The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จิตวิทยา นางสาวมัยสุรี ชาลูเด็น 042

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-04-15 09:06:47

จิตวิทยา นางสาวมัยสุรี ชาลูเด็น 042

จิตวิทยา นางสาวมัยสุรี ชาลูเด็น 042

ทำไมต้องจัดการศึกษาแบบรวม?

1. กฏหมายกำนดให้จัดการศึกษาให้ประชาชน
ทุกคนเสมอภาคกัน

2. สิทธิในการศึกษาของทุกคนย่อมเท่าเทียม
กัน

3. การศึกษาแบบรวมเป็นการศึกษาที่เน้นผู้
เรียนเป็นหลัก

4. เป็นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ตรง
ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของชาติ

เทคนิคการสอนในชั้นเรียนรวม

1. ต้องปรับเปลี่ยนชั้นเรียนปกติเพื่อให้ตอบ
สนองความต้องการของเด็กที่มีความต้องการ
พิเศษ

2. ต้องพัฒนาทัศคติของทุกหน่วยงานการศึกษา
ที่มีผลต่อเด็กที่มีความต้องการพิเศษให้เป็ยน
ไปในเชิงบวก

3.ต้องพัฒนานโยบายของโรงเรียนต่างๆ เพื่อ
เปิดกว้างให้รับเด็กที่มีความต้องการพิเศษมา
เข้าเรียนในระยะตั้งแต่เริ่มแรก

4. ให้บุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียนปกติเห็นความ
สำคัญและรับผิดชอบร่วมกันในการจัดการ
ศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

สรุป

การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม เป็นการจัดการ
ศึกษาที่จัดให้เด็กพิเศษเข้ามาเรียนรวมกับเด็กปกติ
โดยรับเข้ามาเรียนรวมกัน ตั้งแต่เริ่มเข้ารับการ
ศึกษาและจัดให้มีบริการพิเศษตามความต้องการ
ของแต่ละบุคคล แต่การศึกษาแบบเรียนร่วม
เป็นการศึกษาที่ให้เด็กพิเศษเข้าไปเรียนหรือกิกรรม
ร่วมกับเด็กปกติช่วงเวลาช่วงใดช่วงหนึ่งในแต่ละวัน

บทที่11
แรงจูงใจ

การจูงใจ (Motivation) คือ สิ่งซึ่งควบคุม
พฤติกรรมของมนุษย์ อันเกิดจากความต้องการ
(Needs) พลังกดดัน (Drives) หรือ ความ
ปรารถนา (Desires) ที่จะพยายามดิ้นรนเพื่อให้
บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ซึ่งอาจจะเกิด
มาตามธรรมชาติหรือจากการเรียนรู้ก็ได้ การ
จูงใจเกิดจากสิ่งเร้าทั้งภายในและภายนอกตัว
บุคคลนั้น ๆ เอง

องค์ประกอบของแรงจูงใจ

นักจิตวิทยาปัจจุบันได้ศึกษาและสรุปว่า องค์ประกอบของ
แรงจูงใจ มี 3 ด้านคือ

1.องค์ประกอบทางด้านกายภาพ ในองค์ประกอบด้านนี้
จะพิจารณาถึงความต้องการทางกายภาพของมนุษย์ เช่น
ความต้องการปัจจัย 4 เพื่อจะดำรงชีวิตอยู่ได้

องค์ประกอบของแรงจูงใจ

2.องค์ประกอบทางด้านการเรียนรู้ องค์ประกอบด้านนี้
เป็นผลสืบเนื่องต่อจากองค์ประกอบข้อ 1 ทั้งนี้เพราะมนุษย์
ทุกคนไม่สามารถได้รับการตอบสนองความต้องการใน
ปริมาณ ชนิด และคุณภาพตามที่ตนเองต้องการ และใน
หลาย ๆ ครั้ง สิ่งแวดล้อมเป็นตัววางเงื่อนไขในการสร้าง
แรงจูงใจของมนุษย์

3.องค์ประกอบทางด้านความคิด

ทฤษฎีแรงจูงใจ

ทฤษฎีแรงจูงใจแบ่งออกได้เป็นทฤษฎีใหญ่ ๆ
คือ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฎีพุทธินิยม
ทฤษฎีมานุษยนิยม

ประเภทของแรงจูงใจ

นักจิตวิทยาได้แบ่งลักษณะของแรงจูงใจออกเป็น
ประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
กลุ่มที่1 แรงจูงใจฉับพลัน คือแรงจูงใจที่กระตุ้น
ให้มนุษย์แสดงพฤติกรรม ออกมาทันทีทันใด แรง
จูงใจสะสม (Motivational Disposition หรือ
Latent Motive) คือแรงจูงใจที่มีอยู่แต่ไม่ได้
แสดงออกทันที จะค่อย ๆ เก็บสะสมไว้รอการ
แสดงออกในเวลา ใดเวลาหนึ่งต่อ

