนู

เรื่องท่ี ๔ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓
บางสวน เปนการใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง)
หรือท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมท่ัวไปที่ไมเปนมลพิษตอชุมชนหรือสิ่งแวดลอม
และคลังสินคา (สขี าวมีกรอบและเสน ทแยงสมี ว ง)

ผรู อง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแ ก บริษัท กัซซนั มารนี า กอลฟ คลบั
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัท กัซซัน มารีนา กอลฟคลับ
ไดเปดดําเนินธุรกิจดานสนามกอลฟ คลับเฮาท โรงแรม และอสังหาริมทรัพย
กวา ๑๐ ป ต้ังแตป พ.ศ. ๒๕๔๗ และถือครองที่ดินในนามบริษัทฯ กวา ๑๐ ป
และปจจุบันที่ดิน มีราคาประเมินไรละ ๘๐๐,๐๐๐ บาท แตเน่ืองจากสภาวะ
เศรษฐกิจและการเมืองที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทําใหธุรกิจสนามกอลฟ
เปนไปดวยความลําบาก รายรับไมเพียงพอ และทางบริษัทตองเล้ียงดูพนักงาน
ซึ่งสวนใหญเปนชาวบานละแวกชุมชนบา นธิ และมะเขือแจกวา ๕๐๐ ชวี ติ เมื่อธุรกิจ
ลงทุนกวา ๒,๐๐๐ ลานบาท และรายไดไมเพียงพอ จึงทําใหทางบริษัทฯ ตองด้ินรน
เพื่อความอยูรอด และขณะนี้ไดมีผูรวมทุนกลุมคนไทยเขามารวมทุน ชวยเหลือ
และตองการท่ีจะพัฒนาท่ีดินรอบ ๆ สนามกอลฟเปนอุตสาหกรรมหรือคลังสินคา
และท่อี ยูอ าศัย
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผงั เมืองพจิ ารณาคาํ รอ งฯ มมี ติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

- 219 -

ลําดับที่ เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครั้งท่ี/วันที่ประชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม

(สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓ ไวตามที่รางผังเมืองรวม

จังหวดั กาํ หนด

มตทิ ป่ี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓ ไวตามที่
รางผังเมืองรวมจังหวัดลําพูนกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ีปรกึ ษาผังเมอื งจงั หวัดลาํ พูน

เรื่องที่ ๕ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขยี ว) บริเวณหมายเลข 2.3 บางสวน เปนการใชประโยชนท ่ีดิน
ประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สนิ คา (สมี ว ง)

ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแก บริษัท ดับบลิวเอชเอ คอรปอเรช่ัน
จํากดั (มหาชน)

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากปจจุบันผังเมืองรวมจังหวัดลําพูนอยูใน
ข้ันตอนที่ ๖ ปดประกาศพรอมขอกําหนด ๙๐ วัน ซึ่งระบุใหท่ีดินของบริษัทฯ
อยูในเขตท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) โดยบริษัทฯ ดําเนินธุรกจิ
ในทด่ี นิ ดงั กลาวประเภทอุตสาหกรรมและคลังสนิ คา จึงมีความจําเปนตองย่ืนคํารอง
ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินดังกลาว เปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลังสนิ คา (สีมวง)

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
บรเิ วณหมายเลข 2.3 ไวตามท่ีรา งผงั เมอื งรวมจังหวัดกําหนด

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขียว) บริเวณหมายเลข ๒.๓ ไวตามที่
รางผังเมืองรวมจงั หวดั ลําพนู กําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ีปรกึ ษาผังเมอื งรวมจังหวดั ลําพนู

คํารอ งดานขอ กําหนดการใชประโยชนท ่ดี นิ (จาํ นวน ๖ เร่ือง)
เรื่องท่ี ๑ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู)
บริเวณหมายเลข ๑.๑๔ บริเวณคํารองที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน
มีเสน ทแยงสขี าว) บริเวณหมายเลข ๕.10 จาํ นวน ๒ ประเด็นยอ ย ดงั นี้

- 220 -

ลําดบั ที่ เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครงั้ ท่/ี วนั ที่ประชมุ )

๑. ขอ ๗ (๑) ขอเพิ่มขอยกเวนโรงงานลําดับท่ี ๘๙ โรงงานผลิตกาซ

ซ่ึงมิใชกาซธรรมชาติสงหรือจําหนายกาซ ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม

เรื่อง มาตรการคมุ ครองความปลอดภยั ในการดําเนนิ งาน (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒

๒. ขอ ๗ (๒) ขอยกเลิกโรงงานลําดับที่ ๑๐๑ โรงงานปรับคุณภาพของเสีย

รวม (Central Waste Treatment Plant)

ผรู อ ง จาํ นวน 1 ฉบบั 1 ราย ไดแ ก สํานักงานพลังงานจงั หวัดลาํ พนู

เหตุผลในการขอแกไข เพื่อใหเกิดความมั่นคงทางดานพลังงานแกจังหวัด

ลําพูน และเปนไปตามนโยบายคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ในการแกไข

ปญหาขยะของประเทศในการบริหารจัดการขยะและสามารถแปลงเปนพลังงาน

ไฟฟาตาม Road map การแกไขปญหาขยะของประเทศ เน่ืองจากจังหวัดลําพูน

เปนท่ีต้ังของนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือมีโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดโดยรวม

ประมาณกวา ๘๐๐ แหง ทําใหมีการใชพลังงานไฟฟาเปนจํานวนมาก ซึ่งปจจุบัน

ยังไมเพียงพอตอความตองการของจังหวัดลําพูน แตจากขอจํากัดของขอกําหนดการใช

ประโยชนท่ีดินในผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน ทําใหจังหวัดลําพูนไมสามารถสราง

โรงไฟฟา จากขยะ โรงไฟฟา จากนาํ้ เสยี และอ่นื ๆ ในที่ดนิ ประเภทชมุ ชน (สชี มพ)ู

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลองกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนกุ รรมการผังเมอื งพิจารณาคํารองฯ มมี ตสิ อดคลองกนั คือ เห็นควรยกคาํ รอ ง

โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน

มีเสนทแยงสขี าว) บริเวณหมายเลข ๕.๑๐ ไวตามที่รางผังเมืองรวมจังหวดั กําหนด

มติที่ประชมุ ยกคาํ รอ ง โดยใหคงขอ กาํ หนดการใชประโยชนทด่ี ินประเภท
ชุมชน (สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๑๔ ขอ ๗ (๑) (๒) ไวตามที่
รางผังเมืองรวมจังหวัดลําพูนกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะที่ปรกึ ษาผงั เมอื งรวมจังหวัดลําพูน

เรื่องที่ ๒ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขียว) จาํ นวน ๒ ประเด็นยอย ดังน้ี

๑. ในบริเวณหมายเลข 2.1 – 2.18 ขอแกไขขอหาม (๑) ขอเพิ่มขอยกเวน
โรงงานลําดับท่ี ๘๙ โรงงานผลิตกาซ ซ่ึงมิใชกาซธรรมชาติ สง หรือจําหนายกาซ
ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง มาตรการคมุ ครองความปลอดภยั ในการดําเนินงาน
(ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒

๒. ในบริเวณหมายเลข ๒.2 ถึง ๒.7 ขอแกไขขอ หาม (๒) โดยใหยกเลิก
การหามโรงงานลําดับที่ ๑๐๑ โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม (Central Waste
Treatment Plant)

ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแ ก สาํ นักงานพลังงานจังหวดั ลําพนู

- 221 -

ลําดับท่ี เรือ่ ง/มติ อางอิง

(คร้งั ท/่ี วนั ท่ีประชมุ )

เหตุผลในการขอแกไข เพ่ือใหเกิดความมั่นคงทางดา นพลังงานแกจังหวดั

ลําพูน และเปนไปตามนโยบายคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ในการแกไข

ปญหาขยะของประเทศในการบริหารจัดการขยะและสามารถแปลงเปนพลังงาน

ไฟฟาตาม Road map การแกไขปญหาขยะของประเทศ เน่ืองจากจังหวัดลําพูน

เปนที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ มีโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดโดยรวม

ประมาณกวา ๘๐๐ แหง ทําใหมีการใชพลังงานไฟฟาเปนจํานวนมาก ซึ่งปจจุบัน

ยังไมเพียงพอตอความตองการของจังหวัดลําพูน แตจากขอจํากัดของขอกําหนด

การใชประโยชนที่ดินในผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน ทําใหจังหวัดลําพูนไมสามารถ

สรางโรงไฟฟาจากขยะโรงไฟฟาจากน้ําเสียและอ่ืน ๆ ในที่ดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สเี ขียว)

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ใหตามคํารอง โดยใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขยี ว) ดงั น้ี

(๑) ในบริเวณหมายเลข 2.1 - 2.18 ใหแกไขขอหาม (๑) โดยเพ่ิมขอยกเวน

โรงงานลําดับท่ี ๘๙ โรงงานผลิตกาซ ซ่ึงมิใชกาซธรรมชาติ สง หรือจําหนายกาซ

ตามประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เรือ่ ง มาตรการคมุ ครองความปลอดภยั ในการดําเนินงาน

(ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒

(๒) ในบรเิ วณหมายเลข ๒.2 ถึง ๒.7 ใหแกไ ขขอ หา ม (๒) โดยใหย กเลิก

การหามโรงงานลําดับที่ ๑๐๑ โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม (Central Waste

Treatment Plant)

มตทิ ี่ประชมุ ใหตามคํารอง โดยใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน
ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ในบริเวณหมายเลข
2.1 – 2.18 โดยใหเพ่ิมขอยกเวนโรงงานลําดับที่ ๘๙
โรงงานผลิตกาซ ซึ่งมิใชกาซธรรมชาติ สง หรือจําหนายกาซ
ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการคุมครอง
ความปลอดภัยในการดําเนินงาน (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒
และในบริเวณหมายเลข ๒.2 ถึง ๒.7 ใหยกเลิกการหามโรงงาน
ลําดับที่ ๑๐๑ โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม (Central
Waste Treatment Plant) ตามท่เี สนอตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทปี่ รึกษาผังเมืองรวมจงั หวัดลาํ พูน

