The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปมติสำคัญของคณะกรรมการผังเมือง เล่มที่ 17

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DPT eBook, 2021-03-09 02:13:09

สรุปมติสำคัญของคณะกรรมการผังเมือง เล่มที่ 17

สรุปมติสำคัญของคณะกรรมการผังเมือง เล่มที่ 17

- 142 -

ลําดับที่ เร่อื ง/มติ อางอิง

(คร้งั ท่ี/วันที่ประชมุ )

ประชาชนไดรับความเดื อดร อนจา กการเวน ท่ีวาง ริมเ ข ต ทาง หลวงแ ผ น ดิ น

เปนจาํ นวนมาก และลดผลกระทบตอ ชมุ ชนและรักษาวิถีชวี ิตที่สุขสงบตอไป

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คาํ รอ งฯ มมี ติสอดคลองกนั คือ ยกคาํ รอง โดยใหค งขอ กําหนดการใชประโยชนที่ดิน

ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑, ๓.๒, ๓.๖, ๓.๘

และ ๓.๙ ไวต ามที่รางผังเมืองรวมจงั หวัดกาํ หนด

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑, ๓.๒,
๓.๖, ๓.๘ และ ๓.๙ ไวต ามทรี่ างผังเมอื งรวมจังหวดั กําหนด
ต า ม ม ติ ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ผั ง เ มื อ ง พิ จ า ร ณ า คํ า ร อ ง ฯ
และกรมโยธาธิการและผงั เมอื ง

เร่ืองที่ ๓ ขอยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขียว) ขอ ๑๐ การกําหนดพื้นทวี่ า งริมฝง แมนํา้ ลาว แมน ํ้าแวน
ลําคลองหรือแหลงน้ําสาธารณะ ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
บริเวณหมายเลข ๓.๑ และ ๓.๒

ผรู อง จํานวน ๖๗ ฉบับ ๖๗ ราย นางนอ ย แสงโปรง และผูร อ งอน่ื รวม ๖๗ ราย
เหตุผลในการขอแกไข
๑. เนื่องจากสภาพพ้ืนที่มีชุมชนหนาแนน การกําหนดพื้นที่วางริมฝง
แมนํ้าลาว และแมน ้ําแวน ไมนอยกวา ๑๕ เมตร กาํ หนดพ้ืนท่ีวางริมฝงลาํ คลอง
หรือแหลงนํ้าสาธารณะ ไมนอยกวา ๖ เมตร เปนระยะท่ีมากเกินไป
๒. ที่ดินมีขนาดแปลงที่เล็ก หากเวนที่วางริมฝงแมนํ้าลําคลองหรือแหลงน้ํา
สาธารณะแลว ที่ดินท่เี หลอื ไมส ามารถใชประโยชนทีด่ ินไดอยางเต็มท่ี
ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเหน็ ตางกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดพะเยา ใหตามคํารอง โดยใหยกเลิก
การกําหนดท่ีวางริมฝงแมน้ําลาว แมน้ําอิง แมน้ําแวน และแมน้ํายม ลําคลอง
หรอื แหลง น้าํ สาธารณะ ในท่ีดนิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สเี ขยี ว) บริเวณหมายเลข ๓.๑ และ ๓.๒ ไวตามทรี่ างผงั เมอื งรวมจังหวัดกาํ หนด

มติทป่ี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑
และ ๓.๒ ไวตามที่รางผังเมืองรวมจังหวัดกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารอ งฯ และกรมโยธาธกิ าร
และผงั เมือง

- 143 -

ลาํ ดับที่ เรื่อง/มติ อา งอิง
28.
(คร้ังที่/วันที่ประชุม)

เรื่อง คํารอ งผงั เมอื งรวมเมอื งพะเยา จังหวดั พะเยา (ปรบั ปรงุ ครั้งที่ ๒) คร้ังที่ 9/๒๕๕8

ผังเมืองรวมเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ไดดําเนินการวางและจัดทํา วนั ที่ 27 ส.ค. ๕8

ผังเมืองรวมโดยกรมโยธาธิการและผังเมือง และไดถายโอนใหองคกรปกครอง วาระท่ี 4.2.10

สวนทองถิ่นดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม เมื่อวันท่ี ๑๕ กันยายน ๒๕๔๙ หนา 86 - 92

ครอบคลุมพื้นที่เทศบาลตําบลทาวังทอง เทศบาลตําบลบานตํ๊า เทศบาลตําบล

สันปา มวง ตําบลเวยี ง เทศบาลตําบลบานสาง องคการบริหารสวนตําบลบานตุน

ตําบลบานตํ๊า พื้นท่ีบางสวนขององคการบริหารสวนตําบลแมใส องคการบริหาร

สวนตําบลจําปาหวาย เทศบาลตําบลแมกา และองคการบริหารสวนตําบล

ดอกคําใต ขยายพ้ืนที่วางผังจากเดิม ๗๑.๐๖ ตารางกิโลเมตร เปน ๓๒๒.๖๖

ตารางกิโลเมตร หรือ ๒๐๑,๖๖๒.๕ ไร ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการ

ผังเมือง เมื่อวันท่ี ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ไดนํารางผังเมืองรวมไปปดประกาศ

๙๐ วัน เพื่อใหประชาชนผูมีสวนไดเสียไปตรวจดูและย่ืนคํารอง ต้ังแตวันที่

๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ถึงวันท่ี ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ เมื่อครบกําหนด มีคํารอง

๘๗ ฉบบั ๘๗ ราย ๕ เรื่อง โดยแยกเปนคํารองดานการใชป ระโยชนท ่ีดนิ ๑ ฉบบั

๑ ราย ๑ เร่ืองคํารองดานการแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ๒ ฉบับ

๒ ราย ๑ เร่ือง และคํารองดานโครงการคมนาคมและขนสง ๘๔ ฉบับ ๘๔ ราย

๓ เร่ือง ไดนําคํารองเสนอคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมเมืองพะเยา เมื่อวันท่ี

๑๖ กันยายน ๒๕๕๗ เสนอกรมโยธาธิการและผงั เมอื ง เม่ือวันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๘

และเสนอคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เมื่อวันท่ี ๓ เมษายน ๒๕๕๘

รายละเอียดปรากฏ ดงั นี้

คํารองดา นการใชประโยชนทดี่ ิน (จํานวน ๑ เร่อื ง)

เรื่อง ขอเปลี่ยนแปลงท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ

หมายเลข ๕.๔ เปนการใชประโยชนท ดี่ นิ ประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สินคา (สีมวง)

ผูร อ ง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท ศรีเจาพระยา

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากท่ีดินบริเวณดังกลาวมีสภาพทางภูมิศาสตร

เปนท่ีดอนและท่ีราบสูง ไมเหมาะแกการทําเกษตรกรรม แตเหมาะแกการประกอบ

กจิ การอุตสาหกรรม

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมเมืองพะเยา กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพจิ ารณาคํารอ งฯ มีมติสอดคลองกนั คือ ยกคํารอง

โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

บรเิ วณหมายเลข ๕.๔ ไวตามทรี่ า งผงั เมอื งรวมกําหนด

มติที่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๔ ไวต ามที่ราง
ผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผงั เมืองรวมเมอื งพะเยา

- 144 -

ลาํ ดับท่ี เร่ือง/มติ อางอิง

(ครงั้ ท/ี่ วันทป่ี ระชมุ )

คาํ รอ งดานการแกไ ขขอ กาํ หนดการใชประโยชนทีด่ ิน (จาํ นวน ๑ เรอื่ ง)

เรื่อง ขอยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัย

หนาแนนปานกลาง (สีสม) ขอ ๘ บริเวณหมายเลข ๓.๑๗ เก่ียวกับขอหาม
ความสงู อาคารไมเกิน ๑๒ เมตร และอาคารสงู ทีม่ ีพื้นทเ่ี กนิ ๒,๐๐๐ ตารางเมตร

ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ไดแก วาท่ีพันตรี สุพรรณ แสนพันธ

และนายปรกรณ ขอื สุวรรณ

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากเพราะขอกําหนดไมมีเหตุผลรองรับ

เปนความเห็นเฉพาะบุคคลท่ีเขียนขอกําหนดเทานั้น ไมถูกตองตามเกณฑ

มาตรฐานผังเมืองรวม พ.ศ. ๒๕๔๙ และผิดหลักเศรษฐศาสตรดานการลงทุน

การวเิ คราะหป ระเมนิ มลู คาท่ดี นิ

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มีความเห็นสอดคลองกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมเมืองพะเยา กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนปานกลาง
(สีสม ) บริเวณหมายเลข ๓.๑๗ ไวตามทร่ี างผังเมืองรวมกาํ หนด

มติทป่ี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง (สีสม) บริเวณหมายเลข ๓.๑๗
ไวตามท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมเมืองพะเยา

คาํ รอ งดานโครงการคมนาคมและขนสง (จาํ นวน ๓ เรอ่ื ง)
เร่ืองท่ี ๑ ขอยกเลิกการขยายถนนโครงการสาย ค ๑ ขนาดเขตทาง
๒๐.๐๐ เมตร ระยะทาง ๓,๘๐๙ เมตร
ผูรอง จํานวน ๘๐ ฉบับ ๘๐ ราย ไดแก นายบุญนาค เตชะปญญา
และผูร อ งอื่น รวม ๘๐ ราย
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากมีบานเรือนอยูติดกับทางหลวงชนบท
พย.๑๐๐๑ มพี นื้ ที่คบั แคบกระทบกับตวั อาคารสง่ิ ปลูกสรา ง
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมเมืองพะเยา กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนกุ รรมการผงั เมืองพจิ ารณาคาํ รองฯ มีมตสิ อดคลองกนั คือ ยกคํารอ ง
โดยใหคงถนนโครงการสาย ค ๑ ขนาดเขตทาง ๒๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการ
คมนาคมและขนสงทีร่ า งผังเมืองรวมกาํ หนด

มติทีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ค ๑ ขนาดเขตทาง
๒๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง
ที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมอื งรวมเมืองพะเยา

- 145 -

ลําดบั ท่ี เรือ่ ง/มติ อา งอิง

(ครั้งท่/ี วนั ทป่ี ระชุม)

เร่ืองท่ี ๒ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ข ๓ ขนาดเขตทาง ๑๔ เมตร

ระยะทาง ๑,๑๔๓ เมตร

ผรู อง จํานวน ๒ ฉบบั ๒ ราย ไดแก นางบูรพา มาตรมลู และนางเจนจิรา บาํ รงุ

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากที่ดินมีขนาดเล็กและมีส่ิงปลูกสราง

เปน บานพกั อาศัยและเปนท่ที าํ มาหากิน

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลองกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมเมืองพะเยา กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผงั เมืองพิจารณาคํารองฯ มมี ตสิ อดคลอ งกนั คือ ยกคาํ รอง

โดยใหคงถนนโครงการสาย ข ๓ ขนาดเขตทาง ๑๔ เมตร ไวตามแผนผังโครงการ

คมนาคมและขนสงทรี่ า งผังเมอื งรวมกาํ หนด

มตทิ ่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ข ๓ ขนาดเขตทาง
๑๔ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง
ที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมอื งรวมเมอื งพะเยา

เร่ืองที่ ๓ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ข ๘ ขนาดเขตทาง ๑๔ เมตร
ระยะทาง ๑,๒๒๘ เมตร

ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ไดแก นางดาณี เจริญสุข และนางจันทรหอม
เจริญสุข

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากการขยายถนนเพิ่มอีกทําใหเขามา
ในเขตท่ีอยูอาศัยมากเกินไป ซึ่งจะทาํ ใหม ีผลกระทบกบั โครงสรางอาคาร

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมเมืองพะเยา กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงถนนโครงการสาย ข ๘ ขนาดเขตทาง ๑๔ เมตร ไวต ามแผนผังโครงการ
คมนาคมและขนสงทร่ี างผังเมอื งรวมกําหนด

มตทิ ป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ข ๘ ขนาดเขตทาง
๑๔ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง
ที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผังเมืองรวมเมืองพะเยา

29. เรอื่ ง คํารอ งผังเมอื งรวมชุมชนเชยี งคาํ - สบบง - บานทราย จังหวัดพะเยา ครั้งท่ี 9/๒๕๕8
ผังเมืองรวมชุมชนเชียงคํา - สบบง - บานทราย จังหวัดพะเยา เปนผังเมืองรวม วนั ท่ี 27 ส.ค. ๕8

พื้นที่เปดใหม ดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวมโดยสํานักงานโยธาธิการ วาระท่ี 4.2.11
และผังเมืองจังหวัดพะเยา รวมกับเทศบาลตําบลสบบง เทศบาลตําบลหยวน หนา 92 - 98
เทศบาลตาํ บลเชียงคํา เทศบาลตําบลเวียง และเทศบาลตําบลฝายกวาง ครอบคลุม

- 146 -

ลาํ ดับที่ เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครั้งที/่ วันท่ปี ระชมุ )

พ้ืนท่ีทั้งหมดของเทศบาลตําบลเชียงคํา เทศบาลตําบลเวียง อําเภอเชียงคํา

พ้ืนที่บางสวนของเทศบาลตําบลสบบง อําเภอภูซาง เทศบาลตําบลหยวน

และเทศบาลตําบลฝายกวาง อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา รวมพื้นท่ีวางผัง
ประมาณ ๓๑.๑ ตารางกิโลเมตร หรือ ๑๙,๔๓๘ ไร ไดผานความเห็นชอบ

จากคณะกรรมการผังเมือง เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๖ ไดนํารางผังเมืองรวม

ไปปดประกาศ ๙๐ วัน เพื่อใหประชาชนผูมีสวนไดเสียไปตรวจดูและยื่นคํารอ ง

ตั้งแตวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๗ ถึงวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๗ เม่ือครบกําหนด

มีคํารอง ๑๖๘ ฉบับ ๑๖๖ ราย ๖ เรื่อง โดยแยกเปนดานการแกไขขอกําหนด

การใชประโยชนที่ดิน ๙๖ ฉบับ ๙๖ ราย ๒ เรื่อง และคํารองดานโครงการ

คมนาคมและขนสง ๗๒ ฉบับ ๗๐ ราย ๔ เร่ือง ไดนําคํารองเสนอคณะท่ีปรึกษา

ผังเมืองรวมชุมชนเชียงคํา – สบบง - บานทราย เม่ือวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๕๘

และเสนอกรมโยธาธิการและผังเมือง เม่ือวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๘ และเสนอ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เม่ือวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๘

รายละเอียดปรากฏ ดังน้ี

ดา นการแกไ ขขอ กาํ หนดการใชประโยชนท ี่ดิน (จํานวน ๒ เรอื่ ง)

เรื่องท่ี ๑ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษ

เพือ่ การอยอู าศัย (สีเหลืองมีเสน ทแยงสขี าว) ขอ ๖ บริเวณหมายเลข ๑ ดังนี้

๑. ขอยกเลกิ ขอหาม (๑), (๓)

- ขอ ๖ (๑) อาคารตองมีรปู แบบสถาปตยกรรมพืน้ ถิ่น หรอื สถาปต ยกรรมไทย

- ขอ ๖ (๓) สีอาคารภายนอก และสหี ลังคาเปน สกี ลมกลืนธรรมชาติ

๒. ขอยกเลกิ (๒) จํานวนผรู อง ๒๓ ราย

- ขอ ๖ (๒) ความสงู อาคารไมเกิน ๒ ช้นั หรือ ๗ เมตร โดยวัดจากระดับ

พ้ืนดินท่ีกอสรางถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด โดยกําหนดความลาดชันของหลังคา

ไมนอ ยกวา ๓๐ องศา
๓. ขอแกไข (๒) ความสูงอาคารจาก ๗ เมตร เปน ๑๕ เมตร จํานวน

ผรู อง ๓๒ ราย

ผูรอง จํานวน ๕๕ ฉบับ ๕๕ ราย ไดแก นางทองใบ สมฤทธิ์ และผูรองอ่ืน

รวม ๕๕ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากสงผลกระทบตอผูรองและจํากัดสิทธิ์

ในการกอ สรา งทาํ ใหไ ดร ับความเดือดรอ น

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มีความเห็นสอดคลอ งกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนเชียงคํา - สบบง – บานทราย

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษเพื่อการอยูอาศัย

(สเี หลอื งมีเสน ทแยงสีขาว) บรเิ วณหมายเลข ๑ ไวต ามทรี่ างผงั เมอื งรวมกําหนด

- 147 -

ลาํ ดบั ท่ี เรือ่ ง/มติ อา งอิง
มตทิ ่ปี ระชมุ
(คร้ังที่/วนั ทปี่ ระชุม)

ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท

อนุรักษเพ่ือการอยูอาศัย (สีเหลืองมีเสนทแยงสีขาว) บริเวณ

หมายเลข ๑ ไวตามท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผังเมือง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนเชียงคาํ -

สบบง - บา นทราย

เรื่องที่ ๒ ขอยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทที่อยูอาศัย
หนาแนนนอย (สีเหลือง) ขอ ๗ บริเวณหมายเลข ๒.๙ และ ๒.๑๐ ในสวน
ของการกําหนดการใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอ่ืน ใหใชไดไมเกินรอยละสิบ
ของท่ดี ินในแตละบริเวณใหสามารถดําเนินกิจการอื่นไดเต็มพ้ืนที่

ผูรอ ง จาํ นวน ๔๑ ฉบับ ๔๑ ราย ไดแก นางมนิครณ อารญั และผรู องอ่ืน
รวม ๔๑ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากในท่ีดินบริเวณดังกลาวมีพื้นท่ีจํากัด
และมคี วามจําเปน ตอ งใชพน้ื ทใ่ี นการพฒั นา ทาํ ใหผรู อ งไดรับความเดอื ดรอน

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนเชียงคํา - สบบง – บานทราย
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติ
สอดคลองกัน คือ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ๒.๙ และ ๒.๑๐ ไวตามที่
รา งผังเมืองรวมกาํ หนด

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน
ประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณ
หมายเลข ๒.๙ และ ๒.๑๐ ไวตามท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด
ต า ม ม ติ ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ผั ง เ มื อ ง พิ จ า ร ณ า คํ า ร อ ง ฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
ชมุ ชนเชียงคาํ - สบบง - บา นทราย

คํารองดานโครงการคมนาคมและขนสง (จาํ นวน ๔ เรือ่ ง)
เรื่องที่ ๑ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๒ ขนาดเขตทาง ๑๔.๐๐ เมตร
ระยะทาง ๕๗๖ เมตร
ผูรอง จํานวน ๒๓ ฉบับ ๒๓ ราย ไดแก นางเสง่ียม อําไพ และผูรองอื่น
รวม ๒๓ ราย
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากแนวถนนโครงการสาย ก ๒ ไดพาดผาน
เขา ไปในเขตท่ีดนิ และอาคารพักอาศยั ของผูรอง ทําใหไดรับความเดือดรอน

- 148 -

ลาํ ดับที่ เร่ือง/มติ อางอิง

(ครงั้ ที/่ วนั ที่ประชมุ )

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนเชียงคํา - สบบง – บานทราย กรมโยธาธิการ

และผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน

คือ ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๒ ขนาดเขตทาง ๑๔.๐๐ เมตร

ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสงท่ีรา งผงั เมืองรวมกําหนด

มตทิ ป่ี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๒ ขนาดเขตทาง
๑๔.๐๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง
ท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคํารอ งฯ กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง และคณะที่ปรกึ ษา
ผังเมืองรวมชุมชนเชียงคาํ - สบบง - บานทราย

เร่ืองที่ ๒ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๓ ขนาดเขตทาง ๑๔.๐๐ เมตร
ระยะทาง ๕๗๕ เมตร

ผูรอ ง จาํ นวน ๑๘ ฉบับ ๑๗ ราย ไดแก นายบวั ผนั ใจกลา และผูรองอื่น
รวม ๑๗ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากแนวถนนโครงการสาย ก ๓ ไดพาดผาน
เขาไปในเขตที่ดินและอาคารพกั อาศยั ของผูร อง ทําใหไ ดร บั ความเดือดรอ น

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนเชียงคํา - สบบง - บานทราย กรมโยธาธิการ
และผงั เมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมตสิ อดคลองกัน คือ
ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๓ ขนาดเขตทาง ๑๔.๐๐ เมตร ไวตาม
แผนผงั โครงการคมนาคมและขนสงท่รี างผงั เมอื งรวมกําหนด

มตทิ ่ีประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๓ ขนาดเขตทาง
๑๔.๐๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสงท่ีราง
ผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมืองรวมชมุ ชนเชียงคํา - สบบง - บานทราย

เรื่องที่ ๓ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๔ ขนาดเขตทาง ๑๔.๐๐ เมตร
ระยะทาง ๕๓๔ เมตร

ผูรอง จํานวน ๑๘ ฉบับ ๑๗ ราย ไดแก นายสัญญา ชิโนสวัสด์ิ และ
ผูร องอน่ื รวม ๑๗ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากแนวถนนโครงการสาย ก ๔ ไดพาดผาน
เขา ไปในเขตท่ดี ินและอาคารพกั อาศยั ของผรู อ ง ทําใหไ ดรบั ความเดอื ดรอ น

