The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปมติสำคัญของคณะกรรมการผังเมือง เล่มที่ 17

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DPT eBook, 2021-03-09 02:13:09

สรุปมติสำคัญของคณะกรรมการผังเมือง เล่มที่ 17

สรุปมติสำคัญของคณะกรรมการผังเมือง เล่มที่ 17

คํานํา

ตามรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 41 (1) ไดบ ัญญตั ิวา “บคุ คล
ยอมมีสิทธิไดรับทราบและเขาถึงขอมูล หรือขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวยงาน ของรัฐ
ตามที่กฎหมายบัญญัติ” มาตรา 59 บัญญัติวา “รัฐตองเปดเผยขอมูลหรือขาวสารสาธารณะ
ใ น ค ร อ บ ค ร อ ง ข อ ง ห นว ย ง า น ข อ ง รัฐ ที่มิใ ชขอ มูล เ กี่ย ว กับ ค ว า ม มั่ น ค ง ข อ ง รัฐ ห รือ เ ปน ค ว า ม ลับ
ของทางราชการตามที่กฎหมายบัญญัติ และตองจัดใหประชาชนเขาถึงขอมูลหรือขาวสารดังกลาวได
โดยสะดวก” และตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 9 (7) ก็ไดบัญญัติ
ใหหนวยงานของรัฐตองจัดใหมีขอมูลขาวสารของราชการ เกี่ยวกับมติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการ
ที่แตงต้ังโดยกฎหมาย หรือโดยคณะรัฐมนตรีไวใหประชาชนเขาตรวจดูได ประกอบกับคณะกรรมการผังเมือง
เปนคณะกรรมการซ่ึงไดรับการแตงต้ังจากคณะรัฐมนตรีโดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติการผังเมือง
พ.ศ. 2518 มาตรา 6 ดังน้ัน เพื่อใหการปฏิบัติเปนไปตามกฎหมายดังกลาวขางตน สํานักงาน
คณะกรรมการนโยบายการผังเมืองแหงชาติ จึงไดรวบรวมมติสําคัญของคณะกรรมการผังเมืองข้ึน
โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเผยแพรใหบุคคลท่ัวไปท่ีสนใจไดศึกษา คนควา รวมท้ังเปนคูมือใหกับหนวยงาน
ภาครฐั ทเี่ กี่ยวของไดใ ชป ระโยชนในการดาํ เนินการวางและจัดทาํ ผังเมอื งรวมตอไป

สําหรับเอกสารสรุปมติสําคัญของคณะกรรมการผังเมืองฉบับน้ีไดจัดทําขึ้นเปนเลมที่ 17
เปนการรวบรวมขอมูลเก่ียวกับมติของคณะกรรมการผังเมืองตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518
และท่ีแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 ต้ังแตเดือนมกราคม 2558 – เดือนพฤศจิกายน 2558
โดยเปนขอมูลทต่ี อเน่ืองจากเอกสารสรุปมติสําคัญของคณะกรรมการผังเมือง เลม ท่ี 1 – 16 ซง่ึ ขอมูลเหลาน้ี
จะเปนประโยชนตอสาธารณะ ดังน้ัน สํานักงานคณะกรรมการนโยบายการผังเมืองแหงชาติ จึงดําเนินการ
จดั พมิ พเอกสารน้ีขึ้น เพ่ือมุงหวังใหมีการเผยแพรขอมูลที่เปนประโยชนตองานวิชาการผังเมือง สวนราชการ
ท่เี ก่ยี วขอ ง และผูส นใจทัว่ ไป

สํานกั งานคณะกรรมการนโยบายการผงั เมืองแหงชาติ
กรมโยธาธิการและผงั เมือง
กนั ยายน 2563



สารบญั หนา

เรือ่ ง การพจิ ารณาคํารองของผูมสี วนไดเสยี ผังเมืองรวมจังหวดั /เมือง/ชุมชน ตามมาตรา ๒๔ 1
1. เร่อื ง คาํ รอ งผังเมอื งรวมชุมชนทา นาํ้ ออ ยมวงหกั จังหวดั นครสวรรค 11
2. เรื่อง คํารองผังเมอื งรวมชมุ ชนกําแพง จงั หวัดสตลู 15
3. เรอ่ื ง คํารองผังเมืองรวมชมุ ชนศรีสัชนาลยั จงั หวดั สุโขทัย 19
4. เรื่อง คาํ รอ งผังเมอื งรวมชมุ ชนออมใหญ จงั หวดั นครปฐม (ปรบั ปรงุ ครง้ั ที่ ๒) 38
5. เรอ่ื ง คํารอ งผงั เมอื งรวมเมอื งพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี (ปรบั ปรุงคร้งั ท่ี ๒) 43
6. เร่ือง คาํ รองผังเมืองรวมเมืองกระทมุ แบน จงั หวัดสมทุ รสาคร (ปรบั ปรุงครัง้ ท่ี ๒) 50
7. เรอื่ ง คาํ รองผงั เมอื งรวมชมุ ชนสนั กาํ แพง จังหวัดเชียงใหม 53
8. เรอื่ ง คํารองผังเมอื งรวมชมุ ชนขุนยวม จังหวัดแมฮ อ งสอน 57
9. เรอ่ื ง คํารอ งผังเมอื งรวมชุมชนบางสะพาน จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ (ปรับปรุงคร้งั ท่ี ๑) 57
10. เรอ่ื ง คาํ รอ งผังเมอื งรวมเมอื งลพบรุ ี จงั หวัดลพบรุ ี (ปรับปรุงคร้ังที่ ๒) 60
11. เร่ือง คํารอ งผังเมอื งรวมชมุ ชนเวยี งสา จังหวัดนาน 64
12. เรอื่ ง คาํ รอ งผงั เมอื งรวมจงั หวัดอตุ รดิตถ 68
13. เรอื่ ง คํารองผงั เมืองรวมชมุ ชนปากน้าํ หลงั สวน จังหวดั ชุมพร (ปรบั ปรุงครั้งท่ี ๑) 69
14. เรอื่ ง คํารองผังเมืองรวมชุมชนทาศาลา จังหวดั นครศรีธรรมราช 75
15. เร่อื ง คาํ รองผงั เมืองรวมจังหวัดสมุทรสาคร 79
16. เร่ือง คํารองผังเมืองรวมเมืองสระบรุ ี จงั หวัดสระบรุ ี (ปรับปรงุ คร้ังท่ี 3) 84
17. เร่ือง คํารอ งผงั เมืองรวมเมอื งชะอํา จงั หวดั เพชรบรุ ี (ปรบั ปรุงครงั้ ที่ ๒) 97
18. เรื่อง คาํ รองผงั เมืองรวมจงั หวดั เชยี งใหม 98
19. เรอ่ื ง คาํ รองผังเมืองรวมจงั หวดั ชัยนาท (แกไ ขปรับปรงุ รางผงั เมืองรวม) 106
20. เรื่อง คาํ รอ งผงั เมืองรวมจงั หวดั นครราชสมี า 121
21. เรอื่ ง คาํ รอ งผงั เมืองรวมจงั หวดั รอยเอ็ด (แกไ ขปรบั ปรุงรางผังเมอื งรวม) 124
22. เรื่อง คํารองผงั เมืองรวมจงั หวัดขอนแกน (แกไขปรับปรุงรางผังเมืองรวม) 129
23. เรอื่ ง คํารองผังเมอื งรวมจังหวัดปต ตานี (แกไ ขปรับปรุงรางผงั เมืองรวม) 129
24. เรอ่ื ง คาํ รองผงั เมืองรวมจังหวัดบงึ กาฬ 132
25. เรื่อง คํารอ งผังเมอื งรวมจังหวัดเพชรบูรณ (แกไขปรบั ปรงุ รางผังเมืองรวม) 134
26. เร่ือง คํารอ งผงั เมอื งรวมจงั หวัดบรุ ีรัมย (แกไขปรับปรุงรางผงั เมอื งรวม) 140
27. เรอื่ ง คํารองผังเมืองรวมจังหวดั พะเยา 143
28. เรือ่ ง คํารอ งผังเมืองรวมเมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา (ปรับปรุงคร้งั ที่ ๒) 145
29. เรื่อง คาํ รองผังเมืองรวมชุมชนเชียงคาํ – สบบง - บา นทราย จงั หวดั พะเยา 149
30. เรื่อง คํารองผงั เมืองรวมชมุ ชนปง จงั หวดั พะเยา (ปรับปรงุ คร้ังท่ี ๒) 155
31. เร่ือง คํารองผังเมืองรวมชมุ ชนทา ศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
(สืบเนอื่ งจากการประชมุ ครั้งท่ี 7/2558) 160
32. เรอ่ื ง คํารอ งผงั เมืองรวมชุมชนทาศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
(สืบเนือ่ งจากการประชุม ครั้งที่ 9/2558)

สารบัญ

หนา

เรือ่ ง การพจิ ารณาคาํ รองของผูม สี วนไดเ สยี ผงั เมืองรวมจังหวัด/เมือง/ชุมชน ตามมาตรา ๒๔ (ตอ )

33. เรือ่ ง คาํ รอ งผังเมืองรวมจังหวดั มกุ ดาหาร 170

34. เรอ่ื ง คํารองผงั เมืองรวมจังหวดั พจิ ิตร 172

35. เรอ่ื ง คํารองผงั เมืองรวมจงั หวัดตาก 173

36. เรอ่ื ง คาํ รอ งผังเมอื งรวมจงั หวัดสกลนคร 176

37. เรื่อง คํารอ งผงั เมืองรวมจงั หวัดกาฬสินธุ 179

38. เรอ่ื ง คํารอ งผงั เมืองรวมจังหวดั สุโขทัย 192

39. เรอื่ ง คาํ รอ งผงั เมืองรวมจังหวัดอดุ รธานี 201

40. เรอ่ื ง คํารองผังเมืองรวมจังหวัดลาํ พนู 216

41. เรอ่ื ง คาํ รองผังเมืองรวมจงั หวัดกาํ แพงเพชร 225

42. เรอ่ื ง คํารอ งผังเมืองรวมจังหวัดสุพรรณบุรี 227

43. เร่ือง คํารองผังเมืองรวมจงั หวัดสตลู 232

44. เรือ่ ง คํารอ งผังเมืองรวมจงั หวดั กาญจนบรุ ี 237

45. เรอ่ื ง คาํ รอ งผังเมืองรวมจงั หวัดเพชรบรุ ี 245

46. เรอ่ื ง คํารองผังเมืองรวมจังหวดั ลพบุรี 256

47. เรอื่ ง คาํ รองผงั เมืองรวมจงั หวัดชลบุรี 265

48. เรอ่ื ง คาํ รอ งผงั เมืองรวมจงั หวดั สงขลา 304

49. เรื่อง คาํ รอ งผังเมืองรวมจงั หวัดระยอง 320

50. เร่อื ง คํารอ งผังเมืองรวมจงั หวดั ระยอง 382

(สืบเนื่องจากการประชมุ ครั้งที่ 11/2558)

51. เรอื่ ง คาํ รองผังเมืองรวมจังหวดั สุราษฎรธานี 384

52. เร่อื ง คํารองผังเมืองรวมจังหวดั พระนครศรีอยุธยา 396

53. เรอ่ื ง คาํ รองผังเมืองรวมเมืองรอยเอ็ด (ปรบั ปรงุ ครั้งที่ ๓) 476

54. เร่อื ง คํารอ งผงั เมืองรวมเมอื งตาก จังหวัดตาก (ปรบั ปรุงครง้ั ที่ ๒) 478

55. เรอ่ื ง คาํ รอ งผังเมืองรวมเมอื งมหาสารคาม (ปรบั ปรงุ ครง้ั ที่ ๒) 479

56. เรอื่ ง คาํ รอ งผังเมืองรวมชมุ ชนบางสะพาน จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ 486





เรื่อง การพจิ ารณาคาํ รองของผมู สี ว นไดเสยี ผงั เมืองรวมจังหวัด/เมือง/ชุมชน ตามมาตรา ๒๔

ลําดบั ที่ เรือ่ ง/มติ อา งอิง

(ครัง้ ที่/วนั ทป่ี ระชมุ )

1. เรือ่ ง คาํ รอ งผงั เมอื งรวมชมุ ชนทา น้าํ ออ ยมวงหัก จังหวดั นครสวรรค ครัง้ ที่ 1/๒๕๕8

ผงั เมอื งรวมชุมชนทา นาํ้ ออยมวงหกั อําเภอพยหุ ะคีรี จังหวัดนครสวรรค วันที่ 15 ม.ค. ๕8

เปนผังเมืองรวมชุมชนพ้ืนที่เปดใหม ดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม วาระท่ี ๓.3.1

เปนคร้ังแรก โดยสํานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดนครสวรรค รวมกับ หนา 36 – 53

สํานักงานเทศบาลตําบลทาน้ําออยมวงหัก ครอบคลุมพื้นท่ีประมาณ ๕๔.๓๑ ตาราง

กโิ ลเมตร ซ่ึงยังไมม ีการบังคบั ใชเ ปน กฎกระทรวงผงั เมอื งรวม ไดผา นความเห็นชอบ

จากคณะกรรมการผังเมือง เม่ือวันท่ี ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ และไดนําราง

ผังเมืองรวมชุมชนทาน้ําออยมวงหักไปปดประกาศ ๙๐ วัน ตามพระราชบัญญัติ

การผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ เพื่อใหประชาชนผูมีสวนไดเสียไปตรวจดูและยื่นคํารอง

ตั้งแตวันท่ี ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๖ ถึงวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เม่ือครบกําหนด

ปรากฏวามีคํารอง จํานวน ๔๐๓ ฉบับ ๓๒๙ ราย ๑๔ เร่ือง โดยแยกเปนคํารอง

ดานการใชประโยชนที่ดิน จํานวน ๘๙ ฉบับ ๗๖ ราย ๔ เรื่อง และคํารอง

ดานโครงการการคมนาคมและขนสง จํานวน ๓๑๕ ฉบับ ๒๖๔ ราย ๑๐ เรื่อง ซ่ึงได

ผานการพิจารณาจากคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมฯ เมื่อวันท่ี ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๖

ผา นการพิจารณาจากคณะกรรมการพิจารณาดา นผงั เมือง เม่อื วนั ที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๗

และผานการพิจารณาจากคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เมื่อวันท่ี

๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๗

คํารอ งดา นการใชประโยชนท ดี่ ิน (จาํ นวน 4 เรอื่ ง)

เรื่องท่ี ๑ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัย

หนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ๑.๑๙ บางสวน เปนที่ดินประเภท

อตุ สาหกรรมและคลงั สินคา (สมี ว ง)

ผูรอ ง จาํ นวน ๑๖ ฉบบั ๑๓ ราย ไดแก นางเรือน จนั่ ผอ ง และผรู อ งอื่นรวม

๑๓ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เพราะอนาคตเปนสิ่งไมแนนอน จึงตองมี

การเตรียมการไวลวงหนาเพื่อรองรับคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน ซึ่งหากไมไดรับการพัฒนา

ใหเปนอุตสาหกรรม พ้ืนท่ีดังกลาวก็ยังคงสามารถทําการเกษตรไดเหมือนเดิม

และไมกอ ใหเกิดความเสยี หายแตอ ยางใด

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นสอดคลองกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทานํ้าออยมวงหัก คณะกรรมการ

พิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการ

ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง โดยใหคงการใช

ประโยชนที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข

๑.๑๙ ไวตามท่ีรางผงั เมอื งรวมกําหนด

มตทิ ่ีประชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภท
ทีอ่ ยอู าศยั หนาแนนนอ ย (สเี หลอื ง) บรเิ วณหมายเลข ๑.๑๙
ไวตามที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมอื งพจิ ารณาคาํ รองฯ คณะกรรมการพจิ ารณาดานผังเมอื ง

-2-

ลําดับที่ เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครัง้ ท/ี่ วันทปี่ ระชุม)

ของกรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง และคณะท่ปี รกึ ษาผงั เมอื งรวม
ชุมชนทา นํา้ ออยมว งหัก

เร่ืองท่ี ๒ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๓ บางสวน เปนที่ดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลงั สนิ คา (สมี ว ง)

ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ไดแก นางสาวประคอง โพธิ์กล่ิน
และนายสนม พวงสมบัติ

เหตุผลในการขอแกไข เพราะอนาคตเปนส่ิงไมแนนอน จึงตองมี
การเตรียมการไวลวงหนาเพื่อรองรับคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน ซึ่งหากไมไดรับการพัฒนา
ใหเปนอุตสาหกรรม พ้ืนที่ดังกลาวก็ยังคงสามารถทําการเกษตรไดเหมือนเดิม
และไมก อ ใหเกิดความเสยี หายแตอยา งใด

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มีความเห็นสอดคลองกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทาน้ําออยมวงหัก คณะกรรมการ
พิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีความเห็นสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง โดยใหคง
การใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข
๕.๓ ไว ตามท่ีรางผังเมอื งรวมกาํ หนด

มตทิ ป่ี ระชมุ ใหยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๓ ไว ตามท่ี
รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ คณะกรรมการพิจารณาดานผังเมือง
ของกรมโยธาธิการและผังเมอื งและคณะทป่ี รึกษาผงั เมืองรวม
ชมุ ชนทา นํา้ ออยมวงหกั

เรื่องท่ี ๓ ขอเปลี่ยนแปลงการใชป ระโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๖.๑,
๖.๒, ๖.๓, ๖.๔, ๖.๕, ๖.๖, ๖.๗, ๖.๘, ๖.๑๐, ๖.๑๑ และ ๖.๑๒ เปนท่ีดิน
ประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง)

ผูรอง จํานวน ๓๔ ฉบับ ๓๓ ราย ไดแก นายสุรชัย ศิระไพศาล และผูรองอ่ืน
รวม ๓๓ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เพราะอนาคตเปนสิ่งไมแนนอน จึงตองมี
การเตรียมการไวลวงหนาเพ่ือรองรับคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน ซึ่งหากไมไดรับ
การพัฒนาใหเปนอุตสาหกรรม พ้ืนที่ดังกลาวก็ยังคงสามารถทําการเกษตรได
เหมือนเดมิ และไมกอ ใหเ กดิ ความเสยี หายแตอยางใด

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทานํ้าออยมวงหักฯ คณะกรรมการ
พิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการ
ผงั เมอื งพิจารณาคํารองฯ มมี ติสอดคลองกนั คอื ยกคาํ รอง โดยใหคงการใชป ระโยชน

-3-

ลาํ ดับท่ี เร่ือง/มติ อา งอิง

(ครั้งที/่ วันที่ประชมุ )

ที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยง

สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๖.๑, ๖.๒, ๖.๓, ๖.๔, ๖.๕, ๖.๖, ๖.๗, ๖.๘, ๖.๑๐,

๖.๑๑ และ ๖.๑๒ ไวตามทร่ี างผังเมืองรวมกําหนด

มตทิ ่ีประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว)
บริเวณหมายเลข ๖.๑, ๖.๒, ๖.๓, ๖.๔, ๖.๕, ๖.๖, ๖.๗,
๖.๘, ๖.๑๐, ๖.๑๑ และ ๖.๑๒ ไว ตามที่รางผังเมืองรวมกําหนด
ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
คณะกรรมการพิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ีปรกึ ษาผงั เมอื งรวมชุมชนทา นาํ้ ออ ยมว งหกั

เร่ืองที่ ๔ ขอเปลี่ยนการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๖.๙
บางสว น เปนท่ดี ินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสนิ คา (สีมว ง)