เรื่องที่ ๓ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บรเิ วณหมายเลข ๒.๓ โดยขอยกเลกิ การใชประโยชนท่ีดิน
เพ่อื กิจการอื่นใหดําเนนิ การหรือประกอบกจิ การไดในอาคารท่ีไมใชอ าคารขนาดใหญ

- 222 -

ลาํ ดับท่ี เรือ่ ง/มติ อางอิง

(ครัง้ ท/่ี วนั ทป่ี ระชมุ )

ผรู อง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแ ก บริษทั ซพี ีแรม จาํ กดั

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากเปนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

บรเิ วณหมายเลข ๒.๓ ของขอกําหนดฯ ใหใ ชท่ดี นิ เพ่ือกิจการอน่ื ในอาคารไดท ่ีไมใช

อาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญ แตเน่ืองจากตามลักษณะอาคารในการประกอบกิจการ

ของบริษัท ซีพีแรม จํากัด จะมีขนาดเกิน ๒,๐๐๐ ตารางเมตร ซ่ึงไมสามารถปรับ

ลดได เพ่ือใหสอดคลองกับการวางเครื่องจักรตามกําลังการผลิตเพื่อใหสามารถ

ประกอบกิจการไดและนําไปสูการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของชุมชนเพื่อความมนั่ คง

ของชมุ ชนและสงั คม

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเหน็ ตา งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน เห็นควรใหตามคํารอง

เฉพาะพื้นท่ีของผูรองฯ เน่ืองจากโครงการของผรู องฯ การประกอบกิจการโรงงาน

ไมขดั ตอ รางผังเมืองรวมจังหวัด แตข ดั ในเรื่องขนาดอาคารท่ีมีขนาดใหญจากกําลัง

การผลิต อีกทั้ง เปนการลงทุนเพื่อพัฒนาระบบเศรษฐกิจจังหวัดลําพูนใหเปน

ศูนยกลางผลิตอาหารสําเร็จรูปพรอมบริโภคทันทีของภาคเหนือ ซงึ่ จะสง ผลใหเกิด

การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนและจังหวัดลําพูนตอไป โดยใหตามคํารองฯ

เฉพาะโฉนดที่ดินของผูรองฯ เนอ้ื ท่ี 79 ไร 35.2 ตารางวา

กรมโยธาธิการและผังเมือง เห็นควรใหตามคํารองบางสวน โดยใหยกเลิก

การควบคุมการดําเนินการหรือประกอบกิจการในอาคารขนาดใหญเฉพาะบริเวณ

พ้ืนท่ีคํารอง เน่ืองจากเพื่อสงเสริมภาคเศรษฐกิจของจังหวัดลําพูน ใหเปนศูนยกลาง

อาหารสําเร็จรูปพรอมบริโภคทันทีของภาคเหนือ ซึ่งจะสงผลใหเกิดการพัฒนา

เศรษฐกิจของชมุ ชนและจงั หวัดลําพูนตอไป

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรยกคาํ รอง โดยใหคง

ขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ

หมายเลข ๒.๓ ไวตามทรี่ า งผงั เมอื งรวมจังหวัดกําหนด

มตทิ ่ีประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขยี ว) บรเิ วณหมายเลข ๒.๓ ในการใช
ประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอ่ืนเรื่องขอหามอาคารขนาดใหญ
ไวตามท่ีรางผังเมืองรวมจังหวัดลําพูนกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผงั เมอื งพิจารณาคาํ รอ งฯ

เร่อื งที่ ๔ ขอยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู)
บรเิ วณหมายเลข 1.3 หา มใชประโยชนทด่ี ินเพ่อื กิจการโรงงานตาม (๒)

ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแก บริษัท สหพัฒนาอินเตอรโฮลดิ้ง จํากัด
(มหาชน)

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินผังเมืองรวม
จังหวัดลําพูน ในขอ ๗ ที่ดินประเภทชุมชน ซึ่งกําหนดหามใชประโยชนท่ีดิน
เพ่อื กจิ การโรงงานตาม (๒) ไดแ ก โรงงานลําดับท่ี ๒๒ เก่ียวกบั สง่ิ ทอดา ยหรือเสน ใย

- 223 -

ลําดับท่ี เรือ่ ง/มติ อางอิง

(คร้งั ท่/ี วนั ทปี่ ระชมุ )

โรงงานลําดับที่ ๒๔ เก่ียวกับการถักผา ผาลูกไมหรือเคร่ืองนุงหม ดวยโรงงานลําดับท่ี

๕๔ เกี่ยวกับผลิตแกวเสนใยแกว หรือผลิตภัณฑแกว และโรงงานลําดับที่ ๑๐๑

เกี่ยวกับโรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม ซึ่งมีผลกระทบกับกิจการของบริษัทฯ

และกิจการโรงงานที่ต้ังในสวนอุตสาหกรรมที่มีอยูเดิมและ/หรือผปู ระกอบการรายใหม

เนื่องจากกิจการโรงงานตองมีการปรับเปล่ียนหรือขยายโรงงานตามสภาวะการตลาด

หรือทางเศรษฐกิจของทองถ่ินน้ัน ๆ ซึ่งหากบังคับใชตามประกาศนี้อาจจะทําให

โรงงานตาง ๆ ท่ีประกอบกิจการในสวนอุตสาหกรรมที่มีอยูเดิมไมสามารถขยาย

หรือปรับเปลีย่ นเครื่องจักรได

มตทิ ี่ประชุม ยกคาํ รอ ง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนทดี่ ินประเภทชุมชน
(สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๓ ไวต ามทีร่ างผังเมืองรวมจังหวัด
ลําพูนกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม
จงั หวัดลําพูน

เรื่องท่ี ๕ ขอยกเลิกขอกําหนดในที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและ
เกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓ ซ่ึงหามใช
ประโยชนท ่ีดินเพ่ือกจิ การ (๔) โรงแรมตามกฎหมายวา ดวยโรงแรม

(๖) จัดสรรทีด่ นิ เพื่อประกอบอุตสาหกรรม
(๗) จดั สรรทด่ี นิ เพอื่ ประกอบพาณชิ ยกรรม (๘) จดั สรรทด่ี ินเพือ่ การอยูอาศยั
(๙) การอยูอาศยั ประเภทอาคารสงู หรืออาคารขนาดใหญ
(๑๐) การอยอู าศยั ประเภทหอ งชดุ หรืออาคารชุด
(๑๒) คลงั สนิ คา
(๑๗) สนามกอลฟและสนามไดร
ผรู อ ง จาํ นวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแ ก บริษัท กซั ซัน มารีนา กอลฟ คลบั
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากบริษัท กัซซัน มารีนา กอลฟคลับ ได
เปด เปน ธุรกิจดา นสนามกอลฟ คลบั เฮาท โรงแรม และอสงั หารมิ ทรัพยกวา ๑0 ป
ตัง้ แตป  พ.ศ. ๒๕๔7 และถอื ครองทดี่ ินในนามบรษิ ัทกวา ๑0 ป และปจจบุ ันที่ดิน
ประเมินไรละ 800,000 บาท แตเน่ืองจากสภาวะเศรษฐกิจ และการเมือง
ท่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลาทําใหธุรกิจสนามกอลฟเปนไปดวยความลําบาก รายรับ
ไมเพียงพอและทางบริษัทตองเลี้ยงดูพนักงาน ซึ่งสวนใหญเปนชาวบานละแวก
ชุมชนบานธิ และมะเขือแจกวา 5๐๐ ชีวิต เม่ือธุรกิจลงทุนกวา ๒,๐๐๐ ลานบาท
และรายไดไมเพียงพอ จึงทําใหทางบริษัทฯ ตองดิ้นรนเพ่ือความอยูรอดและขณะน้ี
ไดมีผูรวมทุนกลุมคนไทยเขามารวมทุนชวยเหลือและตองการท่ีจะพัฒนาท่ีดินรอบ ๆ
สนามกอลฟเปน อตุ สาหกรรมหรอื คลงั สนิ คา และที่อยูอาศัย
ผลการพิจารณาคาํ รอง (มีความเหน็ สอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพจิ ารณาคาํ รองฯ มมี ตสิ อดคลองกัน คอื เหน็ ควรยกคํารอ ง

- 224 -

ลาํ ดบั ท่ี เรอื่ ง/มติ อางอิง

(คร้ังท/่ี วันที่ประชมุ )

โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม

(สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓ ไวตามที่รางผังเมืองรวม

จงั หวดั กาํ หนด

มติทีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยง
สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓ ขอหาม (๔) (๖) (๗) (๙)
(๑๐) (๑๒) และ (๑๗) ไวตามที่รางผังเมืองรวมจังหวัด
ลาํ พนู กําหนด ตามมตคิ ณะอนกุ รรมการผังเมืองพจิ ารณาคาํ รองฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
จังหวัดลําพนู

เร่ืองท่ี ๖ ขอเปล่ียนแปลงขอกําหนดในที่ดินประเภทที่โลงเพื่อนันทนาการ
และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ๔.๕ หามใช
ประโยชนที่ดนิ เพื่อกิจการ

(๑) จัดสรรทด่ี นิ เพือ่ การอยอู าศัย
(๒) การอยอู าศยั ประเภทอาคารสงู หรอื อาคารขนาดใหญ
(๔) การอยูอาศยั ประเภทอาคารชดุ หอพักหรืออาคารอยอู าศัยรวม
ผรู อง จาํ นวน 1 ฉบบั 1 ราย ไดแ ก บริษทั กัซซัน ขุนตาน กอลฟ แอนด
รีสอรท จํากดั
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากบริษัท กัซซัน ขุนตานกอลฟรีสอรท
ไดเ ปด เปน ธรุ กิจดานสนามกอลฟ คลับเฮา ท โรงแรม และอสงั หาริมทรัพยกวา ๑๑ ป
ต้ังแตป พ.ศ. ๒๕๔๖ และถือครองท่ีดินในนามบริษัทกวา ๑๑ป แตเน่ืองจาก
สภาวะเศรษฐกิจและการเมืองท่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลาทําใหธรุ กิจสนามกอลฟเปน ไป
ดวยความลําบาก รายรับไมเพียงพอ และทางบริษัทตองเลี้ยงดูพนักงานซึ่งสวนใหญ
เปนชาวบานในอําเภอแมทากวา ๔๐๐ ชีวิต เม่ือธุรกิจลงทุนกวา ๒,๐๐๐ ลานบาท
และรายไดไมเพียงพอจึงทําใหทางบริษัทฯ ตองด้ินรนเพื่อความอยูรอดและตองการท่ีจะ
พัฒนาที่ดินรอบ ๆ สนามกอลฟเปนท่ีจัดสรรเพ่ือท่ีอยูอาศัยสรางอาคารเพ่ือการอยอู าศยั
จึงขอคัดคานใหทางภาครัฐชวยแกไขและยกเลิกขอกําหนดตามรายละเอียด
ดงั กลาวขา งตน
ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดลําพูน กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผงั เมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คอื เห็นควรยกคํารอง
โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทท่ีโลงเพ่ือนันทนาการและการรักษา
คุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ๔.๕ ไวตามที่รางผังเมืองรวม
จังหวดั กาํ หนด