- 149 -

ลาํ ดบั ท่ี เรือ่ ง/มติ อา งอิง

(ครั้งท/่ี วนั ทป่ี ระชมุ )

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนเชียงคํา - สบบง - บานทรายฯ

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๔ ขนาดเขตทาง ๑๔.๐๐ เมตร

ไวตามแผนผงั โครงการคมนาคมและขนสง ทรี่ า งผังเมืองรวมกาํ หนด

มตทิ ป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๔ ขนาดเขตทาง
๑๔.๐๐ เมตไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง
ท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคํารองฯ กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง และคณะทป่ี รึกษา
ผังเมืองรวมชมุ ชนเชยี งคํา - สบบง - บา นทราย

เรื่องที่ ๔ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๕ ขนาดเขตทาง ๑๔.๐๐ เมตร
ระยะทาง ๔๘๙ เมตร

ผูรอง จํานวน ๑๓ ฉบับ ๑๓ ราย ไดแก นายเทียนชัย เมืองแกว
และผูรองอน่ื รวม ๑๓ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่อื งจากแนวถนนโครงการสาย ก ๕ ไดพ าดผานเขา
ไปในเขตทีด่ ินและอาคารพกั อาศยั ของผรู อง ทาํ ใหไ ดรับความเดือดรอน

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนเชียงคํา - สบบง – บานทราย กรมโยธาธิการ
และผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน
คือ ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๕ ขนาดเขตทาง ๑๔.๐๐ เมตร ไวตาม
แผนผงั โครงการคมนาคมและขนสง ทีร่ า งผงั เมืองรวมกาํ หนด

มตทิ ี่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๕ ขนาดเขตทาง
๑๔.๐๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง
ท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผังเมอื งรวมชุมชนเชียงคาํ - สบบง - บา นทราย

30. เรอื่ ง คํารองผังเมืองรวมชุมชนปง จงั หวัดพะเยา (ปรบั ปรงุ คร้งั ท่ี ๒) ครั้งท่ี 9/๒๕๕8

ผังเมืองรวมชุมชนปง จังหวัดพะเยา ดําเนินการวางและจัดทําผังเมือง วันที่ 27 ส.ค. ๕8

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง ครอบคลุมพื้นที่ท้ังหมดของเทศบาลตําบลปง วาระที่ 4.2.12

พื้นที่บางสวนของตําบลปง ตําบลควร และตําบลนาปรัง อําเภอปง จังหวัดพะเยา หนา 99 - 111

รวมพื้นที่วางผังประมาณ ๑๓.๙๘ ตารางกิโลเมตร หรือ ๘,๗๓๗.๕ ไร ไดผาน

ความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง เม่ือวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๖

ไดนํารางผังเมืองรวมไปปดประกาศ ๙๐ วัน เพื่อใหประชาชนผูมีสวนไดเสีย

ไปตรวจดูและย่ืนคํารอง ต้ังแตวันท่ี ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๗ ถึงวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๗

เม่ือครบกําหนดมีคาํ รอ ง ๒๔๘ ฉบบั ๒๔๘ ราย ๑๑ เรือ่ ง โดยเปน คาํ รอ งดา นการคมนาคม

- 150 -

ลําดับที่ เรื่อง/มติ อางอิง

(ครัง้ ท/่ี วันทป่ี ระชมุ )

และขนสงทั้งสิ้น ไดนําคํารองเสนอคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนปง เมื่อวันที่

๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ และเสนอกรมโยธาธิการและผังเมือง เม่ือวันท่ี ๑๔ มกราคม ๒๕๕๘

และเสนอคณะอนกุ รรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เม่ือวนั ที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๘

รายละเอียดปรากฏ ดังน้ี

คาํ รองดา นการคมนาคมและขนสง (จาํ นวน ๑๑ เรอื่ ง)

เรื่องที่ ๑ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๑ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร

ระยะทาง ๘๑๐ เมตร

ผูรอง จํานวน ๙ ฉบับ ๙ ราย ไดแก นายนิรัญ อุปมา และผูรองอื่น

รวม ๙ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากแนวถนนโครงการสาย ก ๑ ไดพาดผาน

เขาไปในเขตที่ดินและอาคารพกั อาศยั ของผูรอ ง ทาํ ใหไดรับความเดอื ดรอ น

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มีความเห็นสอดคลองกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนปง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ

ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๑ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร ไวตาม

แผนผังโครงการคมนาคมและขนสงทร่ี างผังเมอื งรวมกําหนด

มติทปี่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๑ ขนาดเขตทาง
๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง
ท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ีปรึกษาผงั เมืองรวมชุมชนปง

เร่ืองที่ ๒ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๒ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร
ระยะทาง ๑,๙๗๐ เมตร

ผูรอง จํานวน ๙๙ ฉบับ ๙๙ ราย ไดแก นายบุญเย็น กองอ่ิน และผูรองอื่น
รวม ๙๙ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากแนวถนนโครงการสาย ก ๒ ไดพาดผาน
เขาไปในเขตท่ดี นิ และอาคารพักอาศัยของผรู องทาํ ใหไ ดร ับความเดือดรอน

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเห็นตางกนั )
คณะทปี่ รกึ ษาผงั เมืองรวมชุมชนปง ใหตามคํารอ งบางสว น โดยใหย กเลิก
ถนนโครงการสาย ก ๒ บางสวน ชวงระหวางถนนโครงการสาย ก ๒ บรรจบกับ
ถนนโครงการสาย ก ๕ ไปทางทิศใตตามแนวถนนโครงการสาย ก ๒ จนบรรจบ
ทางหลวงแผนดินหมายเลข ๑๐๙๐ ขนาดเขตทาง ๑๒ เมตร สวนแนวถนน
โครงการสาย ก ๒ ในบริเวณอื่น ใหคงไวต ามท่ผี ังรางเมืองรวมกาํ หนด
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
มมี ติสอดคลอ งกัน คือ ยกคํารอ ง โดยใหค งถนนโครงการสาย ก ๒ ขนาดเขตทาง
๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผงั โครงการคมนาคมและขนสงท่ีรา งผงั เมืองรวมกําหนด

- 151 -

ลําดบั ที่ เร่อื ง/มติ อางอิง
มตทิ ปี่ ระชมุ
(คร้งั ท/ี่ วันทปี่ ระชุม)

ยกคํารอ ง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๒ ขนาดเขตทาง

๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง

ที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ

ผังเมืองพจิ ารณาคาํ รอ งฯ และกรมโยธาธิการและผังเมอื ง

เร่ืองที่ ๓ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๓ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร
ระยะทาง ๕๒๐ เมตร

ผูรอง จํานวน ๔ ฉบับ ๔ ราย ไดแก นางบัวแกว หมื่นจําปา และผูรองอ่ืน
รวม ๔ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากแนวถนนโครงการสาย ก ๓ ไดพาดผาน
เขา ไปในเขตท่ดี นิ และอาคารพักอาศยั ของผรู อ งทําใหไดรับความเดือดรอน

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มีความเหน็ สอดคลอ งกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนปง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๓ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร ไวต ามแผนผงั โครงการ
คมนาคมและขนสงท่รี างผังเมืองรวมกําหนด

มตทิ ี่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๓ ขนาดเขตทาง
๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง
ที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง และคณะท่ีปรกึ ษา
ผังเมอื งรวมชมุ ชนปง

เร่ืองที่ ๔ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๔ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร
ระยะทาง ๓๐๐ เมตร

ผูรอ ง จาํ นวน ๑๖ ฉบับ ๑๖ ราย ไดแก นางตม๋ิ ปน ตา และผรู องอนื่ รวม
๑๖ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากแนวถนนโครงการสาย ก ๔ ไดพาดผาน
เขา ไปในเขตท่ดี นิ และอาคารพกั อาศัยของผรู อ งทําใหไดรับความเดือดรอน

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนปง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๔ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผัง
โครงการคมนาคมและขนสง ท่รี า งผังเมอื งรวมกําหนด

มติท่ีประชุม ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๔ ขนาดเขตทาง
๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง
ที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รองฯ กรมโยธาธิการและผงั เมือง และคณะท่ีปรกึ ษา
ผงั เมอื งรวมชมุ ชนปง

- 152 -

ลําดับท่ี เร่ือง/มติ อา งอิง

(คร้งั ท/่ี วนั ทป่ี ระชมุ )

เรื่องที่ ๕ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๕ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร

ระยะทาง ๔๐๓ เมตร

ผูรอง จํานวน ๕ ฉบับ ๕ ราย ไดแก นายบุญรอด อินตา และผูรองอื่น

รวม ๕ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากแนวถนนโครงการสาย ก ๕ ไดพาดผาน

เขา ไปในเขตทดี่ ินและอาคารพักอาศยั ของผูร อ งทําใหไ ดร ับความเดือดรอน

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลอ งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนปง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง

โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๕ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผัง

โครงการคมนาคมและขนสงท่รี างผงั เมอื งรวมกําหนด

มตทิ ปี่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๕ ขนาดเขตทาง
๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง
ที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผงั เมืองรวมชมุ ชนปง

เร่ืองที่ ๖ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๖ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร
ระยะทาง ๒๙๔ เมตร

ผูรอง จํานวน ๘ ฉบับ ๘ ราย ไดแก พระครูวรพงศคณารักษ และผูรองอ่ืน
รวม ๘ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากแนวถนนโครงการสาย ก ๖ ไดพาดผาน
เขา ไปในเขตที่ดินและอาคารพักอาศัยของผูรองทาํ ใหไดรบั ความเดือดรอน

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ ตางกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนปง ใหตามคํารองบางสวน โดยยกเลิกถนน
โครงการสาย ก ๖ บางสวน ชวงระหวางวัดนาปรังกับถนนขุมยม ขนาดเขตทาง
๑๒ เมตร สวนแนวถนนโครงการสาย ก ๖ ในบริเวณอ่นื ใหคงไวต ามท่ีรา งผังเมืองรวม
กําหนด เน่ืองจากเพอ่ื ลดผลกระทบตอ ศาสนาสถาน (วัดนาปรงั )
กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง และคณะอนกุ รรมการผงั เมืองพิจารณาคํารอ งฯ
ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๖ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร ไวตาม
แผนผังโครงการคมนาคมและขนสง ตามท่ีรา งผังเมืองรวมกําหนด

มตทิ ปี่ ระชมุ ใหตามคํารอง โดยใหยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๖
ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร เพื่อลดผลกระทบตอชุมชน
และศาสนาสถาน

เรื่องท่ี ๗ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๗ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร
ระยะทาง ๓๙๔ เมตร

- 153 -

ลําดับท่ี เร่อื ง/มติ อา งอิง

(ครั้งท/ี่ วนั ทปี่ ระชุม)

ผูรอง จาํ นวน ๙ ฉบบั ๙ ราย ไดแ ก นางปน แกว ภธิ รรมา และผูรองอ่ืน

รวม ๙ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากแนวถนนโครงการสาย ก ๗ ไดพาดผาน

เขาไปในเขตทดี่ นิ และอาคารพกั อาศัยของผูร อ งทาํ ใหไดร บั ความเดือดรอน

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ ตา งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนปง และกรมโยธาธิการและผังเมือง

มีมติสอดคลองกัน คือ ใหตามคํารอง โดยใหยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๗

ขนาดเขตทาง ๑๒ เมตร และถอดออกจากแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง

ของรางผงั เมอื งรวม เน่อื งจากแนวขยายเขตทางมชี มุ ชนหนาแนน อยตู ลอดทัง้ สองฟาก

ของเขตทาง และเพือ่ ลดผลกระทบตอชมุ ชนและรักษาวถิ ีชวี ติ ท่ีสขุ สงบตอไป

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ ยกคํารอง โดยใหคงถนน

โครงการสาย ก ๗ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคม

และขนสงทร่ี างผงั เมืองรวมกาํ หนด

มตทิ ี่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๗ ขนาดเขตทาง
๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง
ท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รอ งฯ

เรื่องท่ี ๘ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๘ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร
ระยะทาง ๘๙๐ เมตร

ผูรอ ง จํานวน ๗ ฉบบั ๗ ราย ไดแ ก นายปน อุทธยิ งั และผูรองอนื่ รวม ๗ ราย
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากแนวถนนโครงการสาย ก ๘ ไดพาดผาน
เขา ไปในเขตทด่ี ินและอาคารพักอาศัยของผรู อ ง ทาํ ใหไดรบั ความเดือดรอน
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนปง กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๘ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผัง
โครงการคมนาคมและขนสง ท่รี า งผังเมอื งรวมกําหนด

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๘ ขนาดเขตทาง
๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสง
ที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ปี รกึ ษาผงั เมืองรวมชุมชนปง

เรื่องท่ี ๙ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ข ๑ ขนาดเขตทาง ๑๖.๐๐ เมตร
ระยะทาง ๘๖๐ เมตร

ผูร อง จาํ นวน ๒๐ ฉบบั ๒๐ ราย ไดแ ก นางคําหลา อุปกจิ และผูร องอื่น
รวม ๒๐ ราย

- 154 -

ลําดับท่ี เรือ่ ง/มติ อา งอิง

(ครง้ั ท/ี่ วนั ที่ประชุม)

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากแนวถนนโครงการสาย ข ๑ ไดพาดผาน

เขาไปในเขตที่ดนิ และอาคารพกั อาศยั ของผรู องทําใหไ ดรับความเดือดรอน

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนปง กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ

ยกคํารอง โดยมีเงื่อนไขใหปรับลดขนาดเขตทางถนนโครงการสาย ข ๑ จากเดิม

ขนาดเขตทาง ๑๖ เมตร เปน ขนาดเขตทาง ๑๔ เมตร

มติทป่ี ระชมุ ยกคํารอง โดยมีเงื่อนไขใหปรับลดขนาดเขตทางถนนโครงการ
สาย ข ๑ จากเดิมขนาดเขตทาง ๑๖ เมตร เปนขนาดเขตทาง
๑๔ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคมและขนสงท่ีราง
ผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา
คํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผังเมืองรวมชมุ ชนปง

เรื่องท่ี ๑๐ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ข ๒ ขนาดเขตทาง ๑๖.๐๐ เมตร
ระยะทาง ๗๘๕ เมตร

ผูรอง จํานวน ๓๓ ฉบับ ๓๓ ราย ไดแก นายต๋ัน ปาขัน และผูรองอื่น
รวม ๓๓ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากแนวถนนโครงการสาย ข ๒ ไดพาดผาน
เขาไปในเขตทด่ี นิ และอาคารพกั อาศัยของผรู องทาํ ใหไ ดรับความเดือดรอน

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นตางกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมปง ยกคํารอง โดยมีเงื่อนไขใหปรับลดขนาด
เขตทางถนนโครงการสาย ข ๒ จากเดิมขนาดเขตทาง ๑๖ เมตร เปนขนาดเขตทาง
๑๒ เมตร
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา
คํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารองโดยมีเงื่อนไข ใหปรับลดขนาดเขตทาง
ถนนสายโครงการ ข ๒ จาก ๑๖.๐๐ เมตร เปน ๑๔.๐๐ เมตร

มตทิ ปี่ ระชมุ ยกคํารอง โดยมีเง่ือนไขใหปรับถนนโครงการสาย ข ๒
จากขนาดเขตทาง ๑๖.๐๐ เมตร เปนขนาดเขตทาง ๑๔.๐๐ เมตร
ต า ม ม ติ ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ผั ง เ มื อ ง พิ จ า ร ณ า คํ า ร อ ง ฯ
และกรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง

เร่ืองที่ ๑๑ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ข ๓ ขนาดเขตทาง ๑๖.๐๐ เมตร
ระยะทาง ๗๘๐ เมตร

ผูรอง จํานวน ๓๘ ฉบับ ๓๘ ราย ไดแก นางสาวเพียร หมอยาดี
และผรู องอื่น รวม ๓๘ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากแนวถนนโครงการสาย ข ๒ ไดพาดผาน
เขาไปในเขตท่ดี ินและอาคารพกั อาศัยของผูรองทาํ ใหไ ดรบั ความเดือดรอน

- 155 -

ลําดับที่ เร่ือง/มติ อางอิง

(คร้ังท/่ี วนั ทีป่ ระชุม)

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มีความเห็นตางกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนปง ยกคํารอง โดยมีเง่ือนไขใหปรับลด

ขนาดเขตทางถนนโครงการสาย ข ๓ จากเดิมขนาดเขตทาง ๑๖ เมตร เปนขนาด

เขตทาง ๑๒ เมตร

กรมโยธาธิการและผังเมือง เห็นควรใหตามคํารอง โดยใหยกเลิกถนน

โครงการสาย ข ๓ เนื่องจากขนาดเขตทางเดิมประมาณ ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ เมตร

ขนาดเขตทางเดิมมีเพียงพออยูแลว และเพื่อลดผลกระทบของชุมชนและเพื่อรักษา

วิถีชวี ิตท่สี งบสุขตอ ไป

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ ยกคํารอง โดยใหคง

ถนนโครงการสาย ข ๓ ขนาดเขตทาง ๑๖.๐๐ เมตร ไวตามแผนผังโครงการคมนาคม

และขนสง ทรี่ างผังเมอื งรวมกาํ หนด

มตทิ ป่ี ระชมุ ยกคํารอง โดยมีเงื่อนไขใหปรับลดขนาดเขตทางของถนน
โครงการสาย จากเดิมขนาด ๑๖.๐๐ เมตร เปน ๑๔.๐๐ เมตร

31. เรื่อง คํารองผังเมืองรวมชุมชนทาศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช (สืบเน่ืองจาก ครง้ั ท่ี 9/๒๕๕8

การประชุม ครั้งท่ี 7/2568) วนั ที่ 27 ส.ค. ๕8

สืบเน่ืองจากการประชุมคณะกรรมการผังเมือง คร้ังที่ ๗/๒๕๕๘ วาระที่ 4.4.3

เม่ือวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ วาระที่ ๔.๔.๓ เร่ือง คํารองผังเมืองรวมชุมชน หนา 111 - 120

ทาศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ท่ีประชุมไดพิจารณาใหความเหน็ ชอบคํารอ งไปแลว

จํานวน ๕ เร่ือง คือ เรื่องที่ ๑, ๓, ๕, ๖ และ ๗ ยังคงคางการพิจารณาในเร่ืองที่ ๒

เรื่อง การขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔.๕, ๔.๖ และ ๔.๙ เปนที่ดินประเภท

ท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) จากแนวถนนทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔๐๑

ระยะขนานขา งละ ๒๐๐ เมตร และเรื่องท่ี ๔ เรื่องการขอเปลีย่ นแปลงการใชประโยชน

ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔.๕ บางสวน

เปนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) โดยท่ีประชุมไดมีมติใหจังหวัด

นครศรีธรรมราชไปรวบรวมขอมูลเชิงพื้นที่เพ่ิมเติมใหครบถวน และนํามาเสนอ

คณะกรรมการผังเมืองเพ่ือพิจารณาตอไป นั้น

สํานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราช ไดจัดทําขอมูล

เชงิ พื้นที่เพม่ิ เติมตามที่คณะกรรมการผังเมืองไดมขี อสั่งการเรยี บรอยแลว รวมทั้ง

คณะกรรมการผังเมืองและเจาหนาท่ีของกรมโยธาธิการและผังเมือง ไดเดินทาง

เพื่อไปตรวจสอบสภาพพื้นท่ีและขอเท็จจริงของประเด็นคํารองดังกลาวแลว

ณ จังหวดั นครศรีธรรมราช เมอื่ วนั ท่ี ๕ - ๖ สงิ หาคม ๒๕๕๘ รายละเอยี ดปรากฏ ดังน้ี

คาํ รองดา นการใชประโยชนท ด่ี นิ (จํานวน ๖ เรื่อง)

เร่ืองท่ี ๑ ขอเปล่ยี นแปลงการใชประโยชนท่ดี ินจากท่ีดินประเภทที่อยูอาศัย

หนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ๑.๔, ๑.๕ และ ๑.๖ เปนที่ดิน

ประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง (สีสม) จากแนวถนนเขามหาวิทยาลัย

วลัยลักษณและทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔๐๑ (ตอนเลี่ยงเมือง) ระยะขนาน

๓๐๐ เมตร ท้งั สองฟากถนน

- 156 -

ลาํ ดับที่ เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(ครงั้ ท่/ี วันท่ปี ระชมุ )

ผรู อ ง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก องคการบริหารสว นตําบลทาศาลา

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากปจจุบันที่ดินในบริเวณดังกลาวมีอัตรา

การขยายของสิ่งปลูกสรางอาคารประเภทท่ีอยูอาศัย ประกอบกิจการรานคา

อาคารชุด หอพัก หรอื อาคารอยูอาศยั รวมเกิดขนึ้ จํานวนมาก เพราะพนื้ ที่บริเวณดงั กลาว

อยูใกลกับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณและจะมีการกอสรางศูนยการแพทย

ของมหาวิทยาลยั ในอนาคต

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทาศาลา กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนกุ รรมการผังเมืองพจิ ารณาคาํ รองฯ มมี ติสอดคลอ งกนั คอื ใหตามคํารอ ง

โดยใหเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย

(สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ๑.๔, ๑.๕ และ ๑.๖ เปนที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัย

หนาแนนปานกลาง (สีสม) จากแนวถนนเขามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ และทางหลวง

แผนดนิ หมายเลข ๔๐๑ (ตอนเล่ยี งเมือง) ระยะขนาน ๓๐๐ เมตร ทั้งสองฟากถนน ไว

มตทิ ีป่ ระชุม ใหตามคํารอง โดยใหเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน
ประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข
๑.๔, ๑.๕ และ ๑.๖ เปนท่ีดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนน
ปานกลาง (สีสม) จากแนวถนนเขามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
และทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔๐๑ (ตอนเลี่ยงเมือง)
ระยะขนาน ๓๐๐ เมตร ท้ังสองฟากถนน ตามมติคณะอนุ
กรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมือง และคณะท่ปี รึกษาผังเมืองรวมชุมชนทาศาลา

เรื่องที่ ๒ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินจากที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔.๕, ๔.๖ และ ๔.๙ เปนที่ดิน
ประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) จากแนวถนนทางหลวงแผนดิน
หมายเลข ๔๐๑ ระยะขนานขา งละ ๒๐๐ เมตร

ผูรอ ง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลทา ศาลา
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากปจจุบันท่ีดินในบริเวณดังกลาวมีอัตรา
การขยายของส่ิงปลูกสรางอาคารประเภทที่อยูอาศัย ประกอบกิจการรานคา
อาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยูอาศัยรวมเกิดข้ึนจํานวนมาก เพราะพ้ืนที่บริเวณ
ดังกลาวอยูใกลกับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณและจะมีการกอสรางศูนยการแพทย
ของมหาวิทยาลัยในอนาคต
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ ตา งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทาศาลา กรมโยธาธิการและผังเมือง
มีมติสอดคลองกัน คือ ใหตามคํารอง โดยใหเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน
ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔.๕ และ ๔.๖ เปน
ท่ีดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) จากแนวถนนทางหลวง
แผนดนิ หมายเลข ๔๐๑ ขา งละ ๒๐๐ เมตร ยกเวน บริเวณหมายเลข ๔.๙ ยกคํารอ ง

- 157 -

ลําดับท่ี เร่ือง/มติ อา งอิง

(ครั้งที่/วันทีป่ ระชมุ )

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชน

ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔.๕, ๔.๖

และ ๔.๙ ไวตามทรี่ า งผงั เมอื งรวมกาํ หนด

มตทิ ่ปี ระชุม ใหตามคํารองบางสวน โดยใหเปล่ียนแปลงการใชประโยชน
ท่ีดินจากที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
เฉพาะบริเวณหมายเลข ๔.๕ และ ๔.๖ เปนที่ดินประเภท
ท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) จากแนวถนนทางหลวง
แผนดิน หมายเลข ๔๐๑ ระยะขนานขางละ ๒๐๐ เมตร
โดยใหวัดระยะจากแนวก่ึงกลางถนน สําหรับบริเวณ
หมายเลข ๔.๙ ใหยกคํารอง ตามมติกรมโยธาธิการและผังเมอื ง
และคณะทป่ี รึกษาผังเมอื งรวมชุมชนทาศาลา

เร่ืองท่ี ๓ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทสถาบันราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (สีน้ําเงิน) บริเวณหมายเลข ๑๒.๗ เปนท่ีดิน
ประเภทที่อยูอาศัยหนาแนน ปานกลาง (สีสม )

ผูรอ ง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก นางสาววรางรัตน ฟุงตระกลู
เหตุผลในการขอแกไข ที่ดินบริเวณดังกลาวไมไดเปนที่ดินประเภท
สถาบันราชการ แตเดิมสํานักงานสรรพสามิตเขตพ้ืนที่นครศรีธรรมราช สาขา
ทาศาลา ไดขอเชาอาคารบานพักเปนสํานักงาน ปจจุบันไดยกเลิกการเชา ไปแลว
ประมาณ ๒ ป ขณะน้ีไดใชเปนที่พักอาศยั
ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทาศาลา กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนกุ รรมการผังเมอื งพจิ ารณาคาํ รอ งฯ มีมตสิ อดคลอ งกัน คอื ใหตามคาํ รอ ง
โดยใหเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท ่ีดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภค
และสาธารณูปการ (สีน้ําเงิน) บริเวณหมายเลข ๑๒.๗ เปนที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัย
หนาแนนปานกลาง (สีสม) พื้นท่ี ๑ ไร ๖๑.๙ ตารางวา ตามขอบเขตเอกสาร
แสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินไวต ามรางผงั เมอื งรวมกําหนด

มติท่ีประชมุ ใหตามคํารอง โดยใหเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน
ประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(สีนํ้าเงิน) บริเวณหมายเลข ๑๒.๗ เปนท่ีดินประเภทท่ีอยูอาศัย
หนาแนนปานกลาง (สีสม) พ้ืนท่ี ๑ ไร ๖๑.๙ ตารางวา
ตามขอบเขตเอกสารแสดงกรรมสิทธ์ิทดี่ นิ ไวต ามรา งผงั เมืองรวม
กําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม
ชุมชนทา ศาลา

- 158 -

ลาํ ดับที่ เร่อื ง/มติ อา งอิง

(ครงั้ ที่/วันที่ประชมุ )

เร่ืองท่ี ๔ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔.๕ บางสวน เปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม

และคลังสินคา (สีมว ง)

ผรู อง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแ ก นางอกนิษฐ สวุ รรณนรุ ักษ

เหตุผลในการขอแกไข ท่ีดินบริเวณดังกลาวดําเนินกิจการเปนโรงแตงแร

(โซเดียมเฟลสปาร) ตอเนื่องมาจนถึงปจจุบันเปนระยะเวลา ๓๘ ป โดยใชเงิน

ลงทุนในการประกอบกิจการจํานวนมาก อีกท้ังในอนาคตยังมีแผนการปรับปรุง

และขยายกิจการ ต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน พ้ืนท่ีทาศาลาเปนแหลงผลิตและแปรรูป

แรโซเดียมเฟลสปาร ซึ่งมีทําเลที่ต้ังที่เหมาะสมในการแปรรูปและการขนสง

รวมถึงทา เรือที่เช่ือมโยงกัน การมโี รงแตงแรอยูในอาํ เภอทาศาลา สะดวกตอการแปรรูป

ซึง่ มคี วามจาํ เปนตอการขนสงทางทะเลเพ่ือใหเ กดิ ความคุมทุนและมีความเหมาะสม

ผลการพิจารณาคํารอง (มคี วามเห็นตางกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชมุ ชนทาศาลา ใหตามคํารอง โดยใหเปล่ียนแปลง

การใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม บริเวณหมายเลข ๔.๕

บางสวน เปนที่ดินประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สนิ คา (สีมว ง)

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สเี ขียว) บริเวณหมายเลข ๔.๕ ไวตามที่รางผงั เมอื งรวมกําหนด

มตทิ ป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔.๕ ไวตาม
รางผังเมืองรวมชุมชนทาศาลากําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผงั เมืองพจิ ารณาคาํ รอ งฯ และกรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง

เรื่องที่ ๕ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทพาณิชยกรรม
และที่อยูอาศัยหนาแนน มาก (สีแดง) บรเิ วณหมายเลข ๓.๑ บางสว น เปนการใช
ประโยชนที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(สีนา้ํ เงิน)

ผรู อง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก เทศบาลตาํ บลทา ศาลา
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากเทศบาลตําบลทาศาลา ไดยายจาก
ศูนยราชการเดิมมากอสรา งในทีด่ ินบริเวณดงั กลาว
ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองตางกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทาศาลา กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ใหตามคํารอง
โดยใหเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยูอาศัย
หนาแนนมาก (สีแดง) บริเวณหมายเลข ๓.๑ บางสวน เปนที่ดินประเภทสถาบันราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (สนี ้ําเงิน) พน้ื ที่ ๖ ไร ๑ งาน ๔๙.๘ ตารางวา
ตามขอบเขตเอกสารแสดงกรรมสิทธ์ิทีด่ ิน ตามรางผงั เมอื งรวมกําหนด

- 159 -

ลาํ ดบั ท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง
มตทิ ่ปี ระชุม
(คร้งั ท/ี่ วนั ท่ีประชมุ )

ใหตามคํารอง โดยใหเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดิน

ประเภทพาณชิ ยกรรม และทอ่ี ยูอาศยั หนาแนน มาก (สีแดง)

บริเวณหมายเลข ๓.๑ บางสวนเปนที่ดินประเภทสถาบัน

ราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (สีนํ้าเงิน)

พ้ืนท่ี ๖ ไร ๑ งาน ๔๙.๘ ตารางวา ตามขอบเขตเอกสาร

แสดงกรรมสิทธ์ิท่ีดิน ตามรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผงั เมือง และคณะทป่ี รึกษาผงั เมอื งรวมชุมชนทา ศาลา

เร่ืองที่ ๖ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๒,
๕.๔ และ ๕.๖ เปนที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณ
ท้ังสองฟากทางหลวงแผน ดนิ หมายเลข ๔๑๔๐ และทางหลวงชนบท นศ. ๔๑๐๗
ระยะ ๓๐๐ เมตร ตามแนวขนานรมิ เขตทาง

ผูรอ ง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก องคก ารบริหารสวนตาํ บลไทยบรุ ี
เหตุผลในการขอแกไข ท่ีดินบริเวณดังกลาวสภาพปจจุบันไดมีการซ้ือขาย
ท่ีดินเพ่ือพัฒนาท่ีดินสําหรับเปนท่ีอยูอาศัย และบางสวนไดมีการขออนุญาต
กอ สรางแลว เน่อื งจากเปน ถนนเชื่อมตอกบั มหาวทิ ยาลัยวลยั ลกั ษณ
ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทาศาลา กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาว
มีกรอบและเสน ทแยงสเี ขยี ว) บรเิ วณหมายเลข ๕.๒, ๕.๔ และ ๕.๖ ไวต ามทีร่ า ง
ผังเมอื งรวมกาํ หนด
มติทปี่ ระชมุ ยกคาํ รอ ง โดยใหค งการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษ

ชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยง
สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๒, ๕.๔ และ ๕.๖ ไวตาม
ที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมืองรวมชุมชนทาศาลา

คาํ รอ งดานการแกไ ขขอ กําหนดการใชป ระโยชนทีด่ นิ (จํานวน ๑ เรอ่ื ง)
เรอื่ ง ขอแกไ ขขอ กําหนดการใชประโยชนท ี่ดนิ จํานวน ๒ ประเภท ไดแก
ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) และที่ดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสน ทแยงสเี ขยี ว) โดยใหเพิ่มขอความการใช
ประโยชนทดี่ นิ เพื่อการอยูอาศยั
ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ไดแก องคการบริหารสวนตําบลทาศาลา
และองคก ารบริหารสว นตาํ บลไทยบรุ ี

- 160 -

ลาํ ดบั ที่ เรือ่ ง/มติ อางอิง

(คร้ังที/่ วนั ทป่ี ระชุม)

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากตามรายละเอียดในขอกําหนดการใช

ประโยชนทดี่ ิน ขอ ๙ ในท่ดี นิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม ไมไดกําหนดใหใช

ประโยชนที่ดินเพื่อการอยูอาศัย และรายละเอียดในขอกําหนดการใชประโยชน

ท่ีดิน ขอ ๑๐ ที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบ

และเสน ทแยงสีเขียว) ไมไดกําหนดใหใ ชป ระโยชนที่ดนิ เพอื่ การอยูอาศัย

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเหน็ สอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทาศาลา กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ

ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) และท่ีดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบ

และเสนทแยงสีเขยี ว) ไวตามทรี่ า งผงั เมืองรวมกําหนด

มติทีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) และท่ีดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว)
ไวตามท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะที่ปรึกษาผงั เมืองรวมชุมชนทา ศาลา

32. เร่ือง คํารองผังเมืองรวมชุมชนทาศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช (สืบเนื่องจาก คร้งั ที่ 10/๒๕๕8

การประชุม ครงั้ ที่ 9/2558) วันที่ 4 ก.ย. 58

สืบเนื่องจากการประชุมคณะกรรมการผังเมือง คร้ังท่ี ๙/๒๕๕๘ เม่ือวันที่ วาระที่ 4.1.1

๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ คณะกรรมการผังเมืองมีมติมอบหมายใหกรมโยธาธิการ หนา 5 - 20

และผังเมือง และจังหวัดชัยนาทไปดําเนินการจัดทําขอมูลเปรียบเทียบเพ่ิมเติม

ถงึ ผลดแี ละผลเสยี ในกรณที ่ีคณะกรรมการผังเมือง มมี ตเิ ห็นชอบใหเปลี่ยนแปลง

การใชประโยชนท่ีดิน หรือมีมติเห็นชอบใหเปล่ียนแปลงขอกําหนด รวมท้ัง

ใหตรวจสอบวาในกรณีดังกลาวไดเคยมีแนวทางกรณีเชนนี้หรือไม แลวนํามา

เสนอคณะกรรมการผังเมืองเพ่ือประกอบการพิจารณานั้น ขณะน้ีกรมโยธาธิการ

และผังเมือง และจังหวัดชัยนาทไดดําเนินการจัดทําขอมูลเรียบรอยแลว

โดยมรี ายละเอยี ด ดังตอไปนี้

ผังเมืองรวมจังหวัดที่ไดผานการพิจารณา โดยใหแกไขขอกําหนดการใช

ประโยชนท่ีดินแทนการเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน ไดแก ผังเมืองรวม

จังหวัดปราจีนบุรี ราชบุรี นครปฐม และสมุทรสาคร เปนการแกไขกฎกระทรวงฯ

เพ่ือใหประกอบอุตสาหกรรมได โดยมีมติใหแกไขขอบเขตพ้ืนท่ีในท่ีดินประเภท

อุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) ขอดี ขอเสีย กรณีเปลี่ยนแปลงการใช

ประโยชนท ด่ี ิน และเปล่ยี นแปลงแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน มีดงั นี้

ขอ ดขี องการเปล่ียนแปลงการใชป ระโยชนทีด่ นิ (เปล่ียนส)ี

๑) แสดงความชัดเจนในการใชพ ื้นที่

- 161 -

ลําดบั ท่ี เร่อื ง/มติ อางอิง

(คร้ังท่ี/วันทปี่ ระชมุ )

๒) ประชาชนโดยทว่ั ไปสามารถรบั รูไดจ ากแผนท่/ี แผนผัง
๓) มคี วามชดั เจนในการจัดทํารายงานการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดลอม (EIA)
ขอ สงั เกตของการเปล่ยี นแปลงการใชป ระโยชนท่ดี นิ
๑) ทําใหเกิดความสับสนของพื้นที่อุตสาหกรรม ที่มีความแตกตางกัน
(อยใู นพ้นื ท่ีเดียวกันแตม นี ยิ ามการใชประโยชนท แ่ี ตกตางกนั )
๒) การลงตําแหนงท่ีต้ังในแผนผังของพื้นที่อุตสาหกรรมใหมีความชัดเจน

อาจมคี วามยุงยากในทางปฏิบตั ิ

๓) มีความยุงยากในการดําเนนิ การ (กวา การแกไ ขขอกาํ หนด)

ขอดขี องการแกไ ขขอกาํ หนดการใชป ระโยชนท ่ีดิน
๑) ผูประกอบการสามารถดําเนินการไดโดยไมตองเปลี่ยนแปลงการใช
ประโยชนทด่ี นิ
๒) คงไวซ่งึ หลักการเดมิ ของพน้ื ท่ีอตุ สาหกรรม
๓) สอดคลองกบั มติของคณะที่ปรึกษาผงั เมืองรวมจังหวัดฯ ในการขอถอนราง
ผังเมืองรวมจังหวัดชัยนาท (๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕) และสอดคลองกับแนวทาง
ของกรมฯ ในการปรับปรุงผังฯ
๔) การดาํ เนนิ การยงุ ยากนอยกวา (การเปล่ยี นแปลงการใชประโยชนทด่ี ิน)
ขอสงั เกตของการแกไขขอ กําหนดการใชประโยชนท่ดี นิ
๑) ประชาชนไมสามารถรับรูการใชพื้นท่ีไดจากแผนผังการใชประโยชน
ท่ีดนิ ในอนาคต
๒) ความชัดเจนในการจัดทํารายงานการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอม
(EIA) นอ ยกวา การเปล่ยี นแปลงการใชประโยชนทีด่ ิน (การเปลย่ี นส)ี
คาํ รอ งดา นการใชป ระโยชนท ีด่ ิน (จํานวน ๒ เรื่อง)

เร่ืองที่ ๑ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข 3.18 บางสวน เฉพาะที่ดินของบริษัทฯ ใหเปนท่ีดิน
ประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสินคา (สมี ว ง)

ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ ๒ ราย ไดแก บริษัท ธนกรรวมผล 999 จํากัด
และบริษทั ธนกรไรซ จาํ กัด (โดยนายจาํ นอง ฉมิ พันธ กรรมการผูจ ัดการ ท้ัง ๒ บรษิ ัทฯ)

เหตุผลในการขอแกไ ข
บริษัท ธนกรรวมผล 999 จํากัด และบริษัท ธนกรไรซ จํากัด มีท่ีตั้ง
โรงงานอยทู ี่ตําบลวังไกเถ่ือน อาํ เภอหันคา จังหวัดชยั นาท เปนบรษิ ทั ทป่ี ระกอบ
กิจการทีเ่ กย่ี วของกบั การเกษตร (ขาว) ขนาดใหญ ปจ จบุ นั มีกําลงั การผลติ สูงสุด
ประมาณ 5,000 ตัน/วัน สามารถรับซ้ือขาวจากเกษตรกรไดประมาณ
1,050,000 ตันตอป แบงเปนการรับซื้อจากเกษตรกรในจังหวัดชัยนาท ประมาณ
530,000 ตัน จังหวัดใกลเคียงประมาณ 250,000 ตัน และจังหวัดอ่ืน ๆ ประมาณ
270,000 ตัน โดยรับซื้อจากเกษตรกรในราคาตันละประมาณ 8,500 - 9,500 บาท
ทําใหสามารถชวยเหลือเกษตรกรในจังหวัดชัยนาทและจังหวัดใกลเคียงไดประมาณ

7,000 ราย ซ่ึงบริษัทฯ ท้ังสอง มีเปาหมายในการขยายฐานการผลิตแบบครบวงจร

เพอ่ื แปรรูปผลติ ผลทางการเกษตร (การสกัดนา้ํ มันจากพชื ) เพือ่ ใหเปนสนิ คาสง ออก

- 162 -

ลําดับท่ี เร่ือง/มติ อา งอิง

(คร้ังท/ี่ วนั ทีป่ ระชมุ )

ทางการเกษตรที่มีคุณภาพทส่ี ามารถสรางรายไดเ ขาประเทศกวา 6 พนั ลานบาท
ตอป ดังน้ัน จึงขอแกไขเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินใหเปนที่ดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลงั สินคาเพ่ือใหส ามารถดําเนินการได ท้ังน้ี ในการดําเนินการ
ของบริษัทไดปฏิบัติตามกฎระเบียบของทางราชการอยางเครงครัด รวมทั้ง
มีการรักษาสิ่งแวดลอม และอื่น ๆ ท่ีเปนไปตามมาตรฐาน อีกทั้งสถานท่ีตั้ง
ของบรษิ ทั อยูห างไกลชมุ ชน

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเหน็ ตางกนั )

คณะที่ปรกึ ษาผงั เมอื งรวมจงั หวดั ชัยนาท และกรมโยธาธิการและผังเมือง

มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง ในการขอเปลี่ยนแปลงการใช

ประโยชนท่ีดินในท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ

หมายเลข 3.18 (เฉพาะทีด่ ินของบริษัท ธนกรรวมผล 999 จาํ กัด) ใหเปนท่ีดิน

ประเภทอุตสาหกรรมและคลงั สินคา (สีมว ง)
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรใหตามคํารอง โดยมี

เงื่อนไข ๓ ประการ ดงั นี้

๑. ใหเปล่ียนแปลงการใชป ระโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๘ บางสวน เฉพาะบริเวณพ้ืนท่ีท่ีเปนกรรมสิทธ์ิ

หรือสิทธิครอบครองโดยชอบท่ีมีอยูเดิมของบริษัท ธนกรรวมผล ๙๙๙ จํากัด

และบริษัท ธนกรไรซ จํากัด เปนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง)