ผูร อ ง จํานวน ๓๗ ฉบับ ๓๐ ราย ไดแก บรษิ ทั ดเี อ็มซี เอนเนอรจ ี จาํ กัด
โดยนายประโลม ผอ งดว ง (ผูรับมอบอํานาจ) และผรู อ งอ่ืน รวม ๓๐ ราย

เหตุผลในการขอแกไข ปจจุบันที่ดินดังกลาวไมไดใชประโยชน
เพ่ือการเกษตรกรรมแลว และผูรองไดเชาท่ีดินจากเจาของที่ดินเพื่อกอสราง
โรงงานผลิตและจําหนายไอนํ้า ซึ่งจะเปนประโยชนตอการพัฒนาชุมชน
ในดานการจัดเก็บรายไดของเทศบาลตําบลทานํ้าออยมวงหัก และนําภาษีมา
พัฒนาชุมชน ซ่ึงจะทําใหคนในชมุ ชนมีความเปนอยทู ่ีดีข้ึน

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ ตา งกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทาน้ําออยมวงหัก ใหตามคํารอง
โดยใหเปลี่ยนการใชประโยชนที่ดินตามคํารอง จากเดิมที่ดินประเภทอนุรักษชนบท
และเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณ ๖.๙ บางสวน เปนท่ีดิน
ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) เน่ืองจากที่ดินบริเวณคํารองมีพื้นท่ี
ตรงขามกับเขตอุตสาหกรรมเดิมท่ีกําหนดไวใน ผังเมืองรวมชุมชนทาน้ําออยมวงหัก
และทางโรงงานดัชมิลลไดเชาท่ีดินจากเจาของท่ีดินเพ่ือกอสรางโรงงานผลิต
และจําหนายไอนํ้า เพ่ือสงใหกับโรงงานดัชมิลลซึ่งจะสามารถควบคุมพื้นที่
อุตสาหกรรมไมใหกระจายตัวงายตอการควบคุมมลพิษและผลกระทบที่จะเกิดกับ
ชุมชนและจะเปน ประโยชนต อการพฒั นาชมุ ชนดว ย
คณะกรรมการพิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาว
มีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) บริเวณหมายเลข ๖.๙ ไว ตามท่ีรางผังเมืองรวม
กําหนด

-4-

ลาํ ดบั ที่ เรือ่ ง/มติ อางอิง
มติท่ีประชุม
(คร้ังท/ี่ วันทปี่ ระชุม)

ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทอนุรักษ

ชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว)

บริเวณหมายเลข ๖.๙ ไวตามที่รางผังเมืองรวมกําหนดตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ และคณะกรรมการ

พจิ ารณาดา นผงั เมอื งของกรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง

คํารอ งดา นโครงการคมนาคมและขนสง (จํานวน 10 เรือ่ ง)
เรื่องที่ ๑ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๑ (ถนนเดิมขยายเขตทาง)
ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร
ผูรอง จํานวน ๑๙ ฉบับ ๑๘ ราย ไดแก นายทวน หลอดแกว และผูรองอ่ืน
รวม ๑๘ ราย
เหตุผลในการขอแกไข หากมีการกอสรางถนนโครงการ ทําใหผูที่อยูอาศัย
ไดรับความเดือดรอนจากการเวนคืนที่ดิน จะกระทบตอการอยูอาศัยที่อยู
มาแตดั้งเดิม การซ้ือที่ดินและปลูกสรางใหมเปนไปไดยาก โครงการไมมีความจําเปน
เพราะปจจุบันชุมชนทานํ้าออยมวงหักไมไดมีการจราจรคับคั่งเหมือนชุมชนอื่น
และถนนปจ จบุ นั สามารถรองรบั การจราจรภายในชุมชนไดอยา งเพียงพอแลว
ผลการพิจารณาคาํ รอง (มีความเห็นสอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทานํ้าออยมวงหัก คณะกรรมการ
พิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ใหตามคํารองบางสวน
โดยยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๑ (ตอนท่ี ๑ เลียบแมน้ําเจาพระยา) และใหคง
ถนนโครงการสาย ก ๑ (ตอนที่ ๒ ถนนทายายลา) ไวตามแผนผังโครงการคมนาคม
และขนสง ท่ีรา งผงั เมอื งรวมกําหนด

มติทีป่ ระชมุ เห็นชอบดวยกับคํารองบางสวน โดยยกเลิกถนนโครงการ
สาย ก ๑ (ตอนท่ี ๑ เลยี บแมน ้ําเจาพระยา) และใหคงถนน
โครงการสาย ก ๑ (ตอนท่ี ๒ ถนนทา ยายลา) ไวตามแผนผัง
โครงการคมนาคมและขนสงท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด
ต า ม ม ติ คณะอนุ กรรมการผั งเมื องพิ จารณาคํ าร องฯ
คณะกรรมการพิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทป่ี รึกษาผงั เมอื งรวมชุมชนทานา้ํ ออยมวงหกั

เร่ืองท่ี ๒ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๒ (ถนนเดิมขยายเขตทาง)
ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร

ผูรอง จํานวน ๓๗ ฉบับ ๓๔ ราย ไดแก นางเจริญ นาคชม และผูรองอื่น
รวม ๓๔ ราย

เหตุผลในการขอแกไข หากมีการกอสรางถนนโครงการ ทําใหผูท่ีอยูอาศัย
ไดรับความเดือดรอนจากการเวนคืนที่ดิน จะกระทบตอการอยูอาศัยที่อยู
มาแตด ้ังเดมิ การซ้อื ทีด่ ินและปลกู สรางใหมเปน ไปไดยาก โครงการไมมคี วามจําเปน

-5-

ลําดับที่ เร่ือง/มติ อา งอิง

(ครงั้ ที/่ วนั ท่ีประชมุ )

เพราะปจจุบันชุมชนทาน้ําออยมวงหักไมไดมีการจราจรคับค่ังเหมือนชุมชนอื่น

และถนนปจจุบนั สามารถรองรับการจราจรภายในชมุ ชนไดอยางเพยี งพอแลว

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเหน็ สอดคลองกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทานํ้าออยมวงหัก คณะกรรมการ

พิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการ

ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ใหตามคํารองบางสวน โดยยกเลิก

ถนนโครงการสาย ก ๒ ตอนท่ี ๒ ถนนเทศบาล ๒ (พระปรางคเหลือง) และใหคงถนน

โครงการสาย ก ๒ ตอนที่ ๑ ถนนเมืองบน ไว ตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคม

และขนสงที่รางผงั เมืองรวมกาํ หนด

มติท่ปี ระชมุ เห็นชอบดวยกับคํารองบางสวนโดยยกเลิกถนนโครงการ
สาย ก ๒ ตอนท่ี ๒ ถนนเทศบาล ๒ (พระปรางคเหลือง)
และใหคงถนนโครงการสาย ก ๒ ตอนท่ี ๑ ถนนเมืองบน
ไ ว ต า ม แ ผ น ผั ง แ ส ด ง โ ค ร ง ก า ร ค ม น า ค ม และขนสง
ท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ คณะกรรมการพิจารณาดานผังเมือง
ของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
ชุมชนทา นาํ้ ออ ยมว งหัก

เร่ืองท่ี ๓ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๓ (ถนนเดิมขยายเขตทาง)
ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร

ผูรอง จํานวน ๑๗ ฉบับ ๑๖ ราย ไดแก นายสนม พวงสมบัติ และผูรองอื่น
รวม ๑๖ ราย

เหตุผลในการขอแกไข หากมีการกอสรางถนนโครงการ ทําใหผูที่อยูอาศัย
ไดรับความเดือดรอนจากการเวนคืนที่ดิน จะกระทบตอการอยูอาศัยที่อยูมา
แตดั้งเดิม การซ้ือท่ีดินและปลูกสรางใหมเปนไปไดยาก โครงการไมมีความจําเปน
เพราะปจจุบันชุมชนทาน้ําออยมวงหักไมไดมีการจราจรคับคั่งเหมือนชุมชนอื่น
และถนนปจจบุ ันสามารถรองรับการจราจรภายในชุมชนไดอ ยา งเพยี งพอแลว

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทาน้ําออยมวงหัก คณะกรรมการ
พิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการ
ผังเมอื งพจิ ารณาคาํ รอ งฯ มมี ติสอดคลองกัน คอื ยกคํารอง โดยใหค งถนนโครงการ
สาย ก ๓ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคม
และขนสงท่รี า งผงั เมอื งรวมกาํ หนด

มตทิ ป่ี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๓ ขนาดเขตทาง
๑๒.๐๐ เมตร ไวต ามแผนผงั แสดงโครงการคมนาคมและขนสง
ทร่ี างผงั เมอื งรวมกาํ หนด ตามมติคณะอนุกรรมการผงั เมอื ง

-6-

ลาํ ดบั ท่ี เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(ครั้งท/่ี วนั ทปี่ ระชมุ )

พจิ ารณาคาํ รองฯ คณะกรรมการพจิ ารณาดา นผังเมืองของ

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม

ชุมชนทานํา้ ออยมว งหกั

เร่ืองที่ ๔ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๔ (ถนนเดิมขยายเขตทาง)
ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร

ผูรอง จํานวน ๔๗ ฉบับ ๓๙ ราย ไดแก นายอนันต มโนสิทธิศักด์ิ
และผูรองอน่ื รวม ๓๙ ราย

เหตุผลในการขอแกไข หากมีการกอสรางถนนโครงการ ทําใหผูที่อยู
อาศัยไดรับความเดือดรอนจากการเวนคืนท่ีดินจะกระทบตอการอยูอาศัยท่ีอยู
มาแตด ง้ั เดิม การซ้ือท่ดี ินและปลูกสรางใหมเปนไปไดยาก โครงการไมมีความจําเปน
เพราะปจจุบันชุมชนทาน้ําออยมวงหักไมไดมีการจราจรคับคั่งเหมือนชุมชนอื่น
และถนนปจ จุบันสามารถรองรบั การจราจรภายในชมุ ชนไดอยางเพยี งพอแลว

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทาน้ําออยมวงหัก คณะกรรมการ
พิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ใหตามคํารอง โดยยกเลิกถนน
โครงการสาย ก ๔ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร และปรับออกจากแผนผังแสดง
โครงการคมนาคมและขนสง ท่ีรางผงั เมอื งรวมกําหนดไว

มตทิ ี่ประชมุ เห็นชอบตามคํารอง โดยยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๔
ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร และปรับออกจากแผนผัง
แสดงโครงการคมนาคมและขนสงท่ีรางผังเมืองรวม
กําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
คณะกรรมการพิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการ
และผังเมือง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชน
ทานาํ้ ออ ยมวงหัก

เร่ืองท่ี ๕ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ก ๕ (ถนนเดิมขยายเขตทาง
และถนนโครงการกอสรา งใหม) ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร

ผูรอง จํานวน ๕ ฉบับ ๔ ราย ไดแก นายฉัตรชัย ชัยชโลธร และผูรองอื่น
รวม ๔ ราย

เหตุผลในการขอแกไข หากมีการกอสรางถนนโครงการ ทําใหผูท่ีอยู
อาศัยไดรับความเดือดรอนจากการเวนคืนท่ีดิน จะกระทบตอการอยูอาศัยที่อยู
มาแตดัง้ เดิม การซอ้ื ท่ดี ินและปลูกสรา งใหมเปนไปไดยาก โครงการไมมีความจําเปน
เพราะปจจุบันชุมชนทานํ้าออยมวงหักไมไดมีการจราจรคับคั่งเหมือนชุมชนอื่น
และถนนปจจุบันสามารถรองรับการจราจรภายในชมุ ชนไดอ ยางเพียงพอแลว

-7-

ลําดบั ที่ เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(คร้งั ท/ี่ วนั ท่ปี ระชมุ )

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทาน้ําออยมวงหัก คณะกรรมการ

พิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการ และผังเมืองและคณะอนุกรรมการ

ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ใหตามคํารองบางสวน โดยยกเลิก

ถนนโครงการสาย ก ๕ เฉพาะชวงถนนเทศบาล ๕ (บานบน) ถนนเดิมขยายเขตทาง

และใหคงถนนโครงการสาย ก ๕ เฉพาะบริเวณกอสรางใหมไว ตามแผนผังแสดง

โครงการคมนาคมและขนสงท่รี างผังเมืองรวมกําหนด

มตทิ ปี่ ระชุม เห็นชอบดวยกับคํารองบางสวน โดยยกเลิกถนนโครงการ
สาย ก ๕ เฉพาะชวงถนนเทศบาล ๕ (บานบน) ถนนเดิม
ขยายเขตทาง และใหคงถนนโครงการสาย ก ๕ เฉพาะ
บริเวณกอสรางใหมไวตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคม
และขนสง ท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ คณะกรรมการพิจารณาดานผังเมอื ง
ของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
ชมุ ชนทา น้ําออ ยมวงหกั

เรื่องท่ี ๖ ขอยกเลกิ ถนนโครงการสาย ก ๖ (ถนนกอสรางใหม) ขนาดเขตทาง
๑๒.๐๐ เมตร

ผรู อ ง จาํ นวน ๘ ฉบับ ๗ ราย ไดแก นายสา แสงโพธ์ิ และผรู องอื่น รวม ๗ ราย
เหตุผลในการขอแกไข หากมีการกอสรางถนนโครงการ ทําใหผูท่ีอยูอาศัย
ไดรับความเดือดรอนจากการเวนคืนท่ีดินจะกระทบตอการอยูอาศัยท่ีอยูมาแตด้ังเดิม
การซ้ือทดี่ นิ และปลูกสรางใหมเปน ไปไดยาก โครงการไมมีความจําเปนเพราะปจจุบัน
ชมุ ชนทาน้าํ ออยมวงหักไมไ ดมีการจราจรคบั ค่งั เหมอื นชมุ ชนอนื่ และถนนปจจุบนั
สามารถรองรับการจราจรภายในชมุ ชนไดอยางเพียงพอแลว
ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มีความเห็นสอดคลองกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทานํ้าออยมวงหัก คณะกรรมการ
พิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการ
สาย ก ๖ ขนาดเขตทาง ๑๒.๐๐ เมตร ไว ตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคม
และขนสง ที่รา งผงั เมอื งรวมกาํ หนด

มตทิ ี่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ก ๖ ขนาดเขตทาง
๑๒.๐๐ เมตร ไวตามแผนผงั แสดงโครงการคมนาคมและขนสง
ที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ คณะกรรมการพิจารณาดานผังเมือง
ของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม
ชมุ ชนทานํ้าออ ยมวงหกั

เร่ืองท่ี ๗ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ข ๑ (ถนนเดิมขยายเขตทาง)
ขนาดเขตทาง ๑๖.๐๐ เมตร

-8-

ลําดับที่ เรอื่ ง/มติ อางอิง

(คร้ังท/่ี วันที่ประชุม)

ผูรอง จํานวน ๓๑ ฉบับ ๒๖ ราย ไดแก นางสุชิน โหงจาง และผูรองอนื่

รวม ๒๖ ราย

เหตุผลในการขอแกไข หากมีการกอสรางถนนโครงการทําใหผูท่ีอยูอาศัย

ไดรับความเดือดรอนจากการเวนคืนท่ีดิน จะกระทบตอการอยูอาศัยท่ีอยู

มาแตด้ังเดิม การซ้ือที่ดินและปลูกสรางใหมเปนไปไดยาก โครงการไมมีความจําเปน

เพราะปจจุบันชุมชนทาน้ําออยมวงหักไมไดมีการจราจรคับค่ังเหมือนชุมชนอื่น

และถนนปจ จบุ นั สามารถรองรับการจราจรภายในชมุ ชนไดอ ยางเพียงพอแลว

ผลการพิจารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทานํ้าออยมวงหัก คณะกรรมการ

พิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมือง

พิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ข ๑

ไวตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสง ท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด

แตม เี ง่อื นไขใหป รับลดขนาดเขตทาง จากเดมิ ๑๖.๐๐ เมตร เปน ๑๔.๐๐ เมตร

มตทิ ปี่ ระชุม ยกคาํ รอง โดยใหค งถนนโครงการสาย ข ๑ ไวต ามแผนผังแสดง
โครงการคมนาคมและขนสง ที่รางผังเมืองรวมกําหนด
แตมีเงื่อนไขใหปรับลดขนาดเขตทาง จากเดิม ๑๖.๐๐ เมตร
เปน ๑๔.๐๐ เมตร ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ คณะกรรมการพิจารณาดานผังเมือง
ของกรมโยธาธิการและผังเมืองและคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
ชุมชนทา นาํ้ ออ ยมว งหัก

เร่ืองที่ ๘ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ข ๒ (ถนนเดิมขยายเขตทาง)
ขนาดเขตทาง ๑๖.๐๐ เมตร

ผูร อง จาํ นวน ๘๕ ฉบบั ๗๗ ราย ไดแก นางสนุ ยี  สวุ รรณวรษ และผรู องอื่น
รวม ๗๗ ราย

เหตุผลในการขอแกไข หากมีการกอสรางถนนโครงการ ทําใหผูที่อยูอาศัย
ไ ด รั บ ค ว า ม เ ดื อ ด ร อ น จ า ก ก า ร เ ว น คื น ที่ ดิน จ ะ ก ระ ท บ ต อ ก า รอ ยู อ า ศั ย ท่ีอยู
มาแตดั้งเดิม การซื้อท่ีดินและปลูกสรางใหมเปนไปไดยาก โครงการไมมีความจําเปน
เพราะปจจุบันชุมชนทานํ้าออยมวงหักไมไดมีการจราจรคับค่ังเหมือนชุมชนอื่น
และถนนปจ จบุ ันสามารถรองรบั การจราจรภายในชมุ ชนไดอ ยา งเพยี งพอแลว

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มีความเหน็ สอดคลอ งกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทานํ้าออยมวงหัก คณะกรรมการ
พิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคาํ รองฯ มมี ติสอดคลองกนั คือ ยกคํารอ ง โดยใหค งถนนโครงการสาย ข ๒
ไ ว ต า ม แ ผ น ผั ง แ ส ด ง โ ค ร ง ก า ร ค ม น า ค ม แ ล ะ ข น ส ง ท่ี ร า ง ผั ง เ มื อ ง ร ว ม กํ า ห น ด
แตมเี งอื่ นไขใหปรบั ลดขนาดเขตทางเปน ๒ ชวง ดังนี้

-9-

ลําดับที่ เร่ือง/มติ อางอิง

๑. ถนนโครงการสาย ข ๒ ชวงท่ี ๑ เร่ิมจากถนนโครงการสาย ก ๒ (ครั้งที่/วันท่ีประชมุ )
(ถนนเทศบาล ๒) ไปทางทิศตะวันออกจนบรรจบกับถนนโครงการสายสาย ก ๓
(ถนนเทศบาล ๖) และถนนโครงการสาย ก ๕ (ถนนเทศบาล ๕) ใหปรบั ลดขนาด
เขตทาง จากเดมิ ๑๖.๐๐ เมตร เปน ๑๒.๐๐ เมตร

๒. ถนนโครงการสาย ข ๒ ชวงท่ี ๒ เร่ิมจากถนนโครงการสาย ก ๓
(ถนนเทศบาล ๖) หรือถนนโครงการสาย ก ๕ (ถนนเทศบาล ๕) ไปทาง
ทิศตะวันออกจนบรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๑ (ถนนพหลโยธิน)
ใหป รับลดขนาดเขตทาง จากเดิม ๑๖.๐๐ เมตร เปน ๑๔.๐๐ เมตร เน่ืองจาก