- 225 -

ลําดบั ท่ี เรือ่ ง/มติ อางอิง
มตทิ ่ปี ระชุม
(ครงั้ ท่ี/วันท่ีประชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท

ที่โลงเพ่ือนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม

(สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ๔.๕ ไวตามที่รางผังเมืองรวม

จังหวดั ลาํ พนู กําหนด ตามมตคิ ณะอนกุ รรมการผงั เมืองพจิ ารณา

คํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา

ผังเมืองรวมจังหวดั ลาํ พูน

41. เรอื่ ง คาํ รองผังเมอื งรวมจงั หวัดกาํ แพงเพชร ครง้ั ที่ 11/๒๕๕8

ผงั เมืองรวมจงั หวัดกําแพงเพชร ไดดาํ เนนิ การวางและจัดทําผังเมืองรวม วนั ที่ 9-10ก.ย. 58

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง รวมพ้ืนท่ีประมาณ ๘,๖๐๗ ตารางกิโลเมตร วาระที่ 4.1.1

หรือประมาณ ๕,๓๗๙,๖๘๗ ไร ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง หนา 10 - 15

เมอ่ื วนั ท่ี ๑๓ มนี าคม ๒๕๕๘ ปด ประกาศ ๙๐ วัน เพ่อื ใหป ระชาชนผูมีสว นไดเสีย

ไปตรวจดูและย่ืนคํารองตั้งแตวันที่ ๑๕ พฤษภาคม – ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘

เมื่อครบกําหนดมีคํารองดานการใชประโยชนท่ีดิน จํานวน ๓ ฉบับ ๒ ราย ๒ เร่ือง

และคํารองดานอ่ืน จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ๑ เรื่อง ไดนําคํารองเสนอคณะท่ีปรึกษา

ผังเมืองรวมจังหวัดกําแพงเพชร เม่ือวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๘ เสนอกรมโยธาธิการ

และผังเมือง วันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๘ และเสนอคณะอนุกรรมการผังเมือง

พจิ ารณาคาํ รอ งฯ เมื่อวันท่ี ๑ - ๒ กนั ยายน 2558

คาํ รองดา นการใชป ระโยชนท ่ีดิน (จาํ นวน 2 เร่อื ง)

เร่ืองที่ ๑ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๕, ๓.๑๖ และ ๓.๒๓ เปนการใช

ประโยชนท ่ดี นิ ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สมี วง)

เหตผุ ลในการขอแกไ ข

1. บริเวณหมายเลข ๓.๑๕ และ ๓.๑๖ ปจจุบันท่ีดินดังกลาว บริษัทฯ

ใชประโยชนเปน พืน้ ที่อตุ สาหกรรมและคลังสินคา

2. บริเวณหมายเลข ๓.๒๓ ปจจุบันท่ีดินดังกลาว บริษัทฯ ไดใช

ประโยชนก อสรางเปนโรงงานอุตสาหกรรมผลติ นา้ํ ตาลทราย และโรงไฟฟาชวี มวล

3. ในอนาคตมีแผนจะพัฒนาพื้นท่ีดังกลาวเปนนิคมอุตสาหกรรม กอสราง

เปนโรงงานอุตสาหกรรมผลิตนํ้าตาลทราย โรงไฟฟาชีวมวลและอุตสาหกรรม

ตอเนื่อง อาทิ โรงงานผลิตปุยอินทรีย โรงงานผลิตเอทานอล โรงงานไบโอพลาสติก

โรงงาน Poly Lactic Acid และอื่น ๆ ท่ไี มก อใหเกดิ ผลกระทบกบั มลภาวะในทองถ่ินนั้น ๆ

โดยใชวัตถุดิบหลัก (ออย) ของเกษตรกร อันเปนพืชเศรษฐกิจของจังหวัดกําแพงเพชร

และจังหวัดขางเคียง ชวยใหการขนสงใหเกษตรกรนําออยสงเขาโรงงานโดยสะดวก

ประหยัดเวลา อันจะกอใหเกิดผลดีกับทองถิ่นทําใหประชากร ในทองถิ่นมีรายไดดี

ท่ีม่ันคงและยั่งยืนมีการสรางงานเพิ่มข้ึน สงผลใหประชากรมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนมีเงิน

สะพัด ในทองถิ่นเพ่ิมข้ึนนําความเจริญมาสูทองถิ่นอยางยั่งยืน อันจะเปนผลดี

ตอ เศรษฐกิจของประเทศโดยรวม รวมถึงมกี ารชาํ ระภาษตี าง ๆ ใหกับภาครัฐ

- 226 -

ลาํ ดับที่ เรื่อง/มติ อางอิง

(คร้งั ท่/ี วันที่ประชมุ )

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกําแพงเพชร กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอ ง โดยใหค งการใชป ระโยชนท ่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขยี ว)

บริเวณหมายเลข ๓.๑๕, ๓.๑๖ และ ๓.๒๓ ไวต ามรา งผงั เมืองรวมจังหวัดกําแพงเพชร

มติที่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๕, ๓.๑๖
และ ๓.๒๓ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดกําแพงเพชร ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมือง และคณะทปี่ รกึ ษาผังเมืองจังหวัดกําแพงเพชร

เร่ืองที่ ๒ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม
(สเี ขยี วออ นเสนทแยงสขี าว) บรเิ วณหมายเลข ๕.๕ เปนการใชประโยชนทดี่ นิ ประเภท
ชมุ ชน (สีชมพ)ู และการใชประโยชนท ี่ดนิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขยี ว)

เหตผุ ลในการขอแกไข
1. พ้ืนที่ขอแกไข ปจจุบันมีประชาชนอยูอยางหนาแนนและในอนาคต
ตองมกี ารขยายตวั ของชมุ ชนดังกลา ว
2. พ้ืนที่ท่ขี อแกไข ประชาชนไดอยอู าศยั กันมาหลายชว่ั อายุคน และเปนเขตปา
เสือ่ มโทรม
ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแก องคการบริหารสวนตําบลวังทอง
(โดยนายสบุ รรณ อนั ทะสา นายกองคการบริหารสว นตาํ บลวังทอง)
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกําแพงเพชร กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน
มเี สนทแยงสขี าว) บรเิ วณหมายเลข ๕.๕ ไวต ามรางผังเมืองรวมจังหวดั กําแพงเพชร

มติทปี่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม
(สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) บริเวณหมายเลข ๕.๕ ไวตาม
รางผังเมืองรวมจังหวัดกําแพงเพชร ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทีป่ รกึ ษาผังเมืองจงั หวดั กาํ แพงเพชร

คาํ รองดา นอนื่ ๆ (จาํ นวน 1 เร่อื ง)
เรื่อง ขอใหช ะลอการประกาศใชผ ังเมืองรวมจงั หวัดกําแพงเพชร
ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแก เครือขายองคกรชุมชนจังหวัด
กําแพงเพชร (โดยนายบุญจันทร วินไธสงค ประธานสภาองคกรชุมชนตําบล
จงั หวดั กําแพงเพชร)

- 227 -

ลาํ ดบั ที่ เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(ครั้งที่/วนั ทีป่ ระชมุ )

เหตุผลในการขอแกไข การจัดทําผังเมืองประชาชนยังไมมีการรับรู

รับทราบขอมูลเกี่ยวกับการวางผังเมือง ท้ังประโยชนและผลกระทบที่ประชาชน

จะไดรบั

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกําแพงเพชร กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการพิจารณาคาํ รองฯ มีมตสิ อดคลองกัน คอื เหน็ ควรยกคํารอง

เนื่องจากการดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวมจังหวัดกําแพงเพชรได

ดําเนินการตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ มาโดยลําดับ และไดมี

การประชาสัมพันธ เชญิ ชวนใหประชาชนและผมู สี ว นไดเ สียตรวจดูรางผังเมืองรวม

จังหวัดกําแพงเพชร และรวมแสดงขอคิดเห็นเก่ียวกับรางผังเมืองรวมจังหวัด

กําแพงเพชรอยา งทวั่ ถงึ ทัง้ ๑๑ อําเภอ

มติทปี่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวมจังหวัด
กําแพงเพชร ตามกระบวนการวางและจัดทาํ ผงั เมอื งรวมจังหวัด
ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ตอไป เนื่องจาก
การดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวมจังหวัดกําแพงเพชร
ไดดําเนินการตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘
มาโดยลําดับและไดมีการประชาสัมพันธเชิญชวนใหประชาชน
และผูมีสวนไดเสียตรวจดูรางผังเมืองรวมจังหวัดกําแพงเพชร
และรวมแสดงขอคิดเห็นเกี่ยวกับรางผังเมืองรวมจังหวัด
กาํ แพงเพชรอยา งทั่วถึงท้ัง ๑๑ อาํ เภอ

42. เรอ่ื ง คาํ รอ งผังเมอื งรวมจังหวดั สุพรรณบุรี ครั้งที่ 11/๒๕๕8

ผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี ไดดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม วันที่ 9-10ก.ย.58

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง รวมพ้ืนที่ประมาณ 5,358 ตารางกิโลเมตร วาระท่ี 4.1.2

หรือประมาณ 3,348,755 ไร ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง หนา 15 - 21