โดยขอบเขตบริเวณท่ีดินที่แกไขอยูในตําบลวังไกเถ่ือน อําเภอหันคา จังหวัด

ชยั นาท ตามโฉนดทดี่ ินจํานวน ๑๒ ฉบับ ซึ่งมีหมายเลข ดังตอไปน้ี ๒๑๖, ๒๑๗,

219, ๘๕๗, ๙๔๕, ๑๐๕๘, ๑๒๔๘, ๑๖๗๖, ๖๖๕๓, ๑๑๖๓๙, ๑๓๕๘๐

และ ๔๕๘๑๒

๒. ใหดําเนนิ การไดเ ฉพาะกิจการโรงงาน จาํ นวน ๒ ลาํ ดับ ดังนี้

๒.๑ ลาํ ดบั ที่ ๗ (๑) (๔) โรงงานสกดั น้ํามันพชื สัตว หรือไขมันจากสัตว
เฉพาะตวั ทีใ่ ชส ารตวั ทําละลายในการสกัด

๒.๒ ลําดบั ท่ี ๙๒ หองเยน็ ที่ใชแ อมโมเนียเปน สารทาํ ความเยน็

๓. อาคารโรงงานของบริษัทผูรอง ตองมีระยะหางจากแมนํ้า ลําคลอง

หรือแหลงนํ้าสาธารณะไมนอยกวา ๑๕ เมตร และตองมีระยะหางจากทางหลวง

หรือถนนสาธารณะ ไมน อยกวา ๑๕ เมตร

มติท่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๘ ไวตาม
รางผังเมืองรวมจังหวัดชัยนาทกําหนด ตามมติกรมโยธาธิการ
และผงั เมอื ง และคณะทปี่ รึกษาผงั เมืองรวมจังหวัดชยั นาท

เร่ืองท่ี ๒ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท ่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข 3.4 บางสวน เฉพาะพ้ืนท่ีโรงงานอุตสาหกรรม
ของบริษัท ยูเน่ียน เคมีคอล แอนด อีควิปเมนท จํากัด และบริเวณโดยรอบ
ทบี่ รษิ ัท ยูเนี่ยน เคมคี อล แอนด อคี วปิ เมน ท จาํ กดั จะทาํ การขอซอ้ื ทด่ี นิ เพ่ือขยายฐาน

- 163 -

ลาํ ดับท่ี เร่อื ง/มติ อา งอิง

(ครั้งท่/ี วันที่ประชมุ )

การผลิต ตามเอกสารสําเนาโฉนดท่ีดินที่รองขอเปนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรม

และคลงั สนิ คา (สีมวง)

ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแก บริษัท ยูเน่ียน เคมีคอล แอนด
อคี วปิ เมนท จํากัด

เหตุผลในการขอแกไข บริษัท ยูเน่ียน เคมีคอล แอนด อีควิปเมนท

จํากัด มีที่ตั้งโรงงานตั้งอยูท่ี 121 หมูที่ 2 ตําบลวังตะเคียน อําเภอหนองมะโมง

จงั หวดั ชยั นาท เปน โรงงานผลติ เอทานอล (สุรากลั่นชนิดสรุ าสามทบั ) โดยในกระบวน

การผลิตน้ัน ทางโรงงานไดใชวัตถุดิบจากธรรมชาติ คือ มันสําปะหลัง ซ่ึงเปนสินคา

ทางการเกษตรท่ีรับซื้อมาจากชาวบานละแวกใกลเคียง เฉล่ียวันละ 100 ตันตอวัน

แ ล ะ เ น่ื อ ง จ า ก ข ณ ะ นี้ ท า ง โ ร ง ง า น มี แผนการจะเพิ่ มกํ าลั งการผลิ ตที่ จะต องใช

มันสําปะหลังเพ่ิมเฉลี่ยเปน 800 ตันตอวัน จึงมีความจําเปนตองขยายพ้ืนท่ี

อตุ สาหกรรมเพ่มิ เติม

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ ตา งกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดชัยนาท และกรมโยธาธิการ

และผังเมือง มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง ในการขอเปลี่ยนแปลงการใช

ประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข 3.4

(เฉพาะพื้นท่ีโรงงานอุตสาหกรรมของบริษัท ยูเน่ียน เคมีคอล แอนด อีควิปเมนท

จํากัด และบริเวณโดยรอบที่บริษัท ยูเน่ียน เคมีคอล แอนด อีควิปเมนท จํากัด

จะทําการขอซ้ือท่ีดินเพ่ือขยายฐานการผลิต ตามเอกสารสําเนาโฉนดท่ีดินท่ีรองขอ)

ใหเ ปนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง)

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรใหตามคํารองบางสวน

โดยมีเง่อื นไข ๓ ประการ ดังน้ี

๑. ใหเ ปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ดี ินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๔ บางสวน เฉพาะบริเวณพื้นที่ท่ีเปนกรรมสิทธ

หรือสิทธิครอบครองโดยชอบที่มีอยูเดิมของบริษัทผูรอง เปนที่ดินประเภท

อุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) โดยขอบเขตบริเวณท่ีดินที่แกไขอยูในตําบล

วังตะเคียน อาํ เภอ (วัดสงิ ห) หนองมะโมง จงั หวัดชัยนาท ตามโฉนดท่ดี นิ จํานวน ๑๒ ฉบับ

พื้นท่ีรวมประมาณ ๒๒๑ - ๑ - ๓๙ ไร ซ่ึงมีหมายเลขดังตอไปนี้ ๕๕๒, ๕๗๓๐, ๕๗๓๒,

๙๔๖๕, 9496, ๑๐๕๕๑, ๑๐๕๖๐, ๑๔๒๑๓, ๑๔๒๑๔, ๑๔๔๖๖, ๑๔๔๖๗ และ

๑๔๔๖๘

๒. ใหดําเนนิ การไดเฉพาะกิจการโรงงาน จาํ นวน ๒ ลาํ ดับ ดังน้ี

๒.๑ ลําดับท่ี ๔๒ (๑) (๒) โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกับเคมีภัณฑ

สารเคมี

๒.๒ ลาํ ดบั ที่ ๘๙ โรงงานทผี่ ลิตกาซ ซง่ึ มใิ ชก า ซธรรมชาติ

๓. อาคารโรงงานของบริษัทผูรอง ตองมีระยะหางจากแมน้ํา ลําคลอง

หรือแหลงน้ําสาธารณะ ไมนอยกวา ๑๕ เมตร และตองมีระยะหางจากทางหลวง

หรือถนนสาธารณะไมนอยกวา ๑๕ เมตร

- 164 -

ลําดบั ท่ี เรอื่ ง/มติ อางอิง
มตทิ ี่ประชมุ
(คร้งั ที่/วนั ที่ประชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๔ ไวตามราง

ผังเมืองรวมจังหวัดชัยนาทกําหนด ตามมติกรมโยธาธิการ

และผังเมือง และคณะท่ปี รึกษาผังเมอื งรวมจงั หวดั ชยั นาท

คํารอ งดา นการแกไ ขขอกาํ หนดการใชป ระโยชนที่ดนิ (จาํ นวน ๔ เร่ือง)
เร่ืองที่ ๑ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินในอนาคต ขอ 9 ท่ีดิน
ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) เฉพาะบริเวณท่ีดินหมายเลข 3.18
บริเวณฟากตะวันออกของถนนทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 ในเขตตําบล
วังไกเถื่อน อําเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ในสวนท่ีเปนกรรมสิทธิ์ของบริษัท
ใหสามารถดําเนินการไดตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (ฉบับท่ี 4)
พ.ศ. 2552 เรื่อง มาตรการคุมครองความปลอดภัยในการดําเนินการ
เฉพาะโรงงานลําดับท่ี 7 (1) (4) โรงงานสกัดนํ้ามันจากพืช สัตว หรือไขมันสัตว
เฉพาะตัวที่ใชสารตัวทําละลายในการสกัด และโรงงานลําดับท่ี 92 หองเย็น
ท่ีใชแอมโมเนียเปน สารทาํ ความเย็น
ผูรอง จํานวน 1 ฉบับ ๒ ราย ไดแก บริษัท ธนกรรวมผล 999 จํากัด
และบริษัท ธนกรไรซ จาํ กดั (โดยนายจํานอง ฉิมพนั ธ กรรมการผจู ดั การ ทัง้ ๒ บรษิ ทั ฯ)
เหตผุ ลในการขอแกไข
บริษัท ธนกรรวมผล 999 จํากัด และบริษัท ธนกรไรซ จํากัด มีท่ีตั้ง
โรงงานอยูที่ตําบลวงั ไกเถ่ือน อําเภอหันคา จังหวัดชัยนาท เปนบริษัทที่ประกอบกิจการ
ที่เก่ียวของกับการเกษตร (ขาว) ขนาดใหญ ปจจุบันมีกําลังการผลิตสูงสุดประมาณ
5,000 ตัน/วัน สามารถรับซื้อขาวจากเกษตรกรไดประมาณ 1,050,000 ตันตอป
แบงเปน การรบั ซอื้ จากเกษตรกรในจังหวัดชัยนาท ประมาณ 530,000 ตัน จงั หวดั
ใกลเคียงประมาณ 250,000 ตัน และจังหวัดอ่ืน ๆ ประมาณ 270,000 ตัน
โดยรบั ซือ้ จากเกษตรกรในราคาตันละประมาณ 8,500 - 9,500 บาท ทําใหสามารถ
ชวยเหลือเกษตรกรในจังหวัดชัยนาท และจังหวัดใกลเคียงไดประมาณ 7,000 ราย
ซึ่งบริษัท ธนกรรวมผล 999 จํากัด และบริษัท ธนกรไรซ จํากัด มีเปาหมาย
ในการขยายฐานการผลิตแบบครบวงจร เพ่ือแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร
(การสกัดนํ้ามันจากพืช) เพื่อใหเปนสินคาสงออกทางการเกษตรที่มีคุณภาพ
ท่ีสามารถสรางรายไดเขาประเทศกวา 6 พันลานบาทตอป ดังนั้น จึงขอแกไข
เปลี่ยนแปลงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินใหสามารถดําเนินการได ท้ังนี้
ในการดําเนินการของบริษัทไดปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของทางราชการอยางเครงครัด
รวมทั้งมีการรักษาส่งิ แวดลอม และอ่ืน ๆ ท่ีเปนไปตามมาตรฐาน อีกทั้งสถานท่ีตั้ง
ของบรษิ ทั อยูห า งไกลชมุ ชน

- 165 -

ลําดับที่ เรื่อง/มติ อางอิง

(คร้งั ที่/วันที่ประชุม)

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ ตา งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดชัยนาท เห็นควรใหตามคํารอง

ในการขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินในอนาคต ขอ 9 ท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) เฉพาะที่ดินหมายเลข 3.18 บริเวณ

ฟากตะวันออกของทางหลวงแผนดินหมายเลข 340 ในเขตตําบลวังไกเถ่ือน

อําเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ในสวนท่ีเปนกรรมสิทธิ์ของบริษัทใหสามารถ

ดําเนินการไดตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552

เร่ือง มาตรการคุมครองความปลอดภัยในการดําเนินการ เฉพาะโรงงานลําดับท่ี

7 (1) (4) โรงงานสกัดนํ้ามันจากพืช สัตว หรือไขมันสัตว เฉพาะตัวท่ีใชสาร

ตัวทําละลายในการสกัด และโรงงานลําดับท่ี 92 หองเย็นที่ใชแอมโมเนีย

เปนสารทําความเย็น

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใช

ประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๘

ไวตามทรี่ า งผงั เมอื งรวมจงั หวดั กาํ หนด

มตทิ ี่ประชุม ใหตามคํารอง โดยใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน
ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณที่ดิน
หมายเลข ๓.๑๘ บางสวน เฉพาะบริเวณพ้ืนท่ีท่ีเปนกรรมสทิ ธ์ิ
ที่ครอบครองโดยชอบท่ีมีอยูเดิมของบริษัทผูรอง ในตําบล
วังไกเถื่อน อําเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ตามโฉนดท่ีดิน
จํานวน ๑๑ ฉบับ พ้ืนท่ีรวมประมาณ ๖๑๘ – ๒ - ๘๓ ไร
ไดแก โฉนดหมายเลขท่ี ๒๑๖, ๒๑๗, ๘๕๗, ๙๔๕, ๑๐๕๘,
๑๒๔๘, ๑๖๗๖, ๖๖๕๓, ๑๑๖๓๙, ๑๓๕๘๐ และ ๔๕๘๑๒
โดยใหด ําเนนิ การไดเฉพาะกิจการโรงงาน จาํ นวน ๒ ลําดบั
ไดแ ก โรงงานลําดับที่ ๗ (๑) (๔) โรงงานสกัดน้าํ มนั จากพืช
สัตว หรือไขมันสัตว เฉพาะตัวท่ีใชสารตัวทําละลาย
ในการสกัด และโรงงานลําดับท่ี ๙๒ หองเย็นท่ีใชแอมโมเนีย
เปนสารทําความเย็น รวมทั้งอาคารโรงงานตองมีระยะหาง
จากถนนทางหลวงหรือถนนสาธารณะ แมนํ้า ลําคลอง
และแหลงนา้ํ สาธารณะไมน อยกวา ๑๕ เมตร เนื่องจาก

๑. ผูรองมีแผนงาน โครงการพัฒนาอุตสาหกรรม
ที่ตอ เนื่องจากภาคการเกษตรทชี่ ัดเจนเปนรปู ธรรมแลว

๒. บริเวณพื้นที่คํารองเปนพื้นที่เดิมที่ไดดําเนินการ
กจิ การอตุ สาหกรรมท่ีเกยี่ วเนือ่ งกบั การเกษตรอยแู ลว

๓. บริเวณพ้ืนที่ตามคํารองเปนพื้นท่ีท่ีเหมาะสมตอ
การประกอบอุตสาหกรรม โดยอยหู า งไกลจากชุมชน

- 166 -

ลาํ ดับท่ี เรือ่ ง/มติ อางอิง

(ครั้งที่/วันที่ประชุม)

๔. กิจการโรงงานของผูรองท่ีขอดําเนินการเพ่ิมเปน

อุตสาหกรรมท่ีตอเนื่องจากภาคการเกษตร ซ่ึงควรไดรับการ

สนับสนนุ

๕. บริเวณพ้ืนท่ีคํารองเปนที่ดินท่ีเปนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิ

ครอบครองโดยชอบของบริษัทผูร อง

๖. บริษัทผูรองมีมาตรฐานในการดําเนนิ การและการจดั การ

ส่งิ แวดลอ มทดี่ ี โดยกจิ การโรงงานเดมิ ไดก าํ หนดใหม ีแนวกันชน

ทมี่ รี ะยะหา งจากแนวเขตทด่ี ิน ๖ เมตร

เร่ืองที่ ๒ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินในอนาคต ขอ 9
ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) เฉพาะบริเวณท่ีดินหมายเลข 3.4
บริเวณฟากเหนือของทางหลวงแผนดินหมายเลข 3213 ในเขตตําบลวังตะเคียน
อําเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท ในสวนท่ีเปนกรรมสิทธิ์ของบริษัทใหสามารถ
ดําเนินการไดตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552
เรื่อง มาตรการคุมครองความปลอดภัยในการดําเนินการ เฉพาะโรงงานลําดับที่
42 (1) (2) โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเคมีภัณฑ สารเคมี โรงงานลําดับท่ี 49
โรงกล่ันน้ํามันปโตรเลียม และโรงงานลําดับที่ 89 โรงงานที่ผลิตกาซ ซึ่งมิใชกาซ
ธรรมชาติ

ผูรอง จํานวน ๓ ฉบับ 1 ราย ไดแก บริษัท ยูเน่ียน เคมีคอล แอนด
อีควปิ เมน ท จาํ กดั

เหตุผลในการขอแกไข
บริษัท ยูเนี่ยน เคมีคอล แอนด อีควิปเมนท จํากัด มีที่ตั้งโรงงานต้ังอยูที่
121 หมูท่ี 2 ตําบลวังตะเคียน อําเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท เปนโรงงานผลิต
เอทานอล (สุรากล่ันชนิดสุราสามทับ) โดยในกระบวนการผลติ น้ัน ทางโรงงานไดใช
วัตถุดิบจากธรรมชาติ คือ มันสําปะหลัง ซึ่งเปนสินคาทางการเกษตรที่รับซื้อมา
จากชาวบานละแวกใกลเคียง เฉล่ียวันละ 100 ตันตอวัน และเน่ืองจากขณะน้ี
ทางโรงงานมีแผนการจะเพ่ิมกําลังการผลิตท่ีจะตองใชมันสําปะหลังเพ่ิมเฉลี่ยเปน
800 ตันตอ วัน จึงมีความจําเปนตองขยายพน้ื ทอี่ ตุ สาหกรรมเพ่ิมเติม
ผลการพิจารณาคาํ รอง (มีความเหน็ ตางกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดชัยนาท เห็นควรใหตามคํารอง ในการขอ
แกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินในอนาคต ขอ 9 ท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) เฉพาะที่ดินหมายเลข 3.4 บริเวณฟากเหนือของทางหลวง
แผนดินหมายเลข 3213 ในเขตตําบลวังตะเคียน อําเภอหนองมะโมง จังหวัด
ชัยนาท ในสวนท่ีเปนกรรมสิทธิ์ของบริษัท ใหสามารถดําเนินการไดตามประกาศ
กระทรวงอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552 เร่ือง มาตรการคุมครองความปลอดภัย
ในการดําเนินการ เฉพาะโรงงานลําดับที่ 42 (1) (2) โรงงานงานประกอบกิจการ
เก่ียวกบั เคมภี ัณฑ สารเคมี และโรงงานลําดบั ที่ 89 โรงงานท่ผี ลิตกา ซ ซ่งึ มใิ ชกาซ
ธรรมชาติ เห็นควรยกคํารอ ง โรงงานลาํ ดบั ที่ 49 โรงกลัน่ น้าํ มันปโตรเลยี ม

- 167 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครง้ั ท่ี/วนั ท่ปี ระชมุ )

กรมโยธาธิการและผังเมือง คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชน

ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๔ ไวตาม
ท่รี างผงั เมืองรวมจงั หวัดกําหนด

มติที่ประชมุ ใหตามคํารอง โดยใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนทดี่ นิ
ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณที่ดิน
หมายเลข ๓.๔ บางสวน เฉพาะบริเวณพ้ืนที่ท่ีเปนกรรมสิทธ์ิ
ที่ครอบครองโดยชอบที่มีอยูเดิมของบริษัทผูรอง ในตําบล
วังตะเคียน และตําบลหนองมะโมง อําเภอหนองมะโมง
(วดั สงิ ห) จังหวดั ชยั นาท ตามโฉนดทด่ี ิน จํานวน ๑๑ ฉบบั
พนื้ ทร่ี วมประมาณ ๒๒๑ – ๑ - ๓๙ ไร ไดแ ก โฉนดหมายเลขท่ี
๕๕๒, ๕๗๓๐, ๕๗๓๒, ๙๔๖๕, ๑๐๕๕๑, ๑๐๕๖๐,

๑๔๒๑๓, ๑๔๒๑๔, ๑๔๔๖๖, ๑๔๔๖๗ และ ๑๔๔๖๘

โดยใหด ําเนินการไดเ ฉพาะกจิ การโรงงาน จํานวน ๒ ลาํ ดับ

ไดแก โรงงานลําดบั ที่ ๔๒ (๑) (๒) โรงงานประกอบกิจการ

เกี่ยวกับเคมภี ณั ฑ สารเคมี และโรงงานลําดับท่ี ๘๙ โรงงาน

ที่ผลติ กา ซ ซงึ่ มใิ ชก าซธรรมชาติ รวมท้งั อาคารโรงงานตอง

มีระยะหางจากถนนทางหลวงหรือถนนสาธารณะ แมน้ํา

ลําคลอง และแหลงนํ้าสาธารณะไมนอยกวา ๑๕ เมตร

เนือ่ งจาก

๑. ผูรองมีแผนงาน โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ตอเนื่อง

จากภาคการเกษตรท่ชี ัดเจนเปนรูปธรรมแลว

๒. บริเวณพื้นท่ีคํารองเปนพ้ืนท่ีเดิมที่ไดดําเนินการ

กิจการอุตสาหกรรมที่เก่ยี วเน่ืองกบั การเกษตรอยูแ ลว

๓. บริเวณพื้นที่ตามคํารองเปนพ้ืนท่ีท่ีเหมาะสม

ตอการประกอบอุตสาหกรรม โดยอยูห า งไกลจากชมุ ชน

๔. กิจการโรงงานของผูรองท่ีขอดําเนินการเพิ่ม

เปนอุตสาหกรรมท่ีตอเนื่องจากภาคการเกษตรซึ่งควรไดร ับ

การสนบั สนนุ

๕. บริเวณพื้นท่ีคํารองเปนที่ดินท่ีเปนกรรมสิทธิ์หรือ
สทิ ธคิ รอบครองโดยชอบของบรษิ ทั ผรู อง