๑) ถนนโครงการสาย ข ๒ เปนถนนสายหลกั ของชมุ ชนและเปนศูนยร วม
โครงขายคมนาคมของชุมชน

๒) ถนนโครงการสาย ข ๒ เปนถนนที่เชื่อมโยงถนนโครงการสาย ก ๒,
ก ๓, ก ๔, ก ๕, ก ๖, ข ๑, และ ข ๓ กบั ทางหลวงแผนดนิ หมายเลข ๑ (ถนนพหลโยธิน)

๓) เปนถนนท่ีรองรับและใหบริการการใชประโยชนที่ดินประเภท
พาณิชยกรรมและท่ีอยูอาศัยหนาแนนมาก (สีแดง) บริเวณหมายเลข ๓.๓
ท่ดี นิ ประเภทที่อยูอาศัยหนาแนน ปานกลาง (สสี ม) บรเิ วณหมายเลข ๒.๒ และ ๒.๔
ท่ีดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ๑.๗, ๑.๘,
๑.๑๒, และ ๑.๑๔ ท่ีดินประเภทสถาบันการศึกษา (สีเขียวมะกอก) บริเวณหมายเลข
๘.๓ และทดี่ นิ ประเภทสถาบันศาสนา (สเี ทาออน) บรเิ วณหมายเลข ๑๐.๔

๔) บรเิ วณถนนโครงการสาย ข ๒ ชว งท่ี ๑ เปนยานศูนยก ลางพาณิชยกรรม
และยานชุมชนท่ีอยูอาศัยหนาแนนมาก ซึ่งมีอาคารรานคาและบานเรือน
อยูหนาแนนตลอดสองฟากถนน หากขยายเขตทางเปน ๑๖.๐๐ เมตร จะทําให
ประชาชนไดรบั ความเดอื ดรอนจาํ นวนมาก

๕) บริเวณถนนโครงการสาย ข ๒ ชวงที่ ๒ เปนยานชุมชนที่อยู
อาศัยหนาแนนซ่ึงมีอาคารรานคาและบานเรือนคอนขางมากตลอดสองฟากถนน
หากขยายเขตทางเปน ๑๖.๐๐ เมตร จะทําใหประชาชนไดรับความเดือดรอน
จาํ นวนคอ นขางมาก

๖) การปรับลดขนาดเขตทางของถนนโครงการสาย ข ๒ จะชวยลด
ผลกระทบตอประชาชนใหนอยลง และทําใหมีความเปนไปไดในการปรับปรุง
ถนนในอนาคต

๗) ประชาชนท่ีแนวถนนโครงการตัดผาน จะไดรับการชดเชย
เปนคาเวนคืนตามกฎหมายวา ดวยการเวนคืนอสังหาริมทรพั ยอยา งยุติธรรม

มติที่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ข๒ ไวตามแผนผัง
แสดงโครงการคมนาคมและขนสงท่ีรางผังเมืองรวม
กําหนด แตมีเงื่อนไขใหปรับลดขนาดเขตทางเปน ๒ ชวง
ต า ม ม ติ ค ณ ะ อนุ ก ร ร ม ก า ร ผั ง เ มื อ ง พิ จ า ร ณ า คํ า ร อ ง ฯ
คณะกรรมการพิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการ
แ ล ะ ผั ง เ มื อ ง แ ล ะ ค ณ ะ ท่ี ป รึ ก ษ า ผั ง เ มื อ ง ร ว ม ชุ ม ช น
ทาน้าํ ออ ยมว งหกั

- 10 -

ลําดับที่ เร่อื ง/มติ อา งอิง

(คร้ังท/ี่ วันท่ปี ระชุม)

เร่ืองท่ี ๙ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ข ๓ (ถนนเดิมขยายเขตทาง

และถนนกอ สรางใหม) ขนาดเขตทาง ๑๖.๐๐ เมตร

ผูรอง จํานวน ๒๓ ฉบับ ๒๑ ราย ไดแก นางสาวเทียมจันทร โหงกระจาง
และผรู องอน่ื รวม ๒๑ ราย

เหตุผลในการขอแกไข หากมกี ารกอสรางถนนโครงการ ทาํ ใหผูท อี่ ยูอาศัย

ไ ด รั บ ค ว า ม เ ดื อ ด ร อ น จ า ก ก า ร เ ว น คื น ท่ี ดิ น จ ะ ก ร ะ ท บ ต อ ก า ร อ ยู อ า ศั ย ท่ี อ ยู

มาแตดั้งเดิม การซื้อที่ดินและปลูกสรางใหมเปนไปไดยาก โครงการไมมีความจําเปน

เพราะปจจุบันชุมชนทานํ้าออยมวงหักไมไดมีการจราจรคับค่ังเหมือนชุมชนอ่ืน

และถนนปจจุบนั สามารถรองรับการจราจรภายในชุมชนไดอ ยา งเพียงพอแลว

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มีความเห็นสอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทานํ้าออยมวงหัก คณะกรรมการ

พิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการ

ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง โดยใหคงถนน

โครงการสาย ข ๓ ไวตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสง ทร่ี า งผงั เมืองรวม

กําหนด แตมีเงื่อนไขใหปรับลดขนาดเขตทาง จากเดิม ๑๖.๐๐ เมตร เปน ๑๒.๐๐ เมตร

เน่ืองจากแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสงท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด

แตมีเงอ่ื นไขใหปรับลดขนาดเขตทาง จากเดมิ ๑๖.๐๐ เมตร เปน ๑๒.๐๐ เมตร

มติที่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ข ๓ ไวตามแผนผัง
แสดงโครงการคมนาคมและขนสง ที่รางผังเมอื งรวมกําหนด
แตมีเง่ือนไขใหปรับลดขนาดเขตทาง จากเดิม ๑๖.๐๐ เมตร
เปน ๑๒.๐๐ เมตร ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ คณะกรรมการพิจารณาดานผังเมือง
ของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
ชมุ ชนทา นํ้าออ ยมวงหัก

เร่ืองท่ี ๑๐ ขอยกเลิกถนนโครงการสาย ข ๔ (ถนนเดิมขยายเขตทาง)
ขนาดเขตทาง ๑๖.๐๐ เมตร

ผรู อง จํานวน ๔๕ ฉบับ ๔๓ ราย ไดแ ก นางประมวล อนิ ทรมณี และผูรอ งอ่ืน
รวม ๔๓ ราย

เหตุผลในการขอแกไข หากมีการกอสรางถนนโครงการทําใหผูท่ีอยูอาศัย
ไดรับความเดือดรอนจากการเวนคืนท่ีดิน จะกระทบตอการอยูอาศัยที่อยู
มาแตด้ังเดิมการซื้อท่ีดินและปลูกสรางใหมเปนไปไดยาก โครงการไมมีความจําเปน
เพราะปจจุบันชุมชนทานํ้าออยมวงหักไมไดมีการจราจรคับค่ังเหมือนชุมชนอ่ืน
และถนนปจ จบุ นั สามารถรองรบั การจราจรภายในชุมชนไดอยางเพยี งพอแลว

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนทาน้ําออยมวงหัก คณะกรรมการ
พิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ใหตามคาํ รอง โดยใหยกเลิก

- 11 -

ลําดับท่ี เร่ือง/มติ อางอิง

(ครงั้ ที่/วนั ทปี่ ระชมุ )

ถนนโครงการสาย ข ๔ (ถนนเขาไมเดน) ขนาดเขตทาง ๑๖.๐๐ เมตร และปรับออก

จากแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสงท่ีรา งผงั เมืองรวมกําหนดไว

มตทิ ่ปี ระชมุ เห็นชอบดวยกับคํารอง โดยใหยกเลิกถนนโครงการสาย ข ๔
(ถนนเขาไมเดน) ขนาดเขตทาง ๑๖.๐๐ เมตร และปรับออก
จากแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสงท่ีรางผังเมืองรวม
กําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
คณะกรรมการพิจารณาดานผังเมืองของกรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะที่ปรกึ ษาผังเมอื งรวมชุมชนทานาํ้ ออยมวงหัก

2. เรือ่ ง คํารองผงั เมืองรวมชมุ ชนกําแพง จังหวัดสตลู ครั้งที่ 1/๒๕๕8

ผงั เมอื งรวมชุมชนกําแพง อําเภอละงู จังหวัดสตลู เปนผงั เมืองรวมพ้ืนที่ วนั ท่ี 15 ม.ค. ๕8

เปดใหมดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวมเปนคร้ังแรกโดยกรมโยธาธิการ วาระท่ี ๓.3.2

และผังเมือง ครอบคลุมพ้ืนท่ีทั้งหมดของเทศบาลตําบลกําแพง พื้นท่ีบางสวนของ หนา 53 – 59

องคการบรหิ ารสวนตาํ บลกําแพง และพ้ืนที่บางสว นขององคก ารบริหารสว นตําบลละงู

รวมพ้ืนที่ประมาณ ๕๑ ตารางกิโลเมตร ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการ

ผังเมือง เมื่อวันท่ี ๙ ตุลาคม ๒๕๕๖ ไดนํารางผังเมืองรวมชุมชนกําแพง

ไปปดประกาศ ๙๐ วัน ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ เพ่ือให

ประชาชนผมู สี วนไดเสยี ไปตรวจดูและยื่นคาํ รอง ตงั้ แตว นั ที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗

ถึงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๗ เมื่อครบกําหนดปรากฏวา มีคํารอง จํานวน ๒๘ ฉบับ

๑๘ ราย ๓ เร่ือง โดยเปนคํารองดานการใชประโยชนที่ดินท้ังสิ้น ซึ่งไดผาน

การพิจารณาจากคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนกําแพง เมื่อวันท่ี ๑๕ กันยายน ๒๕๕๗

ผานการพิจารณาจากกรมโยธาธิการและผังเมือง เม่ือวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗

และผานการพิจารณาจากคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เม่ือวันที่

๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ สําหรับผลการพจิ ารณาทัง้ ๓ คณะ มีความเหน็ ตา งกันทั้ง ๓ เรื่อง

คาํ รอ งดานการใชประโยชนท ่ดี ิน (มจี าํ นวน 3 เรอื่ ง)

เร่ืองที่ ๑ ขอเปลย่ี นแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย

(สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ๑.๑, ๑.๒, ๑.๓, ๑.๔, ๑.๕, ๑.๖, ๑.๗, ๑.๘, ๑.๙,

๑.๑๐, ๑.๑๑, ๑.๑๒ และ ๑.๑๔ เปนทด่ี นิ ประเภททีอ่ ยูอ าศยั หนาแนนปานกลาง (สีสม )

ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ไดแก นายจํารัส ฮองสาย และนายสัมฤทธิ์

เลียงประสทิ ธิ์

เหตุผลในการขอแกไข เนอ่ื งจากพืน้ ท่ีคาํ รอ งเปนพืน้ ทช่ี มุ ชนที่มีการสราง

บานเรือน อาคารพักอาศัย รานคา และบานแถวอยางหนาแนน ซึ่งเปนชุมชน

ทข่ี ยายตัวมาจากเทศบาลตาํ บลกาํ แพง

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ ตา งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนกําแพง ใหตามคํารอง โดยใหแกไข

เปลย่ี นแปลงการใชป ระโยชนท ่ีดินบริเวณหมายเลข ๑.๑ - ๑.๑๒ และ ๑.๑๔ จากทดี่ นิ

- 12 -

ลําดับท่ี เรื่อง/มติ อา งอิง

(ครั้งท/่ี วันท่ีประชมุ )

ประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) เปนที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนน

ปานกลาง (สีสม) เนื่องจากพ้ืนท่ีคํารองมีการพัฒนาชุมชนที่ตอเนื่องจากพื้นที่

ชุมชนเดมิ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คํารอ งฯ มีมตสิ อดคลองกนั คือ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ดี ินประเภททีอ่ ยู

อาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ๑.๑ – ๑.๑๒ และ ๑.๑๔

ไวต ามท่รี า งผงั เมอื งรวมกาํ หนด เนอ่ื งจาก

๑. เจตนารมณและวัตถุประสงคในการกําหนดที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัย

หนาแนนนอย (สีเหลือง) ใหใชประโยชนท่ีดินเพื่อการอยูอาศัย สถาบันราชการ

การสาธารณปู โภคและสาธารณปู การเปนสว นใหญ

๒. ในขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย

(สีเหลือง) ผูรองสามารถดําเนินกิจการอ่ืนท่ีไมขัดกับขอหาม ใหใชประโยชนท่ีดิน

ไดไ มเ กนิ รอยละ ๑๕ ของทด่ี นิ ประเภทนใ้ี นแตละบรเิ วณ

๓. กิจการท่ีดําเนินการมากอนกฎหมายผังเมืองใชบังคับ แมขอกําหนด

กฎกระทรวงผังเมืองรวมจะหามดําเนินการ ก็ยังสามารถดําเนินการตอไปได

ตามมาตรา ๒๗ วรรคสอง แหง พระราชบญั ญัตกิ ารผงั เมอื ง พ.ศ. ๒๕๑๘

๔. ผังเมืองรวมไดกําหนดการใชประโยชนท่ีดินเปนยานชุมชนท่ีอยูอาศัย

ไวอ ยางเหมาะสมแลว

๕. ความหนาแนนของการใชประโยชนท่ีดินยังเปนไปตามมาตรฐานที่ดิน

ประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) ยังไมเหมาะสมที่จะเปลี่ยนเปนท่ีดิน

ประเภทท่อี ยอู าศยั หนาแนน ปานกลาง (สสี ม )

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนทดี่ นิ ประเภททอี่ ยูอาศัย
หนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ๑.๑ – ๑.๑๒
และ ๑.๑๔ ไวตามท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพจิ ารณาคาํ รองฯ และกรมโยธาธกิ าร
และผงั เมอื ง

เร่ืองที่ ๒ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สเี ขยี ว) บริเวณหมายเลข ๔.๕, ๔.๗, ๔.๙, ๔.๑๐, ๔.๑๓, ๔.๑๔,
๔.๑๕, ๔.๒๒ และ ๔.๒๓ เปน ทด่ี นิ ประเภทที่อยอู าศยั หนาแนน ปานกลาง (สีสม )

ผูรอง จํานวน ๑๕ ฉบับ ๑๔ ราย ไดแก นายจํารัส ฮองสาย และผูรองอ่ืน
รวม ๑๔ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากสภาพปจจุบันพ้ืนท่ีดังกลาวเปนพื้นที่
พาณิชยกรรม มีอาคารพักอาศัย สถานีบริการกาซปโตรเลียมเหลว โกดังสินคา
รานจําหนายวสั ดุกอ สราง และบานจัดสรรอยางหนาแนน

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเห็นตางกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนกําแพง ใหตามคํารอง โดยใหปรับการใช
ประโยชนทด่ี ินใหส อดคลอ งและเหมาะสม จํานวน ๓ บรเิ วณ ดังน้ี

- 13 -

ลาํ ดับท่ี เรื่อง/มติ อา งอิง

(คร้ังท/่ี วันท่ปี ระชมุ )

บริเวณที่ ๑ ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บางสวน

บริเวณหมายเลข ๔.๕ เปนเสน ตัง้ ฉากกับทางหลวงชนบท สต ๓๐๐๗ ระยะ ๒๐๐ เมตร

และหมายเลข ๔.๗ กําหนดใหมีระยะถอยรนจากแนวเขตปาสงวนแหงชาติ
ปาควนทังและปาเขาขาว และปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรีปาควนทัง

และปาเขาขาว เปนระยะ ๔๐ เมตร เปลี่ยนเปนท่ีดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนน

ปานกลาง (สสี ม ) เนือ่ งจากพื้นทีค่ ํารอ งมีการพฒั นาชมุ ชนทตี่ อเนอ่ื งจากพืน้ ที่ชมุ ชนเดิม

และหมายเลข ๔.๗ กําหนดใหมีระยะถอยรนจากแนวเขตปาสงวนแหงชาติปาควนทัง

ปาเขาขาว และปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ปาควนทังและปาเขาขาว

เปนระยะ ๔๐ เมตร เปลี่ยนเปนท่ีดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนปานกลาง (สีสม)

เนือ่ งจากพนื้ ที่คาํ รองมกี ารพัฒนาชมุ ชนทต่ี อเนื่องจากพนื้ ที่ชุมชนเดิม

บริเวณที่ ๒ ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บางสวน

บริเวณหมายเลข ๔.๙, ๔.๑๐, ๔.๑๓, ๔.๑๔ และ ๔.๑๕ เปนเสนขนานระยะ ๓๐๐ เมตร

กับศูนยกลางทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔๑๖ ใหเปล่ียนเปนที่ดินประเภท

ทีอ่ ยอู าศยั หนาแนนปานกลาง (สีสม ) เน่ืองจากพ้นื ที่คํารองชุมชนเริ่มมีความหนาแนน

บริเวณที่ ๓ ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บางสวน

บริเวณหมายเลข ๔.๒๒ และ ๔.๒๓ เปนเสนขนานระยะ ๒๐๐ เมตร กับทางหลวงชนบท

สต ๔๐๒๐ ฟากตะวันตก ใหเปล่ียนเปนที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย

(สเี หลือง) เพ่อื รองรบั การขยายตัวของชมุ ชนจากพ้นื ท่ศี ูนยราชการ

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คํารองฯ มมี ตสิ อดคลอ งกนั คือ ยกคํารอง โดยใหค งการใชป ระโยชนทด่ี นิ ประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔.๕, ๔.๗, ๔.๙, ๔.๑๐, ๔.๑๓, ๔.๑๔,

๔.๑๕, ๔.๒๒ และ ๔.๒๓ ไวต ามทีร่ า งผังเมืองรวมกาํ หนด

มตทิ ีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔.๕, ๔.๗, ๔.๙,
๔.๑๐, ๔.๑๓, ๔.๑๔, ๔.๑๕, ๔.๒๒ และ ๔.๒๓ ไวตามที่ราง
ผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคาํ รอ งฯ และกรมโยธาธกิ ารและผังเมือง

เร่ืองท่ี ๓ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๔.๑, ๔.๒, ๔.๓, ๔.๔, ๔.๖, ๔.๑๓, ๔.๑๔, ๔.๑๕,
๔.๑๗, ๔.๑๘, ๔.๑๙, ๔.๒๐, ๔.๒๑ และ ๔.๒๒ เปนที่ดินประเภทที่อยูอาศัย
หนาแนนนอ ย (สีเหลือง)

ผูรอง จํานวน ๑๑ ฉบับ ๕ ราย ไดแก นายสุพงศแสน ประทีปรัศมี
และผูรองอ่นื รวม ๕ ราย

เหตุผลในการขอแกไข สภาพปจจุบันพ้ืนท่ีดังกลาวเปนพื้นท่ีชุมชน
มีการกอสรางบา นเรือนเพอื่ การอยูอาศัยกระจายตวั สองฟากถนน

- 14 -

ลาํ ดบั ท่ี เรอื่ ง/มติ อา งอิง

(ครัง้ ท/ี่ วันที่ประชมุ )

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเหน็ ตา งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนกําแพง ใหตามคํารอง โดยใหปรับ

การใชประโยชนท ่ดี ินใหส อดคลองและเหมาะสม จาํ นวน ๓ บรเิ วณ ดงั น้ี

บริเวณท่ี ๑ ทดี่ ินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บางสวน บริเวณ

หมายเลข ๔.๑, ๔.๒, ๔.๓, ๔.๔ และ ๔.๖ เปนเสนขนานระยะ ๒๐๐ เมตร

กับศูนยกลางทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔๑๖ ใหเปล่ียนเปนท่ีดินประเภท