เมอื่ วนั ที่ ๒๗ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๘ ปด ประกาศ ๙๐ วัน เพือ่ ใหประชาชนผูมีสวนไดเสีย

ไปตรวจดูและยื่นคํารอง ต้ังแตวันท่ี ๑๕ พฤษภาคม – ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘

เมื่อครบกําหนดมีคํารองดานขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน จํานวน 3 เรื่อง 4 ราย

4 ฉบับ และดานการใชประโยชนที่ดิน จํานวน 2 เร่ือง 3 ราย 2 ฉบับ ไดนําคํารอง

เสนอคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๘

เสนอกรมโยธาธิการและผังเมือง วันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๘ และเสนอ

คณะอนกุ รรมการผงั เมอื งพิจารณาคํารองฯ เมอ่ื วันท่ี ๑ - ๒ กันยายน 2558

คาํ รองดานการใชประโยชนท่ีดิน (จํานวน 2 เร่อื ง)

เร่ืองท่ี ๑ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๔ บางสวน เปนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรม

และคลงั สินคา (สีมวง)

- 228 -

ลาํ ดับท่ี เรื่อง/มติ อางอิง

(คร้งั ท/่ี วนั ทปี่ ระชมุ )

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากทางบริษัทฯ มีแนวโนมที่จะดําเนินการธุรกจิ

เปนนิคมอุตสาหกรรม ตามประเภทโรงงานลําดับท่ี 2 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ

ผลิตผลเกษตรกรรม อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ลําดับที่ 4 โรงงานประกอบ

กิจการเกี่ยวกับสัตว ซึ่งมิใชสัตวน้ํา เชน การทําผลิตภัณฑจากไขเพ่ือใชประกอบ

เปนอาหาร ลําดับที่ 6 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสัตวน้ํา อยางใดอยางหนึ่ง

หรือหลายอยาง ลําดับท่ี 8 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผัก พืช หรือผลไม อยางใด

อยางหนึ่งหรือหลายอยาง ลําดับท่ี 9 โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกับเมล็ดพืชหรือ

หัวพืชอยางใดอยางหน่ึงหรือหลายอยาง ลําดับท่ี 10 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ

อาหารจากแปง ลําดับที่ 11 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับนํ้าตาลซึ่งทําจากออย บชี

หญาหวาน หรือพืชอื่นที่ใหความหวาน ลําดับท่ี 12 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับชา

กาแฟ โกโก ช็อกโกแลต หรือขนมหวาน อยางใดอยางหนงึ่ หรือหลายอยา ง ลําดับที่ 13

โรงงานประกอบกิจการเกย่ี วกับเครอ่ื งปรงุ หรือเครื่องประกอบอาหาร อยา งใดอยางหนึ่ง

หรือหลายอยาง ลําดับที่ 20 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้ําด่ืม เครื่องด่ืมที่ไมมี

แอลกอฮอล นํ้าอัดลม หรือนํ้าแร อยางใดอยางหน่ึงหรือหลายอยาง ลําดับที่ 35

โรงงานผลิตภาชนะบรรจุหรือเครื่องใชจากไมไผ หวาย ฟาง ออ กก หรือผักตบชวา

ซง่ึ จะตองอยูในที่ดนิ ประเภทอุตสาหกรรมและคลงั สนิ คา (สีมวง) เทานั้น

ผรู อง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บรษิ ทั ยันฮี โฮลดง้ิ พาวเวอร

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลอ งกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบรุ ี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง เนื่องจากประเภทโรงงานอุตสาหกรรมตามที่ผูรองมีแนวโนม

ที่จะดําเนินการนั้น ไมไดเปนขอหามตามผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี (ฉบับปด

ประกาศ 90 วัน) สามารถดําเนินการไดในการใชประโยชนท่ีดินเพื่อกิจการอ่ืน

ในอาคารท่ีไมใชอาคารสูง อาคารขนาดใหญ และการจัดสรรที่ดินเพ่ือประกอบ

อุตสาหกรรม และหากในภายหลังไดมีการจัดตั้งเปนเขตนิคมอุตสาหกรรมหรือสวน

อตุ สาหกรรม ก็สามารถย่นื ขอแกไขการใชประโยชนท ีด่ นิ ได

มตทิ ่ีประชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๔ ไวตาม
รา งผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบรุ ี ตามมตคิ ณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ีปรกึ ษาผงั เมอื งจังหวดั สุพรรณบุรี

เรื่องท่ี ๒ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข 3.10 บางสวน เปนที่ดินประเภท
อตุ สาหกรรมและคลงั สนิ คา (สมี ว ง)

- 229 -

ลาํ ดับท่ี เร่ือง/มติ อางอิง

(ครั้งที่/วนั ท่ปี ระชมุ )

ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ 2 ราย ไดแก ๑. บริษัท เจียมพัฒนาพลังงาน

อินเตอรเนช่ันแนล และ ๒. หางหุนสวนจํากัด เจียมพัฒนาพลังงาน (โดยนายณัฐภัทร

พทุ ธสวุ รรณ)

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากปจจุบันบริษัทฯ ทําเปนโรงงานและโกดัง

เก็บสินคาอยแู ลว และมีโครงการที่จะทําเปนโรงผลิตไฟฟาจากกาซชวี ภาพในอนาคต

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผงั เมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

บริเวณหมายเลข 3.10 บางสวน ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดกําหนด แตใหสามารถ

ดําเนินการไดในบัญชีโรงงานลําดับที่ ๘๙ และสามารถดําเนินการไดในการใช

ประโยชนท่ีดินเพื่อกิจการอื่นในอาคารท่ีไมใชอาคารสูง อาคารขนาดใหญ และอาคาร

ขนาดใหญพเิ ศษ ในโรงงานลาํ ดับท่ี ๘๘ เฉพาะในกรรมสิทธ์ทิ ด่ี ินทผ่ี ูรองย่ืนคาํ รองมา

มติทป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินในบริเวณหมายเลข
๓.๑๐ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีเงื่อนไข
ใหแกไขขอกําหนดใหสามารถดําเนินการโรงงานลําดับที่ ๘๙
และสามารถดําเนินการไดในการใชประโยชนท่ีดินเพ่ือกิจการ
อื่นในอาคารที่ไมใชอาคารสูง อาคารขนาดใหญ และอาคาร
ขนาดใหญพ ิเศษ เฉพาะในกรรมสิทธ์ทิ ่ีดินทผ่ี ูรองยนื่ คํารองมา
ต า ม ม ติ ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ผั ง เ มื อ ง พิ จ า ร ณ า คํ า ร อ ง ฯ
และกรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง

ดา นขอ กาํ หนดการใชป ระโยชนท ี่ดิน (จํานวน 3 เรอ่ื ง)
เรื่องที่ ๑ ขอแกไขและยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชุมชน (สีชมพู) ในบริเวณหมายเลข 1.11 ขอยกเลิกขอหาม ขอ 7 (5) เลี้ยงมา
โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ หาน เปด ไก งู จระเข หรือสัตวปา
ตามกฎหมายวาดวยการสงวนและคุมครองสตั วป าเพ่ือการคา
ผูรอง จํานวน 2 ฉบับ 2 ราย ไดแก 1. นางสุดใจ สุดโต 2. นายสรวง
หงสเวยี งจันทร (รับมอบอาํ นาจจาก นางสมาน หงสเวียงจันทร)
เหตุผลในการขอแกไข ปจจุบันผูรองประกอบอาชีพเล้ียงเปด หากผังเมืองรวม
บังคับใชจะทําใหไ มสามารถประกอบอาชพี หรอื ขยายกิจการได
ผลการพจิ ารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี กรมโยธาธิการและผังเมือง และ
คณะอนุกรรมการพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง
โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู) ในบริเวณหมายเลข
๑.๑๑ โดยใหค งขอ หาม ขอ ๗ (๕) เล้ียงมา โค กระบือ สุกร สนุ ขั แพะ แกะ หา น เปด ไก
งู จระเข หรอื สัตวปา ตามกฎหมายวาดวยการสงวนและคุมครองสัตวปาเพื่อการคา

- 230 -

ลาํ ดบั ท่ี เร่อื ง/มติ อา งอิง
มตทิ ีป่ ระชมุ
(คร้ังท/ี่ วนั ทีป่ ระชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท

ชุมชน (สีชมพู) ในบริเวณหมายเลข ๑.๑๑ ขอหาม ขอ ๗ (๕)

เล้ียงมา โค กระบือ สุกร สุนัข แพะ แกะ หาน เปด ไก งู จระเข

หรือสัตวปา ตามกฎหมายวาดวยการสงวนและคุมครองสัตวป า

เพ่ือการคา ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผงั เมอื ง และคณะท่ีปรกึ ษาผังเมืองรวมจงั หวดั สพุ รรณบุรี

เรื่องท่ี ๒ ขอแกไขและยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ชุมชน (สีชมพ)ู ในบรเิ วณหมายเลข 1.10 ขอยกเลิกขอ หา ม ขอ 7 (1) โรงงานตาม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการคุมครองความปลอดภัย
ในการดําเนินงาน (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2552