ประเภทของแรงจูงใจ

กลุ่มที่ 2 แรงจูงใจภายใน คือแรงจูงใจที่ได้รับอิทธิพล
มาจากสิ่งเร้าภายในตัวของบุคคลผู้นั้น

แรงจูงใจภายนอกคือแรงจูงใจที่ได้รับ
อิทธิพลมาจากสิ่งเร้าภายนอก

กลุ่มที่ 3 แรงจูงใจปฐมภูมิ คือแรงจูงใจอันเนื่องมา
จากความต้องการที่เห็นพื้นฐานทางร่างกาย เช่น
ความหิวโหย, กระหายเหือด

แรงจูงใจทุติยภูมิ คือแรงจูงใจที่เป็นผลต่อ
เนื่องมาจากแรงจูงใจขั้นปฐมภูมิ

กาบรทแทนี่1ะ2แนว

การแนะแนว คือ จิตวิทยาประยุกต์แขนง
หนึ่งที่ว่าด้วยการพัฒนาคนให้รู้จักชื่อตนเอง
หรือพึ่งตนเองได้ โดยกระบวนการที่ส่งเสริมให้
บุคคลได้มีบทบาทเต็มที่ในการเรียนรู้ เพื่อที่
จะำัพัฒนาศักยภาพ และสามารถจัดการกับ
ชีวิตของตนอย่างฉลาด

การแนะแนวมี 3 ด้าน ดังนี้

- แนะแนวด้านการศึกษา หมายถึง กระบวนการ
ต่างๆ ที่จะช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านสติ
ปัญญา มีความเฉลียวฉลาด เช่น วิธีศึกษาค้นคว้า
วิชาต่างๆ วิธีใช้อุปกรณ์ในการเรียน วิธีปรับตัว
ภายในโรงเรียน วิธีเลือกวิชาเรียน การศึกษาต่อ
การใช้ห้องสมุด การแก้ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการ
เรียน

- แนะแนวอาชีพหมายถึง กระบวนการต่างๆ
ที่ช่วยบุคคลในการตัดสินใจเลือกอาชีพ และ
เตรียมตัวเพื่อประกอบอาชีพ

- การแนะแนวส่วนตัวและสังคม หมายถึง กระบวนการ
ต่างๆ ที่ช่วยให้บุคคลมีชีวิตหรือความเป็นอยู่ที่สุข
สมบูรณ์ เจริญทั้งกายและใจ มีอารมณ์ที่มั่นคง
สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง
มีความสุข

ความมุ่งหมายขอกการแนะแนว

1.ความมุ่งหมายทั่วไป
เพื่อป้องกันปัญหา
เพื่อแก้ไขปัญหา
เพื่อส่งเสริมพัฒนา

2. ความมุ่งหมายเฉพาะ
เพื่อช่วยให้นักเรียนแต่ละคนได้รู้จักตนเอง
อย่างถ่องแท้
เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักปรับตัว
เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักนำตนเอง

บริการแนะแนว

1.บริการสำรวจเป็ นรายบุคค
2. บริการสนเท
3. บริการให้คำปรึกษา
4. บริการจัดวางตัวบุคคล
5. บริการติดตามผล

หลักการของการแนะแนว

1.มุ่งพัฒนาบุคคลให้เจริญงอกงามทุกด้าน และให้
โอกาสที่จะบรรลุจุดสูงสุด
2.ยึดบุคคลเป็นศูนย์กลาง ยอมรับในศักดิ์ศรี ยอมรับ
ในความต้องการ และความแตกต่างระหว่างบุคคล
3. มุ่งให้บุคคลฉลาด รู้จักใช้ปัญญาแสวงหาความรู้
เลือก ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างรอบครอบ
4. มุ่งแก้ปัญหาระยะยาว ใช้วิธีป้องกันพัฒนาบุคคล
ในขณะเดียวกัน
5. มุ่งให้บุคคลรู้จักตนเอง ช่วยเหลือตนเอง และมี
ความมั่นคงไม่ยอมให้สิ่งใดชักจูงไปในทางที่เสียหาย