ทีอ่ ยูอาศัยหนาแนน นอย (สีเหลอื ง) เพือ่ รองรบั การขยายตัวของชมุ ชน

บริเวณที่ ๒ ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บางสวน บริเวณ

หมายเลข ๔.๑๓, ๔.๑๔, ๔.๑๕, ๔.๑๗, ๔.๑๙ และ ๔.๒๐ เปนเสนขนานระยะ

๑๕๐ เมตร กับศนู ยกลางทางหลวงชนบท สต ๓๐๕๖ ทั้งสองฟาก บรเิ วณหมายเลข

๔.๑๕ และ ๔.๒๑ เปนเสนขนานระยะ ๒๕๐ เมตร กับศูนยกลางทางหลวงชนบท

สต ๓๐๐๓ ใหเปล่ียนเปนที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง)

เพือ่ รองรับการขยายตัวของชมุ ชน

บริเวณที่ ๓ ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บางสวน

บริเวณหมายเลข ๔.๑๘ และ ๔.๒๒ ขนานกับทางหลวงแผนดินหมายเลข ๔๐๕๒

ฟากเหนือเปนเสนขนานระยะ ๓๐๐ เมตร และฟากใตเปนเสนขนานระยะ ๒๐๐ เมตร

ใหเปล่ียนเปนท่ีดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) เพื่อรองรับ

การขยายตวั ของชุมชน และรองรบั โครงการทา เทียบเรือปากบาราในอนาคต

กรมโยธาธิการและผังเมือง ยกคํารอง เนื่องจากในขอกําหนดการใช

ประโยชนที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) สามารถดําเนินการ

เพื่อกิจการอนื่ ไดไมเ กินรอ ยละ ๑๕ ของทด่ี ินประเภทนใี้ นแตละบรเิ วณ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เนื่องจากขอมูลรายละเอียด

ยังไมเพียงพอตอการพิจารณา จึงเห็นควรใหสํานักงานโยธาธิการและผังเมือง

จังหวัดสตูล ประสานงานกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีเก่ียวของ จัดทําขอมูล

รายละเอียดเพ่ิมเติมเกี่ยวกับอาคารสิ่งปลูกสรางในบริเวณพ้ืนท่ีคํารอง ภาพถาย

ทางอากาศ หรือภาพจากกูเกิลแมพ (Google Map) รวมถึงรายละเอียดโครงการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วิทยาเขตสตูล รายละเอียดโครงการทาเทียบเรือ

ปากบารา และรายละเอียดโครงการศูนยราชการอําเภอละงู แลวนํามาเสนอ

ใหพ จิ ารณาในชั้นคณะกรรมการผังเมืองตอไป

สํานกั งานโยธิการและผังเมืองจังหวดั สตูล ไดด ําเนินการประสานและจัดทํา

ขอมูล รายละเอียดตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ เรียบรอยแลว

มติท่ีประชมุ ยกคํารอง ตามมติกรมโยธาธิการและผังเมืองเนื่องจาก
ใ น ข อ กํ า ห น ด ก า ร ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ท่ี ดิ น ป ร ะ เ ภ ท ที่ อยู อาศั ย
หนาแนนนอย (สีเหลือง) สามารถดําเนินการเพ่ือกิจการอืน่
ไดไ มเ กินรอยละ ๑๕ ของที่ดนิ ประเภทนใี้ นแตละบรเิ วณ

- 15 -

ลาํ ดับที่ เร่อื ง/มติ อา งอิง

(คร้งั ท่ี/วันทป่ี ระชมุ )

3. เร่ือง คํารองผังเมอื งรวมชมุ ชนศรสี ัชนาลยั จงั หวัดสุโขทยั คร้ังท่ี 2/๒๕๕8

ผังเมืองรวมชุมชนศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย เปนผังเมืองรวมพ้ืนที่ วนั ที่ 27 ก.พ. ๕8

เปดใหม ดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวมเปนครั้งแรกโดยกรมโยธาธิการ วาระท่ี ๓.3.1
และผังเมือง ครอบคลุมพ้ืนที่ทั้งหมดของเทศบาลศรีสัชนาลัย และพื้นท่ีบางสวน หนา 132 - 139

ขององคการบริหารสวนตําบลหนองออ และองคการบริหารสวนตําบลสารจิตร

รวมพ้ืนที่ประมาณ ๒๒๑.๘๖ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๑๓๘,๖๒๒ ไร ไดผาน

ความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง เม่อื วนั ท่ี ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ไดน าํ ราง

ผังเมืองรวมไปปดประกาศ ๙๐ วัน เพื่อใหประชาชนผูมีสวนไดเสียไปตรวจดู

และย่ืนคํารอง ตั้งแตวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๗ ถึงวันท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗

เมื่อครบกําหนดมีคํารอง ๖๘๔ ฉบับ ๖๘๔ ราย ๖ เร่ือง โดยแยกเปนคํารอง

ดา นการใชประโยชนท่ดี นิ ๔๑ ฉบับ ๔๑ ราย ๕ เร่ือง คํารองดานอนื่ ๆ ๖๔๓ ฉบับ

๖๔๓ ราย ๑ เร่ือง ทั้งน้ี ไดนําคํารองเสนอตอท่ีประชุมคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม

ชุมชนศรีสัชนาลัย เม่ือวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๗ เสนอกรมโยธาธิการและผังเมือง

เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ และเสนอคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

เมื่อวนั ท่ี ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๕๗

คํารองดา นการใชป ระโยชนท ่ีดนิ (มจี ํานวน 5 เร่อื ง)

เรื่องท่ี ๑ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๔ บางสวน เปนที่ดินประเภท

ท่ีอยูอาศัยหนาแนน นอย (สีเหลอื ง)

ผรู อง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก องคก ารบรหิ ารสว นตําบลหนองออ

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากองคการบริหารสวนตําบลหนองออ

พบวาพ้ืนที่สวนมากขององคการบริหารสวนตําบลหนองออ เปนพื้นท่ีเกษตรกรรม

และมีพื้นที่อยูในเขตโบราณสถาน ดังน้ัน จึงไมมีพ้ืนที่ที่จะรองรับการขยายตัว

ของชุมชนไดในอนาคต จึงมีความประสงคขอใหเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน
บริเวณฟากตะวันออกของทางหลวงแผนดินหมายเลข ๑๐ ฝงตรงขามที่ทําการองคการ

บริหารสวนตําบลหนองออ จากเดิมเปนพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

เปนท่ีอยูอาศัยหนาแนน นอ ย (สีเหลอื ง)

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเห็นตางกนั )
คณะทีป่ รึกษาผงั เมืองรวมชุมชนศรีสัชนาลยั ใหต ามคํารอง เน่ืองจากพ้ืนที่

ขององคการบริหารสวนตําบลหนองออ อยูในเขตพื้นท่ีประกาศเขตโบราณสถาน

ของกรมศลิ ปากรเปน บริเวณกวา ง สง ผลใหเกดิ ขอ จาํ กัดในการพฒั นาพื้นที่ประกอบกับ

พ้ืนที่ที่องคการบริหารสวนตําบลหนองออใหเปล่ียนแปลงน้ันอยูใกลเคียงกับท่ีต้ัง

ของที่ทําการองคการบริหารสวนตําบลหนองออ ซ่ึงเปนศูนยกลางการใหบริการ

แกช มุ ชน ดังน้นั จึงมโี อกาสทีช่ มุ ชนจะขยายตัวเขามาในบรเิ วณดังกลาวไดในอนาคต

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภท

ชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๔ ไวตามทีร่ างผังเมืองรวมกําหนด

- 16 -

ลาํ ดับท่ี เรอื่ ง/มติ อางอิง
มตทิ ป่ี ระชุม
(ครง้ั ที/่ วนั ทปี่ ระชุม)

ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๔ ไวตามที่ราง

ผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คาํ รอ งฯ และกรมโยธาธิการและผังเมอื ง

เรือ่ งที่ ๒ ขอเปล่ยี นแปลงการใชประโยชนท ด่ี ินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๖ บางสวน เปนท่ีดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย
(สีเหลือง)

ผูรอง จํานวน ๓๖ ฉบับ ๓๖ ราย ไดแก นายจรัญ ถุงทรัพย และผูรองอ่ืน
รวม ๓๖ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากพ้ืนที่เขตวางผังในพื้นท่ีของตําบลสารจิตร
อยูบริเวณหมูท่ี ๓, ๔, ๕, ๖, ๑๐, ๑๑ และหมูที่ ๑๓ กําหนดการใชประโยชนท่ีดนิ
เปนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ซึ่งพ้ืนท่ีดังกลาว มีอาคาร
บานเรือนของประชาชนอาศัยอยูมาก จึงเห็นควรเปลี่ยนแปลงพ้ืนที่ชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๖ ริมทางหลวงแผน ดินหมายเลข ๑๓๐๕
ฟากตะวันออก ใหเปนทด่ี ินประเภทที่อยอู าศยั หนาแนนนอย (สเี หลอื ง)

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มีความเหน็ ตางกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนศรีสัชนาลัย ใหตามคํารองในสวน
ของการเพ่ิมพ้นื ที่การใชประโยชนท่ีดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สเี หลือง)
เน่ืองจากในบริเวณพ้ืนที่หมายเลข ๕.๖ บริเวณใกลแยกสารจิตรมีการกอสราง
อาคารหนาแนน จงึ ควรเปล่ยี นแปลงการใชประโยชนทดี่ ินใหเปนไปตามคาํ รอ ง
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา
คํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๔ ไวตามทรี่ างผังเมืองรวมกาํ หนด

มติที่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๖ ไวตามท่ีราง
ผงั เมอื งรวมกําหนด ตามมตคิ ณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา
คํารอ งฯ และกรมโยธาธิการและผังเมือง

เรื่องท่ี ๓ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดนิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๑๖ บางสวน เปนที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย
(สเี หลือง)

ผูรอง จํานวน ๓๖ ฉบับ ๓๖ ราย ไดแก นายจรัญ ถุงทรัพย และผูรองอื่น
รวม ๓๖ ราย

เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากพ้ืนที่เขตวางผังในพ้ืนที่ของตําบลสารจิตร
อยูบริเวณหมูที่ ๓, ๕, ๖, ๘ และหมูท่ี ๑๓ กําหนดการใชประโยชนท่ีดินเปนที่ดิน
ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ซ่ึงพื้นท่ีดังกลาวมีอาคารบานเรือน
ของประชาชนอาศัยอยูมาก จึงเห็นควรเปล่ียนแปลงพ้ืนท่ีชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๑๖ บริเวณริมทางหลวงแผนดินหมายเลข ๑๑๑๓
ฟากตะวนั ออก ใหเ ปน ทีด่ ินประเภททอี่ ยอู าศยั หนาแนน นอ ย (สีเหลอื ง)

- 17 -

ลําดับท่ี เร่ือง/มติ อา งอิง

(คร้งั ท่ี/วนั ท่ีประชุม)

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นตา งกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนศรีสัชนาลัย ใหตามคํารอง ในสวน
ของการเพ่ิมพื้นท่ีการใชประโยชนท่ีดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง)
เนื่องจากในบริเวณพ้ืนท่ีหมายเลข ๕.๑๖ บริเวณใกลแยกสารจิตรมีการกอสรางอาคาร
หนาแนน จงึ ควรเปลยี่ นแปลงการใชป ระโยชนทดี่ นิ ใหเ ปน ไปตามคาํ รอง
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คาํ รองฯ มมี ติสอดคลองกัน คือ ยกคาํ รองโดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สเี ขียว) บรเิ วณหมายเลข ๕.๑๖ ไวตามทรี่ างผงั เมอื งรวมกําหนด

มตทิ ป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขยี ว) บริเวณหมายเลข ๕.๑๖ ไวตามที่
รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารอ งฯ และกรมโยธาธิการและผังเมอื ง

เร่ืองที่ ๔ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๙ บางสวน เปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา
(สีมว ง)

ผูรอ ง จาํ นวน ๔ ฉบบั ๔ ราย ไดแก นายสวุ รรณ โผผิน และผูรอ งอื่น รวม ๔ ราย
เหตุผลในการขอแกไข พ้ืนที่ในบริเวณหมายเลข ๕.๙ ท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณริมทางหลวงแผนดินหมายเลข ๑๓๐๕
ฟากตะวันออก เปนพ้ืนที่เกษตรกรรมและเปนเสนทางที่สามารถขนสงสินคา
ทางการเกษตรไปยังอําเภอขางเคียงได จึงเห็นควรเปลี่ยนแปลงการใชประโยชน
ที่ดินเปน ท่ีดนิ ประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสนิ คา (สมี ว ง)
ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความสอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนศรีสัชนาลัย กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ
หมายเลข ๕.๙ ไวต ามท่ีรา งผังเมืองรวมกําหนด

มติที่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๙ ไวตามท่ี
รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผงั เมอื งรวมชมุ ชนศรสี ัชนาลยั

เรื่องท่ี ๕ ขอเปลย่ี นแปลงการใชประโยชนท ด่ี ินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๑๗ บางสวน เปนท่ีดินประเภทพาณิชยกรรมและท่ีอยู
อาศยั หนาแนนมาก (สีแดง)

ผูรอง จํานวน ๔ ฉบับ ๔ ราย ไดแก นายสุวรรณ โผผิน และผูรองอื่น
รวม ๔ ราย

- 18 -

ลําดับท่ี เร่ือง/มติ อา งอิง

(ครัง้ ท่ี/วนั ทปี่ ระชุม)

เหตุผลในการขอแกไข พื้นที่ในบริเวณหมายเลข ๕.๑๗ ที่ดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณริมทางหลวงแผนดินหมายเลข ๑๑๑๓ ปจจุบัน

มีการขยายตัวของชุมชนเพื่อกอสรางอาคารตาง ๆ จึงเห็นสมควรใหมีการเปล่ียนแปลง
เปนทดี่ ินประเภทพาณิชยกรรมและทอ่ี ยูอาศยั หนาแนน มาก (สีแดง)

ผลการพิจารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกัน )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนศรีสัชนาลัย กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ ยกคํารอง โดยใหคงการใช

ประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๑๗

ไวตามทีร่ า งผังเมอื งรวมกําหนด

มตทิ ปี่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๕.๑๗ ไวตามท่ีราง
ผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา
คํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผังเมอื งรวมชุมชนศรสี ัชนาลัย

คาํ รองดานอน่ื ๆ (จาํ นวน 1 เรอื่ ง)
เรื่อง ขอใหยกเลิกพื้นที่การวางและจัดทําผังเมืองรวมชุมชนศรีสัชนาลัย
จังหวัดสุโขทยั
ผูรอง จํานวน ๖๔๓ ฉบับ ๖๔๓ ราย ไดแก ประชาชนตําบลสารจิตร
หมูที่ ๑, ๓, ๔, ๕, ๖, ๑๒, ๑๓ และ ๑๔
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากผูรองมีความเห็นวาการวางผังเมืองรวม
ชุมชนศรีสัชนาลัย ทําใหเกิดความยุงยากในการขออนุญาตกอสรางและใชประโยชน
พนื้ ทด่ี งั นี้
- เร่อื งการบงั คบั ใชข องพระราชบญั ญัติควบคุมอาคาร
- ประชาชนเขาใจวาเมื่อมีผังเมืองรวมชุมชนศรีสัชนาลัยบังคับใช
จะเกยี่ วของกับการเสยี ภาษที องถิ่น
ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเห็นสอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนศรีสัชนาลัย กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงรางผงั เมืองรวมชุมชนศรสี ัชนาลัย จังหวดั สโุ ขทยั ไว

มตทิ ปี่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงรางผังเมืองรวมชุมชนศรีสัชนาลัย จังหวัด
สุโขทยั ไวต ามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารอ งฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
ชมุ ชนศรีสชั นาลัย

- 19 -

ลําดับที่ เร่อื ง/มติ อางอิง

(ครั้งท่ี/วนั ที่ประชุม)

4. เร่อื ง คาํ รอ งผงั เมืองรวมชุมชนออมใหญ จังหวดั นครปฐม (ปรบั ปรุงครั้งที่ ๒) ครง้ั ท่ี 2/๒๕๕8

ผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ จังหวัดนครปฐม ไดดําเนินการวางและจัดทํา วันที่ 27 ก.พ. ๕8

ผังเมืองรวมเปนคร้ังแรกโดยกรมโยธาธิการและผังเมือง และไดถายโอนให วาระที่ ๓.3.2

องคกรปกครองสวนทองถ่ินดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวมเอง เมื่อวันที่ หนา 139 - 172

๒๘ สิงหาคม ๒๕๔๙ ไดประกาศบังคับใชเปนกฎกระทรวงผังเมืองรวม

ฉบับกฤษฎีกา เลมที่ ๑๒๓ ตอนที่ ๔๑ ก ระยะเวลาบังคับใช ๕ ป ตั้งแตวันท่ี

๒๖ เมษายน ๒๕๔๙ ถึงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๔ ขยายระยะเวลาการใชบังคับผัง

๑ ป อีก ๒ คร้ัง โดยครั้งที่ ๒ หมดอายุวันท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๕๖ ครอบคลุมพ้ืนท่ี

เทศบาลตําบลออมใหญ (ตําบลออมใหญและบางสวนของตําบลบานใหม)

เทศบาลเมืองกระทุมลม เทศบาลตําบลบางกระทึก องคการบริหารสวนตําบลทาขาม

และพื้นท่ีบางสวนในเขตเทศบาลเมืองไรขิง องคการบริหารสวนตําบลยายชา

องคการบริหารสวนตําบลทาตลาด จังหวัดนครปฐม รวมพื้นท่ีประมาณ ๗๘.๓๖

ตารางกิโลเมตร หรือ ๔๘,๙๗๕ ไร ไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการผังเมือง

เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ไดนํารางผังเมืองรวมไปปดประกาศ ๙๐ วัน

เพื่อใหประชาชนผูมีสวนไดเสียไปตรวจดูและยื่นคํารอง ตั้งแตวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๗

ถึงวันท่ี ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เมื่อครบกําหนดมีคํารอง ๖๐ ฉบับ ๕๖ ราย ๒๖ เรื่อง

โดยแยกเปนคํารองดานการใชประโยชนท่ีดิน ๒๘ ฉบับ ๒๗ ราย ๖ เร่ือง คํารอง

ดานการแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ๓๙ ฉบับ ๔๑ ราย ๑๗ เร่ืองและคํารอง

ดานอื่น ๆ ๑๑ ฉบับ ๑๑ ราย ๓ เร่ือง ท้ังนี้ไดนําคํารองเสนอตอที่ประชุม

คณะทปี่ รกึ ษาผังเมอื งรวมชมุ ชนออมใหญ เม่ือวันที่ ๔ สงิ หาคม ๒๕๕๗ และเสนอ

ตอกรมโยธาธิการและผังเมือง เม่ือวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๗ และเสนอ

คณะอนุกรรมการผงั เมอื งพิจารณาคาํ รองฯ เม่อื วนั ที่ ๙ มกราคม ๒๕๕๘

คํารอ งดา นการใชประโยชนทด่ี ิน (จํานวน ๖ เรื่อง)

เรื่องที่ ๑ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท

และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ก. ๒-๑ เปนท่ีดินประเภทท่ีอยูอาศัย

หนาแนนนอ ย (สเี หลือง)