ผูรอ ง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแก นางนฤมล อัศวลาภนริ นั ดร
เหตุผลในการขอแกไข ผรู อ งไดเ ลง็ เห็นถึงศกั ยภาพและโอกาสในการเจรญิ เติบโต
ทางเศรษฐกิจ สงั คม และการลงทุนทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ในพ้นื ทบี่ รเิ วณน้ี ดว ยความทพ่ี ื้นที่ดงั กลาว
มีเสน ทางคมนาคมที่สะดวกและเหมาะสม จนถือไดวา เปน จุดยทุ ธศาสตรทางบกทส่ี ําคัญ
เห็นไดจากสภาพปจจุบันท่ีมีผูประกอบกิจการจํานวนมากไดเลือกดําเนินธุรกิจอยูใน
พื้นที่น้ีและจากจุดเดนในเร่ืองทําเลที่ต้ังน้ีเอง ท่ีชวยดึงดูดความสนใจของนักลงทุน
ทั้งในและตางประเทศ ใหเขามาลงทุนและชวยสงเสริมความเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจ
ซึ่งนอกจากจะสงผลดีตอภาพรวมของประเทศแลว ยังเปนการสรางรายไดและ
พัฒนาคุณภาพชวี ิตความเปน อยูข องคนในชุมชนหรือทองถิน่ ใหดีย่ิงขึ้นอีกดว ย ดังน้นั
ทางบริษัทจึงมีความตองการอยางสูงท่ีจะทําใหที่ดินบริเวณน้ีไดรับการพัฒนาจนถึง
ขีดสุด แตการท่ีขอกําหนดผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรีฉบับนี้ออกมาโดยมี
ขอหามมิใหประกอบกิจการโรงงานกวา ๑๑ ประเภท และในจํานวนหลายประเภทนั้น
ก็ไมใชประเภทโรงงานท่ีกอใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมหรือชุมชนแตอยางใด
ทาํ ใหโอกาสในการประกอบกิจการโรงงานถูกจํากัดลงอยางไมสอดคลองกับความเปน
จริงและยั งเป นการลดมู ลค าของท่ีดิ นในบริเวณน้ีลงไปอีกดวย ดังนั้น
จึงมีความประสงคท่ีจะขอใหกรมโยธาธิการและผังเมือง พิจารณาแกไขขอกําหนด
การใชประโยชนที่ดินใหสามารถประกอบกิจการโรงงานไดเพ่ิมมากขึ้น ตามแนบทาย
ประเภทโรงงานที่นําสงมาดวยน้ี เพ่ือใชประกอบการพิจารณาใหประเภทโรงงานเหลานี้
ไดรับอนุญาตใหสามารถประกอบกิจการไดในพน้ื ที่หมายเลข 3.12
ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง
โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู) ในบริเวณหมายเลข
๑.๑๐ ขอหาม ขอ ๗ (๑) โรงงานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง มาตรการ
คมุ ครองความปลอดภัยในการดําเนนิ งาน (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒

- 231 -

ลาํ ดบั ท่ี เรอ่ื ง/มติ อางอิง
มตทิ ป่ี ระชมุ
(คร้ังท่/ี วันทีป่ ระชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงขอกาํ หนดการใชประโยชนท่ีดนิ ประเภท

ชุมชน (สีชมพู) ในบริเวณหมายเลข ๑.๑๐ ขอหาม ขอ ๗

(๑) โรงงานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง

มาตรการคุมครองความปลอดภัยในการดําเนินงาน (ฉบับที่ ๔)

พ.ศ. ๒๕๕๒ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผังเมือง และคณะที่ปรกึ ษาผังเมืองรวมจงั หวัดสพุ รรณบุรี

เรื่องท่ี ๓ ขอแกไขและยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขยี ว) ในบรเิ วณหมายเลข 3.11 ขอยกเลิกขอ หา มขอ 9 (1) โรงงาน
ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการคุมครองความปลอดภัย
ในการดําเนินงาน (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2552 เวน แตโรงงานลําดับที่ 91 (2)

ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแก บริษัท ธนะมลกรุป ดีเวลอปเมนท
จํากดั (โดย นายฤกษช วิษฐ อัศวลาภนิรันดร)

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากพื้นท่ีบริเวณนี้ ทางบริษัทฯ ไดใชประโยชน
สาํ หรับประกอบกจิ การเก่ียวกับคลังสินคา มาเปนเวลานานกวา 20 ป ซงึ่ ในสวน
ของผลกระทบท่ีทางบริษทั ไดรับจากขอกําหนดผังเมืองรวมสุพรรณบุรีหลัก ๆ คอื
ในดานกิจการใหเชาคลังสินคา บริษัทในฐานะท่ีเปนผูนําการพัฒนาธุรกิจประเภทน้ี
มาเปนเวลานาน จึงมองเห็นถึงศักยภาพและโอกาสในการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
สังคมและการลงทุนที่จะเกิดข้ึนในพ้ืนท่ีบริเวณน้ี ดวยความท่ีพ้ืนที่ดังกลาว
มีเสนทางคมนาคมท่ีสะดวกและเหมาะสม จนถือไดวาเปนจุดยุทธศาสตรทางบก
ทีส่ ําคัญ เหน็ ไดจ ากสภาพปจจุบันที่มีผูประกอบกจิ การจาํ นวนมากไดเลอื กดําเนิน
ธุรกิจอยูในพ้ืนท่ีน้ี และจากจุดเดนในเรื่องทําเลท่ีตั้งน้ีเองที่ดึงดูดความสนใจ
ของนักลงทุนทั้งในและตางประเทศใหเขามาลงทุนและชวยสงเสริมความเจริญเตบิ โต
ทางดานเศรษฐกิจ ซ่ึงนอกจากจะสง ผลดีตอ ภาพรวมของประเทศแลว ยังเปน การสรา ง
รายไดและพัฒนาคุณภาพชีวิตความเปน อยูของคนในชมุ ชนหรือทองถ่ินใหดีย่ิงขึ้น
อกี ดวย ดังนนั้ ทางบริษทั จึงมคี วามตองการอยางสูงท่ีจะทําใหที่ดินบริเวณนี้ไดรับ
การพัฒนาจนถึงขีดสุด ดังน้ี เม่ือในขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินมีการหาม
ประกอบกิจการโรงงานมากกวา ๑๑ ประเภท ซ่ึงก็กลายเปนขอจํากัดในการดําเนิน
ธุรกิจของบริษัท และมีผลกระทบตอศักยภาพของการเปนพื้นท่ี ซึ่งมีความพรอม
ท่ี จะใชเปนศูนยรวมกลุ มธุรกิ จและเปนแหล งพัฒนาระบบเศรษฐกิจของช าติ
ทางบริษัทจึงใครขอใหกรมโยธาธิการและผังเมืองไดพิจารณาประเภทโรงงานตาง ๆ
ตามเอกสาร ทไ่ี ดแ นบทา ยมาเพิ่มเติมนี้ เพือ่ ใหม ีการแกไขขอกําหนดการใชประโยชน
ในทีด่ นิ ตอไป

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี กรมโยธาธิการและผังเมอื ง
และคณะอนุกรรมการพจิ ารณาคํารองฯ มีความเหน็ สอดคลองกัน คอื เหน็ ควรยกคํารอง

- 232 -

ลําดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(ครง้ั ที่/วันทป่ี ระชมุ )

โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

ในบริเวณหมายเลข ๓.๑๑ ขอหาม ขอ ๙ (๑) โรงงานตามประกาศกระทรวง

อุตสาหกรรม เร่ือง มาตรการคุมครองความปลอดภัยในการดําเนินงาน (ฉบับท่ี ๔)

พ.ศ. ๒๕๕๒

มตทิ ป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท ี่ดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขียว) ในบริเวณหมายเลข ๓.๑๑
ขอหา ม ขอ ๙ (๑) โรงงานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง มาตรการคุมครองความปลอดภัยในการดําเนินงาน
(ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒ ไวต ามรางผงั เมอื งรวมจงั หวัดสุพรรณบุรี
ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมอื ง และคณะท่ปี รกึ ษาผังเมอื งรวมจังหวดั สพุ รรณบรุ ี

43. เรื่อง คํารองผงั เมืองรวมจังหวัดสตูล ครั้งท่ี 11/๒๕๕8

ผังเมืองรวมจังหวัดสตูล ไดดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม วนั ที่ 9-10ก.ย.58

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง รวมพื้นที่ประมาณ ๒,๔๗๘ ตารางกิโลเมตร หรือ วาระท่ี 4.1.3

ประมาณ ๑,๕๔๘,๗๕๐ ไร ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง เม่ือวันท่ี หนา 21 - 28

๑๓ มีนาคม ๒๕๕๘ ปดประกาศ ๙๐ วัน เพื่อใหประชาชนผูมีสวนไดเสียไปตรวจดู

และยื่นคํารอ ง ตัง้ แตว นั ที่ ๑๕ พฤษภาคม – ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘ เมือ่ ครบกําหนด

มคี ํารอ งดา นการใชป ระโยชนท่ีดิน จาํ นวน ๒๐๕ ฉบับ ๔๙๘ ราย ๓ เรอ่ื ง และคํารอง

ขอเปล่ียนแปลงแกไขขอกําหนด จํานวน ๓ ฉบับ ๗๔ ราย ๓ เร่ือง ไดนําคํารองเสนอ

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสตูล เมื่อวันท่ี ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๘ และเสนอ

คณะอนกุ รรมการผงั เมืองพิจารณาคาํ รองฯ เมอ่ื วันท่ี ๑ - ๒ กันยายน ๒๕๕๘

คํารองดานการใชป ระโยชนท ่ีดิน (จํานวน 3 เรือ่ ง)

เรื่องท่ี ๑ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขยี ว) เปนที่ดินประเภทชมุ ชน (สีชมพู) แบงเปน ๓ พน้ื ท่ี

พ้นื ทีค่ ํารองบรเิ วณที่ ๑ บรเิ วณหมายเลข ๒.๒ บางสว น

พ้ืนท่คี ํารอ งบรเิ วณที่ ๒ บริเวณหมายเลข 2.5 หมายเลข 2.6 หมายเลข

๒.๗ บางสว น ขนานทางหลวงแผนดนิ หมายเลข ๔๑๖ ขางละ ๑,๐๐๐ เมตร

พืน้ ทคี่ ํารอ งบรเิ วณท่ี ๓ บรเิ วณหมายเลข ๒.๑๐

ผูร อง จาํ นวน ๔๙ ฉบับ ๑๒๗ ราย ไดแก

ผูรอ งพน้ื ทค่ี าํ รอ งบริเวณที่ ๑ ประชาชนหมูที่ ๕ ตําบลปากน้าํ รวม ๙๘ ราย

ผูรองพ้ืนที่คํารองบริเวณที่ ๒ นายกิติศักดิ์ ชูแสง และผูรองอื่นรวม ๑๕ ราย

และนายอนนั ต มารามาศ และผูร องอื่น รวม ๑๒ ราย

ผูรองพื้นที่คํารองบริเวณที่ ๓ นายนฤนนท ฮะยีบิลัง และนายสะอาด

หลังยาหนาย

- 233 -

ลําดบั ที่ เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(ครงั้ ท่/ี วันท่ปี ระชมุ )