บทที่13
การให้คำปรึกษา

ความหมายของการให้คำปรึกษา

การให้คำปรึกษา เป็นกระบวนการให้ความ
ช่วยเหลือติดต่อสื่อสารกันด้วยวาจาและกิริยา
ท่าทางที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคล 2 คน ขึ้นไป
คือ ผู้ให้คำปรึกษาและผู้รับคำปรึกษา และผู้
ให้คำปรึกษาจะใช้ทักษะต่างๆ เพื่อช่วยเหลือ
และเอื้ออำนวยให้ผู้รับคำปรึกษาสำรวจและ
ทำความเข้าใจปัญหา สาเหตุ และความ
ต้องการของตน ตลอดจนวิธีการแก้ไขปัญหา
ต่างๆของตน

ประเภทของการให้คำปรึกษา

1 การให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล

2 การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม

ทักษะการให้คำปรึกษา

ทักษะการใส่ใจ ทักษะการนำ

ทักษะการถาม ทักษะการเงียบ

ทักษะการให้คำปรึกษา

ทักษะการซ้ำความ ทักษะการให้กำลังใจ

ทักษะการสรุปความ

ทักษะการให้คำแนะนำ ทักษะการชี้ผลที่ตามมา

วัตถุประสงค์ของ
การให้คำปรึกษา

1) สังเกตตนเองและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
และเข้าใจในตนเองแลสิ่งแวดล้อม

2) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทางที่เหมาะสมโดยใช้
ศักยภาพของตนในการเลือกและค้นหาวิธีที่เหมาะสม

3) ลดระดับความเครียด และความไม่สบายใจที่เกิด
จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

4) พัฒนาทักษะทางสังคม ทักษะการตัดสินใจและ
ทักษะการจัดการกับปัญหาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ขั้นตอนการให้คำปรึกษา

1) การสร้างสัมพันธภาพ
2) การสำรวจปัญหา

3) เข้าใจปัญหา สาเหตุของปัญหาและความต้องการ
4) การวางแผนการแก้ปัญหา
5) ยุติกระบวนการ

คุณลักษณะของ
ผู้ให้คำปรึกษา

1. มีความอดทน ใจเย็น
2. ใช้คำพูดที่เหมาะสม
3. มีกระบวนการในการแก้ไขปัญหา
4. ต้องสนใจและใส่ใจคนอื่นอย่างแท้จริง
5. มีความเสียสละ ช่วยเหลือผู้อื่น
6. เป็นผู้รับฟังที่ดี
7. มีความสามารถในเข้าใจพฤติกรรมของผู้อื่น
8. มีบุคลิกภาพที่ดี

บ ท ที่ 1 4

การศึกษาเป็นรายกรณี

ความหมาย

การศึกษารายกรณี หมายถึง กระบวนการ
ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับบุคคลใดบุคคล
หนึ่ง หรือหลายคนเป็นระยะเวลาต่อเนื่องกัน
ไปในระยะเวลาหนึ่งโดยใช้เครื่องมือ เทคนิค
หรือวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งรายละเอียด
ของข้อมูลแล้วนำข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์
เพื่อทำความเข้าใฉัจนสเก่ภงใานพเรื่อผูง้ถ..ู.กศึกษา สาเหตุ
ของพฤติกรรมตลอดจนข้อเสนอแนะที่เป็น
แนวทางการให้ความช่วยเหลือกรณีที่ผู้ศึกษา
กำลังประสบปัญหา

วัตถุประสงค์ของการศึกษารายกรณี

(1) เพื่อทำความเข้าใจนักเรียนอย่างละเอียดลึกซึ้ง
เกี่ยวกับพฤติกรรมที่แสดงออกมา
(2) เพื่อการวินิจฉัยในอันจะเป็นประโยชน์ต่อการ
ช่วยเหลือนักเรียนทั้งทางด้านการป้องกันปัญหาที่
อาจจะเกิดขึ้น
(3) เพื่อสืบค้นหานักเรียนที่มีลักษณะพิเศษบาง
ประการ เพื่อที่ทางโรงเรียนจะได้ให้การส่งเสริม
พัฒนาได้อย่างเหมาะสม
4) เพื่อช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจตนเองในทุก
ๆ ด้าน ได้อย่างชัดแจ้ง
(7) เพื่อการติดตามผลของการใช้เครื่องมือ เทคนิค
หรือวิธีการต่าง ๆ อันจะเป็นแนวทางในการ
ปรับปรุงแก้ไขได้ในฉัโนอเกก่งาในสเรืต่อ่งอ..ไ.ป

1. เพื่อสืบค้นหาสาเหตุที่ทำให้ผู้เรียนมีพฤติกรรม
ที่ผิดปรกติ ซึ่งทางโรงเรียนจะได้ให้ความช่วยเหลือ
และแก้ไขได้อย่างถูกต้อง
2. เพื่อสืบค้นรูปแบบของพัฒนาการของนักเรียน
ทั้งในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และ




จิตใจ
3. เพื่อช่วยให้ผู้ปกครองเข้าใจในตัวเด็กของตนได้
ดีขึ้น
4. เพื่อช่วยให้ครูเข้าใจนักเรียนได้อย่างละเอียด
ลึกซึ้ง และถูกต้อง

ฉันเก่งในเรื่อง...