ผูรอง จํานวน ๓ ฉบับ ๓ ราย ไดแก นางอุษณี กัลยาณรัตน และผูรองอ่ืน

รวม ๓ ราย

เหตุผลในการขอแกไข ตองการใชประโยชนในที่ดินใหเกิดประโยชน

สูงสดุ เชน จัดสรรท่ดี นิ เพ่อื การอยูอาศัย หองแถว อาคารพาณชิ ย

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง

โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ

หมายเลข ก. ๒ - ๑ ไว ตามท่ีรา งผังเมอื งกาํ หนด

มตทิ ี่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ก. ๒ - ๑
ไวตามท่ีรางผังเมืองกาํ หนด ตามมติคณะอนุกรรมการ

- 20 -

ลาํ ดับท่ี เร่อื ง/มติ อา งอิง

(ครง้ั ท่ี/วันทีป่ ระชุม)

ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทปี่ รึกษาผงั เมืองรวมชุมชนออมใหญ

เร่ืองท่ี ๒ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ก. ๑ - ๖ เปนท่ีดินประเภทท่ีอยูอาศัย
หนาแนน ปานกลาง (สสี ม) ย. ๓ หรอื ย. ๔

ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ไดแก บริษัท สวนสามพราน จํากัด
(โดยนายชเู กียรติ กลน่ิ พยอม ผรู ับมอบอํานาจ) และผรู องอืน่ รวม ๒ ราย

เหตผุ ลในการขอแกไ ข
๑. ที่ดินของผูรองไมใชพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรมเพราะประกอบ
กิจการโรงแรมมาเปน เวลา ๕๓ ปแ ลว
๒. การกําหนดพื้นที่บริเวณที่ดินของผูรองเปนพ้ืนท่ีสีเขียวไมสอดคลอง
กับความเปน จรงิ กบั พ้ืนที่โดยรอบท่ีกําหนดเปนท่ดี ินประเภทที่อยอู าศัยหนาแนนปานกลาง
๓. การกําหนดพ้ืนที่บริเวณที่ดินของผูรองเปนพ้ืนท่ีสีเขียวไมสอดคลอง
กบั การพัฒนาพืน้ ที่ และการลงทุนในหว งเวลาที่ประเทศไทยกําลงั จะเขา สูประชาคม
อาเซียนในป ๒๕๕8
ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มมี ตสิ อดคลองกนั คอื ใหต ามคํารอง
บางสวน โดยใหเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ก. ๑ - ๖ เฉพาะบริเวณพ้ืนที่ถัดจากระยะเสนขนาน
๒๐๐ เมตร จากริมฝง แมนา้ํ นครชยั ศรี เปน ที่ดนิ ประเภทท่อี ยอู าศัยหนาแนนปานกลาง
(สสี ม ) ย. ๓ สวนบรเิ วณพื้นทีใ่ นเสนขนานระยะ ๒๐๐ เมตร จากริมฝง แมน ํา้ นครชัยศรี
ใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ
หมายเลข ก. ๑ - ๖ ไวต ามที่รางผงั เมอื งกาํ หนด

มตทิ ่ีประชุม ใหตามคํารองบางสวน โดยใหเปลี่ยนแปลงการใชประโยชน
ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ
หมายเลข ก. ๑ - ๖ เฉพาะบริเวณพ้ืนที่ถัดจากระยะเสน
ขนาน ๒๐๐ เมตร จากริมฝงแมน้ํานครชัยศรี เปนที่ดิน
ประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนปานกลาง (สีสม) ย. ๓
สวนบริเวณพื้นท่ีในเสนขนานระยะ ๒๐๐ เมตร จากริมฝง
แมน้ํานครชัยศรี ใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ก. ๑ - ๖
ไวตามที่รางผังเมืองกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคาํ รอ งฯกรมโยธาธิการและผงั เมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผังเมอื งรวมชมุ ชนออมใหญ

เร่ืองที่ ๓ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัย
หนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ย. ๒ - ๘ เปนท่ีดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสนิ คา (สีมวง)

- 21 -

ลําดับท่ี เรือ่ ง/มติ อา งอิง

(คร้ังท/ี่ วันทป่ี ระชมุ )

ผูรอง จํานวน ๑๐ ฉบับ ๑๐ ราย ไดแก บริษัท นันยางการเมนท จํากัด
(โดยนายวศิ ิษฎ แซเลา ผรู บั มอบอาํ นาจ) และผูร อ งอนื่ รวม ๑๐ ราย

เหตผุ ลในการขอแกไ ข
๑. บริษัทประกอบธุรกิจสรางและใหเชาอาคารอุตสาหกรรมและพาณิชย
โกดัง ตั้งแตป ๒๕๓๙ จนถึงปจจุบัน หากประกาศใชผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ
ผูประกอบกิจการประเภทเดิมหรือกิจการประเภทอ่ืน ๆ ไมสามารถเชาไดในที่ดิน

ประเภทท่อี ยูอาศัยหนาแนน นอย ย. ๒

๒. ทดี่ ินประเภทน้ีกําหนดใหขยายโรงงานไดใ นอตั ราสว น ๑ เทา ตอของเดิม

แตบริษัทตองการขยายกิจการดวยการสรางอาคารใหเชาเพิ่มเติม เพ่ือรองรับ
การเตบิ โตของธุรกิจ

๓. ปจจุบันมีหมูบานจัดสรรเขามากอสรางใกลเคียงบริษัท ในอนาคต
หากประชาชนผอู ยอู าศัยเพมิ่ จาํ นวนข้นึ เกดิ การรอ งเรียนตามมาซึ่งสง ผลกระทบตอ ธุรกิจ

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง

โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณ

หมายเลข ย. ๒ – ๘ ไวตามทรี่ างผงั เมอื งรวมกําหนด

มตทิ ี่ประชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทที่อยูอาศัย
หนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ย. ๒ – ๘ ไวตามท่ี
รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รอ งฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ปี รึกษา
ผงั เมืองรวมชุมชนออมใหญ

เร่ืองท่ี ๔ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทที่อยูอาศัย
หนาแนน นอย (สเี หลอื ง) บรเิ วณหมายเลข ย. ๒ - ๑๖ เปน ที่ดินประเภทอตุ สาหกรรม
และคลงั สนิ คา (สมี วง)

ผูรอง จํานวน ๖ ฉบับ ๗ ราย ไดแก บริษัท บี.ซี.เอฟ อุตสาหกรรม
เฟอรนิเจอร จาํ กัด (โดยนายศานิต สนธิ ผรู บั มอบอํานาจ) และผรู อ งอน่ื รวม ๗ ราย

เหตุผลในการขอแกไข
๑. การปรับเปลี่ยนประเภทท่ีดินจากที่ดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลังสินคา (สีมวง) เปนท่ีดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) สงผลให
บริษัทถูกลิดรอนสิทธ์ิจากเดิมที่เคยเปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา
(สีมว ง)
๒. สงผลใหร าคาทด่ี นิ บรเิ วณนี้ถูกลง
๓. บริษัทไดลงทุนซื้อที่ดินขางเคียงเพ่ือจะขยายกิจการ หากเปนท่ีดิน
ประเภทที่อยูอาศัย จะหามโรงงานลําดับที่ ๖๒ จึงสามารถขยายการผลิตไดเพียง
๑ เทา ซง่ึ ทาํ ใหไมค ุมคา กับการลงทุน

- 22 -

ลําดบั ที่ เร่ือง/มติ อา งอิง

(ครงั้ ที่/วันที่ประชมุ )

๔. บริษัทไดลงทุนซื้อที่ดินเพื่อจะขยายกิจการ ซ่ึงเขาใจวาท่ีดินบริเวณ

ดังกลาวเปนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา สามารถดําเนินกิจการ

อุตสาหกรรมไดทุกประเภท
๕. บริษทั มแี ผนจะขยายการลงทุนแตไมส ามารถดาํ เนินการได

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ใหตามคํารอง

โดยใหเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดิน จากท่ีดินประเภทที่อยอู าศัยหนาแนนนอย

(สเี หลอื ง) บริเวณหมายเลข ย.๒ - ๑๖ เปนทีด่ นิ ประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สนิ คา (สมี วง)

มตทิ ป่ี ระชมุ ใหตามคํารอง โดยใหเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน
จากท่ีดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง)
บริเวณหมายเลข ย. ๒ – ๑๖ เปนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรม
และคลังสินคา (สีมวง) ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคํารองฯ และกรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมืองรวมชมุ ชนออ มใหญ

เร่ืองที่ ๕ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทท่ีโลงเพื่อนันทนาการ
และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล. – ๑
เปน ทีด่ ินประเภททีอ่ ยอู าศัยหนาแนน นอย (สีเหลือง)

ผูรอง จํานวน ๕ ฉบับ ๓ ราย ไดแก บริษัท เดอะ กรีนเนอรรี่ จํากัด
(โดยนายพรสวสั ดิ์ ศิลปอาชา ผรู ับมอบอํานาจ) และผูรอ งอ่ืน รวม ๓ ราย

เหตุผลในการขอแกไ ข
๑. อยูใ นโซนชมุ ชน และเพื่อความเจริญเติบโตของเศรษฐกิจในทอ งท่ี
๒. รองรบั การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ในอนาคต
๓. ใชประโยชนท ่ีดินใหเ หมาะสมและคุม คา
๔. ถา ผงั เมอื งประกาศใชจ ะไมส ามารถจดั สรรที่ดนิ ได
๕. กฎหมายควบคุมอาคารรอบพุทธมณฑลไมไ ดหา มการจดั สรรท่ดี ิน
ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทโลงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดลอม (สีเขยี วออน) บริเวณหมายเลข ล. - ๑ ไวต ามท่ีรา งผังเมอื งรวมกาํ หนด

มติทีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหค งการใชประโยชนท่ีดนิ ประเภทโลงเพ่ือนนั ทนาการ
และการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณ
หมายเลข ล. – ๑ ไวตามท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผงั เมืองและคณะทปี่ รกึ ษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ

- 23 -

ลําดบั ที่ เรอื่ ง/มติ อา งอิง

(คร้ังท่/ี วันที่ประชมุ )

เร่ืองท่ี ๖ ขอเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทที่โลงเพ่ือนันทนาการ

และการรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดลอม (สเี ขียวออน) บรเิ วณหมายเลข ล. - ๑ เปน ทดี่ ิน

ประเภทพาณิชยกรรมและท่อี ยอู าศัยหนาแนน มาก (สแี ดง)

ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ไดแก นายทวีป ต้ังวีระพรพงศ และ

นายธนศิ ร ปนศรศี ริ ิรัตน

เหตผุ ลในการขอแกไข

๑. เพอ่ื รองรบั การขยายตวั ของชมุ ชน

๒. รองรับกิจกรรมอุตสาหกรรมและการพาณิชยในบริเวณถนนพุทธมณฑล

สาย ๕

๓. ถา ผังเมืองประกาศใชจะไมส ามารถสรางอาคารเพอ่ื การพาณชิ ยได

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง

โดยใหค งการใชประโยชนท ีด่ ินประเภทที่โลง เพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพ

สิ่งแวดลอ ม (สเี ขียวออน) บรเิ วณหมายเลข ล. - ๑ ไวต ามที่รา งผังเมืองรวมกาํ หนด

มติท่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทท่ีโลง
เพ่ือนันทนาการและการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน)
บริเวณหมายเลข ล. – ๑ ไวตามที่รางผังเมืองรวมกําหนด
ตามมติคณะอนุกรรมการผัง เ มือ ง พิจ า ร ณ าคํารองฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
ชุมชนออ มใหญ

คํารองดานการแกไ ขขอกาํ หนดการใชป ระโยชนท ่ีดิน (มจี ํานวน 17 เร่อื ง)
เรื่องท่ี ๑ ขอแกไขขอกําหนด ขอ ๙ (๑) จาก “โรงงานท่ีไดรับอนุญาต
ใหประกอบกิจการอยูกอนวันท่ีผังเมืองรวมน้ีมีผลบังคับใชและยังประกอบ กิจการ
อยูในปจจุบัน อนุญาตใหขยายพ้ืนที่โรงงานเฉพาะเพื่อใชการผลิตไดไมเกินหน่ึงเทา
ของพ้ืนที่โรงงานท่ีใชในการผลิตเดิม โดยพื้นที่โรงงานท่ีขยายตองเปนพ้ืนท่ีในท่ีดิน
แปลงเดยี วกันหรอื ติดตอเปนแปลงเดยี วกนั กบั แปลงที่ดนิ ทเ่ี ปนท่ตี ั้งของโรงงานเดิม
และเจาของโรงงานเดิมเปนผูถือกรรมสิทธ์ิหรือมีสิทธิครอบครองอยูกอน
วันท่ีผังเมืองรวมน้ีมีผลใชบังคับ หรือเปนพื้นท่ีในท่ีดินที่เคยเปนกรรมสิทธ์ิ
หรือสิทธิครอบครองของเจาของโรงงานเดิมอยูกอนวันที่ผังเมืองรวมน้ีมีผลใชบังคับ
และการขยายพื้นที่โรงงานดังกลาวตองเปนการประกอบกิจการตามโรงงาน
ประเภทเดิม” เปน “ใหสามารถขยายโรงงานไดเต็มพ้ืนที่ของพ้ืนที่โรงงานที่มี
อยูกอนวันท่ีผังเมืองรวมนี้ มีผลใชบังคับ” ในท่ีดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย
(สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ย. ๒ - ๙ ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ก.๑ - ๗ และท่ีดินประเภทท่ีโลงเพื่อนันทนาการ
และการรกั ษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ ม (สีเขยี วออ น) บรเิ วณหมายเลข ล. – ๒

- 24 -

ลําดบั ที่ เร่อื ง/มติ อางอิง

(คร้ังท/่ี วันทปี่ ระชมุ )

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท โรงเสนหมี่ ชอเฮง จํากัด

(โดยนายวาทติ วงศสุรไกร ผรู ับมอบอาํ นาจ)

เหตุผลในการขอแกไข
๑. โรงงานตองการขยายพื้นที่มากกวา ๑ เทาของพื้นท่ีการผลิต เน่ืองจาก

มพี ้ืนท่โี รงงานอยแู ลว

๒. โรงงานใหความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนา จึงจําเปนตองบูรณะ

ซอ มแซม ปรบั ปรุง ท้งั อาคาร เครื่องจักรในกระบวนการผลิต

๓. บริษัทมแี ผนจะขยายการลงทุน แตไมส ามารถดําเนินการได

ผลการพิจารณาคํารอง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง

โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินเก่ยี วกับการขยายพื้นทโ่ี รงงาน ตามขอ ๙ (๑)

ไวตามทีร่ างผังเมืองรวมกําหนด

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนด ขอ ๙ (๑) ในท่ีดินประเภท
ท่อี ยูอาศัยหนาแนน นอย (สีเหลือง) บรเิ วณหมายเลข ย. ๒ - ๙
ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ
หมายเลข ก. ๑ – ๗ และที่ดินประเภทที่โลงเพื่อนันทนาการ
และการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณ
หมายเลข ล. - ๒ ไวใ นขอ กาํ หนดเดิมตามมติคณะอนกุ รรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทีป่ รึกษาผังเมอื งรวมชุมชนออมใหญ

เร่ืองที่ ๒ ขอยกเลิกขอกําหนด ขอ ๑๑ (๑) หามโรงงานทุกจําพวก
ตามกฎหมายวาดวยโรงงาน เวนแตโรงงานตามประเภท ชนิด และจําพวก
ที่กําหนดใหดําเนินการไดตามบัญชีทายขอกําหนดนี้ ในท่ีดินประเภทที่อยูอาศัย
หนาแนนนอ ย (สเี หลือง) บริเวณหมายเลข ย. ๒ - ๑

ผรู อง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแ ก นายสุพัฒน แยมทวี
เหตุผลในการขอแกไข
๑. มีโครงการจะใชป ระโยชนท ด่ี ินตามขอ หาม
๒. ไดรบั ผลกระทบจากการประกาศใชบังคับ
ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเหน็ สอดคลอ งกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนด
การใชประโยชนท่ีดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข
ย. ๒ – ๑ ในสวนที่เก่ียวกับการขอหามใชประโยชนท่ีดิน ขอ ๑๑ (๑) ซึ่งหามโรงงาน
ทุกจําพวกตามกฎหมายวาดวยโรงงาน เวนแตโรงงานตามประเภท ชนิด และจําพวก
ท่กี ําหนดใหด ําเนินการไดต ามบญั ชที า ยขอกําหนด ตามทรี่ างผังเมอื งรวมกาํ หนด

- 25 -

ลําดับที่ เรือ่ ง/มติ อางอิง
มตทิ ป่ี ระชุม
(ครั้งที่/วนั ท่ีประชมุ )

ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท

ท่ีอยูอาศัยหนาแนน นอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ย. ๒ – ๑

ในสวนที่เกี่ยวกับขอหามใชประโยชนที่ดิน ขอ ๑๑ (๑)

ซึ่งหามโรงงานทุกจําพวก ตามกฎหมายวาดวยโรงงาน

เวนแตโรงงานตามประเภท ชนิด และจําพวกท่ีกําหนดให

ดําเนินการไดตามบัญชีทายขอกําหนด ตามท่ีรางผังเมืองรวม

กําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม

ชุมชนออมใหญ

เร่ืองที่ ๓ ขอยกเลิกขอกําหนด ขอ ๑๑ (๘) หามการจัดสรรเพื่อประกอบ
พาณิชยกรรมเวนแตเปนสวนหนึ่งของโครงการจัดสรรที่ดินเพ่ือการอยูอาศัย
และมีพ้ืนที่ไมเกินรอยละ ๕ ของพ้ืนท่ีโครงการท้ังหมด ในที่ดินประเภทที่อยูอาศัย
หนาแนนนอ ย (สีเหลอื ง) บรเิ วณหมายเลข ย. ๒ - ๑

ผูรอ ง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก นายสพุ ัฒน แยมทวี
เหตผุ ลในการขอแกไข มโี ครงการจะใชป ระโยชนทดี่ ินตามขอ หา ม
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนด
การใชประโยชนท่ีดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณ
หมายเลข ย. ๒ - ๑ ในสวนท่ีเก่ียวกับขอหามใชประโยชนที่ดิน ขอ ๑๑ (๘)
ซึ่งหามการจัดสรรเพื่อประกอบพาณิชยกรรม เวนแตเปนสวนหน่ึงของโครงการ
จัดสรรที่ดินเพ่ือการอยูอาศัย และมีพื้นที่ไมเกินรอยละหาของพื้นท่ีโครงการ
ทง้ั หมด ตามทรี่ า งผงั เมอื งรวมกาํ หนด

มติทป่ี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ทอี่ ยูอาศยั หนาแนน นอย (สีเหลอื ง) บริเวณหมายเลข ย. ๒ - ๑
ในสวนที่เก่ียวกับขอหามใชประโยชนที่ดิน ขอ ๑๑ (๘)
ซึ่งหามการจัดสรรเพื่อประกอบพาณิชยกรรม เวนแต
เปนสวนหนึ่งของโครงการจัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัย
และมีพื้นท่ีไมเกินรอยละหาของพื้นท่ีโครงการทั้งหมด
ตามที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทป่ี รกึ ษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ

เร่ืองที่ ๔ ขอยกเลิกขอกําหนด ขอ ๑๗ (๑๔) คลังสินคา ในที่ดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขยี ว) บรเิ วณหมายเลข ก. ๑ - ๗

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท โรงเสนหมี่ ชอเฮง จํากัด
(โดยนายวาทิต วงศสรุ ไกร ผูร บั มอบอํานาจ)

- 26 -

ลาํ ดับท่ี เรื่อง/มติ อางอิง

(คร้ังท/่ี วนั ทปี่ ระชมุ )