เหตผุ ลในการขอแกไข

พน้ื ที่คํารองบริเวณท่ี ๑ บริเวณหมายเลข ๒.๒ บางสวน พื้นท่ีหมูที่ ๕ ตําบล

ปากนาํ้ อําเภอละงู ปจจุบนั เปน ทอี่ ยูอาศัยของประชาชน

พ้ืนท่ีคํารองบริเวณที่ ๒ บริเวณหมายเลข 2.5 หมายเลข 2.6 และหมายเลข

2.7 บางสวน ซ่ึงอยูในเขตการปกครองตําบลควนโพธ์ิ อําเภอเมืองสตูล ตําบลทาแพ

ตําบลทาเรอื ตําบลสาคร และตําบลแป - ระ อําเภอทาแพ มีเสนทางคมนาคมสายหลกั

คอื ทางหลวงแผนดินหมายเลข 416 มีการขยายตวั ของการใชประโยชนเ พ่อื การอยูอาศัย

และพาณชิ ยกรรม

พื้นทีค่ ํารองบริเวณท่ี ๓ บริเวณหมายเลข 2.10 ตําบลตนั หยงโป อําเภอเมืองสตูล

เปน ที่ตงั้ ของสถานท่ีทองเท่ียว ไดแก หาดทรายยาว สนั หลงั มังกร ปจจบุ นั มีการขยายตัว

ของชมุ ชนเพื่อรองรับการทอ งเท่ยี ว

ผลการพิจารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสตูล กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนกุ รรมการผังเมืองพจิ ารณาคาํ รองฯ มมี ตสิ อดคลองกัน คอื เห็นควรยกคํารอง

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๒.๒, ๒.๕, ๒.๖, ๒.๗
และ ๒.๑๐ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสตูล ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมือง และคณะที่ปรกึ ษาผงั เมืองรวมจังหวดั สตลู

เรื่องที่ ๒ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม
(สีเขยี วออนมเี สนทแยงสีขาว) เปน ท่ดี ินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

ผูรอง จํานวน 2 ฉบับ ๒ ราย ไดแก ๑. นายฮาหมัด อิสระพงศ
๒. นายยาอกบู สหู า

เหตุผลในการขอแกไข บริเวณหมายเลข 4.1๔ บางสวน ไดแก บริเวณตําบล
วังประจัน อําเภอควนโดน และตําบลเกตรี อําเภอเมืองสตูล พ้ืนที่บริเวณดังกลาว
เปนพ้ืนท่เี กษตรกรรม ปจ จบุ นั ใชประโยชนท ีด่ นิ เพอ่ื การอยอู าศัยเปนชุมชนวิถเี กษตร

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสตูล กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง เน่ืองจากพื้นที่บริเวณคํารองตั้งอยูในเขตอุทยานแหงชาติ
ปา หัวกะหมิง ปา กปุ ง ปา ปุโลต และปา ควนบอ น้ํา

มตทิ ี่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม
(สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) บริเวณหมายเลข ๔.๑๔ ไวตาม
รางผังเมืองรวมจังหวัดสตูล ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รอ งฯ กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง และคณะทปี่ รกึ ษา
ผังเมืองรวมจงั หวดั สตลู

- 234 -

ลาํ ดบั ท่ี เรือ่ ง/มติ อางอิง

(คร้งั ท่/ี วนั ทปี่ ระชมุ )

เรื่องท่ี ๓ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทสงวนไวเพื่อรักษา

สภาพปา ชายเลน (สเี ขยี วออ นมีเสนทแยงสีเทา) เปน ท่ีดินประเภทชมุ ชน (สชี มพ)ู

เหตุผลในการขอแกไข บริเวณหมายเลข 5.1 บางสวน ในเขตพ้ืนที่

หมูท่ี ๒ หมูที่ ๔ หมูท่ี ๕ และหมูท่ี ๗ ตําบลปากนํ้า อําเภอละงู มีชุมชนอาศัยอยู

หนาแนนมีอาคารพักอาศัย พักอาศัยก่ึงพาณิชย อาคารพาณิชยกรรม มีทาเรือ

เพื่อการทองเที่ยว และทา เรอื ประมงที่สรา งรายไดใหกับจงั หวดั สตูล

ผูรอง จํานวน ๑๕๔ ฉบับ ๓๖๙ ราย ไดแก ประชาชนหมูท่ี ๒ หมูท่ี ๔

หมูท่ี ๕ และหมูที่ ๗ ตาํ บลปากนํา้ อาํ เภอละงู

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเหน็ สอดคลองกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสตูล กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมอื งพจิ ารณาคาํ รองฯ มคี วามเห็นสอดคลองกนั คอื เหน็ ควร

ยกคํารอง เน่ืองจากบริเวณคํารองเปนพื้นท่ีปาสงวนแหงชาติ ปาเลนจังหวัดสตูล

ตอนที่ ๑ ซึ่งขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทสงวนไวเพื่อรักษาสภาพ

ปาชายเลน (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีเทา) วรรคสอง ที่ดินประเภทน้ีซ่ึงเอกชน

เปนเจาของหรือผูครอบครองโดยชอบดวยกฎหมาย ใหใชประโยชนที่ดิน

เพ่ือเกษตรกรรมการอยูอาศัย การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ

หรือสาธารณประโยชนเทานั้น และหามใชประโยชนท่ีดินเพ่ือกิจการตามท่ีกําหนด

ดงั ตอ ไปนี้

๑. จัดสรรท่ีดินเพอื่ การอยอู าศัย

๒. การอยูอ าศัยประเภทอาคารสูงหรอื อาคารขนาดใหญ

๓. การอยูอาศยั ประเภทอาคารชดุ หรือหอพัก

มตทิ ีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทสงวนไว
เพ่ือรักษาสภาพปาชายเลน (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีเทา)
บริเวณหมายเลข ๕.๑ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสตูล
ตามมตคิ ณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมือง และคณะทปี่ รึกษาผังเมอื งรวมจังหวดั สตูล

ดานขอ กาํ หนดการใชประโยชนท ่ีดิน (จํานวน 3 เร่อื ง)
เรื่องท่ี ๑ ขอเพ่ิมขอหามโรงงานอุตสาหกรรมในที่ดินประเภทชุมชน
(สีชมพู) โดยจดั ทําตารางบัญชที ายขอ กําหนด
ผรู อง 1 ฉบับ 31 ราย ไดแก นายสมบรู ณ คําแหง และผรู อ งอื่นรวม 31 ราย
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจังหวัดสตูลเปนจังหวัดท่ีชมุ ชนมีเอกลักษณ
เปนชุมชนเกษตร ชุมชนประมง และชุมชนทอ งเท่ียว จึงไมควรกําหนดการใชที่ดิน
แบบผสมที่ใหมีโรงงานท่ีกระจายในเขตพ้ืนที่ชุมชน ซ่ึงจะทําใหมีปญหา กอเหตุ
เดือดรอน รําคาญ สุขลักษณะ และความปลอดภัยของชุมชน และเปนปญหา
ตอการควบคุมการจัดการสิ่งแวดลอม ดังนั้น เห็นควรอนุญาตโรงงานจําพวกที่ 1
ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เทา นั้น

- 235 -

ลาํ ดบั ท่ี เรื่อง/มติ อางอิง

(คร้งั ท/่ี วนั ทป่ี ระชมุ )

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มีความเห็นสอดคลอ งกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสตูล กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง เน่ืองจากตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ กํากับไวเกี่ยวกับ

การประกอบกิจการโรงงานเปนเครื่องมือในการควบคุมดูแล การปองกันความเดือดรอน

รําคาญ และอันตรายตามระดับความรนุ แรงที่มีผลกระทบตอชุมชนหรือสิ่งแวดลอม

มตทิ ีป่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามโรงงานอุตสาหกรรม
ในท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๑
ถึงบริเวณหมายเลข ๑.๙ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสตูล
ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมือง และคณะท่ปี รกึ ษาผงั เมอื งรวมจังหวดั สตลู

เร่ืองท่ี ๒
1) ขอเพ่ิมขอ หา มโรงงานอุตสาหกรรมในทดี่ นิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สเี ขยี ว) โดยจดั ทาํ ตารางบัญชที ายขอ กําหนด
2) เพม่ิ ขอหาม“กจิ การทา เรือนาํ้ ลกึ ”
3) เพิ่มขอ ความ“การทอ งเทย่ี วเชิงอนุรกั ษ”
4) ใหตัดขอความ“เวนแตเปนการประกอบกิจการที่มีที่วางไมนอยกวา
รอยละส่สี ิบของแปลงทดี่ นิ ทขี่ ออนุญาต”
ขอ (๖) จัดสรรที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม เวนแตเปนการประกอบกิจการ
ท่ีมีที่วา งไมนอยกวารอ ยละส่ีสิบของแปลงที่ดินทขี่ ออนุญาต ใหตัดขอ ความ
ขอ (๗) จัดสรรท่ีดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม เวนแตเปนการประกอบ
กจิ การท่มี ที ี่วา ง ไมนอยกวารอ ยละส่สี ิบของแปลงทดี่ ินทขี่ ออนุญาต
ผูรอ ง จํานวน 2 ฉบบั 43 ราย ไดแ ก
๑. นายสมบรู ณ คาํ แหง และผูรอ งอนื่ รวม ๓๑ ราย
๒. นายอนนั ต มารามาศ และผูรอ งอนื่ รวม ๑๒ ราย
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากพ้ืนที่ชนบทและเกษตรกรรม เปนฐาน
ทรัพยากรที่สําคัญตอการดํารงชีวิตของประชาชนจังหวัดสตูล ซ่ึงเปนจังหวัด
ทม่ี ีความสาํ คัญดานการเกษตร การทอ งเที่ยว การประมง จงึ ไมค วรกาํ หนดการใช
ท่ีดินท่ีใหมีโรงงานที่กระจายในพ้ืนท่ีเกษตร โรงงานที่เพ่ิมเปนขอหามนี้ จัดเปน
กิจกรรมที่ขัดกับการใชประโยชนทางการเกษตร ซึ่งจะเปนผลกระทบตอมลพิษ
และส่งิ แวดลอ ม
ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสตูล กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขยี ว)