๖. บริษัทผูรองมีมาตรฐานในการดําเนินการและการจัดการ
ส่ิงแวดลอมที่ดีโดยปฏิบัติตามมาตรฐานและระเบียบ
ของกระทรวงอุตสาหกรรม

เร่ืองท่ี ๓ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน ขอ 9 ท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) เพ่ือใหสามารถดําเนินการหรือประกอบกิจการ
ท่เี ปน อาคารสงู อาคารขนาดใหญ หรืออาคารขนาดใหญพ เิ ศษได

- 168 -

ลําดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครั้งท/่ี วนั ทีป่ ระชุม)

ผูรอง จํานวน ๔ ฉบับ ๓ ราย ไดแก บริษัท ธนกรรวมผล 999 จํากัด

บริษทั ธนกรไรซ จาํ กัด และบริษทั ยูเนี่ยน เคมีคอล แอนด อีควิปเมนท จาํ กัด

เหตผุ ลในการขอแกไ ข

๑. บริษัท ธนกรรวมผล 999 จํากัด และบริษัท ธนกรไรซ จํากัด มีท่ีตั้ง

โรงงานอยูที่ตําบลวังไกเถื่อน อําเภอหันคา จังหวัดชัยนาท เปนบริษัทท่ีประกอบ

กิจการที่เก่ียวของกับการเกษตร (ขาว) ขนาดใหญ ปจจุบันมีกําลังการผลิตสูงสุด

ประมาณ 5,000 ตัน/วัน สามารถรับซ้ือขาวจากเกษตรกรไดประมาณ

1,050,000 ตนั ตอ ป แบงเปนการรบั ซือ้ จากเกษตรกรในจังหวัดชยั นาท ประมาณ

530,000 ตัน จังหวัดใกลเคียงประมาณ 250,000 ตัน และจังหวัดอื่น ๆ ประมาณ

270,000 ตัน โดยรับซ้อื จากเกษตรกรในราคาตันละประมาณ 8,500 - 9,500 บาท

ทําใหสามารถชวยเหลือเกษตรกรในจังหวัดชัยนาท และจังหวัดใกลเคียง

ไดประมาณ ๗,๐๐๐ ราย ซ่ึงบริษัท ธนกรรวมผล ๙๙๙ จํากัด และบริษัท ธนกรไรซ

จํากัด มีเปาหมายในการขยายฐานการผลติ แบบครบวงจร เพ่ือแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร

(การสกัดนํ้ามันจากพืช) เพ่ือใหเปนสินคาสงออกทางการเกษตรท่ีมีคุณภาพ

ที่สามารถสรางรายไดเขาประเทศกวา ๖ พันลานบาทตอป ดังนั้น จึงขอแกไข

เปลี่ยนแปลงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินใหสามารถดําเนินการได ทั้งน้ี

ในการดําเนินการของบริษัทไดปฏิบัติตามกฎระเบียบของทางราชการอยาง

เครงครัด รวมท้ังมีการรักษาส่ิงแวดลอมและอ่ืน ๆ ที่เปนไปตามมาตรฐาน อีกทั้ง

สถานทต่ี งั้ ของบริษัทอยูหางไกลชุมชน

๒. บริษัท ยูเนี่ยน เคมีคอล แอนด อีควิปเมนท จํากัด มีที่ต้ังโรงงาน

ตั้งอยูท่ี 121 หมูท่ี 2 ตําบลวังตะเคียน อําเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท

เปนโรงงานผลิตเอทานอล (สุรากลนั่ ชนิดสุราสามทับ) โดยในกระบวนการผลิตนั้น

ทางโรงงานไดใชใ นที่ดนิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขยี ว) บรเิ วณหมายเลข 3.18

เฉพาะในสวนที่เปนกรรมสิทธิ์ของบริษัท ธนกรรวมผล 999 จํากัด และบริเวณ

หมายเลข 3.4 เฉพาะในสวนท่ีเปนกรรมสิทธ์ิของบริษัท ยูเนี่ยน เคมีคอล แอนด

อคี วิปเมนท จํากดั

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (ความเห็นตางกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดชัยนาท เห็นควรใหตามคํารอง

ในการดําเนินการหรือประกอบกิจการที่เปนอาคารสูง อาคารขนาดใหญ

หรืออาคารขนาดใหญพิเศษไดในที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

บริเวณหมายเลข 3.18 เฉพาะในสวนที่เปนกรรมสิทธ์ิของบริษัท ธนกรรวมผล

999 จํากัด และบริเวณหมายเลข 3.4 เฉพาะในสวนที่เปนกรรมสิทธิ์ของบริษัท

ยเู นย่ี น เคมคี อล แอนด อคี วิปเมนท จาํ กัด
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

มคี วามเห็นสอดคลอ งกนั คอื เห็นควรยกคาํ รอ ง โดยใหค งขอกําหนดการใชป ระโยชน
ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๘ และ ๓.๔
ไวตามทร่ี างผังเมอื งรวมกาํ หนด

- 169 -

ลําดับที่ เร่อื ง/มติ อา งอิง
มตทิ ป่ี ระชุม
(คร้งั ท/ี่ วนั ที่ประชมุ )

ใหตามคํารองบางสวน โดยใหแกไขขอกําหนดการใช
ประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
บริเวณหมายเลข ๓.๑๘ บางสวน และบริเวณหมายเลข
๓.๔ บางสวน ใหดําเนินการหรือประกอบกิจการที่เปน
อาคารสูง อาคารขนาดใหญ อาคารขนาดใหญพิเศษได
เฉพาะบริเวณพ้ืนท่ีที่เปนกรรมสิทธ์ิที่ครอบครองโดยชอบ

ที่มีอยูเดิมของบริษัทผูรองตามที่ไดยื่นคํารองมา ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารอง และคณะท่ีปรึกษา

ผงั เมืองรวมจังหวดั ชัยนาท

เรื่องท่ี ๔ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน ในที่ดินประเภท

ท่ีโลงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม (สีเขียวออน) ในบริเวณ

หมายเลข 4.11 พื้นท่ีโลงบริเวณเขาหนองสอด หมูที่ 7 (บานไรสวนลาว) ตําบล

บานเช่ียน อําเภอหันคา ซ่ึงอยูในเขตเทศบาลตําบลบานเช่ียน ใหสามารถดําเนิน

โครงการผลิตไฟฟาจากพลงั งานแสงอาทติ ยแ บบติดตัง้ บนพ้นื ดนิ ได

ผูร อ ง จาํ นวน 1 ฉบับ 1 ราย ไดแ ก สาํ นกั งานเทศบาลตําบลบานเชีย่ น

เหตุผลในการขอแกไข สํานักงานเทศบาลตําบลบานเช่ียนมีความประสงค

จะใชพื้นท่ีโลงบริเวณเขาหนองสอด พ้ืนที่ประมาณ 70 ไร เพื่อใชในกิจการ

โครงการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยแบบติดตั้งบนพ้ืนดิน เพ่ือเปนรายได

ของเทศบาลและหมูบาน และประกอบกับเปนไปตามพระราชบัญญัติการประกอบ

กิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 ทั้งนี้ โครงการดังกลาวเปนโครงการท่ีไดรับ

การสนับสนนุ จากประชาชนในพื้นทีท่ เี่ ปน มติจากการประชาคม

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเห็นตางกนั )

คณะท่ปี รึกษาผังเมืองรวมจังหวัดชัยนาท เห็นควรยกคํารอง ในการขอแกไข

ขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินในท่ีดินประเภทที่โลงเพ่ือนันทนาการและการรักษา

คุณภาพสิ่งแวดลอม (สีเขียวออน) ในบริเวณหมายเลข 4.11 พื้นท่ีโลงบริเวณ

เขาหนองสอด หมูท ี่ 7 ตาํ บลบานเชยี่ น อําเภอหนั คา ของเทศบาลตาํ บลบานเชี่ยน

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คํารองฯ เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท

ที่โลงเพ่ือนันทนาการและการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณ

หมายเลข ๔.๑๑ ไวต ามท่รี างผงั เมืองรวมกําหนด

มติท่ีประชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดกําหนดการใชประโยชนที่ดิน
ในที่ดินประเภทท่ีโลงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพ
ส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) ในบริเวณหมายเลข ๔.๑๑ พ้ืนท่ีโลง
บริเวณเขาหนองสอด หมูที่ ๗ (บานไรสวนลาว) ตําบลบานเชี่ยน
อําเภอหันคา ซ่ึงอยูในเขตเทศบาลตําบลบานเชี่ยนไวตามราง
ผังเมืองรวมจังหวัดชัยนาทกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผงั เมอื งพิจารณาคํารอ งฯ และกรมโยธาธิการและผังเมือง

- 170 -

ลําดับท่ี เรื่อง/มติ อางอิง

(ครั้งท/่ี วันที่ประชมุ )

33. เรื่อง คาํ รอ งผังเมืองรวมจังหวดั มุกดาหาร ครั้งที่ 10/๒๕๕8

ผังเมืองรวมจังหวัดมุกดาหาร ไดดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม วันที่ 4 ก.ย. 58

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง รวมพื้นท่ีประมาณ ๔,๓๓๙ ตารางกิโลเมตร วาระท่ี 4.1.2

หรือประมาณ ๒,๗๑๒,๓๙๔ ไร ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง หนา 21 - 23

เม่ือวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๘ ไดนําไปปดประกาศ ๙๐ วัน เพื่อใหประชาชน

ผูมีสวนไดเสียไปตรวจดูและย่ืนคํารอง ต้ังแตวันท่ี ๑๓ พฤษภาคม – ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘

เมื่อครบกําหนดมีคํารองดานการใชประโยชนท่ีดิน นวนําจ ๑ ฉบับ ๘๒ ราย ๑ เรื่อง

คํารองดา นขอ กําหนด จํานวน ๒ ฉบบั ๑ ราย ๑ เรอ่ื ง รายละเอยี ดปรากฏ ดังน้ี

คาํ รองดา นการใชประโยชนท ด่ี ิน (จํานวน 1 เร่ือง)

เร่ือง ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สเี ขียว) บริเวณหมายเลข ๒.๗ เปนการใชป ระโยชนท ่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพ)ู

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๘๓ ราย ๑ เร่ือง ไดแก นายสวาง สลางสิงห

และผรู อ งอน่ื รวม ๘๓ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากตองการแกไขใหถูกตองตามขอเท็จจริง

ซ่งึ เปนท่ีตั้งมหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี วิทยาเขตมุกดาหาร และ Sport Complex

ซึง่ ในอนาคตมีแนวโนม จะเปน ชมุ ชนที่มคี วามหนาแนน

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดมุกดาหาร กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง ใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขยี ว) บรเิ วณหมายเลข ๒.๗ ไวตามทีร่ างผงั เมอื งรวมจงั หวัดกําหนด

มติท่ีประชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๒.๗ ไวตามราง
ผังเมืองรวมจังหวัดมุกดาหารกําหนด ตามมติคณะอนกุ รรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดมุกดาหาร

คาํ รอ งดานขอ กาํ หนดการใชประโยชนท ่ดี ิน (จาํ นวน 1 เรื่อง)
เรื่อง ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๒.๕ ซ่ึงเปนการขอยกเลิกขอหามบัญชีทายประกาศ
กระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการคุมครองความปลอดภัยในการดําเนินงาน
(ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒ โรงงานลําดับที่ ๘๙ โรงงานผลิตกาซ ซ่ึงมิใชกาซธรรมชาติ
สงหรอื จาํ หนา ยกาซ
ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ๑ เร่ือง ไดแก บริษัท พรีเมียรควอลิต้ี
สตารช จาํ กดั และบริษทั พรเี มียรไ บโอ – เอนเนอรจ ี จาํ กัด
เหตุผลในการขอแกไข เน่อื งจากบรษิ ัทดาํ เนนิ กจิ การผลิตไฟฟา โดยใชกาซ
ชีวภาพจากกระบวนการหมักนํ้าเสีย/กากมัน/เศษวัสดุเหลือใชจากการผลิต
แปงมันสาํ ปะหลงั

- 171 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(ครง้ั ที่/วันท่ปี ระชมุ )

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นตางกนั )

คณะทป่ี รึกษาผังเมืองรวมจงั หวดั มุกดาหาร และกรมโยธาธกิ ารและผังเมือง

มีความเหน็ สอดคลอ งกนั คอื

ประเด็นท่ี ๑ เห็นควรยกคํารอง เน่ืองจากบริษัท พรีเมียรควอลิตี้ สตารซ

จํากัด ไดมีการประกอบกิจการโรงงาน โดยไดรับอนุญาตมากอนวันที่ผังเมืองรวม

จังหวัดมุกดาหาร ประกาศใชเปนกฎกระทรวง และในอนาคตมีการประกาศให

ผงั เมอื งรวมจังหวดั มกุ ดาหารบังคับใชก็ตาม ขอ กําหนดของกฎกระทรวงจะไมมีผล

บังคับใชยอนหลังกับการประกอบการโรงงานของผูรอง ตามมาตรา ๒๗ วรรคสอง

แหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ และสามารถขยายกิจการไดตาม

ท่ีระบุไวในรางกฎกระทรวงผงั เมืองรวมจงั หวดั มุกดาหาร ขอ ๑๒

ประเด็นที่ ๒ เห็นควรใหตามคํารอง โดยใหเพิ่มในขอยกเวนของขอกําหนด

ประเภทขอหาม ใหโรงงานลําดับท่ี ๘๙ สามารถดําเนินการได เฉพาะในโฉนด

ตามที่ไดระบุไวในคํารองของบริษัท พรีเมียรไบโอเอนเนอรจี จํากัด เน่ืองจาก

เปนโรงงานที่เกี่ยวเนื่องกับกระบวนการผลิตไฟฟาที่ไดจากพลังทดแทน ซึ่งเปน

นโยบายสงเสรมิ ของรัฐบาล

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรใหตามคํารอง

ในประเดน็ ท่ี ๑ และประเดน็ ท่ี ๒ โดยใหแ กขอกาํ หนดการใชป ระโยชนท ่ีดินประเภท

ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขยี ว) บริเวณหมายเลข ๒.๕ โดยมเี งอื่ นไข ๓ ประการ ดังน้ี

๑. ใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท ี่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สเี ขยี ว) บรเิ วณหมายเลข ๒.๕ เฉพาะบริเวณที่ผูรอ งย่นื รอ งขอ

๒. ใหดําเนินการไดเฉพาะกิจการโรงงานในลําดับท่ี ๘๙ โรงงานผลิตกาซ

ซ่งึ มิใชก าซธรรมชาติ สง หรอื จาํ หนายกา ซ

๓. อาคารโรงงานของบริษัทผูรอง ตองมีระยะหางจากแมน้ํา ลําคลอง

หรือแหลงนํ้าสาธารณะไมนอยกวา ๑๕ เมตร และตองมีระยะหางจากทางหลวง

หรอื ถนนสาธารณะไมนอ ยกวา ๑๕ เมตร

มติทีป่ ระชมุ ใหตามคํารอง โดยใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน
ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๒.๕
ใหโรงงานลําดับท่ี ๘๙ โรงงานผลิตกา ซ ซึง่ มิใชก าซธรรมชาติ
สง หรือจําหนายกาซตามบัญชีทายประกาศกระทรวง
อุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการคุมครองความปลอดภัย
ในการดําเนินงาน (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒ สามารถ
ดําเนินการไดเฉพาะในท่ีดินตามโฉนดท่ีระบุไวในคํารอง
ของบริษัท และมีเงื่อนไขตองมีระยะถอยรนริมเขตทาง
ของทางหลวง หรือถนนสาธารณะ แมนํ้า ลําคลอง
และแหลงนํ้าสาธารณะไมนอยกวา ๑๕ เมตร ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพจิ ารณาคาํ รอ งฯ

- 172 -

ลําดับที่ เรอื่ ง/มติ อางอิง
34.
(คร้งั ท่ี/วนั ทปี่ ระชมุ )

เรอ่ื ง คาํ รองผังเมอื งรวมจังหวดั พิจิตร ครั้งท่ี 10/๒๕๕8

ผังเมืองรวมจังหวัดพิจิตร ไดดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม วนั ที่ 4 ก.ย. 58

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง รวมพ้ืนที่ประมาณ ๔,๕๓๑ ตารางกิโลเมตร วาระที่ 4.1.2

หรือประมาณ ๒,๘๓๑,๘๘๓ ไร ไดผานความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการผังเมือง หนา 23 - 26

เมื่อวันท่ี ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๘ ไดนําไปปดประกาศ ๙๐ วัน เพ่ือใหประชาชน

ผูมีสวนไดเสียไปตรวจดูและยื่นคํารอง ตั้งแตวันที่ ๑๕ พฤษภาคม –

๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘ เมื่อครบกําหนดมีคํารองดานการใชประโยชนท่ีดิน จํานวน

๑ เร่ือง ดานขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ๑ เรื่อง และเปนคํารองดานอ่ืน ๆ

๑ เร่อื ง รายละเอยี ดปรากฏ ดังน้ี

คํารอ งดา นการใชประโยชนที่ดิน (จํานวน 1 เรือ่ ง)

เรื่อง ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม

(สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) บริเวณหมายเลข ๕.๑ เปนการใชประโยชนที่ดิน

ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขยี ว)

ผูรอง จํานวน ๘๕๐ ฉบับ ๗๓๕ ราย ๑ เร่ือง ไดแก ชาวบานตําบล

คลองทราย ตาํ บลทาเย่ียม และตําบลสากเหล็ก อาํ เภอสากเหล็ก

เหตผุ ลในการขอแกไข เน่ืองจากที่ดินตามบริเวณหมายเลข ๕.๑ ปจ จบุ ัน

เปนพ้ืนท่ีทําเกษตรกรรม ซ่ึงบริเวณดังกลาวไมมีสภาพเปนปาไม ไมมีสัตวปา

ตน นาํ้ ลาํ ธารท่ีสมควรอนุรักษ และเปนท่ดี ินทมี่ ีเอกสารสทิ ธิ์

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดพิจิตร กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน

มีเสน ทแยงสขี าว) บรเิ วณหมายเลข ๕.๑ ไวต ามที่รางผังเมืองรวมจังหวดั กาํ หนด

มติที่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหค งการใชประโยชนท่ดี ินประเภทอนุรักษ
ปาไม (สีเขียวออนมีเสน ทแยงสีขาว) บริเวณหมายเลข ๕.๑
ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดพิจิตรกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมือง และคณะท่ปี รกึ ษาผงั เมอื งรวมจังหวดั พจิ ิตร

คํารองดานขอกําหนดการใชประโยชนทีด่ นิ (จํานวน 1 เรือ่ ง)
เรื่อง ขอใหเพ่ิมขอกําหนดหามการประกอบกิจการเกี่ยวกับการทําเหมืองแร
ทุกประเภทในขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สเี ขยี ว) บรเิ วณหมายเลข ๓.๒
ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๒๕ ราย ๑ เร่ือง ไดแก นางสาวส่ือกัญญา
ธรี ะชาตดิ ํารง และพวก
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากไดรับผลกระทบจากการทําเหมืองแร
ทองคํา และไดยื่นหนังสือไปทุกหนวยงานท่ีเก่ียวของ ปญหาท่ีเกิดขึ้นยังไมไดแกไข
ใหแลวเสร็จ ประชาชนยงั คงไดรับความเดอื ดรอ น แหลงน้าํ ไมส ามารถบรโิ ภคได

- 173 -

ลําดบั ที่ เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครงั้ ที่/วนั ท่ปี ระชมุ )

มีสารโลหะหนักปริมาณมาก มีอาการปวย กลามเน้ือออนแรง เบ่ืออาหาร

กินอาหารไมได ทั้งน้ี ยงั มไี ซยาไนดแ ละสารหนปู รมิ าณสูงในอากาศอีกดว ย

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดพิจิตร กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๒ ไวต ามท่รี างผงั เมอื งรวมจังหวดั กําหนด

มติที่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๒
ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดพิจิตรกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมือง และคณะทีป่ รกึ ษาผังเมืองรวมจังหวัดพจิ ิตร

คํารอ งดานอ่ืน ๆ (จาํ นวน 1 เรอ่ื ง)
เร่ือง ขอใหยกเลิกโครงการจัดรูปท่ีดินเพ่ือพัฒนาพ้ืนที่ บริเวณอําเภอ
บางมูลนาก จงั หวดั พจิ ติ ร
ผูรอง จํานวน ๙๑ ฉบับ ๘๕ ราย ๑ เรื่อง ไดแก ชาวบานตําบลเนินมะกอก
อําเภอบางมลู นาก
เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากเปนที่ดินที่ใชในการอยูอาศัยและท่ีทํากิน
นอกจากน้ีมีเสนทางในการเดินทางและสาธารณูปโภคเพียงพอไมตองการพัฒนา
อนั กอ ใหเกิดปญหาตามมาในภายหลัง
ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดพิจิตร กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคาํ รอ งฯ มคี วามเหน็ สอดคลองกัน คอื เน่ืองจาก
ประเด็นคํารองไมไดเปนเร่ืองการขอแกไขหรือเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน
หรือขอกาํ หนดของผงั เมอื งรวมจังหวัด