การเลือกนักเรียนเพื่อทำการศึกษารายกรณี

ครูควรเลือกนักเรียนเพื่อทำการศึกษารายกรณี

สามารถจำแนกได้ดังนี้

1) นักเรียนที่ประสบผลสำเร็จในด้านการเรียนดี

เยี่ยม

2) นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษบางอย่าง เช่น


ศิลปะ ดนตรี ฯลฯ

3) นักเรียนที่มีปัญหามาก

4) นักเรียนที่มีความทะเยอทะยานมีกำลังใจเข้ม

แข็งที่จะเอาชนะอุปสรรค

5) นักเรียนที่เรียนอ่อนไม่สมารถที่จะทำงานใน

ระดับที่เรียนอยู่ได้

6) นักเรียนที่มีพฤติกรรมดีเด่นสมควรเอาเป็น

ตัวอย่าง

ฉันเก่งในเรื่อง...

7) นักเรียนที่มีพฤติกรรมปรกติธรรมดาทั่วๆ ไป

สรุป



การศึกษารายกรณี เป็นกระบวนการ
ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับบุคคลโดยใช้
เครื่องมือ เทคนิค หรือวิธีการต่าง ๆ เพื่อ
ให้ได้มาซึ่งรายละเอียดของข้อมูลแล้วนำ
ข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์เพื่อทำความ
เข้าใจสภาพผู้ถูกศึกษ
า เพื่อทำความเข้าใจ
เกี่ยวกับพฤติกรรมที่แสดงออกมา สาเหตุ
ของพฤติกรรม เพื่อการวินิจฉัยในอันจะ
เป็นประโยชน์ต่อการช่วยเหลือนักเรียน
และการช่วยส่งเสริมและพัฒนาความ
สามารถต่าง ๆ และช่วยให้ผู้ปกครอง
เข้าใจนักเรียนในฉันคเกว่งใานเมรื่อปง..ก. ครองของตน ได้
ดีขึ้น

บ ท ที่ 1 5
ก า ร ส ร้ า ง แ ร ง บั น ด า ล ใ จ

ใ ฝ่ เ รี ย น

แรงบันดาลใจ (Inspiration) หมายถึง
พลังอำนาจในตนเองชนิดหนึ่ง ที่ใช้ในการ
ขับเคลื่อนการคิดและ การกระทำใด ๆ ที่
พึงประสงค์ เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จได้ตาม
ต้องการ โดยไม่ต้องอาศัยสิ่งจูงใจภายนอก
ก่อให้เกิด แรงจูงใจขึ้นภายในจิตใจเสีย
ก่อน เพื่อที่จะกระตุ้นให้เกิดการคิดและ
การกระทำในสิ่งที่พึงประสงค์เหมือนเช่น
ปกติวิสัยของมนุษย์ส่วนใหญ่ ไม่ว่าสิ่งที่ตน
กระทำนั้นจะยากสักเพียงใด

วิ ธี ส ร้ า ง แ ร ง บั น ด า ล ใ จ
ใ น ก า ร เ รี ย น



1. รับสารดีๆ เข้ามาในชีวิต
2. การเขียนเป้าหมาย
3. สร้างเครือข่าย ความสัมพันธ์
กับกลุ่มคนที่คิดบวก
4. กระดาษโน้ตความคิดดีๆ
5. ปรับคำที่ใช้ในการพูด

บรรณานุกรม

นิรันดร์ จุลทรัพย์. 2539.เอกสารคำสอนวิชาการแนะแนว
เบื้องต้น. โครวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาคใต้.

//th.wikipedia.org/w/index.php?
title=%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%
88%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%88
&oldid=9688337

บังอร ชินกุลกิจนิวัฒน์. "บทแนะนำจิตวิทยา
(Introduction to Psychology)" ใน จำรอง เงินดี และ
ทิพย์วัลย์ สุรินยา (บรรณาธิการ). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่
8. กรุงเทพฯ: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
2545.

หลุย จำปาเทศ. จิตวิทยาการจูงใจ. ภาควิชาจิตวิทยา
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร. 2533.

https://nuttapong.wikispaces.com/หน่วยที่+3+การจูงใจ


Click to View FlipBook Version