- 236 -

ลาํ ดบั ท่ี เรอื่ ง/มติ อา งอิง
มติท่ีประชุม
(ครง้ั ท/่ี วนั ท่ีประชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท

ชนบทและเกษตร (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๒.๑ ถึงบริเวณ

หมายเลข ๒.๑๓ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสตูล ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผงั เมอื ง และคณะทีป่ รึกษาผงั เมืองรวมจังหวดั สตูล

เรื่องที่ ๓ เพ่ิมขอหาม“กิจการทาเรือนํ้าลึก” ในขอกําหนดการใชประโยชน
ที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) และที่ดินประเภทสงวนไว
เพ่ือรกั ษาสภาพปา ชายเลน (สีเขยี วออนมีเสนทแยงสีเทา)

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบบั 3๑ ราย ไดแก นายสมบูรณ คําแหง และผรู อ งอื่น
รวม ๓๑ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากไดมีการเตรียมพื้นท่ีไวสรางสถานท่ีเก็บ
รักษากาซปโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ และสถานท่ีเก็บนํ้ามันประเภทไวไฟนอย
(ดเี ซล) เพื่อไวใชใ นกจิ การ (ไมใชเพอ่ื จําหนา ย)

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสตูล กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง เนื่องจากบริเวณคํารองเปนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน
มีเสนทแยงสขี าว) และทด่ี นิ ประเภทสงวนไวเ พื่อรักษาสภาพปาชายเลน (สเี ขยี วออน
มีเสนทแยงสีเทา) ซึ่งขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทสงวนไวเพื่อรักษา
สภาพปาชายเลน (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีเทา) วรรคสอง ที่ดินประเภทนี้
ซึ่งเอกชนเปนเจาของหรือผูครอบครองโดยชอบดวยกฎหมาย ใหใชประโยชนที่ดิน
เพ่ือเกษตรกรรม การอยูอาศัย การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ
หรือสาธารณประโยชนเทาน้ัน และหามใชประโยชนที่ดิน เพ่ือกิจการตามที่กําหนด
ดงั ตอไปน้ี
๑. จดั สรรทด่ี ินเพื่อการอยอู าศัย
๒. การอยูอาศยั ประเภทอาคารสงู หรืออาคารขนาดใหญ
๓. การอยูอาศยั ประเภทอาคารชดุ หรอื หอพัก

มติทปี่ ระชุม ยกคํารอ ง โดยใหคงขอ กําหนดการใชประโยชนทด่ี นิ ประเภท
อนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) และที่ดิน
ประเภทสงวนไวเพ่ือรักษาสภาพปาชายเลน (สีเขียวออน
มีเสนทแยงสีเทา) ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสตูล ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมือง และคณะทีป่ รึกษาผังเมืองรวมจังหวดั สตูล

- 237 -

ลําดับท่ี เร่ือง/มติ อา งอิง

(ครั้งที่/วนั ที่ประชมุ )

44. เรื่อง คํารอ งผังเมอื งรวมจังหวัดกาญจนบุรี ครัง้ ท่ี 11/๒๕๕8

ผังเมืองรวมจังหวัดกาญจนบุรี ไดดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม วนั ท่ี 9- 10 ก.ย. 58

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง รวมพ้ืนท่ีประมาณ 19,483 ตารางกิโลเมตร วาระท่ี 4.1.4

ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง เมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๘ หนา 29 - 40

ปดประกาศ ๙๐ วัน เพื่อใหประชาชนผูมีสวนไดเสียไปตรวจดูและยื่นคํารอง

ต้ังแตวันท่ี ๑๕ พฤษภาคม – ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘ เม่ือครบกําหนดมีคํารอง

ดา นการใชประโยชนทีด่ ิน จํานวน 960 ฉบบั 4,261 ราย 12 เรื่อง ไดนําคาํ รอง

เสนอคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาญจนบุรี เม่ือวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๘

เสนอกรมโยธาธิการและผังเมือง วันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๘ และเสนอคณะอนุกรรมการ

ผงั เมอื งพจิ ารณาคํารองฯ เมอ่ื วันท่ี ๑ - ๒ กนั ยายน 2558

คาํ รอ งดา นการใชป ระโยชนทดี่ นิ (จาํ นวน 12 เรอื่ ง)

เรื่องที่ ๑ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินในประเภทชุมชน (สีชมพู)

บริเวณหมายเลข ๑.๒๖ บางสวน เปนการใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม

และคลังสนิ คา (สีมวง)

ผรู อ ง จํานวน 1 ฉบบั 1 ราย ไดแ ก บรษิ ทั นา้ํ ตาลทามะกา จาํ กัด

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากพื้นที่ดังกลาวเปนที่ตั้งของบริษัท โรงงาน

น้ําตาลทามะกา จํากัด มีพื้นท่ี ๒๑๓ ไร ๗๘ งาน ๒,๖๗๗ ตารางวา เปนโรงงานลําดับที่

๑๑ (๓) จึงขอแกไขจากพื้นท่ีประเภทชุมชน (สีชมพู) เปนประเภทอุตสาหกรรม

และคลงั สนิ คา (สีมว ง) เพื่อใหส อดคลองกบั การใชป ระโยชนท ่ดี ินในปจจบุ ัน

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มีความเห็นสอดคลองกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจงั หวัดกาญจนบุรี กรมโยธาธิการและผังเมอื ง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง เน่ืองจากขอกําหนดในท่ีดินประเภทชุมชนไมไดหามประกอบ

กิจการโรงงานลาํ ดับท่ี ๑๑ (๓) จึงสามารถประกอบกิจการและขยายกิจการได ดังนนั้

จึงไมจาํ เปน ตอ งเปลยี่ นเปนทีด่ นิ ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสนิ คา (สมี วง)

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ประเภทชุมชน (สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๒๖ ไวตามราง
ผังเมืองรวมจังหวัดกาญจนบุรี ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ปี รกึ ษาผังเมอื งรวมจงั หวัดกาญจนบุรี

เรื่องที่ ๒ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน ในประเภทชุมชน (สีชมพู)
บริเวณหมายเลข ๑.๒๘ บางสวน เปนการใชประโยชนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลงั สินคา (สมี วง)

ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแก บริษัท โรงงานน้ําตาลนิวกรุงไทย
จํากดั (สาขาทา ไม)

- 238 -

ลําดับท่ี เรือ่ ง/มติ อางอิง

(ครั้งท/ี่ วันท่ปี ระชมุ )

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากพื้นท่ีดังกลาวเปนที่ตั้งของบริษัท โรงงาน

นํา้ ตาลนวิ กรงุ ไทย จํากัด (สาขาทาไม) ตําบลทา ไม อําเภอทา มะกา จังหวัดกาญจนบุรี

มีพื้นท่ี ๑๙๙ ไร ๗๔ ตารางวา เปนอุตสาหกรรมประเภทผลิตและซอมเคร่ืองจักร

จึงขอแกไขจากพ้ืนท่ีประเภทชุมชน (สีชมพ)ู เปนประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา

(สมี ว ง) เพอ่ื ใหส อดคลองกับการใชป ระโยชนท่ดี ินในปจจบุ ัน

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกัน)

คณะทปี่ รึกษาผังเมืองรวมจงั หวัดกาญจนบุรี กรมโยธาธิการและผงั เมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง เนื่องจากขอกําหนดในท่ีดินประเภทชุมชนไมไดหามประกอบ

กิจการอุตสาหกรรมประเภทผลิต และซอมเครื่องจักร จึงสามารถประกอบกิจการได

ดังนนั้ จงึ ไมจ าํ เปน ตองเปล่ียนเปนทด่ี ินประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสินคา (สมี วง)

มตทิ ปี่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ประเภทชุมชน (สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๒๖ ไวตามราง
ผังเมืองรวมจังหวัดกาญจนบุรี ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ปี รึกษาผงั เมืองรวมจงั หวัดกาญจนบรุ ี

เร่ืองท่ี ๓ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน ในประเภทชนบทและ
เกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓ บางสวน เปนการใชประโยชนที่ดิน
ประเภทอุตสาหกรรมและคลงั สนิ คา (สมี วง)

ผูรอง จาํ นวน 1 ฉบบั 1 ราย ไดแก บริษทั บอพลอยฟดู อนิ ดสั ทรี
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากพ้ืนที่ดังกลาวเปนที่ต้ังของโรงงาน บริษัท
บอพลอยฟูด - อินดัสทรี จํากัด มาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๗ จนถึงปจจุบัน โรงงานลําดับที่
๘ (๑) มีพื้นที่ ๑๒๓ ไร ๖ ตารางวา จึงขอใหแกไขเปนพื้นท่ีชนบทและเกษตรกรรม
(สเี ขียว) เปนประเภทอุตสาหกรรมและคลังสนิ คา (สมี ว ง) เพอ่ื ใหสอดคลองกับการใช
ประโยชนท ด่ี นิ ในปจจุบัน
ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเหน็ สอดคลอ งกนั )
คณะทป่ี รึกษาผังเมืองรวมจงั หวัดกาญจนบุรี กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง เน่ืองจากขอกําหนดในที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว)ไมไดหามประกอบกิจการโรงงานลําดับที่ ๘ (๑) จึงสามารถประกอบ
กิจการและขยายกิจการได ดังนั้น จึงไมจําเปนตองเปลี่ยนเปนท่ีดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมว ง)

มติที่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓ ไวตาม
รางผังเมืองรวมจังหวัดกาญจนบุรี ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทป่ี รึกษาผงั เมอื งรวมจังหวดั กาญจนบุรี

- 239 -

ลําดับที่ เรื่อง/มติ อา งอิง

(ครัง้ ที่/วันทป่ี ระชมุ )

เร่ืองท่ี ๔ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท ่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓ บางสวน เปนการใชประโยชนที่ดินประเภท

อุตสาหกรรมและคลงั สนิ คา (สีมว ง)

ผูรอง จํานวน 3 ฉบับ 1 ราย ไดแก บริษัท โรงงานน้ําตาลนิวกรุงไทย จํากัด

(สาขาบอพลอย) ตําบลหลุมรงั อาํ เภอบอ พลอย จังหวดั กาญจนบรุ ี และบริษัทในเครือ

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากพ้ืนที่ดังกลาวเปนที่ตั้งของโรงงาน บริษัท