มตทิ ป่ี ระชมุ ยกคํารอง เน่ืองจากประเด็นคํารองไมไดเปนเรื่องการขอแกไข
หรือเปล่ียนการใชป ระโยชนที่ดนิ หรอื ขอกําหนดของผังเมืองรวม
จังหวัด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
จงั หวดั พิจติ ร

35. เร่อื ง คํารองผงั เมอื งรวมจังหวัดตาก คร้ังท่ี 10/๒๕๕8

ผังเมืองรวมจังหวัดตาก ไดดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม วันท่ี 4 ก.ย. 58

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง รวมพื้นท่ีประมาณ ๑๖,๔๐๗ ตารางกิโลเมตร วาระท่ี 4.1.4

หรือประมาณ ๑๐,๒๕๔,๓๗๕ ไร ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง หนา 27 - 30

เม่ือวันท่ี ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ ไดนําไปปดประกาศ ๙๐ วัน เพ่ือใหประชาชน

ผูม สี วนไดเสียไปตรวจดแู ละยืน่ คํารอ ง ต้งั แตว นั ที่ ๑๕ พฤษภาคม – ๑๓ สงิ หาคม ๒๕๕๘

- 174 -

ลําดับที่ เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(คร้ังที่/วนั ทีป่ ระชุม)

เมือ่ ครบกําหนด พบวา มีคาํ รองดานการใชประโยชนท ี่ดนิ ๒ เรอื่ ง และดา นขอ กําหนด
๒ เร่ือง รายละเอียดปรากฏ ดังน้ี

คํารอ งดานการใชประโยชนท ่ดี ิน (จํานวน 2 เรอื่ ง)
เร่ืองที่ ๑ ขอแกไขการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน
มีเสนทแยงสีขาว) บริเวณหมูที่ ๔ บานพะเดะ หมูที่ ๕ บานถ้ําเสือ และหมูท่ี ๖
บานขุนหวยแมสอด ตําบลพระธาตุผาแดง เปนการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สเี ขียว)

ผรู อ ง จาํ นวน ๖ ฉบับ ๖ ราย ไดแ ก องคก ารบริหารสว นตําบลพระธาตผุ าแดง

และผูรองอืน่ รวม ๖ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากท่ีอยูอาศัยบริเวณหมูที่ ๔ บานพะเดะ

หมูที่ ๕ บานถ้ําเสือ และหมูที่ ๖ บานขุนหวยแมสอด ตําบลพระธาตุผาแดง

เกิดปญหาการใชท่ีดิน เชน การสรางที่อยูอาศัย ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และการกําหนด

ทะเบียนบา น

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นสอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดตาก กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ เห็นควร

ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน

มีเสนทแยงสีขาว) ตามรางผังเมืองรวมจังหวัดตาก เน่ืองจากขอเท็จจริงเปนพ้ืนท่ี

ปาสงวนแหงชาติปาแมสอด ตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๖๓๙ (พ.ศ. ๒๕๑๖)

ออกตามความในพระราชบัญญัติปา สงวนแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗

มตทิ ่ีประชมุ ยกคาํ รอ ง โดยใหค งการใชประโยชนท ด่ี ินประเภทอนรุ ักษปาไม

(สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) บริเวณหมูท่ี ๔ บานพะเดะ

หมูท่ี ๕ บานถํ้าเสือ และหมูท่ี ๖ บานขุนหวยแมสอด ตําบล

พระธาตุผาแดง ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดตากกําหนด
ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมอื ง และคณะท่ีปรึกษาผงั เมืองรวมจังหวดั ตาก

เรื่องท่ี ๒ ขอแกไขและเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม
(สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) บริเวณหมายเลข ๕.๗ เปนที่ดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสน ทแยงสีเขียว)

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑๔๐ ราย ไดแก นายสํารวม พันธุพืช ประธานกลุม
คนแมสอดรักษถ ิน่ ท่ีดินทาํ กิน และผูรอ งอื่นรวม ๑๔๐ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากสภาพจริงในปจจุบันมีประชาชนต้ังถ่ินฐาน
ปลูกสรางบานเรือน ดํารงวิถีชีวิตเกษตรกรรมมายาวนานเพราะพ้ืนท่ีอยูติดแมนํ้าเมย
จึงมีการประกอบอาชีพเกษตรกรรมซ่ึงเปนพื้นฐานเศรษฐกิจท่ีจะนําประโยชน
และความเจรญิ มาสูอําเภอแมส อดและจังหวัดตาก

- 175 -

ลําดบั ท่ี เร่อื ง/มติ อา งอิง

(ครงั้ ท/ี่ วนั ทป่ี ระชมุ )

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลอ งกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดตาก กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออน

มีเสนทแยงสีขาว) ตามรางผังเมืองรวมจังหวัดตาก เนื่องจากขอเท็จจริงเปนพื้นที่

ปาสงวนแหงชาติปาแมละเมา ตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๙๔๕ (พ.ศ. ๒๕๒๔)

ออกตามความในพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗ ซึ่งเปนพื้นท่ี

อนรุ ักษแหลง ตน นาํ้ ลาํ ธาร และทรัพยากรธรรมชาติทสี่ ําคญั ของชาติ

มติทีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษ
ปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) บริเวณหมายเลข ๕.๗
ไว ตามร างผั งเมื องรวมจั งหวั ดตากกํ าหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมือง และคณะทป่ี รึกษาผังเมอื งรวมจังหวัดตาก

ดานขอ กําหนดการใชป ระโยชนทด่ี ิน (จํานวน 2 เร่ือง)
เร่ืองท่ี ๑ ขอแกไขและปรับปรุงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชุมชน (สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๘ โดยใหยกเลิกประกาศเขตปาไมถาวรตามมติ
คณะรัฐมนตรีในเขตตาํ บลทา สายลวด
ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑๔๐ ราย ไดแก นายสํารวม พันธุพืช ประธาน
กลมุ คนแมส อดรักษถ ่ินท่ีดนิ ทาํ กิน และผูร อ งอนื่ รวม ๑๔๐ ราย
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากเพ่ือใหสอดคลองกับสภาพความเปนจริง
ทเี่ ปน ชมุ ชนในเขตเทศบาล ซง่ึ มิไดเ ปนปา ไมถ าวร
ผลการพจิ ารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดตาก กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควร
ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู) ไวตามราง
ผงั เมืองรวมจังหวดั ตาก

มติทป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ชุมชน (สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๘ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวดั ตากกาํ หนด ตามมตคิ ณะอนกุ รรมการผังเมืองพิจารณา
คํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผังเมอื งรวมจังหวดั ตาก

เร่ืองท่ี ๒ ขอใหยกเลิกขอความในวรรคทายตามขอกําหนดการใช
ประโยชนที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู) การใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) และการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมกี รอบและเสน ทแยงสีเขียว)

- 176 -

ลาํ ดับที่ เร่ือง/มติ อางอิง

(คร้งั ท/่ี วันท่ีประชมุ )

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑๔๐ ราย ไดแก นายสํารวม พันธุพืช ประธาน
กลมุ คนแมส อดรกั ษถ ิ่นทด่ี ินทาํ กิน และผรู อ งอ่นื รวม ๑๔๐ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากการกําหนดพ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ไมไดดําเนินการตามขั้นตอนการวางผังเมืองตามขั้นตอนที่ ๑ คือ รวบรวมขอมูล
เก็บขอมูลภาคสนาม จัดทําแผนท่ีพ้ืนฐาน ประชุมระดมความคิดเห็นทุกภาคสวน
ไปสูข้ันตอนการวางผังราง โดยไมไดตรวจสอบสภาพความเปนจริงของพื้นที่

ใชการพิจารณาเฉพาะเอกสารหลักฐานประกอบเทาน้ัน จึงเปนการละเมิดสิทธิ

ประชาชนและชุมชน โดยพื้นที่คํารองน้ีไมไดมีสภาพเปนปาไมถาวร ตามมติ

คณะรัฐมนตรี
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดตาก กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอความในวรรคทายตามขอกําหนดการใชประโยชน
ท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู) การใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) และการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาว
มีกรอบและเสนทแยงสีเขียว)

มติท่ีประชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท

ชุมชน (สีชมพู) ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

และท่ีดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาว
มีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดตากกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รอ งฯ กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง และคณะทปี่ รึกษา
ผงั เมืองรวมจังหวดั ตาก

36. เรอื่ ง คํารองผงั เมอื งรวมจังหวดั สกลนคร คร้งั ที่ 10/๒๕๕8

ผังเมืองรวมจังหวัดสกลนคร ไดดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม วนั ท่ี 4 ก.ย. 58

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง รวมพ้ืนท่ีประมาณ ๙,๖๐๕ ตารางกิโลเมตร วาระท่ี 4.1.5

หรือประมาณ ๖,๐๐๓,๖๐๒ ไร ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง หนา 30 - 38
เม่ือวันท่ี ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๘ ไดนําไปปดประกาศ ๙๐ วัน เพ่ือใหประชาชน

ผูมีสวนไดเสียไปตรวจดูและย่ืนคํารอง ตั้งแตวันที่ ๑๕ พฤษภาคม – ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘

เมื่อครบกําหนดมีคํารองดานขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน จํานวน ๔ ฉบับ

๒ ราย ๔ เรอ่ื ง รายละเอียดปรากฏ ดงั นี้

คํารอ งดานขอ กาํ หนดการใชประโยชนท ่ดี นิ (จํานวน 4 เร่อื ง)

เร่ืองที่ ๑ ขอยกเลิกขอกําหนด ในเรื่องขอหามการใชประโยชนท่ีดิน

เพื่อกิจการท่ีกําหนด ดังตอไปน้ี โรงงานลําดับที่ ๑๑ (๓) (๔) ในท่ีดินประเภท

อนุรกั ษชนบทและเกษตรกรรม บรเิ วณหมายเลข ๔.๑ บางสวน

ผูรอ ง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก บริษัท แอบโซลูท ปาลม จํากัด

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากตองการประกอบกิจการโรงงานผลิต

นํา้ ตาลทรายขาว และเพ่อื เปน การสงเสริมเกษตรกรในพื้นท่ีใหม ีการปลูกพืชเศรษฐกจิ

- 177 -

ลาํ ดบั ท่ี เรื่อง/มติ อา งอิง

(ครงั้ ท/่ี วนั ท่ปี ระชมุ )

ท่ีเปนการสรางงาน สรางรายไดและความเปนอยูท่ีดีข้ึน ไมตองจากครอบครัว
ไปหางานทําจากแหลง อื่น ในการสรางรายไดทางภาษีใหก ับองคกรปกครองสวนทองถิน่
เพอื่ นําไปพฒั นาพ้นื ท่ี

ผลการพิจารณาคํารอง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสกลนคร กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษชนบท

และเกษตรกรรม (สีขาวมกี รอบและเสนทแยงสีเขยี ว) บริเวณหมายเลข ๔.๑ บางสว น

มตทิ ปี่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดในเร่ืองขอหามโรงงานลําดับที่

๑๑ (๓) (๔) ในท่ีดินประเภทอนรุ กั ษช นบทและเกษตรกรรม

(สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔.๑
ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดสกลนครกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมือง และคณะทีป่ รกึ ษาผงั เมอื งรวมจงั หวดั สกลนคร

เรื่องท่ี ๒ ขอยกเลิกขอกําหนด ในเร่ืองขอหามการใชประโยชนที่ดิน
เพ่ือกิจการท่ีกําหนด ดังตอไปนี้ โรงงานลําดับท่ี ๕๒ ในท่ีดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมกี รอบและเสนทแยงสเี ขียว) บรเิ วณหมายเลข ๔.๑ – ๔.๑๓

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ๑ เรื่อง ไดแก สํานักงานอุตสาหกรรม
จังหวดั สกลนคร

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากโรงงานอุตสาหกรรมดังกลา ว เกษตรกร
สวนใหญหรือผูประกอบกิจการจะดําเนินการในลักษณะของการแปรรูปยางพารา
ขั้นตนกอนสงจําหนายใหกับโรงงานขนาดใหญ ซ่ึงเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญ
ตอภาคเศรษฐกิจของประเทศ และเพ่ือเปนการสงเสริมสนับสนุนอุตสาหกรรมตนนํ้า
ที่เก่ียวของกับการเกษตร จึงขอใหพิจารณายกเลิกขอหามการใชประโยชนท่ีดิน
เพ่ือกิจการโรงงานในลาํ ดบั ที่ ๕๒ (๑) (๒) (๓) (๔)

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสกลนคร กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษ
ชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข
๔.๑ – ๔.๑๓ ไวตามทร่ี า งผงั เมอื งกาํ หนด

มติทปี่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดในเร่ืองขอหามโรงงานลําดับท่ี
๕๒ ในทีด่ นิ ประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม บริเวณ
หมายเลข ๔.๑ - ๔.๑๓ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัด
สกลนครกําหนด ตามมติคณะอนกุ รรมการผังเมืองพิจารณา
คํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
จงั หวดั สกลนคร

- 178 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(คร้งั ท/่ี วันท่ปี ระชุม)

เร่ืองที่ ๓ ขอยกเลิกขอกําหนด ในเร่ืองขอหามการใชประโยชนที่ดิน

เพ่ือกิจการท่ีกําหนด ดังตอไปนี้ โรงงานลําดับที่ ๕๒ (๒) (๓) ในท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สเี ขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑ – ๓.๑๓
ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ๑ เรื่อง ไดแก สํานักงานอุตสาหกรรม

จังหวดั สกลนคร

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากโรงงานอุตสาหกรรมดังกลาว เกษตรกร
สวนใหญหรือผูประกอบกิจการจะดําเนินการในลักษณะของการแปรรูปยางพารา
ในข้ันตนกอนสงจําหนายใหกับโรงงานขนาดใหญ ซ่ึงเปนอุตสาหกรรมท่ีมีความสําคัญ

ตอภาคเศรษฐกิจของประเทศ และเพ่ือเปนการสงเสริมสนับสนุนอุตสาหกรรมตนนํ้า

ท่ีเกย่ี วของกบั การเกษตร จงึ ขอใหพ จิ ารณายกเลิกขอหามการใชประโยชนท ่ดี ินเพ่ือ

กิจการโรงงานในลําดบั ที่ ๕๒ (๒) (๓) ท่ีกลา วมาแลว

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ ตางกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสกลนคร กรมโยธาธิการและผังเมือง
มคี วามเหน็ สอดคลองกนั คือ เห็นควรยกคํารอง
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรใหตามคํารอง
โ ด ย ใ ห แ ก ไ ข ข อ กํ า ห น ด ก า ร ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ท่ี ดิ น ประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑ – ๓.๑๓ ใหสามารถดําเนินกิจการโรงงานลําดับที่ ๕๒
(๒) (๓) ได และมเี ง่อื นไขใหม รี ะยะหา งจากแหลงน้าํ ไมนอยกวา ๕๐๐ เมตร

มตทิ ่ปี ระชุม ใหจังหวัดสกลนครไปรวบรวมขอมูลเชิงพื้นที่เก่ียวกับ
เรื่องของยางพาราใหครอบคลุมทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม
เกษตรกรรม และสงั คม จติ วิทยา รวมทงั้ มาตรการการแกไข
ปญหาตาง ๆ เพอ่ื นํามาประกอบการพิจารณา แลวนาํ มาเสนอ
ใหค ณะกรรมการผังเมืองพิจารณาในครั้งตอไป

เรื่องที่ ๔ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษปาไม
(สเี ขียวออนมเี สนทแยงสีขาว) บริเวณหมายเลข ๗.๑ – ๗.๑๖ ดงั นี้ ทดี่ นิ ประเภทน้ี
ซ่ึงเอกชนเปนเจาของหรือผูครอบครองโดยชอบดวยกฎหมาย ใหใชประโยชนท่ีดิน
เพื่อการอยูอาศัย พาณิชยกรรม เกษตรกรรม เกี่ยวของกับเกษตรกรรม
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชนเทานั้น และหามใช
ประโยชนเ พอื่ กจิ การตามกําหนด ดงั ตอไปน้ี

โรงงานทุกจําพวกตามกฎหมายวาดว ยโรงงาน แกไ ขเปน
(๑) โรงงานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการคุมครอง
ความปลอดภยั ในการดําเนินงาน (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒ เวนแตโ รงงานลาํ ดบั ที่ ๙๒ (๒)
(๒) โรงงานลําดับที่ ๗ (๓) (๕) โรงงานลําดับท่ี ๑๑ (๒) (๓) (๔)
(๖) โรงงานลําดับที่ ๓๘ โรงงานลําดับท่ี ๔๘ (๑) (๒) (๓) (๕) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑)
(๑๒) โรงงานลาํ ดบั ที่ ๕๐ (๑) (๒) (๓) (๕) โรงงานลําดบั ที่ ๕๑ โรงงานลาํ ดบั ที่ ๕๒

- 179 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(คร้งั ที่/วนั ที่ประชมุ )

โรงงานลําดับท่ี ๕๗ (๑) (๒) โรงงานลําดับที่ ๕๘ (๒) (๕) (๖) โรงงานลําดับที่ ๕๙

โรงงานลําดับท่ี ๖๐ โรงงานลําดับที่ ๘๘ (เวนแตโรงงานผลิตพลังงานไฟฟา

จากพลงั งานแสงอาทติ ย) และโรงงานลาํ ดับท่ี ๑๐๑ ตามกฎหมายวาดวยโรงงาน
(๓) โรงงานประเภทอ่ืน นอกจาก (๑) และ (๒) ท่ีไมมีระบบวิธีการควบคุม

การปลอยของเสียมลพิษ หรือสิ่งใด ๆ ที่มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมตามกฎหมาย

วา ดวยโรงงาน

ผรู อ ง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก สํานกั งานอุตสาหกรรมจงั หวดั สกลนคร

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากท่ีดินประเภทดังกลาวขางตน จําเปนตองมี

การประกอบกิจการท่ีเกี่ยวของกับอุตสาหกรรมการเกษตร รวมท้ังอุตสาหกรรมบริการ

ท่ีมีความสําคัญตอเศรษฐกิจของทองถ่ิน และการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน

จะมีข้ันตอนการพิจารณาตามกฎหมายวาดวยโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ รวมท้ังการประกอบ

กิจการโรงงานตองมีมาตรการควบคุมการปลอยของเสีย มลพิษ หรือสิ่งใด ๆ

ท่ีมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และไมกอเหตุเดือดรอนรําคาญหรือเปนอันตราย

ตอ ผูปฏบิ ัตงิ านในโรงงานและผูอาศัยใกลเคียง ซึ่งตอ งปฏิบตั ใิ หเ ปน ไปตามกฎหมาย

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเหน็ ตางกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดสกลนคร เห็นควรใหตามคํารอง

แบบมีเง่ือนไข โดยใหสามารถประกอบกิจการไดเฉพาะอุตสาหกรรมบริการ

หรืออุตสาหกรรมท่ใี หบ รกิ ารแกชุมชน กลุม ก ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม

เร่ือง การกําหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับ

อุตสาหกรรมบริการหรืออุตสาหกรรมที่ใหบริการแกชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๕ ในที่ดิน

ซ่งึ เอกชนเปนเจาของหรือผคู รอบครองโดยชอบดว ยกฎหมายทด่ี นิ

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใช

ประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว) บริเวณ
หมายเลข ๗.๑ – ๗.๑๖ ไวตามรา งผังเมอื งรวมจงั หวดั กาํ หนด

มติท่ีประชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดในเรื่องขอหามโรงงานในท่ีดิน
ประเภทอนุรักษปาไม (สีเขียวออนมีเสนทแยงสีขาว)
บริเวณหมายเลข ๗.๑ – ๗.๑๖ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดสกลนครกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ และกรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง

37. เรื่อง คํารอ งผงั เมอื งรวมจงั หวัดกาฬสนิ ธุ ครงั้ ที่ 10/๒๕๕8

ผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ ไดดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม วนั ท่ี 4 ก.ย. 58

โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง รวมพ้ืนที่ประมาณ ๖,๙๔๖ ตารางกิโลเมตร วาระท่ี 4.1.5

หรือประมาณ ๔,๓๔๑,๗๑๖ ไร ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง หนา 38 - 55

เมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๘ ไดนําไปปดประกาศ ๙๐ วัน เพื่อใหประชาชน

ผมู สี วนไดเ สียไปตรวจดูและยืน่ คาํ รอง ตั้งแตว ันท่ี ๑๕ พฤษภาคม – ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘

- 180 -

ลําดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครั้งท/่ี วันทีป่ ระชมุ )