เหตผุ ลในการขอแกไข

๑. โรงงานจําเปนตองมีคลังสินคาในการจัดเก็บผลิตภัณฑที่ไดจาก

การผลติ ซง่ึ มีอยูเปนจํานวนมาก

๒. โรงงานตองการสรางคลังสินคาอัตโนมัติเพ่ือชวยจัดการปญหา

การขาดแคลนพื้นทีจ่ ัดเก็บสินคา และผลิตภัณฑ

๓. คลงั สินคาอตั โนมัตจิ ะชว ยลดตนทุนในการจัดเก็บและชวยลดมลภาวะ

เพราะลดการใช Forklift และลดปญหาการขาดแคลนแรงงานเพ่ิมความปลอดภัย

ในการจดั เกบ็ สนิ คา

ผลการพิจารณาคํารอง (มีความเหน็ ตางกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ และกรมโยธาธิการและผังเมือง

มมี ตสิ อดคลองกนั คือ ใหตามคํารอง

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ ใหตามคํารองบางสวน โดยให

ยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)

บริเวณหมายเลข ก.๑ - ๗ บางสวน เฉพาะบริเวณท่ีดินของผูรอง ตามโฉนดที่ดิน

หมายเลข ๒๒๓๒ และ ๒๒๓๕ ในสวนท่ีเก่ียวกับขอหามใชประโยชนที่ดิน

ขอ ๑๗ (๑๔) ซึ่งหา มคลังสินคา เพอื่ ใหก อ สรา งคลังสนิ คา ได

มติที่ประชมุ ใหตามคํารองบางสวน โดยใหยกเลิกขอกําหนดการใช
ประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
บริเวณหมายเลข ก.๑ - ๗ บางสวน เฉพาะบริเวณที่ดิน
ของผูรอง ตามโฉนดท่ีดินหมายเลข ๒๒๓๒ และ ๒๒๓๕
ในสวนที่เกี่ยวกับขอหามใชประโยชนที่ดิน ขอ ๑๗ (๑๔)
ซึ่งหามคลังสินคา เพ่ือใหกอสรางคลังสินคาได ตามมติ
คณะอนกุ รรมการผงั เมอื งพิจารณาคาํ รอง

เรอ่ื งที่ ๕ ขอยกเลกิ ขอ กาํ หนด ขอ ๑๘ (๘) หามจดั สรรที่ดนิ เพ่ือการอยูอาศัย
ในทด่ี ินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขียว) บรเิ วณหมายเลข ก. ๒ – ๒

ผรู อง จํานวน ๒ ฉบบั ๒ ราย ไดแก นายกนก ศรผี ึ้ง และนางสาวนนั ทวรรณ ศรผี ึง้
เหตผุ ลในการขอแกไข มีโครงการจะใชท ด่ี นิ เพื่อประโยชนดงั กลาว
ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเห็นสอดคลอ งกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงขอกําหนดการใชป ระโยชนท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว)
บริเวณหมายเลข ก. ๒ – ๒ ในสวนท่ีเกย่ี วกับขอหามใชประโยชนที่ดิน ขอ ๑๘ (๘)
ซง่ึ หา มจดั สรรเพ่ือการอยูอาศยั ตามที่รา งผังเมืองรวมกําหนด

มติที่ประชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ก. ๒ - ๒
ในสวนท่ีเกี่ยวกับขอหามใชประโยชนท่ีดินขอ ๑๘ (๘)
ซง่ึ หามจัดสรรเพื่อการอยูอ าศัยตามทร่ี างผังเมืองรวมกาํ หนด

- 27 -

ลําดับที่ เร่ือง/มติ อางอิง

(คร้งั ท/ี่ วนั ท่ีประชุม)

ตามมติคณะอนุกรรมการผงั เมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ

และผงั เมอื งและคณะที่ปรกึ ษาผังเมืองรวมชุมชนออ มใหญ

เรื่องท่ี ๖ ขอแกไขเปลี่ยนแปลงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ขอ ๒๐
ทีด่ ินประเภททโี่ ลง เพื่อนนั ทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม (สีเขียวออน)
บริเวณหมายเลข ล. - ๑ บริเวณคํารองใหสามารถสรางโรงงานและอาคารที่เกี่ยวของ
กับพาณชิ ยได

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก นายธงชัย เจริญพานนท (โดยนายดุสิต
เจรญิ พานนท ผูร ับมอบอํานาจ)

เหตุผลในการขอแกไ ข
๑. สามารถใชที่ดินใหเกิดประโยชนส ูงสุด ซึ่งท่ีดินอยูติดถนนพุทธมณฑล
สาย ๕ และกําลังกอ สรางขยายถนน
๒. ตําแหนง ทดี่ นิ อยูหา งจากพุทธมณฑลพอสมควร
ผลการพิจารณาคํารอง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โ ด ย ใ ห ค ง ข อ กํ า ห น ด ก า ร ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ที่ ดิ น ป ร ะ เ ภ ท ที่ โ ล ง เ พ่ื อ นั น ท น า ก า ร
และการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล. - ๑ ในสวน
ท่ีเกย่ี วกับการสรางโรงงานและอาคารพาณิชย ตามทรี่ า งผงั เมอื งรวมกําหนด

มติท่ีประชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ที่โลงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม
(สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล .- ๑ ในสวนที่เก่ียวกับ
การสรางโรงงานและอาคารพาณิชย ตามที่รางผังเมืองรวม
กําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
ชมุ ชนออมใหญ

เรื่องท่ี ๗ ขอยกเลิกขอกําหนด ขอ ๒๐ (๓) จัดสรรที่ดินเพ่ือประกอบ
พาณิชยกรรม ในที่ดินประเภทที่โลงเพ่ือนันทนาการและการรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดลอม (สเี ขียวออน) บรเิ วณหมายเลข ล. - ๑

ผูรอง จํานวน ๔ ฉบับ ๕ ราย ไดแก นางสุวัฒนา สุนทราคม และผูรองอื่น
รวม ๕ ราย

เหตุผลในการขอแกไข
๑. เพ่อื ความเจริญของทองถน่ิ และรองรับการขยายตวั ของเมือง
๒. อยใู นโซนชุมชน และเพื่อความเจริญเติบโตของเศรษฐกิจในทองท่ี
๓. ควรจะใหสามารถใชประโยชนที่ดินไดสูงสุด เน่ืองจากท่ีดินอยูติดถนน
พุทธมณฑลสาย ๕ และถนนบรมราชชนนี

- 28 -

ลําดบั ที่ เรอ่ื ง/มติ อางอิง

(คร้งั ท/่ี วนั ท่ีประชุม)

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเห็นสอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง

โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทที่โลงเพ่ือนันทนาการและการรักษา

คุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล. - ๑ ในสวนท่ีเก่ียวของ

กับขอหามใชประโยชนท่ีดิน ขอ ๒๐ (๓) ซ่ึงหามจัดสรรที่ดินเพ่ือประกอบพาณิชยกรรม

ตามท่รี างผังเมืองรวมกาํ หนด

มติท่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภท
ที่โลงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม
(สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล. - ๑ ในสวนท่ีเกี่ยวของ
กบั ขอ หามใชประโยชนท ด่ี ิน ขอ ๒๐ (๓) ซ่งึ หามจัดสรรที่ดนิ เพ่ือ
ประกอบพาณิชยกรรม ตามท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด
ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการ
และผังเมอื ง และคณะทป่ี รึกษาผังเมอื งรวมชมุ ชนออมใหญ

เรือ่ งที่ ๘ ขอยกเลกิ ขอกาํ หนด ขอ ๒๐ (๔) จดั สรรท่ดี นิ เพื่อการอยูอาศัย
ในที่ดินประเภทท่ีโลงเพ่ือนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม (สีเขียวออน)
บรเิ วณหมายเลข ล. - ๑

ผูรอง จํานวน ๖ ฉบับ ๗ ราย ไดแก นางสุวัฒนา สุนทราคม และผูรองอ่ืน
รวม ๗ ราย

เหตุผลในการขอแกไ ข
๑. เพ่อื ความเจริญของทอ งถน่ิ และรองรบั การขยายตัวของเมอื ง
๒. มีบา นอยูอาศยั แลวโรงงานอตุ สาหกรรมจะไดไมมา
๓. อยูใ นโซนชมุ ชน และเพ่อื ความเจริญเติบโตของเศรษฐกิจในทองที่
๔. ใชประโยชนท ด่ี ินใหเ หมาะสมและคมุ คา
๕. พ้ืนที่ดังกลาวสามารถกอสรางที่อยูอาศัยไดแตกลับหามการจัดสรร
ท่ีดินจึงไมสามารถจัดสรรท่ีดินประเภทบานเดี่ยวได ซ่ึงการจัดสรรที่ดินประเภท
บานเดี่ยวจะมีรูปแบบอาคารแบบเดียวกันหรือใกลเคียงกัน มีระบบสาธารณูปโภค
ตลอดจนพื้นท่ีวางพื้นท่ีสีเขียวกอใหเกิดความเปนระเบียบเรียบรอย สวยงาม
มีภูมิทัศนที่ดีสวนการสรางบานเดี่ยวของประชาชนแตละรายจะเปนการสราง
ปญหาทั้งในเรื่องรูปแบบ วัสดุ สี กอใหเกิดความไมเปนระเบียบ มีทัศนียภาพ
ท่ีไมส วยงาม ซึ่งมีผลกระทบตอ สถานท่ีสําคัญทางพุทธศาสนามากกวา
๖. ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖ อนุญาตใหจัดสรรท่ีดิน
เพื่อการอยูอาศัยประเภทบานเด่ียวท่ีมีพื้นที่ไมนอยกวา ๑๐๐ ตารางวาได
ซ่งึ ผังเมืองรวมชมุ ชนออ มใหญอ ยตู ดิ กรงุ เทพมหานคร

- 29 -

ลําดับที่ เร่ือง/มติ อา งอิง

(ครัง้ ท/่ี วนั ท่ีประชุม)

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง

โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทที่โลงเพื่อนันทนาการและการรักษา

คุณภาพสิ่งแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล. - ๑ ในสวนท่ีเกี่ยวของกับ

ขอหามใชประโยชนท่ีดิน ขอ ๒๐ (๔) ซ่ึงหามจัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัย ตามท่ี

รา งผังเมอื งรวมกาํ หนด

มติทป่ี ระชุม ใหตามคํารอง โดยใหยกเลิกขอกําหนด ขอ ๒๐ (๔) จัดสรรท่ดี ิน
เพ่ือการอยูอาศัยในที่ดินประเภทที่โลงเพื่อนันทนาการ
และการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณ
หมายเลข ล. - ๑ โดยมีเง่ือนไขใหจัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัย
ไดเ ฉพาะบานเดีย่ วท่มี ีขนาดแปลงทีด่ นิ ไมนอยกวา ๑๐๐ ตารางวา

เร่ืองท่ี ๙ ขอแกไขขอกําหนด ขอ ๒๐ (๔) จัดสรรที่ดินเพื่อการอยูอาศัย
โดยเพิ่มเติม เวนแตมีพื้นท่ีนอยกวา ๔๐๐ ตารางวา ในที่ดินประเภทท่ีโลง
เพ่ือนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข
ล. - ๑ บริเวณคํารอง

ผรู อง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก นางกฤษณา วรางพงษศ รี
เหตุผลในการขอแกไข หากใหเจาของท่ีแบงขายเองอาจกอใหเกิด
ทัศนียภาพหรือภูมิทัศนไมสวยงาม ไมมีผลดีตอตําบลในภาพรวมอยูดานหลัง
พทุ ธมณฑลไมนา จะมีผลกระทบมาก
ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทท่ีโลงเพื่อนันทนาการและการรักษา
คุณภาพสิ่งแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล. - ๑ ในสวนที่เก่ียวของ
กับขอหามใชประโยชนที่ดิน ขอ ๒๐ (๔) ซึ่งหามจัดสรรที่ดินเพ่ือการอยูอาศัย
ตามที่รา งผังเมอื งรวมกาํ หนด

มติท่ีประชมุ ยกคํารอง เน่ืองจากคณะกรรมการผังเมืองไดเห็นชอบใหยกเลิก
ขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภทท่ีโลงเพื่อนันทนาการ
และการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณ
หมายเลข ล. – ๑ ในสวนท่ีเกี่ยวของกับขอหามใชประโยชน
ที่ดิน ขอ ๒๐ (๔) ซึ่งหามจัดสรรท่ีดินเพื่อการอยูอาศัย
โดยมีเง่ือนไขใหสามารถจัดสรรที่ดินเพ่ืออยูอาศัยไดเฉพาะ
บานเดี่ยวท่ีมขี นาดแปลงที่ดินไมน อยกวา ๑๐๐ ตารางวา แลว

- 30 -

ลาํ ดับท่ี เร่อื ง/มติ อา งอิง

(คร้ังท่/ี วนั ทป่ี ระชุม)

เร่ืองที่ ๑๐ ขอยกเลิกขอกําหนด ขอ ๒๐ (๖) การอยูอาศัยประเภท

หองแถว ตึกแถวหรือบานแถว ในท่ีดินประเภทท่ีโลงเพื่อนันทนาการและการรักษา

คุณภาพส่งิ แวดลอม (สีเขียวออ น) บริเวณหมายเลข ล. - ๑ บรเิ วณคาํ รอง

ผูรอง จํานวน ๘ ฉบับ ๘ ราย ไดแก นายทวีสิทธิ์ สิทธิธัญญกิจ และ

ผรู องอื่น รวม ๘ ราย

เหตผุ ลในการขอแกไข

๑. เพ่ือใชประกอบพาณิชกรรม หองแถว ตึกแถว อยูในโซนชุมชน

และเพื่อความเจรญิ เติบโตของเศรษฐกจิ ในทองท่ี

๒. รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอนาคตใชประโยชนที่ดินใหเหมาะสม

และคุมคา

๓. มีความประสงคจะใชป ระโยชนท่ดี นิ ดังกลา ว

๔. เพื่อเปนการพัฒนาท่ีดินริมถนนพุทธมณฑลสาย ๕ ท้ังสองฝง

ใหเจรญิ รุงเรอื งเต็มท่ี ตามหลกั พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน

ผลการพิจารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนกุ รรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกนั คอื ยกคํารอ ง โดยให

คงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทท่ีโลงเพื่อนันทนาการและการรักษา

คุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล. - ๑ ในสวนท่ีเก่ียวของกับ

ขอหามใชประโยชนท่ีดิน ขอ ๒๐ (๖) ซึ่งหามการอยูอาศัยประเภทหองแถว

ตกึ แถว หรือบานแถว ตามที่รา งผงั เมืองรวมกําหนด

มติทีป่ ระชุม ยกคํารอง โดยใหค งขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดนิ ประเภทที่โลง
เพ่อื นนั ทนาการและการรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดลอม (สีเขียวออ น)
บริเวณหมายเลข ล. – ๑ ในสวนท่ีเกี่ยวของกับขอหามใช
ประโยชนที่ดิน ขอ ๒๐ (๖) ซ่ึงหามการอยูอาศัยประเภท
หองแถว ตึกแถว หรือบานแถว ตามที่รางผังเมืองรวมกําหนด
ต า ม ม ติ ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ผั ง เ มื อ ง พิ จ า ร ณ า คํ า ร อ ง ฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
ชมุ ชนออมใหญ

เร่ืองท่ี ๑๑ ขอยกเลิกขอกําหนด ขอ ๒๐ (๗) การอยูอาศัยประเภทหองชุด
อาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยูอาศัยรวมในท่ีดินประเภทที่โลงเพื่อนันทนาการ
และการรักษาคณุ ภาพส่ิงแวดลอ ม (สีเขียวออ น) บริเวณหมายเลข ล. - ๑

ผูรอง จํานวน ๕ ฉบับ ๕ ราย ไดแก นายทวีสิทธ์ิ สิทธิธัญญกิจ และ
ผูรองอื่น รวม ๕ ราย

เหตผุ ลในการขอแกไข
๑. เพ่ือใชประกอบพาณิชกรรม หองแถว ตึกแถว หองชุด อาคารชุด หอพัก
หรอื อาคารอยูรวม
๒. อยูในโซนชมุ ชน และเพ่ือรองรบั ความเจรญิ เติบโตของเศรษฐกจิ ในทอ งท่ี
๓. รองรับการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ในอนาคต

- 31 -

ลาํ ดับท่ี เรอื่ ง/มติ อา งอิง

(ครัง้ ท/่ี วันทปี่ ระชุม)

๔. ใชประโยชนท ด่ี ินใหเ หมาะสมและคมุ คา

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง

โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทท่ีโลงเพื่อนันทนาการและการรักษา

คุณภาพสิ่งแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล. - ๑ ในสวนท่ีเกี่ยวของกับ

ขอหามใชประโยชนท่ีดิน ขอ ๒๐ (๗) ซ่ึงหามการอยูอาศัยประเภทหองชุด อาคารชุด

หอพัก หรอื อาคารอยอู าศยั รวม ตามท่รี า งผังเมืองรวมกาํ หนด

มตทิ ป่ี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ที่โลงเพ่ือนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม
(สีเขยี วออน) บริเวณหมายเลข ล. – ๑ ในสวนที่เก่ียวของกับ
ขอหามใชประโยชนที่ดิน ขอ ๒๐ (๗) ซึ่งหามการอยูอาศัย
ประเภทหองชุด อาคารชุด หอพัก หรืออาคารอยูอาศัยรวม
ตามท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษา
ผงั เมืองรวมชมุ ชนออมใหญ

เรือ่ งท่ี ๑๒ ขอแกไขขอกําหนด ขอ ๒๐ (๘) การใชประโยชนเพ่ือกจิ การใด ๆ
ในอาคาร แตละหลังท่ีมีพ้ืนที่เกินกวา ๑,๐๐๐ ตารางเมตร และมีความสูงเกินกวา
๙ เมตร โดยการวัดความสูงของอาคารใหวัดจากระดับพื้นดินท่ีกอสรางอาคาร
ถึงสวนท่ีสูงที่สุดของอาคารใหวัดจากระดับพ้ืนท่ีดินของอาคาร เปนการใชกอสราง
อาคารถึงสวนที่สูงที่สุดประโยชนเพ่ือกิจการใด ๆ ในอาคารแตละหลังที่มีพ้ืนท่ีเกินกวา
๑,๐๐๐ ตารางเมตร และมีความสูงเกินกวา ๑๒ เมตร/๑๘ เมตร โดยการวัดความสงู
ของอาคารใหวัดจากระดับพ้ืนดินท่ีกอสรางอาคารถึงสวนท่ีสูงที่สุดของอาคารใหวัด
ทก่ี อสรางอาคารถึงสวนจากระดับพนื้ ดินท่ีสูงท่สี ุด ในทด่ี นิ ประเภททโี่ ลงเพื่อนนั ทนาการ
และการรักษาคณุ ภาพส่ิงแวดลอ ม (สีเขยี วออ น) บรเิ วณหมายเลข ล. – ๑

ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ไดแก นายทวีป ต้ังวีระพรพงศ และ
นายคุโณดม ธรรมาภรณพ ลิ าศ