โรงงานน้ําตาลนิวกรุงไทย จํากัด (สาขาบอพลอย) และบริษัทในเครือ มีพื้นท่ี

๒,๖๑๖ ไร ๔๐ ตารางวา จึงขอใหแกไขเปนพ้ืนที่ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

เปน ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สมี ว ง) เพอ่ื จะไดส ามารถดําเนนิ การผลิต

กา ซชวี ภาพซงึ่ เปน โรงงานลําดบั ท่ี 89 ได

โดยบริษัท โรงงานน้ําตาลนิวกรุงไทย จํากัด (สาขาบอพลอย) และบริษัท

ในเครอื ดงั น้ี

๑. บริษัท โรงงานน้ําตาลนิวกรุงไทย จํากัด ตําบลหลุมรัง อําเภอบอพลอย

จังหวดั กาญจนบรุ ี (๑,๙๗๒ – ๐ - ๖.๗) เปนโรงงานผลิตนํ้าตาลทราย เปน โรงงาน

ลําดบั ที่ ๑๑ (๓) และ ๑๑ (๔)

๒. บริษัท โรงไฟฟานํ้าตาลขอนแกน จํากัด ตําบลหลุมรัง อําเภอบอพลอย

จังหวัดกาญจนบุรี (๒๑๓ – ๑ - ๓.๑) เปนโรงงานผลิต สงหรือจําหนายพลังงาน

ไฟฟา เปน โรงงาน ลําดับท่ี ๘๘

๓. บริษัท ขอนแกนแอลกอฮอล จํากัด ตําบลหลุมรัง อําเภอบอพลอย

จังหวดั กาญจนบุรี (๔๓๐ – ๓ - ๓๐.๗๐) เปน โรงงานผลติ เอทานอล ปยุ กาซชวี ภาพ

เปนโรงงาน ลําดบั ท่ี ๑๗, ๔๓ (๑), ๘๙

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาญจนบุรี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง เน่ืองจากขอกําหนดในที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขยี ว) ไมไดห ามประกอบกิจการโรงงานลําดบั ท่ี 11 (3) ลําดับที่ 11 (4) ลาํ ดับ

ที่ 88 ลําดับท่ี 17, 43 (1) แตโรงงานลําดับท่ี 89 ซ่ึงขอกําหนดหามดําเนินการ

เห็นควรใหปรับแกขอกําหนดโดยยกเวนโรงงานลําดับที่ 89 ใหสามารถดําเนินการได

เฉพาะในพน้ื ทขี่ องบรษิ ัทฯ ผูร องเทา น้นั

มตทิ ่ีประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓
ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดกาญจนบุรี โดยยกเวน
โรงงานลําดับที่ 89 ใหส ามารถดําเนินการไดเฉพาะในพื้นท่ี
ของบริษัทฯ ผูรองเทา นัน้ ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผงั เมอื งรวมจังหวดั กาญจนบุรี

- 240 -

ลาํ ดบั ที่ เรอื่ ง/มติ อา งอิง

(ครั้งที่/วันทปี่ ระชมุ )

เรือ่ งที่ ๕ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินในประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สเี ขียว) บรเิ วณหมายเลข ๓.๕ บางสว น เปน การใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม

และคลังสนิ คา (สมี วง)

ผรู อ ง จํานวน 2 ฉบับ 1 ราย ไดแก บรษิ ทั สิมะพิชยั จํากดั

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากพ้ืนที่ดังกลาวเปนที่ตั้งของโครงการสวน

สบายคันทรี่โฮม ของบริษัทในเครือ บริษัท ไทยธุรกิจที่ดิน จํากัด มีวัตถุประสงค

เพ่ือเปนที่พักอาศัย บานหลังที่สองของคนเมือง โดยไดจัดสาธารณูปโภค

และสันทนาการตาง ๆ ทง้ั ระบบประปา ไฟฟา ถนนในโครงการ แหลง นาํ้ สโมสร สนาม

เด็กเลน สนามฟุตบอล สนามฝก ขมี่ า สนามฝก ซอมกอลฟเล็ก สวนเกษตรผสมผสาน

เพาะพันธุไม สวนสมุนไพร โดยบริษัท ไทยธุรกิจ จํากัด ไดรับอนุญาตจาก

กระทรวงมหาดไทย ตามหนังสอื อนุญาตทาํ การคา ท่ีดิน ฉบบั ท่ี ๖/๒๕๓๖

ในอนาคตมีแผนงานขยายกิจการเพ่ิมเติมเปนการประกอบการอุตสาหกรรม

บริการ (ตามเงื่อนไขของนิคมอุตสาหกรรม) โดยมีหลักการออกแบบเปนเมือง

อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ปจจุบันอยูในขั้นเตรยี มการยื่นขออนุญาตจดั แปลงโครงการ

สวนสบายเปนนิคมอุตสาหกรรมบริการ จากการนิคมแหงประเทศไทย มีพื้นที่

โครงการ ๑,๙๒๖ ไร ๓ งาน ๘๑ ตารางวา ดังน้ัน จึงขอเปลี่ยนแปลงการใช

ประโยชนทด่ี นิ เพือ่ ใหสามารถดําเนินการประกอบอตุ สาหกรรมบริการได

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเห็นสอดคลองกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาญจนบุรี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง

เน่ืองจากผูรองไดขอเปลย่ี นแปลงการใชป ระโยชนท ี่ดินท้ังโครงการสวนสบายคันทรโ่ี ฮม

ซึ่งมีผูอ่ืนถือกรรมสิทธ์ิอยูในโครงการโดยใชประโยชนเปนท่ีอยูอาศัยอยูจํานวนมาก

ดังนั้น ถือไดวาเปนการรองเกินสิทธิ์ของตนเอง ที่ควรจะรองเฉพาะพ้ืนท่ีที่จะไปใช

ประโยชนเ ปน อตุ สาหกรรมบริการเทานั้น

มติท่ีประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๕
ไว ตามร างผั งเมื องรวมจั งหวั ดกาญจนบุ รี ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาญจนบุรี

เร่ืองที่ ๖ ขอเปลี่ยนแปลงการใชป ระโยชนท ่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓ บางสวน และพื้นที่ตอเน่ือง คือ ท่ีหวงหาม
ของทางราชการทหาร (สีขาว) บางสวน เปนการใชป ระโยชนทด่ี ินใน ๒ เร่อื ง ดังนี้

๑. ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) เปน ท่ีดนิ ประเภทชุมชน (สชี มพู)
๒. ประเภทหวงหามของทางราชการทหาร (สีขาว) เปน ท่ีดินประเภท
ชมุ ชน (สีชมพู) และเปนทด่ี นิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

- 241 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครั้งที่/วนั ทปี่ ระชมุ )

ผูรอง จํานวน 3 ฉบับ 1,360 ราย ไดแก นายกองคการบริหาร

สว นตาํ บลหลุมรัง และพวก

เหตุผลในการขอแกไข

1. เน่ืองจากพ้ืนที่ดังกลาวมี 3 บริเวณที่มีประชาชนอาศัยอยูหนาแนน

(มีพื้นที่ประมาณ 2,969 ไร มีประชากรประมาณ 6,342 คน มีความหนาแนน

2.13 คน/ไร) จึงขอใหแกไขพื้นที่ประเภทชนบท และเกษตรกรรม (สีเขียว)

เปนประเภทชุมชน (สีชมพู) โดยปจจุบันในพื้นที่มีการอยูอาศัยหนาแนนมีอาคาร

พาณิชยกรรม พื้นท่ีเกษตรกรรม โรงเรียนหลุมรัง วัดหลุมรัง สถาบันราชการ

สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ จึงสมควรใหเปนท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู)

เพื่อสามารถรองรับและสอดคลองกับการขยายตัวของชุมชนของอําเภอบอพลอย

และอาํ เภอหนองปรอื ไดในอนาคต

๒. ปจจุบันในพ้ืนท่ีสีขาว มีการใชประโยชนที่ดินเพื่อการอยูอาศัยพาณิชยกรรม

เกษตรกรรม เชน ออย มันสําปะหลงั สับปะรด ขา วโพด ฯลฯ วัด โรงเรียน สถาบันราชการ

สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ และแหลงทองเที่ยว จึงขอเปลี่ยนเปนท่ีดิน

ประเภทชุมชน (สีชมพู) และที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

เพือ่ รองรบั การขยายตวั ของชมุ ชนและสอดคลองกบั สภาพปจจบุ นั

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาญจนบุรี กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควรใหตามคํารอง

ขอท่ี 1 ที่ขอเปลี่ยนประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) เปนที่ดินประเภทชุมชน

(สชี มพู)

มตทิ ี่ประชุม ยกคํารองทั้ง ๒ ประเด็น โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชน
ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ
หมายเลข ๓.๓ และพื้นที่หวงหามของทางราชการทหาร
(สีขาว) ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดกาญจนบุรี ตามมติ
คณะอนกุ รรมการผงั เมอื งพจิ ารณาคาํ รอ งฯ

ผรู อง จํานวน 1 ฉบบั 1 ราย ไดแ ก นายกเทศมนตรตี ําบลสหกรณน คิ ม
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากขณะน้ีมีประชาชนอยูอาศัยและประกอบ
อาชีพตาง ๆ เปนจํานวนมาก เชน คาขาย ท่ีพักอาศัยและในอนาคตจะมีการขยายตัว
มากขน้ึ จึงขอแกไขพืน้ ท่ีเปน ประเภทชุมชนเพ่ือรองรบั การขยายตัวของชุมชน
ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเหน็ สอดคลองกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาญจนบุรี กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง
เนื่องจากบริเวณที่ขอเปลย่ี นแปลงอยู ในเขตปาไม ตามมติคณะรัฐมนตรีเพื่อสงวน
และคมุ ครอง ดูแลรกั ษา หรอื บํารงุ ปา ไม สตั วป า ตน นา้ํ ลาํ ธาร และทรัพยากรธรรมชาติอน่ื ๆ
และใหเ ปนสมบัตขิ องชาตติ อ ไป และกรณีที่มีเอกชนเปนเจาของหรือผูครองครอง


Click to View FlipBook Version