เม่ือครบกําหนดมีคํารองดานการใชประโยชนที่ดิน จํานวน ๕ ฉบับ ๖๙ ราย ๕ เร่ือง

และคํารอ งดานขอกําหนด จํานวน ๘ ฉบับ ๘ ราย ๑๑ เรอื่ ง รายละเอยี ดปรากฏ ดังน้ี

คํารองดานการใชประโยชนที่ดิน (จาํ นวน 5 เรื่อง)

เร่ืองที่ ๑ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๙ บางสวน เปนการใชประโยชน

ทดี่ ินประเภทอุตสาหกรรมและคลงั สินคา (สมี ว ง)

ผูรอ ง ๑ ฉบับ ๑ ราย คือ บรษิ ทั นํ้าตาลมิตรกาฬสนิ ธุ จํากัด

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากพื้นท่ีคํารอง อยูในพ้ืนที่ระหวางกิโลเมตรที่

๖ - ๘ ถนนบัวขาว - โพนทอง เปนพื้นที่ที่มีความเหมาะสมท่ีจะเปนพ้ืนที่

อุตสาหกรรมและคลังสินคา เน่ืองจากเปนพื้นท่ีราบเรียบ มีแปลงที่ดินขนาดใหญ

และโรงงานอตุ สาหกรรมไดดาํ เนนิ กจิ การอยูก อนแลว

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นตา งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ และกรมโยธาธิการและผังเมือง

มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควรยกคํารอ ง เนื่องจากไมสามารถกําหนดพนื้ ท่ี

ของโรงงานอุตสาหกรรมที่กระจายทั่วทั้งจังหวัดใหเปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม

และคลังสินคา (สีมวง) ตามคํารองท่ีเปนจุดท่ีต้ังตามตําแหนงของโรงงานได

เพราะตามสภาพจริงของพ้ืนท่ีโรงงานอุตสาหกรรมมีทั่วทั้งจังหวัด ซ่ึงจะเปนการกระจาย

อตุ สาหกรรมขนาดใหญ โดยขาดการกําหนดพ้ืนที่ที่ชัดเจน และพืน้ ที่อุตสาหกรรม

และคลังสินคาเปนพ้ืนท่ีที่ถูกกําหนดเพื่อรองรับอุตสาหกรรมหนักอื่น ๆ ซึ่งตองมี

การกําหนดพ้ืนทอ่ี ยา งเหมาะสม ไมป ะปนกบั พน้ื ทีป่ ระเภทอืน่

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรยกคํารอง โดยมีเง่ือนไข

ใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

บริเวณหมายเลข ๓.๙ ใหสามารถดําเนินกิจการโรงงานน้ําตาลไดในอาคารสูงและอาคาร

ขนาดใหญและอาคารขนาดใหญพิเศษได เนื่องจากในท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สเี ขียว) ไมไดหามการประกอบกิจการตามคาํ รอง

มตทิ ป่ี ระชมุ ยกคาํ รอ ง โดยมเี ง่ือนไขใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชน
ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ
หมายเลข ๓.๙ ใหสามารถดําเนินกิจการโรงงานน้ําตาล
ไดในอาคารสูง และอาคารขนาดใหญ และอาคารขนาดใหญ
พเิ ศษ ไดเฉพาะในพื้นที่ทผ่ี รู อ งมีกรรมสทิ ธิ์ และไดยน่ื คาํ รองมา
ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

เร่ืองท่ี ๒ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔
บางสว น เปน การใชป ระโยชนท ด่ี ินประเภทชุมชน (สชี มพู)

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๘ ราย ๑ เร่ือง ไดแก เทศบาลตําบลยางคลาด
เทศบาลตําบลโคกศรี เทศบาลตําบลอุมเมา เทศบาลตําบลหัวนาคํา อบต.คลองขาม
อบต.ยางตลาด อบต.ดอนสมบูรณ และ อบต.หวั งวั

- 181 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(ครง้ั ท/ี่ วันที่ประชมุ )

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากพื้นท่ีคํารองมีการกําหนดประเภท

การใชประโยชนที่ดินไมตรงกับสภาพพื้นที่จริง ทําใหเกิดผลกระทบตอประชาชน

อนั เปน การกระทาํ ทกี่ ระทบตอ สิทธแิ ละเสรีภาพขนั้ พ้ืนฐานของประชาชน

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษชนบท

และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔ ไวตาม

รางผังเมืองรวมจังหวัดกําหนด

มตทิ ่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษ
ชนบทและเกษตรกรรม (สขี าวมกี รอบและเสน ทแยงสีเขียว)
บริเวณหมายเลข ๔ ไวตามรางผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุกําหนด
ต า ม ม ติ ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ผั ง เ มื อ ง พิ จ า ร ณ า คํ า ร อ ง ฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม
จังหวัดกาฬสนิ ธุ

เรื่องที่ ๓ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขยี ว) บรเิ วณหมายเลข ๓.๑๖ และทีด่ นิ ประเภทอนุรักษช นบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) และบริเวณหมายเลข ๔
บางสว น เปน การใชป ระโยชนทดี่ นิ ประเภทชุมชน (สีชมพู)

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๕๘ ราย ๑ เรื่อง ไดแก เทศบาลตําบลฆองชัยพัฒนา
และประชาชน รวม ๕๘ ราย

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สเี ขียว) บรเิ วณหมายเลข ๓.๑๖ และทดี่ นิ ประเภทอนรุ ักษช นบทและเกษตรกรรม
(สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔ ไวตามรางผังเมืองรวม
จงั หวดั กาํ หนด

มติทีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขียว) บรเิ วณหมายเลข ๓.๑๖ และที่ดิน
ประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบ
และเสนทแยงสเี ขียว) บริเวณหมายเลข ๔ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดกาฬสินธุกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผังเมืองรวมจังหวดั กาฬสนิ ธุ

- 182 -

ลาํ ดับท่ี เรื่อง/มติ อางอิง

(ครั้งท/ี่ วนั ท่ีประชุม)

เร่ืองท่ี ๔ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู)
บริเวณหมายเลข ๑.๑ บางสวน เปนการใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลังสินคา (สีมว ง)

ผูรอง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ๑ เรอ่ื ง ไดแ ก บรษิ ัท ไทยวาสตารช จาํ กดั
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากเพ่ือขยายกิจการท่ีเกี่ยวเน่ืองกับมันสําปะหลัง
ประกอบดวยกิจการโรงงานลําดับที่ ๙ (๒), ๑๐ (๓) และ ๘๙ ซึ่งหากไมสามารถขยาย

การประกอบกจิ การดงั กลาวจะสงผลกระทบตอผรู อง และการลงทุนในพืน้ ท่ีจังหวัดอยางมาก

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู) บริเวณ
หมายเลข ๑.๑ ไวต ามรางผังเมอื งรวมจงั หวดั กําหนด

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชุมชน
(สีชมพู) บริเวณหมายเลข ๑.๑ ไวตามรางผังเมืองรวม
จังหวัดกาฬสินธุกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมืองรวมจงั หวดั กาฬสินธุ

เรื่องท่ี ๕ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓ บางสวน เปนการใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลงั สินคา (สมี ว ง)

ผรู อ ง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ๑ เรือ่ ง ไดแก บริษทั อุตสาหกรรมนํ้าตาล
อสี าน จาํ กดั

เหตุผลในการขอแกไข การกําหนดประเภทการใชประโยชนท่ีดินในอนาคต
ยังมีความคลาดเคล่ือนและไมถูกตองตรงกับสภาพการใชประโยชนที่ดินในปจจุบัน
หลายประการ การกําหนดประเภทการใชประโยชนทดี่ ินดังกลา วจะเกิดผลกระทบ
ตอการขยายกิจการของทางบริษัท รวมท้ังอุตสาหกรรมในภาพรวมของจังหวัด
ท้ังกจิ การโรงงานน้าํ ตาลและการผลติ ไฟฟาขนาดเล็ก

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขยี ว) บรเิ วณหมายเลข ๓.๓ ไวตามรางผังเมอื งรวมจังหวัดกําหนด

มตทิ ี่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓ ไวตามราง
ผงั เมอื งรวมจังหวัดกาฬสินธกุ ําหนด ตามมตคิ ณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะที่ปรกึ ษาผังเมอื งรวมจงั หวดั กาฬสินธุ

- 183 -

ลาํ ดับที่ เรื่อง/มติ อางอิง

(ครง้ั ที่/วนั ทีป่ ระชุม)

คํารอ งดานขอกาํ หนดการใชประโยชนท ี่ดนิ (จํานวน 11 เรื่อง)

เร่ืองท่ี ๑ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู)

จาํ นวน ๒ ประเดน็ ยอ ย ดังน้ี

๑) ขอ ๖ (๔) ขอยกเลิกขอหามการใชประโยชนที่ดินเพ่ือกิจการ “สถานที่

ที่ใชในการเก็บรักษานํ้ามัน ลักษณะท่ีสาม ตามกฎหมายวาดวยการควบคุมนํ้ามัน

เชอ้ื เพลงิ เพือ่ การจําหนาย”

๒) ขอ ๖ (๕) ขอยกเลิกขอหามการใชประโยชนท่ีดินเพ่ือกิจการ

“สถานท่ีบรรจุกาซปโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานท่ีบรรจุกาซปโตรเลียมเหลว

ประเภทหองบรรจุ และสถานท่ีเก็บรักษากาซปโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ

ตามกฎหมายวาดวยการควบคมุ นํ้ามันเชือ้ เพลิง”

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ๑ เรื่อง ไดแก สํานักงานพลังงานจังหวัด

กาฬสนิ ธุ

เหตุผลในการขอแกไข เพ่ือใหเหมาะสมกับโครงการดานพลังงานที่เกิดขึ้น

ภายในจงั หวดั

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มีความเห็นสอดคลองกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชุมชน (สีชมพู) บริเวณ

หมายเลข ๑.๑ – ๑.๒๕ ไวตามรางผงั เมอื งรวมจงั หวดั กําหนด

มติท่ีประชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามการใชประโยชนที่ดิน
ประเภทชุมชน (สีชมพู) ขอ ๖ (๔) สถานท่ีเก็บรักษานํ้ามันฯ
และ ๖ (๕) สถานทบี่ รรจุและรักษากาซฯ ไวตามรา งผังเมืองรวม
จังหวัดกาฬสินธุกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคาํ รองฯ กรมโยธาธิการและผงั เมือง และคณะทป่ี รกึ ษา
ผังเมอื งรวมจังหวดั กาฬสินธุ

เรื่องที่ ๒ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชุมชน
(สีชมพู) ดังน้ี ขอ ๖ (๑) ขอยกเลิกขอหามการใชประโยชนท ่ีดินเพ่ือกิจการโรงงาน
ลําดบั ท่ี ๘๙ ใหสามารถประกอบกิจการได

ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ๑ เร่ือง ไดแก บริษัท คาซาวา เวสท ทู
เอ็นเนอรย ่ี จํากัด และบรษิ ัท ไทย วา สตารช จาํ กัด (มหาชน)

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากแผนการขยายอาคารโรงงานและสํานักงาน
ในอนาคตและมีความจําเปนในการใชข องเสียจากโรงงานผลิตแปง มันในการกําจดั
ของเสียและกําจัดกล่ินโดยผลจากการกําจัด ของเสียดังกลาวนํามาผลิตเปน
กา ซชวี ภาพ

- 184 -

ลาํ ดับที่ เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครั้งที่/วนั ที่ประชุม)

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลองกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ

เห็นควรยกคํารอง เพราะการประกอบกิจการโรงงานลําดับที่ ๘๙ คือโรงงานผลิตกาซ

เปน กจิ กรรมที่มีความเส่ยี งดานความปลอดภัยตอชุมชน แมจ ะมมี าตรการควบคุมใน

กฎหมายฉบับอื่น ๆ อยูแลว แตหากเกิดอุบัติเหตุขึ้นจะสงผลกระทบตอชุมชน

อยางมาก ท้ังนี้ ในขอกําหนดตามรางผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุไดกําหนดไว

ในขอ ๑๔ ใหโรงงานท่ีไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการอยูกอนวันที่กฎกระทรวงนี้

มีผลใชบังคับ และยังประกอบกิจการอยูขยายพื้นที่โรงงานไดไมเกินหน่ึงเทา

ของพื้นที่โรงงานท่ีใชใ นการผลติ เดิมอยูแ ลว

มติทีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามการใชประโยชนที่ดิน

ประเภทชุมชน (สีชมพู) ขอ ๖ (๑) โรงงานลําดับที่ ๘๙ ไว

ตามรางผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุกําหนด ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผงั เมอื ง และคณะท่ีปรึกษาผงั เมืองรวมจังหวัดกาฬสนิ ธุ

เร่ืองที่ ๓ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน
(สีชมพู) ดังน้ี ขอ ๖ (๑) ขอยกเลิกขอหามการใชประโยชนท่ีดินเพื่อกิจการโรงงาน
ลําดบั ที่ ๙ (๒) และ ๑๐ (๓) ใหส ามารถประกอบกิจการในพ้ืนที่ได

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ๑ เร่ือง ไดแก บริษัท ไทย วา สตารช จํากัด
(มหาชน)

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากมีแผนการขยายอาคารโรงงาน
และสํานักงานในอนาคต

ผลการพิจารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ
เห็นควรยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชุมชน (สีชมพู) บริเวณ
หมายเลข ๑.๑ ไวต ามรางผงั เมอื งรวมจังหวดั กาํ หนด

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดขอหามการใชประโยชนที่ดิน
ประเภทชุมชน (สีชมพู) บริเวณ ๑.๑ ขอ ๖ (๑) โรงงาน
ลําดับที่ ๙ (๒) และ ๑๐ (๓) ไวต ามรา งผังเมืองรวมจังหวัด
กาฬสินธกุ ําหนด ตามมตคิ ณะอนกุ รรมการผงั เมืองพจิ ารณา
คํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผงั เมืองรวมจงั หวดั กาฬสนิ ธุ

ประเด็นที่ ๔ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขยี ว) จาํ นวน ๒ ประเดน็ ยอย ดังนี้

- 185 -

ลําดับท่ี เร่อื ง/มติ อา งอิง

(ครงั้ ที่/วันท่ปี ระชมุ )

๑) ขอ ๖ (๔) ขอยกเลิกขอหามการใชประโยชนท่ีดินเพ่ือกิจการ “สถานท่ี

ท่ีใชในการเก็บรักษานํ้ามัน ลักษณะท่ีสาม ตามกฎหมายวาดวยการควบคุมน้ํามัน

เช้ือเพลงิ เพ่อื การจําหนา ย”
๒) ขอ ๖ (๕) ขอยกเลิกขอหามการใชประโยชนท่ีดินเพ่ือกิจการ “สถานที่

บรรจุกาซปโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานท่ีบรรจุกาซปโตรเลียมเหลว

ประเภทหองบรรจุ และสถานที่เก็บรักษากาซปโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ

ตามกฎหมายวา ดวยการควบคุมน้ํามันเชอ้ื เพลิง”

ผูรอ ง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ๑ เรือ่ ง ไดแ ก สํานกั งานพลังงานจงั หวดั กาฬสินธุ

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากเพ่ือใหเหมาะสมกับโครงการดานพลังงาน

ทเี่ กดิ ขึน้ ภายในจังหวัด

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มีความเหน็ ตา งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ และคณะอนุกรรมการ

ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ เห็นควรใหตามคํารอง โดยให

แกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

บริเวณหมายเลข ๓.๑ – ๓.๑๖ ใหส ามารถดําเนนิ กจิ การโครงการดา นพลังงานได
ความเห็นกรมโยธาธิการและผังเมือง คือ เห็นควรยกคํารอง เน่ืองจากผูรอง

ไดขอยกเลิกขอกําหนดประเภทขอหาม ในการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) ในทุกบริเวณ ซึ่งพ้ืนท่ีบริเวณดังกลาวอยูติดกับชุมชน

ซง่ึ อาจมีผลกระทบกบั ประชาชนได

มตทิ ่ีประชุม ใหต ามคํารอง โดยใหยกเลิกขอกําหนดการใชป ระโยชนท ี่ดิน
ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ขอ ๖ (๔) สถานที่
เกบ็ รักษานํา้ มันฯ และขอ ๖ (๕) สถานท่บี รรจุและเกบ็ รักษา
กาซฯ ตามที่เสนอ ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา
คาํ รองฯ และคณะทป่ี รกึ ษาผังเมอื งรวมจังหวดั กาฬสินธุ

เรื่องที่ ๕ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๙ และ ๓.๓ ดังน้ี ขอ ๘ ขอยกเลิก
ขอหามการประกอบกิจการโรงงานลําดับที่ ๑๑ (๓) ใหสามารถดําเนินการได
ในอาคารสงู หรอื อาคารขนาดใหญพเิ ศษได

ผูรอ ง จาํ นวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ๑ เรอ่ื ง ไดแ ก บรษิ ทั นํา้ ตาลมติ รกาฬสนิ ธุ จาํ กดั
และบริษัท อตุ สาหกรรมนาํ้ ตาลอีสาน จาํ กดั

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากมีแผนการขยายอาคารโรงงานและสาํ นักงาน
ในอนาคตและมีความจําเปนในกระบวนการผลิต ท่ีจําเปนตองใชอาคารสูง
หรืออาคารขนาดใหญพ ิเศษในกระบวนการเคย่ี ว ตม อบ และปน ซึ่งตองดาํ เนินการ
ในอาคารสูง รวมทั้งตองใชอาคารขนาดใหญพิเศษในการเก็บรักษาวัตถุดิบซ่ึงเปน
ผลผลิตทางการเกษตร

- 186 -

ลาํ ดบั ท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครั้งท/ี่ วันทปี่ ระชมุ )

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ ตา งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ เห็นควรใหตามคํารอง

เนื่องจากกิจการโรงงานลําดับที่ ๑๑ (๓) ไดแก โรงงานน้ําตาล เปนกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจทีส่ ําคัญของจังหวัด และมีความจําเปนท่ีจะตองดําเนินการในอาคารสูง

หรืออาคารขนาดใหญพ เิ ศษ

กรมโยธาธิการและผังเมือง เห็นควรยกคํารอง เน่ืองจากการประกอบ

กิจการโรงงานลําดับท่ี ๑๑ (๓) การทําน้ําตาลทรายดิบ หรือน้ําตาลทรายขาว

สามารถดําเนินการไดอยูแลว และสามารถขยายโรงงานไดตามรางขอกําหนด

ผังเมืองรวมจงั หวัด ขอที่ ๑๔

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรใหตามคํารอง

โดยมีเงื่อนไขใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓ และ ๓.๙ บางสวน เฉพาะท่ีดินของผูรอง รายบริษัท

น้ําตาลมิตรกาฬสินธุ จํากัด จํานวนพื้นท่ีประมาณ ๑๓๓ – ๑ – ๖๑ ไร และที่ดินของ

ผูรอ งรายบรษิ ัท อุตสาหกรรมน้ําตาลอีสาน จาํ กัด จาํ นวนพืน้ ทีป่ ระมาณ ๑๙๔ – ๒

– ๗๙ ไร ใหสามารถดําเนนิ กิจการโรงงานลาํ ดบั ท่ี ๑๑ (๓) การทาํ น้าํ ตาลทรายดิบ

และน้าํ ตาลทรายขาวในอาคารสงู หรืออาคารขนาดใหญ หรอื อาคารขนาดใหญพ ิเศษได

มตทิ ีป่ ระชุม ใหตามคาํ รอ ง โดยใหย กเลิกขอ กาํ หนดการใชประโยชนที่ดิน
ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขยี ว) บริเวณหมายเลข ๓.๓
และ ๓.๙ ขอ ๘ โรงงานลําดับท่ี ๑๑ (๓) เฉพาะในพ้ืนท่ี
ที่ผูรองมีกรรมสิทธิ์และไดยื่นคํารองมา ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
จังหวัดกาฬสนิ ธุ

เร่ืองท่ี ๖ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๙ และ ๓.๓ ดังนี้ ขอ ๘ ขอยกเลิก
ขอหามการประกอบกิจการโรงงานลําดับท่ี ๘๘ (๒) ใหสามารถดําเนินการได
ในอาคารสงู หรืออาคารขนาดใหญพ ิเศษได

ผูร อง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ๑ เรื่อง ไดแ ก บริษทั นํ้าตาลมิตรกาฬสินธุ
จาํ กดั และ บริษทั อุตสาหกรรมนาํ้ ตาลอสี าน จาํ กัด

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากมีแผนการขยายอาคารโรงงานและสํานักงาน
ในอนาคตและมีความจําเปนในกระบวนการผลิต ท่ีจําเปนตองใชอาคารสูง
หรืออาคารขนาดใหญพิเศษในกระบวนผลิตไฟฟาจากความรอน ซึ่งเปนผลมาจาก
กระบวนการบําบัดของเสียจากการผลิตนํ้าตาล โดยผลพลอยไดจะเปนการนําพลังงาน
กลับมาใชใ หม การลดของเสยี จากการผลิต