เหตผุ ลในการขอแกไข
๑. เพ่อื รองรับการขยายตัวของชมุ ชน
๒. รองรับกิจกรรมอุตสาหกรรมและการพาณิชยในบริเวณถนนพุทธมณฑล
สาย ๕
๓. ไมอาจที่จะกอสรางอาคารบานพักอาศัยขนาดสองช้ันได เน่ืองจาก
ถาสรางบานยกพื้นสูง ๑ เมตร เพื่อปองกันนํ้าทวมจะไมสามารถสรางบานสองชั้น
หลังคาจ่วั ทรงสงู ได ซึง่ จะกอ ใหเกิดรปู แบบสถาปตยกรรมทไ่ี มสวยงาม
๔. แบบบานไทยอนุรักษเพ่ือประชาชนของกรมโยธาธิการและผังเมือง
แบบเรอื นใตถ ุนสงู มคี วามสูงรวมทัง้ หมดเกนิ กวา ๙ เมตร กไ็ มอาจทจ่ี ะกอ สรางได

- 32 -

ลําดบั ที่ เรือ่ ง/มติ อางอิง

(ครงั้ ท่ี/วันทปี่ ระชุม)

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเหน็ ตางกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ ยกคํารอง ขอยกเลิกขอกําหนด

ขอ ๒๐ (๘) การใชประโยชนเพื่อกิจการใด ๆ ในอาคารแตละหลังที่มีพ้ืนท่ีเกินกวา

๑,๐๐๐ ตารางเมตร และมีความสูงเกินกวา ๙ เมตร ไดในท่ีดินประเภทท่ีโลง

เพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข

ล - ๑ บริเวณคํารอง เน่ืองจากบริเวณคํารองเปนที่ดินโดยรอบพุทธมณฑล

ซ่ึงมีเจตนารมณควบคุมการ ใชปร ะโยชนที่ดิ นโดยร อบ พุทธ มณฑล เพ่ื อรั กษา

สภาพแวดลอ มและใหมีการใชป ระโยชนทีด่ ินที่เหมาะสมและสอดคลองกบั ศาสนา

สถานทมี่ ีความสําคัญระดับประเทศ นอกจากนี้บริเวณดังกลาว มกี ฎกระทรวงกําหนด

บริเวณหามกอสราง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใชอาคารบางชนิดหรือบางประเภท

ในพื้นท่ีบางสวนในทองท่ีอําเภอพุทธมณฑล อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

และเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๔๙ ซ่ึงหามกอสรางอาคารที่มีพื้นท่ี

เกินกวา ๑,๐๐๐ ตารางเมตร และเพื่อใหสอดคลองกับรางผังเมืองรวมชุมชนพุทธมณฑล

ทีก่ าํ หนดความสงู ไมเกนิ ๙ เมตร โดยรอบพทุ ธมณฑล เพอื่ รักษาภมู ทิ ศั นโดยรอบ

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณา

คํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ใหตามคํารองบางสวน โดยมีเง่ือนไขใหแกไข

ขอกําหนดการใชป ระโยชนทด่ี นิ ประเภทที่โลงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพ

สิ่งแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล - ๑ ในสวนท่ีเก่ียวของกับขอหาม

ใชป ระโยชนท่ดี นิ ขอ ๒๐ (๘) ดังนี้

๑. ที่ดินบริเวณหมายเลข ล. - ๑ บริเวณรอบนอกแนวเขตที่ดินพุทธมณฑล

ในระยะ ๓๐๐ เมตร กําหนดหามใชประโยชนที่ดินเพ่ือกิจการใด ๆ ในอาคาร

แตละหลงั ทีม่ พี ื้นท่ีเกินกวา ๑,๐๐๐ ตารางเมตร และมคี วามสงู เกนิ กวา ๙ เมตร

๒. ที่ดินบริเวณหมายเลข ล. - ๑ บริเวณรอบนอกแนวเขตท่ีดินพุทธมณฑล

ในระยะมากกวา ๓๐๐ เมตร แตไมเกินกวา ๑,๐๐๐ เมตร กําหนดหามการใช

ประโยชนท่ีดินเพ่ือกิจการใด ๆ ในอาคารแตละหลังท่ีมีพื้นท่ี เกินกวา ๑,๐๐๐ ตารางเมตร

และมีความสูงเกินกวา ๑๒ เมตร โดยการวัดความสูงของอาคารใหวัดจากระดับ

พน้ื ดนิ ทก่ี อ สรางอาคารถงึ สวนท่ีสงู ทส่ี ดุ ของอาคาร

มตทิ ี่ประชมุ ใหต ามคํารองบางสวน ดังนี้
๑. ที่ดินในบริเวณหมายเลข ล. - ๑ บริเวณรอบแนวเขตที่ดิน
ของพุทธมณฑลในระยะ ๓๐๐ เมตร กําหนดหามใชประโยชน
เพ่ือกิจการใด ๆ ในอาคารแตละหลังที่มีพ้ืนท่ีเกินกวา
๑,๐๐๐ ตารางเมตร และมคี วามสงู เกินกวา ๙ เมตร
๒. ท่ีดินในบริเวณหมายเลข ล. - ๑ นอกเหนือบริเวณรอบ
แนวเขตที่ดินของพุทธมณฑลในระยะ ๓๐๐ เมตร กําหนดหาม
ใชประโยชนเพื่อกิจการใด ๆ ในอาคารแตละหลังที่มีพ้ืนท่ี
เกินกวา ๑,๐๐๐ ตารางเมตร และมีความสูงเกินกวา ๑๒ เมตร
โดยการวัดความสูงของอาคารใหวัดจากระดับพื้นดินที่กอสราง
อาคารถงึ สวนท่ีสูงทส่ี ุดของอาคาร ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผงั เมอื งพิจารณาคาํ รอ งฯ และกรมโยธาธิการและผงั เมอื ง

- 33 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(ครงั้ ที/่ วันที่ประชมุ )

เรื่องที่ ๑๓ ขอยกเลิกขอกําหนด ขอ ๒๐ (๘) การใชประโยชนเพ่ือกิจการใด ๆ

ในอาคารแตล ะหลังท่มี ีพ้ืนทีเ่ กนิ กวา ๑,๐๐๐ ตารางเมตร และมคี วามสงู เกนิ กวา ๙ เมตร

โดยการวัดความสูงของอาคารใหวัดจากระดับพื้นดินที่กอสรางถึงสวนท่ีสูงที่สุด

ของอาคารในท่ดี นิ ประเภทท่โี ลงเพ่ือนันทนาการและการรักษาคุณภาพสงิ่ แวดลอม

(สีเขียวออ น) บรเิ วณหมายเลข ล. – ๑

ผรู อง จาํ นวน ๔ ฉบับ ๔ ราย ไดแ ก นายธงชยั เจริญพานนท (โดยนายดุสิต

เจรญิ พานนท ผรู ับมอบอํานาจ) และผูรองอื่น รวม ๔ ราย

เหตุผลในการขอแกไข

๑. เพ่อื ความเจรญิ ของทองถ่ินและรองรบั การขยายตวั ของเมือง

๒. สามารถใชที่ดนิ ใหเ กิดประโยชนสูงสุด ซึ่งที่ดินอยูติดถนนพุทธมณฑล

สาย ๕ และกาํ ลังกอสรา งขยายถนน

๓. อยใู นโซนชุมชน และเพ่อื รองรับความเจรญิ เติบโตของเศรษฐกิจในทองที่

๔. หากจํากัดขอกําหนดมากเกินไปจะทําใหการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

ความเจรญิ กาวหนา ถกู จํากดั ไปดวย

๕. ควรจะใหสามารถใชท่ีดินไดประโยชนสูงสุด ซ่ึงที่ดินแปลงนี้อยูติด

ถนนพทุ ธมณฑลสาย ๕ และถนนบรมราชชนนี

๖. ท่ีดินอยูหางพุทธมณฑลมากพอควร และอยูดานหลังพุทธมณพล

ไมทําใหเ สียทศั นยี ภาพใด ๆ กบั พทุ ธมณฑล

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มีความเห็นสอดคลอ งกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง

โดยมีเง่ือนไขใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทที่โลงเพ่ือนันทนาการ

และการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล. - ๑ ในสวน

ของขอ หามการใชป ระโยชนท ด่ี ิน ขอ ๒๐ (๘) ดังนี้

๑. ท่ีดินบริเวณหมายเลข ล. - ๑ บริเวณรอบนอกแนวเขตท่ีดินพุทธมณฑล

ในระยะ ๓๐๐ เมตร กําหนดหามใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการใด ๆ ในอาคาร

แตละหลังทม่ี ีพ้ืนที่เกนิ กวา ๑,๐๐๐ ตารางเมตร และมคี วามสูงเกนิ กวา ๙ เมตร

๒. ที่ดินบริเวณหมายเลข ล. - ๑ บริเวณรอบนอกแนวเขตท่ีดินพุทธมณฑล

ในระยะมากกวา ๓๐๐ เมตร แตไมเกินกวา ๑,๐๐๐ เมตร กําหนดหามการใช

ประโยชนที่ดินเพื่อกิจการใด ๆ ในอาคารแตละหลัง ที่มีพ้ืนท่ีเกินกวา ๑,๐๐๐

ตารางเมตร และมีความสูงเกินกวา ๑๒ เมตร โดยการวัดความสงู ของอาคารใหว ดั

จากระดับพนื้ ดินที่กอ สรางอาคารถงึ สวนทีส่ ูงที่สดุ ของอาคาร

มตทิ ปี่ ระชมุ ยกคาํ รองโดยมีเงอื่ นไข ดงั นี้
1. ท่ีดินในบริเวณหมายเลข ล. - ๑ บริเวณรอบแนวเขตที่ดิน
ของพุทธมณฑลในระยะ ๓๐๐ เมตร กําหนดหามใชประโยชน
เพ่ือกิจการใด ๆ ในอาคารแตละหลังท่ีมีพื้นที่เกินกวา
๑,๐๐๐ ตารางเมตร และมีความสูงเกนิ กวา ๙ เมตร

- 34 -

ลําดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(คร้ังท/ี่ วนั ทป่ี ระชุม)

2. ท่ีดินในบริเวณหมายเลข ล. - ๑ นอกเหนือบริเวณรอบ

แนวเขตที่ดินของพุทธมณฑลในระยะ ๓๐๐ เมตร

กําหนดหามใชประโยชนเพ่ือกิจการใด ๆ ในอาคารแตละหลัง

ที่มีพ้ืนที่เกินกวา ๑,๐๐๐ ตารางเมตร และมีความสูงเกินกวา

๑๒ เมตร โดยการวัดความสงู ของอาคารใหว ดั จากระดบั พ้ืนดิน

ท่ีกอสรางอาคารถึงสวนที่สูงที่สุดของอาคาร ตามมติ

คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ และกรมโยธาธกิ าร

และผงั เมือง

เรื่องที่ ๑๔ ขอยกเลิกขอกําหนด ขอ ๒๐ (๑๐) กําจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
ในท่ดี ินประเภทท่ีโลงเพ่ือนนั ทนาการและการรักษาคุณภาพส่งิ แวดลอม (สเี ขียวออน)
บรเิ วณหมายเลข ล - ๑

ผรู อง จาํ นวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแ ก นางเบญจวรรณ อนันตกิจไพบูลย
เหตุผลในการขอแกไข มีความประสงคจ ะใชป ระโยชนท่ีดนิ ดงั กลา ว
ผลการพิจารณาคาํ รอง (มีความเหน็ สอดคลอ งกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงข อกํ าหนดการใ ช ประโยชนที่ดินประเภทท่ีโลงเพ่ือนันทนาการ
และการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล. - ๑ ในสวนของ
ขอหามใชประโยชนท่ีดิน ขอ ๒๐ (๑๐) ซ่ึงหามกําจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูล
ตามทรี่ างผงั เมืองรวมกําหนด

มติทปี่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
ที่โลงเพ่ือนันทนาการและการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม
(สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล. - ๑ ในสวนของขอหามใช
ประโยชนที่ดิน ขอ ๒๐ (๑๐) ซึ่งหามกําจัดมูลฝอยหรือส่ิงปฏิกูล
ตามที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะทป่ี รึกษาผังเมอื งรวมชุมชนออมใหญ

เรื่องท่ี ๑๕ ขอแกไขขอกําหนดใหกอสรางทาเรือเอกชนไดในที่ดินประเภท
ท่ีโลงเพ่ือนันทนาการและการรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณ
หมายเลข ล. - ๒

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท โรงเสนหม่ี ชอเฮง จํากัด
(โดยนายวาทติ วงศสรุ ไกร ผูรบั มอบอาํ นาจ)

เหตุผลในการขอแกไ ข
๑. ปจจุบันทางบริษัทมีกําลังการผลิตประมาณ ๓๐๐ ตันตอวัน การรับซ้ือ
วัตถุดบิ ไดแก ปลายขา วเจา และปลายขาวเหนียว มาแปรรปู เปน ผลิตภัณฑตา ง ๆ
จงึ มคี วามสาํ คญั ตอกระบวนการผลิต

- 35 -

ลําดับที่ เรอื่ ง/มติ อางอิง

(ครั้งที่/วนั ทปี่ ระชมุ )

๒. การขนสง ทางเรอื จะชวยลดตน ทุนไดม ากกวา การขนสง ทางบก

ผลการพจิ ารณาคาํ รอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลองกนั )

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารอ งฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ใหตามคํารอง

โดยใหแกไขขอ กาํ หนดการใชป ระโยชนท่ีดนิ ประเภททโ่ี ลงเพื่อนันทนาการและการรักษา

คุณภาพส่ิงแวดลอม (สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล.๒ ใหสามารถกอสราง

ทาเทยี บเรือได

มติทปี่ ระชมุ ใหตามคํารอง โดยใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน
ประเภททโ่ี ลงเพื่อนันทนาการและการรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดลอม
(สีเขียวออน) บริเวณหมายเลข ล. ๒ ใหสามารถกอสราง
ทาเทียบเรอื ได ตามมติคณะอนุกรรมการผงั เมอื งพิจารณาคํารองฯ
กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม
ชุมชนออ มใหญ

เรื่องท่ี ๑๖ ขอแกไขบัญชีแนบทายขอกําหนดใหสามารถประกอบกิจการ
โรงงานลําดับที่ ๕๓ (๕) การทําพลาสติกเปนเม็ด แทง ทอ หลอด แผน ชิ้น ผง
หรือรูปทรงตาง ๆ จําพวกที่ ๒ และ ๓ ไดในท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสนิ คา
(สีมวง) บริเวณหมายเลข อ. ๑ - ๕

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท ทานตะวันอุตสาหกรรม จํากัด
(โดยนายฉัตรมนตรี ทบั ทมิ โต ผรู ับมอบอาํ นาจ)

เหตุผลในการขอแกไข บัญชีทายขอกําหนดอนุญาตใหประกอบกิจการ
โรงงานลําดับที่ ๕๓ (๕) โรงงานจําพวกที่ ๓ ในท่ีดินประเภท อ.๒ ไดเทาน้ัน
แตโ รงงานต้ังอยูในทีด่ ินประเภท อ.๑ ซ่งึ ไมส ามารถดาํ เนนิ กจิ การได

ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มีความเหน็ สอดคลองกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ใหตามคํารอง
โดยใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา
(สมี วง) บรเิ วณหมายเลข อ. ๑ - ๕ ใหสามารถประกอบกิจการโรงงานลําดับท่ี ๕๓ (๕)
การทาํ พลาสตกิ เปน เม็ด แทง ทอ หลอด แผน ชิน้ ผง หรือรูปทรงตาง ๆ จําพวกที่
๒ และ ๓ ได

มติท่ีประชุม ยกคํารอง โดยใหแกไขขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน
ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง) บริเวณหมายเลข
อ. ๑ – ๕ ใหสามารถประกอบกิจการโรงงานลําดับที่ ๕๓ (๕)
การทําพลาสติกเปนเม็ด แทง ทอหลอด แผน ชิ้น ผง
หรือรปู ทรงตาง ๆ จาํ พวกที่ ๒และ ๓ ได ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ปี รึกษาผงั เมอื งรวมชุมชนออมใหญ

- 36 -

ลาํ ดบั ท่ี เรอื่ ง/มติ อา งอิง

(ครั้งที/่ วนั ที่ประชุม)

เรื่องท่ี ๑๗ ขอแกไขบัญชีแนบทายขอกําหนดใหสามารถประกอบกิจการ

โรงงานลําดับท่ี ๑๐ (๓) การทําผลิตภัณฑอาหารจากแปงเปนเสน เม็ด หรือชิ้น

จาํ พวกท่ี ๒ และ ๓ ไดใ นท่ดี นิ ประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สเี หลอื ง) บริเวณ

หมายเลข ย.๒ – ๙

ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก บริษัท ไทยวัฒนาไรซโพรดัคท จํากัด

(โดยนายสมภพ วโิ รจนกุล ผรู บั มอบอาํ นาจ)

เหตุผลในการขอแกไข บริษัทมีแผนที่จะขยายกิจการโดยมีกําลัง

การผลิตมากกวา ๕๐ แรงมา ซึ่งเปนจําพวก ๓ แตในรางผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ

ใหสามารถดําเนินการไดเพียงจาํ พวกท่ี ๑ เทานั้น

ผลการพิจารณาคาํ รอ ง (มคี วามเห็นตา งกัน)

คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ ใหตามคํารอง ขอแกไข/

เปลีย่ นแปลงบญั ชีทายขอ กาํ หนด ในทด่ี ินประเภทท่ีอยอู าศยั หนาแนนนอย (สีเหลอื ง)

๑. บัญชีอุตสาหกรรมทายขอกําหนดของรางผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ

(ปรับปรุงครั้งท่ี ๒) ในท่ีดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนอย (สีเหลือง) ไดอนุญาต

ใหโรงงานลําดับท่ี ๑๐ (๓) สามารถดําเนินการได จําพวกท่ี ๑ เทาน้ัน ซ่ึงปจจุบัน

การผลิตตาง ๆ มเี ครอ่ื งจักร ๑ ชิ้น ก็เปน จําพวก ๓ ดังนนั้ จึงควรเพิ่มจําพวก ๒ และ ๓

เพ่ิมเตมิ ในบญั ชโี รงงาน

๒. โรงงานผลิตเสนกวยเตี๋ยว เปนการนําวัตถุดิบทางการเกษตรมาแปรรูป

ซง่ึ เปน การเพิ่มมูลคาใหก ับสินคาเกษตร และเปนผลิตภณั ฑท ี่บริโภคในชมุ ชนอีกดวย

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท

ที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ย. ๒ - ๙ ในสวนของบัญชีแนบ

ทา ยขอ กาํ หนดไวต ามที่รา งผังเมอื งรวมกาํ หนด

มตทิ ป่ี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดิน
ประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณ
หมายเลข ย. ๒ - ๙ ในสวนของบัญชีแนบทายขอกาํ หนดไว
ตามที่รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง

คาํ รอ งดานอื่น ๆ (จาํ นวน 3 เรื่อง)
เรื่องท่ี ๑ ขอแกไขแนวเขตตําบลทาตลาดในท่ีดินประเภทที่อยูอาศัย
หนาแนนปานกลาง (สีสม ) บริเวณหมายเลข ย.๓ - ๓
ผูรอง จํานวน ๙ ฉบับ ๙ ราย ไดแก นายประหยัด ก่ํานารายณ และผูรองอื่น
รวม ๙ ราย
เหตผุ ลในการขอแกไ ข
๑. สะดวกตอการตดิ ตอราชการ
๒. เอกสาร บตั รประชาชน ทะเบยี นบาน โฉนดทดี่ นิ อยูที่ตําบลทาตลาด
๓. สาธารณูปโภคตาง ๆ ในพ้ืนที่อยูในความรับผิดชอบขององคการ
บรหิ ารสวนตําบลทาตลาด