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มีความเหน็ ตางกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ เห็นควรใหตามคํารอง
เนอ่ื งจากกจิ การโรงงานลําดบั ที่ ๘๘ (๒) ไดแก โรงงานผลติ พลังงานจากความรอ น

- 187 -

ลาํ ดบั ท่ี เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครงั้ ที่/วนั ท่ปี ระชมุ )

เปนกิจกรรมท่ีมีความจําเปนตอเนื่องกับกิจการโรงงานแปรรูปผลผลิตดานการเกษตร

และมคี วามจาํ เปนทีจ่ ะตอ งดําเนนิ การในอาคารสงู หรืออาคารขนาดใหญพเิ ศษ

กรมโยธาธิการและผังเมือง เห็นควรยกคํารอง เนื่องจากการประกอบ
กิจการโรงงานลําดับท่ี ๘๘ (๒) การผลิตไฟฟาพลังงานความรอน สามารถ

ดําเนินการไดอยูแลว และสามารถขยายโรงงานไดตามรางขอกําหนดผังเมืองรวม

จงั หวดั ขอท่ี ๑๔

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรใหตามคํารอง โดยมี

เง่ือนไขใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๓ และ ๓.๙ บางสวน เฉพาะทีด่ นิ ของผรู อ ง รายบริษัท

น้ําตาลมิตรกาฬสินธุ จํากัด จํานวนพ้ืนที่ประมาณ ๑๓๓ – ๑ – ๖๑ ไร และท่ีดิน

ของผรู อ งรายบริษัท อุตสาหกรรมน้ําตาลอีสาน จํากัด จาํ นวนพื้นทปี่ ระมาณ ๑๙๔ – ๒ –

๗๙ ไร ใหสามารถดําเนินกิจการโรงงานลําดับที่ ๘๘ (๒) โรงงานผลิตพลังงาน

จากความรอ นในอาคารสงู หรอื อาคารขนาดใหญ หรอื อาคารขนาดใหญพเิ ศษได

มติทีป่ ระชมุ ใหตามคํารอง โดยมีเงื่อนไขใหแกไขขอกําหนดการใช
ประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
บริเวณหมายเลข ๓.๓ และ ๓.๙ ขอ ๘ ขอหามโรงงาน
ลําดับที่ ๘๘ (๒) ใหสามารถดําเนินการไดในอาคารสูง
หรืออาคารขนาดใหญพิเศษได เฉพาะในพ้ืนท่ีที่ผูรองมีกรรมสิทธ์ิ
และไดย่ืนคํารองมา ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา
คํารองฯ และคณะทีป่ รกึ ษาผงั เมืองรวมจังหวัดกาฬสนิ ธุ

เร่ืองท่ี ๗ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขียว) บรเิ วณหมายเลข ๓.๙ และ ๓.๑๓ ใน ๒ ประเดน็ ดังน้ี

๑. ขอยกเลิกขอหามการประกอบกิจการโรงงานลําดับท่ี ๑๗ โรงงานผลิต
เอทานอล และโรงงานลําดับที่ ๗ (๑) (๔) โรงงานสกัดน้ํามันจากพืช สัตว หรือไขมัน
สัตว เฉพาะท่ีใชส ารตัวทําละลายในการสกดั ใหสามารถดําเนินการไดในพื้นท่ี

๒. ขอยกเลิกขอหามการประกอบกจิ การโรงงานลาํ ดับท่ี ๑๗ โรงงานผลิตเอทานอล
และโรงงานลําดบั ที่ ๗ (๑) (๔) โรงงานสกดั นา้ํ มนั จากพชื สตั ว หรือไขมนั สตั ว เฉพาะที่ใช
สารตวั ทําละลายในการสกัดใหส ามารถดําเนินการไดในอาคารสงู หรอื อาคารขนาดใหญไ ด

ผูรอง จาํ นวน ๒ ฉบบั ๒ ราย ๑ เรอื่ ง ไดแ ก บรษิ ัท น้ําตาลมิตรกาฬสนิ ธุ จํากดั
และบริษัท จิรัฐพฒั นาการเกษตร จํากัด

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากมแี ผนการขยายกิจการโรงงานสกดั น้ํามันปาลม
และโรงงานผลิตเอทานอล และมีแผนการขยายอาคารโรงงานและสํานักงานในอนาคต
ซง่ึ มคี วามจาํ เปนตองกอสรา งอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มีความเหน็ ตา งกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ คือ เห็นควรใหตามคํารอง
เนื่องจากกิจการโรงงานลําดับท่ี ๗ (๑) (๔) ไดแก โรงงานสกัดนํ้ามันจากพืช สัตว
หรือไขมนั สัตว เฉพาะทใ่ี ชสารตวั ทําละลายในการสกัด เปนกจิ กรรมท่มี ีความจําเปน

- 188 -

ลาํ ดบั ท่ี เร่อื ง/มติ อา งอิง

(คร้งั ท/่ี วันที่ประชมุ )

ตอเน่ืองกับกิจการโรงงานแปรรูปผลผลิตดานการเกษตรและมีความจําเปน

ทีจ่ ะตองดําเนนิ การในอาคารสงู หรอื อาคารขนาดใหญพิเศษ

กรมโยธาธิการและผังเมือง เห็นควรยกคํารอง เน่ืองจากการประกอบ
กิจการโรงงานลําดบั ท่ี ๑๗ โรงงานผลิตเอทานอลสามารถดาํ เนินการได และการประกอบ

กิจการโรงงานลําดับที่ ๗ (๑) (๔) โรงงานสกัดน้ํามันจากพืช สัตว หรือไขมันสัตว

เ ฉ พ า ะ ท่ี ใ ช ส า ร ตั ว ทํ า ล ะ ล า ย ใ น ก า ร ส กั ด อ ยู ใ น ข อ ห ามตามประกาศกระทรว ง

อุตสาหกรรม เร่ือง มาตรการคุมครองความปลอดภัยในการดําเนินงาน (ฉบับท่ี ๔)

พ.ศ. ๒๕๕๒ ทั้งน้ี การประกอบกิจการไดดําเนินการมากอนผังเมืองรวมจังหวัด

ประกาศใชบังคับเปนกฎกระทรวง และในอนาคตแมจะมีประกาศใหผังเมืองรวม

จังหวัดบังคับใชก็ตาม ขอกําหนดของกฎกระทรวงจะไมมีผลบังคับใชยอนหลัง

กับการประกอบกิจการโรงงานของผูรอ ง ตามมาตรา ๒๗ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติ

การผังเมือง พ.ศ. ๒๕๕๘ และสามารถขยายโรงงานไดตามรางขอกําหนด

ผงั เมอื งรวมจังหวดั ขอท่ี ๑๔

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรใหตามคํารอง

โดยมีเง่ือนไขใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๙ และ ๓.๑๓ บางสวน เฉพาะที่ดินของผูรอง รายบริษัท

นํา้ ตาลมติ รกาฬสนิ ธุ จํากดั จํานวนพ้ืนที่ประมาณ ๑๓๓ – ๑ – ๖๑ ไร และทด่ี นิ ของผรู อง

รายบรษิ ัท จิรฐั พัฒนาการเกษตร จํากดั จํานวนพ้นื ทีป่ ระมาณ ๒๒๔ – ๒ – ๙๗ ไร

ใหสามารถดําเนินกิจการโรงงานลําดับที่ ๑๗ โรงงานผลิตเอทานอล และโรงงาน

ไขมันสัตว เฉพาะที่ใชสารตัวทําละลายในการสกัดในอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญ

หรอื อาคารขนาดใหญพิเศษได

มตทิ ี่ประชมุ ใหตามคํารอง โดยใหยกเลิกขอหามขอกําหนดการใช
ประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
บรเิ วณหมายเลข ๓.๓ และ ๓.๙ โรงงานลําดบั ท่ี ๗ (๑) (๔)
โรงงานสกัดนํ้ามันจากพืช สัตว หรือไขมันสัตว เฉพาะที่ใช
สารตวั ทําละลายในการสกดั ใหสามารถดําเนินการไดในพื้นที่

และในอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญได เฉพาะในพ้ืนที่ท่ีผูรอง

มีกรรมสิทธิ์และไดย่ืนคํารองมา ตามมติคณะอนุกรรมการ

ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม

จังหวดั กาฬสินธุ

เร่ืองที่ ๘ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและ
เกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๓ ดังน้ี ขอ ๘ ขอยกเลิกขอหามการ
ประกอบกิจการ โรงงานลําดับที่ ๙ (๒) ใหสามารถดําเนินการไดในอาคารสูงหรือ
อาคารขนาดใหญพ ิเศษได

ผูรอง จํานวน ๓ ฉบับ ๓ ราย ๑ เรื่อง ไดแก บริษัท เอเชีย โมดิไฟ สตารช
จํากัด บริษัท เนชั่นแนล สตารช แอนด เคมิเคิล (ไทยแลนด) จํากัด และบริษัท
จริ ัฐพฒั นาการเกษตร จาํ กัด

- 189 -

ลําดบั ท่ี เรื่อง/มติ อางอิง

(ครัง้ ท่/ี วันที่ประชมุ )

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากมีแผนการขยายอาคารโรงงานและสํานักงาน

ในอนาคตและมีความจําเปนในกระบวนการผลิต ที่จําเปนตองใชอาคารสูง

หรืออาคารขนาดใหญพิเศษในกระบวนผลิต รวมท้ังตองใชอาคารขนาดใหญพิเศษ
ในการเกบ็ รักษาวตั ถุดิบซงึ่ เปนผลผลติ ทางการเกษตร

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเหน็ ตา งกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ เห็นควรใหตามคํารอง

เน่ืองจากในพ้ืนท่ีสีเขียวควรมีการประกอบกิจการตอเนื่องที่จะสงเสริมพ้ืนท่ี

ทางการเกตษรกรรม เพื่อรองรับการขยายตัวในอนาคต อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ

พเิ ศษ ควรเอือ้ ตอกิจกรรมเพ่ือสงเสริมกระบวนการผลิตทางการเกษตร

กรมโยธาธิการและผังเมือง เห็นควรยกคํารอง เน่ืองจากการประกอบ

กจิ การโรงงานลาํ ดับท่ี ๙ (๒) โรงานงานทําแปง สามารถดําเนินการไดอยแู ลวและสามารถ

ขยายโรงงานไดตามรางขอกําหนดผังเมืองรวมจังหวดั ขอที่ ๑๔

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรใหตามคํารอง

โดยมีเง่ือนไขใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สเี ขยี ว) บรเิ วณหมายเลข ๓.๑๓ บางสวน เฉพาะท่ีดนิ ของผูรอง รายบริษทั เอเชีย

โมดิไฟ สตารช จาํ กัด จาํ นวนพน้ื ทีป่ ระมาณ ๑๓๓ – ๑ – ๖๑ ไร และท่ีดินของผูรองราย

บริษัท จิรัฐพัฒนาการเกษตร จํากัด จํานวนพื้นที่ประมาณ ๕๘๑ – ๐ – ๒๕ ไร

ที่ดินของผูรอง รายบริษัท เนชั่นแนล สตารช แอนด เคมิเคิล (ไทยแลนด) จํากัด

จํานวนพ้ืนที่ประมาณ ๒๒๐ – ๑ – ๒๕ ไร และท่ีดินของผูรองรายบริษัท

จิรัฐพัฒนาการเกษตร จํากัด จํานวนพื้นที่ประมาณ ๒๒๔ – ๒ – ๙๗ ไร

ใหสามารถดําเนินกิจการโรงงานลําดับท่ี ๙ (๒) โรงงานประกอบกิจการผลิตแปงมัน

ในอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญ หรอื อาคารขนาดใหญพเิ ศษได

มติทปี่ ระชมุ ใหตามคํารอง โดยใหยกเลิกขอหามขอกําหนดการใช
ประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
บริเวณหมายเลข ๓.๑๓ โรงงานลําดับที่ ๙ (๒) ใหสามารถ
ดําเนินการไดในอาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ
ไดเฉพาะในพื้นท่ีท่ีผูรองมีกรรมสิทธ์ิและไดย่ืนคํารองมา
ต า ม ม ติ ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ผั ง เ มื อ ง พิ จ า ร ณ า คํ า ร อ ง ฯ
และคณะทปี่ รึกษาผังเมืองรวมจงั หวัดกาฬสนิ ธุ

เรื่องที่ ๙ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขยี ว) ใน ๒ ประเด็น ดงั น้ี

๑) ขอยกเลิกขอ หามการประกอบกจิ การ โรงงานลาํ ดับที่ ๘๙ ใหส ามารถ
ดําเนินการไดใ นพื้นที่

๒) ขอยกเลกิ ขอหามการประกอบกจิ การ โรงงานลาํ ดบั ท่ี ๘๙ ใหสามารถ
ดาํ เนนิ การไดใ นอาคารสูงหรอื อาคารขนาดใหญได

ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ๑ เรื่อง ไดแก บริษัท เนชั่นแนล สตารช แอนด
เคมเิ คลิ (ไทยแลนด) จํากดั และบรษิ ทั จริ ฐั พัฒนาการเกษตร จาํ กดั

- 190 -

ลําดับที่ เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครั้งท่/ี วันทปี่ ระชุม)

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากมีความจําเปนในการใชของเสีย

จากโรงงานผลิตแปงมันในการกําจัดของเสียและกําจัดกล่ิน โดยผลจากการกําจัด

ของเสียดังกลาว นํามาผลิตเปนกาซชีวภาพ เพราะมีแผนการขยายอาคารโรงงาน

และสํานักงานในอนาคต โดยมีความจาํ เปนในกระบวนการผลิตที่จําเปน ตองใชอาคารสงู

หรอื อาคารขนาดใหญพิเศษ ในกระบวนผลิต รวมทง้ั ตองใชอ าคารขนาดใหญพิเศษ

ในการเกบ็ รกั ษาวัตถุดบิ ซง่ึ เปน ผลผลิตทางการเกษตร

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นตา งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ เห็นควรใหตามคํารอง

เพราะกิจการโรงงานลําดับท่ี ๘๙ ไดแ ก โรงงานผลิตกาซ เปนกจิ กรรมที่มีความจําเปน

ตอเน่ืองกับกิจการโรงงานแปรรูปผลผลิตดานการเกษตร และมีความจําเปน

ทจี่ ะตองดาํ เนนิ การในอาคารสงู หรืออาคารขนาดใหญ

กรมโยธาธิการและผังเมือง เห็นควรยกคํารอง เนื่องจากการประกอบ

กิจการโรงงานลําดับที่ ๘๙ อยูในขอหามตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม

เรื่อง มาตรการคุมครองความปลอดภัยในการดําเนินงาน (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒

ท้ังนี้ การประกอบกิจการไดด ําเนินการมากอนผังเมืองรวมจงั หวดั ประกาศใชบังคับ

เปนกฎกระทรวง และในอนาคตมีประกาศใหผังเมืองรวมจังหวัดบังคับใชก็ตาม

ขอกําหนดของกฎกระทรวงจะไมมีผลบังคับใชยอนหลังกับการประกอบกิจการ

โรงงานของผูรอง ตามมาตรา ๒๗ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๕๘

และสามารถขยายโรงงานไดตามรางขอ กําหนดผังเมืองรวมจังหวัด ขอ ที่ ๑๔

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ คือ เห็นควรใหตามคํารอง

โดยมีเงื่อนไขใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๓ บางสวน เฉพาะท่ีดินของผูรอง รายบริษัท เนชั่น

แนล สตารช แอนด เคมเิ คลิ (ไทยแลนด) จํากดั จาํ นวนพื้นท่ีประมาณ ๒๒๐ – ๑ – ๒๕ ไร

และที่ดินของผูรอง รายบริษัท จิรัฐพัฒนาการเกษตร จํากัด จํานวนพื้นท่ีประมาณ

๒๒๔ – ๒ – ๙๗ ไร ท่ีดินของผูรอง รายบริษัท เนชั่นแนล สตารช แอนด เคมิเคิล

(ไทยแลนด) จํากัด จํานวนพ้ืนท่ีประมาณ ๒๒๐ – ๑ – ๒๕ ไร และใหสามารถ

ดาํ เนนิ กจิ การโรงงานลําดับที่ ๘๙ โรงงานผลติ กา ซในอาคารสูง หรอื อาคารขนาดใหญ

หรอื อาคารขนาดใหญพ ิเศษได

มติทปี่ ระชมุ ใหตามคํารอง โดยใหยกเลิกขอหามขอกําหนดการใช
ประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
โรงงานลําดับท่ี ๘๙ ใหสามารถดําเนินการไดในพ้ืนท่ี
และในอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญได เฉพาะในพ้ืนท่ี
ท่ี ผู ร องมี กรรมสิ ทธิ์ และได ยื่ นคํ าร องมา ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ และคณะที่
ปรกึ ษาผงั เมืองรวมจังหวดั กาฬสนิ ธุ

เร่ืองท่ี ๑๐ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) ใน ๒ ประเดน็ ดงั นี้

- 191 -

ลาํ ดับท่ี เร่อื ง/มติ อา งอิง

(ครงั้ ที่/วันที่ประชมุ )

๑) ขอ ๘ ขอยกเลิกขอหามการประกอบกจิ การ โรงงานลําดับท่ี ๑๑ (๑) (๒)

(๓) (๔) (๕) (๖) (๗) ใหสามารถดาํ เนินการไดในพน้ื ท่ี

๒) ขอ ๘ ขอยกเลกิ ขอหา มการประกอบกจิ การโรงงานลําดับที่ ๑๑ (๑) (๒) (๓)
(๔) (๕) (๖) (๗) ใหสามารถดําเนินการไดในอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษได

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ๑ เร่ือง ไดแก บรษิ ทั อุตสาหกรรมนํ้าตาล

อีสาน จาํ กัด

เหตุผลในการขอแกไข เน่ืองจากมีแผนการขยายอาคารโรงงานและสํานกั งาน

ในอนาคตและมีความจําเปนในกระบวนการผลิต ท่ีจําเปนตองใชอาคารสูง

หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ในกระบวนผลิตรวมทั้งตองใชอาคารขนาดใหญพิเศษ

ในการเกบ็ รกั ษาวตั ถุดบิ ซง่ึ เปน ผลผลิตทางการเกษตร

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มีความเหน็ ตางกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัดกาฬสินธุ เห็นควรใหตามคํารอง

เพราะในพื้นที่สีเขียว ควรมีการประกอบกิจการตอเนื่องที่จะสงเสริมพื้นที่

ทางการเกษตรกรรมเพื่อรองรับการขยายตัวในอนาคต อาคารสูงหรืออาคาร

ขนาดใหญพ เิ ศษควรเอ้อื ตอ กิจกรรมเพื่อสง เสริมกระบวนการผลติ ทางการเกษตร

กรมโยธาธิการและผังเมือง เห็นควรยกคํารอง เนื่องจากการประกอบ

กิจการโรงงานลําดับท่ี ๑๑ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) สามารถดําเนินการไดอยูแลว

และสามารถขยายโรงงานไดตามรางขอกาํ หนดผงั เมอื งรวมจังหวัด ขอท่ี ๑๔
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เห็นควรใหตามคํารอง โดยมี

เง่ือนไขใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สเี ขียว) บริเวณหมายเลข ๓.๑๓ บางสว น เฉพาะทด่ี ินของผูรอง รายบริษัท เนช่ันแนล
สตารช แอนด เคมิเคิล (ไทยแลนด) จํากัด จํานวนพ้ืนท่ีประมาณ ๒๒๐ – ๑ – ๒๕ ไร
และท่ีดินของผูรอง รายบริษัท อุตสาหกรรมนํ้าตาลอีสาน จํากัด จํานวนพ้ืนที่
ประมาณ ๑๙๔ – ๒ – ๗๙ ไร ใหสามารถดําเนินกิจการโรงงานลําดับท่ี ๑๑ (๑)
(๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) โรงงานประกอบกิจการผลิตนํ้าตาลในอาคารสูง
หรอื อาคารขนาดใหญหรอื อาคารขนาดใหญพเิ ศษได

มติทป่ี ระชมุ ใหตามคํารอง โดยใหยกเลิกขอหามขอกําหนดการใช
ประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
บริเวณ ๓.๓ โรงงานลําดับที่ ๑๑ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗)
ใหส ามารถดําเนินการไดในพนื้ ท่ีและในอาคารสูงหรอื อาคาร
ขนาดใหญพิเศษได เฉพาะในพ้ืนท่ีท่ีผูรองมีกรรมสิทธ์ิ
และไดยื่นคํารองมา ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมจังหวัด
กาฬสินธุ

เรื่องที่ ๑๑ ขอแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขยี ว) ใน ๒ ประเด็น ดังนี้

๑) ขอ ๘ ขอยกเลิกขอหามการประกอบกิจการ โรงงานลําดับที่ ๘๘ (๑)
(๒) (๓) ใหสามารถดําเนินการไดใ นพนื้ ท่ี


Click to View FlipBook Version