- 37 -

ลาํ ดับท่ี เรื่อง/มติ อา งอิง

(ครัง้ ท่/ี วนั ทป่ี ระชุม)

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มคี วามเหน็ สอดคลอ งกนั )

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ไมถือเปน
คาํ รองทต่ี องพจิ ารณา ซง่ึ ไมค วรเสนอเขา ท่ปี ระชมุ คณะกรรมการผงั เมอื ง

มติท่ีประชุม ไมถือวาเปนคํารองท่ีตองพิจารณา ตามมติคณะอนุกรรมการ
ผังเมืองพิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะท่ีปรกึ ษาผังเมืองรวมชมุ ชนออมใหญ

เรื่องที่ ๒ ขอใหภายในพื้นที่มีแตโรงงานไมมีมลภาวะในท่ีดินประเภท
ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ก. ๒ - ๒

ผรู อง จํานวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแ ก นางสาวนันทวรรณ ศรผี ้งึ
เหตผุ ลในการขอแกไ ข มโี ครงการจะใชท่ดี ินเพือ่ ประโยชนดงั กลาว
ผลการพจิ ารณาคาํ รอง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยคงขอกําหนดการใชป ระโยชนท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา (สีมวง)
และที่ดินประเภทคลังสินคา (สีเม็ดมะปราง) และคงบัญชีโรงงานแนบทาย
ขอกาํ หนด ตามที่รา งผังเมืองรวมกาํ หนดไว

มติทีป่ ระชมุ ยกคํารอง โดยคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสนิ คา (สีมวง) และท่ดี นิ ประเภทคลงั สินคา
(สีเม็ดมะปราง) และคงบัญชีโรงงานแนบทายขอกําหนด ตามที่
รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารอง ฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผงั เมืองรวมชุมชนออมใหญ

เรื่องที่ ๓ ขอแกไขกฎกระทรวงหรือขอกําหนดใหสอดคลองกับความเจริญ
ในปจจุบันในที่ดินประเภทท่ีโลงเพื่อนันทนาการและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม
(สีเขียวออ น) บริเวณหมายเลข ล. – ๑

ผรู อ ง จาํ นวน ๑ ฉบบั ๑ ราย ไดแก นายธงชัย เจรญิ พานนท (โดยนายดุสิต
เจริญพานนท ผูรบั มอบอํานาจ)

เหตุผลในการขอแกไ ข
๑. สามารถใชทดี่ นิ ใหเกิดประโยชนส ูงสุด ซึ่งท่ีดินอยูติดถนนพุทธมณฑล
สาย ๕ และกําลังกอสรางขยายถนน
๒. ตําแหนงท่ีดินอยูหางจากพุทธมณฑลมากพอสมควร
ผลการพจิ ารณาคํารอง (มีความเหน็ สอดคลองกนั )
คณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวมชุมชนออมใหญฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมอื งพจิ ารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกนั คือ ยกคํารอ ง

- 38 -

ลาํ ดับที่ เร่ือง/มติ อา งอิง
มตทิ ป่ี ระชมุ
(ครงั้ ท่/ี วนั ทป่ี ระชมุ )

ยกคํารอง ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
กรมโยธาธิการและผังเมืองและคณะท่ีปรึกษาผังเมืองรวม
ชมุ ชนออมใหญ

5. เรือ่ ง คาํ รองผงั เมืองรวมเมืองพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี (ปรบั ปรุงครั้งท่ี ๒) ครง้ั ท่ี 3/๒๕๕8
ผังเมืองรวมเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี (ปรับปรุงคร้ังท่ี ๒) ดําเนินการ วนั ท่ี 13 ม.ี ค. ๕8

วางและจัดทําผังเมืองรวมโดยสํานักงานเทศบาลเมืองพนัสนิคม รวมกับกรมโยธาธิการ วาระท่ี 3.2.1
และผังเมอื ง พน้ื ที่วางผงั ๕๑.๐๘ ตารางกโิ ลเมตร หรอื ๓๑,๙๒๗.๕๘ ไร ครอบคลุม หนา 230 - 239
พื้นท่ีตําบลวัดหลวง ตําบลไรหลักทอง ตําบลหนาพระธาตุ ตําบลวัดโบสถ ตําบล
บานชาง ตําบลกุฎโงง ตําบลพนัสนิคม ตําบลนาวังหิน ตําบลบานเซิด ตําบลนา
มะตูม และตําบลหมอนนาง อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ไดผานความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการผังเมือง เม่ือวันท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๕๖ ไดนํารางผังเมืองรวมเมือง
พนัสนิคมฯ ไปปดประกาศ ๙๐ วัน เพื่อใหประชาชนผูมีสวนไดเสียไปตรวจดู
และย่นื คํารอง ต้งั แตว นั ที่ ๑๓ มถิ นุ ายน ๒๕๕๗ ถึงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๗ เมื่อครบ
กําหนดปรากฏวา มีคํารอง ๑๐ ฉบับ ๑๐ ราย ๖ เรื่อง โดยแยกเปนคํารองดานการใช
ประโยชนที่ดิน ๔ ฉบับ ๔ ราย ๒ เรื่อง คํารองดานโครงการคมนาคมและขนสง
๒ ฉบับ ๒ ราย ๑ เรื่อง และคํารองดานขอกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ๔ ฉบับ
๔ ราย ๓ เรื่อง ทั้งนี้ ไดนําคํารองเสนอตอท่ีประชุมคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม
เมืองพนัสนิคม เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เสนอกรมโยธาธิการและผังเมือง
เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ และเสนอคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ
เมื่อวนั ที่ ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๕๗

คํารอ งดา นการใชประโยชนท ดี่ นิ (จํานวน 2 เรอ่ื ง)
เร่ืองท่ี ๑ ขอเปลีย่ นแปลงการใชประโยชนท่ดี ินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
(สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๖.๕ เปน ท่ดี ินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย (สเี หลือง)
ผรู อง จํานวน ๓ ฉบบั ๓ ราย ไดแ ก นายถาวร สุธา และผูรองอ่ืน รวม ๓ ราย
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากสภาพสังคมและสิ่งแวดลอมตาง ๆ
เปล่ียนแปลงไปสูความเจริญ มีการขยายตัว การเติบโตของสังคมชุมชนมากข้ึน
ประกอบกับพ้ืนท่ีดังกลาวไมสามารถประกอบอาชีพเกษตรกรรมไดแลวเพราะมี
น้าํ ทว มอยูเปนประจาํ สมควรใชพ ื้นท่เี พื่อรองรับการเตบิ โตของสงั คมเมืองตอไป
ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มีความเหน็ สอดคลอ งกนั )
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมเมืองพนัสนิคมฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง
และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณ
หมายเลข ๖.๕ ไวต ามทร่ี างผังเมืองรวมกาํ หนด

มตทิ ่ปี ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๖.๕ ไวตามท่ี
รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารองฯ กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะที่ปรึกษา
ผังเมืองรวมเมืองพนัสนิคม

- 39 -

ลาํ ดบั ท่ี เร่อื ง/มติ อา งอิง

(ครง้ั ท่ี/วนั ท่ปี ระชมุ )

เรื่องท่ี ๒ ขอเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดินประเภทท่ีอยูอาศัย

หนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ๑.๑๐ บริเวณตําบลกุฎโงง พ้ืนที่

ประมาณ ๗๗ ไร ๕๘ ตารางวา เปนที่ดินประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสนิ คา (สมี วง)
ผูรอง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแก นายสุนทร ธญั ญวฒั นกลุ

เหตผุ ลในการขอแกไข ผรู องมแี ผนงานขยายกิจการในทด่ี ินทีต่ อเนื่องจาก

กิจการเดิม (โรงงานขาวสารถุงตราไกแจ) รวมทั้งมีแผนงานทํากิจการแปรรูปทําอาหาร

จากพืชและผลไมและบรรจุในภาชนะท่ีผนึกและอากาศเขาไมไดซ่ึงเปนอุตสาหกรรม

บริการที่มีวิธีการผลิตท่ีไมกอใหเกิดปญหาหรือผลกระทบตอชุมชนและสิ่งแวดลอม

นอกจากนี้การประกอบกิจการดังกลาวยังเปนการสงเสริมเศรษฐกิจชุมชน

และเตรยี มเขาสูประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน

ผลการพิจารณาคํารอง (มคี วามเหน็ ตางกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมเมืองพนัสนิคม ใหตามคํารอง ตามหลักฐานโฉนด

ที่ดินเลขท่ี ๔๑๗๗, ๔๔๐๔, ๖๕๑๒๗, ๖๕๑๒๖, ๖๕๑๒๕, ๖๘๐๘, ๔๑๗๘,

๔๔๐๖, ๖๖๕๐๒, ๖๕๑๓๒, ๖๕๑๓๓, ๖๕๑๓๔, ๖๕๑๓๕, ๖๕๐๓๖, ๖๕๑๓๗

และ ๖๕๑๓๘ พื้นท่ีประมาณ ๗๗ ไร ๕๘ ตารางวา เน่ืองจากกิจการอุตสาหกรรมเดิม

(โรงงานขาวสารตราไกแจ) และกิจการอุตสาหกรรมใหมท่ีจะดําเนินการในอนาคต

(แปรรูปอาหารพืชและผลไม) เปนอุตสาหกรรมบริการท่ีมีวิธีการผลิตท่ีไมกอใหเกิด

ปญหาหรือผลกระทบตอชุมชนและสิ่งแวดลอม นอกจากน้ีการประกอบกิจการ

ดงั กลาวยังเปน การสงเสริมเศรษฐกจิ ชุมชนและเตรยี มเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพจิ ารณาคํารองฯ

มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนที่ดินประเภทที่อยูอาศัย

หนาแนนนอย (สีเหลือง) บรเิ วณหมายเลข ๑.๑๐ ไวตามที่รางผงั เมอื งรวมกําหนด

มติท่ปี ระชุม ยกคํารอง โดยใหคงการใชประโยชนท่ีดินประเภทที่อยูอาศัย
หนาแนนนอย (สีเหลือง) บริเวณหมายเลข ๑.๑๐ ไวตามท่ี
รางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พจิ ารณาคาํ รอ งฯ และกรมโยธาธกิ ารและผังเมือง

คํารองดานโครงการคมนาคมและขนสง (จํานวน 1 เรอ่ื ง)
เรื่อง ขอใหยกเลิกถนนโครงการสาย ง ขนาดเขตทาง ๔๐ เมตร ระยะทาง
ประมาณ ๒๘ กโิ ลเมตร
ผูรอง จํานวน ๒ ฉบับ ๒ ราย ไดแก นางสาวสุนันทา วงศยืน และผูรองอ่ืน
รวม ๒ ราย
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากถนนโครงการสาย ง ไดพาดผานเขาไป
ในเขตท่ีดินอาคาร พักอาศัยและอาคารที่พักอาศัยเพ่ือประกอบพาณิชยกรรม
ของผูร อง ซงึ่ ปจจบุ ันยงั พักอาศัยอยูและประกอบกจิ การ ทาํ ใหไ ดร ับความเดือดรอน

- 40 -

ลาํ ดับท่ี เรอ่ื ง/มติ อา งอิง

(คร้ังท่ี/วนั ที่ประชุม)

ผลการพจิ ารณาคํารอง (มคี วามเห็นสอดคลองกัน)

คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมเมืองพนัสนิคม กรมโยธาธิการและผังเมือง

และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง
โดยใหคงถนนโครงการสาย ง ขนาดเขตทาง ๔๐ เมตร ไวตามแผนผังแสดงโครงการ

คมนาคมและขนสง ตามท่ีรา งผงั เมอื งรวมกาํ หนด

มติทปี่ ระชมุ ยกคํารอง โดยใหคงถนนโครงการสาย ง ขนาดเขตทาง ๔๐ เมตร
ไวตามแผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสง ตามที่ราง
ผังเมืองรวมกําหนด ตามมติคณะอนุกรรมการผังเมือง
พิจารณาคํารอ งฯ กรมโยธาธิการและผงั เมือง และคณะทปี่ รกึ ษา
ผงั เมอื งรวมเมืองพนสั นิคม

คํารองดา นขอกาํ หนดการใชป ระโยชนท ดี่ นิ (จาํ นวน 3 เรือ่ ง)
เร่ืองที่ ๑ ขอยกเลิกขอหามการใชประโยชนท่ีดิน ๕ ประเด็น ในท่ีดิน
ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขียว) บริเวณหมายเลข ๖.๑, ๖.๔ และ ๖.๘ ดงั น้ี
๑) ขอใหยกเลิกขอหามจัดสรรที่ดินเพ่ือประกอบพาณิชยกรรมในบริเวณนี้
ขอ ๑๑ (๖)
๒) ขอใหย กเลิกขอหา มจัดสรรท่ีดินเพื่อการอยูอาศัยในบริเวณน้ีขอ ๑๑ (๗)
๓) ขอใหยกเลิกขอหามการอยูอาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภท
อาคารสูงหรอื อาคารขนาดใหญ ในบริเวณน้ี ขอ ๑๑ (๘)
๔) ขอใหยกเลิกขอหามการอยูอาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภท
หองแถว ตกึ แถว หรอื บา นแถวในบริเวณนี้ ขอ ๑๑ (๙)
๕) ขอใหยกเลิกขอหามการอยูอาศัยหองชุด อาคารชุด หอพัก หรืออาคาร
อยูอาศัยรวม ในบริเวณนี้ ขอ ๑๑ (๑๐)
ผรู อง จาํ นวน ๒ ฉบบั ๒ ราย ไดแก นายสริ ิพงศ ประวตั ิพัชร และผรู องอ่ืน
รวม ๒ ราย
เหตุผลในการขอแกไข
๑. ผูรองรายที่ ๑ มีท่ีดินอยูระหวางการทําสัญญาจะซื้อจะขายจํานวน
หนึ่งแปลง คิดเปนพื้นที่ ๓ ไร ๒ งาน ๖๐ ๕/๑๐ ตารางวา อยูในที่ดินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) ขอ ๕ (๖) ซึ่งจะทําใหผูรองไมสามารถใชท่ีดินแปลง
ดังกลา วทาํ ประโยชนไดอยางเต็มที่ อีกทั้ง ในสภาพปจจุบันพื้นทด่ี ังกลาวไดกลายเปน
แหลงธุรกิจที่อยูอาศัยเปนสวนมาก และคาดวาจะมีการขยายตัวอยางตอเน่ือง
เพื่อรองรับการขยายตัวจากเทศบาลเมืองพนัสนิคม และอยูติดถนนสายหลัก
ทางหลวงแผน ดนิ หมายเลข ๓๒๘๔ ไปยงั อําเภอเกาะจันทร จังหวัดชลบรุ ี
๒. ผูรองรายท่ี ๒ มีที่ดินจํานวน ๓๙ แปลง คิดเปนพื้นที่ ๒๓๙ ไร ๑ งาน
๓๗ ตารางวา อยูในท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขียว) ขอ ๕ (๖) ซง่ึ จะทาํ ให
ผูรองไมสามารถใชที่ดินแปลงดังกลาวทําประโยชนไดอยางเต็มท่ี อีกท้ัง ในสภาพ
ปจจุบันพ้ืนที่ดังกลาวไดกลายเปนแหลงธุรกิจท่ีอยูอาศัยเปนสว นมาก และคาดวา
จะมกี ารขยายตัวอยางตอ เนื่อง เพอ่ื รองรับการขยายตัวจากเทศบาลเมืองพนสั นคิ ม

- 41 -

ลําดับท่ี เรอื่ ง/มติ อางอิง

(คร้งั ท่/ี วันท่ปี ระชมุ )

และอยูในบริเวณที่ใกล/ติดถนนสายหลักในเขตตําบลพนัสนิคมและเชื่อมตอถนน
สายหลกั ทางหลวงแผน ดินหมายเลข ๓๓๑ (สัตหีบ - เขาหินซอ น)

ผลการพจิ ารณาคํารอ ง (มคี วามเห็นตา งกัน)
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมเมืองพนัสนิคม ใหตามคํารอง ท่ีดินประเภท

ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๖.๑, ๖.๔ และ ๖.๘ ใหยกเลิก

ขอหา ม ขอ ๑๑ (๖), (๗), (๘), (๙) และ (๑๐) เนือ่ งจากสภาพปจ จุบนั พ้ืนท่ีดงั กลาว

ไดกลายเปนแหลงธุรกิจ ท่ีอยูอาศัยเปนสวนมาก และคาดวาจะมีการขยายตัวอยาง

ตอเนื่องเพ่ือรองรับการขยายตัวจากเทศบาลเมืองพนัสนิคมและอยูติดกับถนนสายหลัก

ท่ีเชื่อมตอชุมชนโดยรอบ

กรมโยธาธิการและผังเมือง และคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ

มีมติสอดคลองกัน คือ ยกคํารอง โดยใหคงขอกําหนดการใชประโยชนท่ีดินประเภท

ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๖.๑, ๖.๔ และ ๖.๘ ในสวน

ท่ีเกี่ยวกับขอหามใชประโยชนที่ดิน ขอ ๑๑ (๖), (๗), (๘), (๙) และ (๑๐) ไวตาม

ทีร่ างผังเมอื งรวมกาํ หนด

มตทิ ี่ประชุม ยกคํารอ ง โดยใหค งขอกําหนดการใชประโยชนท ด่ี ินประเภทชนบท
และเกษตรกรรม (สีเขียว) บริเวณหมายเลข ๖.๑, ๖.๔ และ ๖.๘
ในสวนที่เก่ียวกับขอหามใชประโยชนท่ีดิน ขอ ๑๑ (๖), (๗),
(๘), (๙) และ (๑๐) ไวตามท่ีรางผังเมืองรวมกําหนด ตามมติ
คณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคํารองฯ และกรมโยธาธิการ
และผงั เมอื ง

เรื่องที่ ๒ ขอยกเลิกขอหามการใชประโยชนที่ดิน ๔ ประเด็น ในท่ีดิน
ประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สเี ขียว) บรเิ วณหมายเลข ๖.๕ และ ๖.๗ ดังน้ี

๑) จดั สรรทดี่ ินเพอ่ื การอยูอาศัย ขอ ๑๑ (๗)
๒) การอยูอาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารสูงหรืออาคาร
ขนาดใหญ ขอ ๑๑ (๘)
๓) การอยูอาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทหองแถว ตึกแถว
หรอื บานแถว ขอ ๑๑ (๙)
๔) การอยูอ าศยั หองชดุ อาคารชุด หอพัก หรอื อาคารอยูอาศยั รวม ขอ ๑๑ (๑๐)
ผรู อ ง จํานวน ๑ ฉบับ ๑ ราย ไดแ ก เทศบาลตําบลกฎุ โงง
เหตุผลในการขอแกไข เนื่องจากพ้ืนที่ดังกลาวกลายเปนแหลงธุรกิจ
ที่อยูอาศัย ตึกแถวเปนจํานวนมาก สวนประชาชนที่ประกอบอาชีพการเกษตร
ปจจุบันมีเพียงไมก่ีรายท่ีทําการเกษตรคาดวาจะมีการขยายตัว เพื่อรองรับ
การขยายตัวจากเทศบาลเมืองพนัสนิคมและนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครซ่ึงมีผูใช
แรงงานเพิ่มจํานวนมากข้ึน ประกอบกับพื้นท่ีในเขตเทศบาลตําบลกุฎโงง ติดถนน
สายหลักทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๑๕ มีการสัญจรไปมาระหวางอําเภอ
กบั จังหวัด และเปนเสน ทางเดินทางไปสายอีสานดว ย


Click to View FlipBook Version