The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบัญชีสินค้าฯ หน่วยที่ 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by autchara.cho, 2021-06-24 12:59:19

การบัญชีสินค้าฯ หน่วยที่ 2

การบัญชีสินค้าฯ หน่วยที่ 2

1. จานวนสนิ คา้ คงเหลือ จะกาหนดสินค้าคงเหลอื สูงสดุ (Maximum Inventory Limit)และจานวนสนิ คา้
คงเหลือต่าสดุ (Minimum Inventory Limit) ซง่ึ สาคญั ตอ่ การควบคุมปริมาณสินคา้ คงเหลือคือ

สนิ ค้าคงเหลือสงู สดุ (Maximum Inventory Limit) คือปรมิ าณสนิ คา้ ทตี่ ง้ั ไวส้ าหรบั สินคา้ แตล่ ะ
ชนดิ มใิ ห้มีสินคา้ เหลอื เก็บไว้ในโกดงั สินค้าเกินกว่าจานวนที่กาหนดไว้ เพราะถา้ มสี ินค้ามากเกินความต้องการ จะ
ทาให้เงินจมกับสินค้า เช่น สนิ ค้าตามสมัยนิยม สนิ ค้าตามฤดูกาล ถา้ เก็บไวน้ านๆกจ็ ะหมดความนิยมหรือ
เส่ือมสภาพทาให้เกดิ ผลเสยี หายได้

สินค้าคงเหลือต่าสุด (Minimum Inventory Limit) คอื ปริมาณสนิ คา้ ท่ีน้อยทส่ี ดุ ท่กี จิ การจะต้อง
มีไว้ไม่ให้ขาดมอื ไม่ใช่เพือ่ การกาหนดปริมาณการส่ังซ้ือทป่ี ระหยัด แต่เพ่อื ต้องการใหธ้ รุ กิจดาเนนิ ต่อไปไดเ้ มื่อ
ความตอ้ งการในสินคา้ เพมิ่ ข้ึน ฉะนัน้ สินค้าคงเหลือตา่ สุดตอ้ งมากกว่าศนู ย์ (0) เพ่อื ความปลอดภัยถ้ากิจการ
สามารถประมาณการความต้องการสินคา้ และระยะเวลาส่งั ซื้อ (Lead Time) ได้อย่างถกู ต้องก็สามารถมีสินคา้
คงเหลือตา่ สุดเป็นศนู ย์ (0) หรอื ไมม่ เี ลยก็ได้ เพราะสามารถออกใบสงั่ ซอ้ื และคาดว่าสินค้าจะไดร้ บั มาในวันที่สนิ ค้า
ในโกดังหมดพอดี

2. จุดสงั่ ซือ้ เพ่ิม (Reorder Point) หมายถึง จานวนของสนิ ค้าคงเหลอื ระดบั ทต่ี ้องการออกใบส่งั ซื้อสนิ คา้
เพิม่ หรอื ส่งั ผลิตก่อนที่จะถงึ จานวนตา่ สุด การคานวณหาจุดส่งั ซื้อเพ่มิ สามารถคานวณหาได้ 3 วธิ ี คือ

2.1 คานวณหาจุดส่ังซื้อจากจานวนสนิ ค้าคงเหลือสูงสดุ และต่าสุด
ตัวอย่างท่ี 6 สมมติวา่ กิจการแห่งหนงึ่ กาหนดจานวนสินคา้ คงเหลือสูงสดุ ไว้ 250 หน่วย จานวนตา่ สดุ 50 หนว่ ย

ปรมิ าณท่ใี ช้สินค้าระหว่างรอการสงั่ ซือ้ และรับของ 50 หนว่ ย ใหค้ านวณหาจดุ สง่ั ซ้ือ

= 50 + 50
จดุ สัง่ ซื้อเพิม่ = 100 หนว่ ย

2.2 คานวณหาจุดสัง่ ซื้อ กรณีทราบระยะเวลาการส่งั ซ้อื (Lead Time)

ตวั อยา่ งท่ี 7 สมมติวา่ ระยะเวลาการส่งั ซอ้ื สนิ คา้ 1 เดือน และอตั ราการใชเ้ ดือนละ 200 หนว่ ย
2

กจิ การกาหนดสนิ คา้ คงเหลอื ต่าสุด 50 หนว่ ย

เม่อื ทราบจดุ ส่งั ซื้อเพ่มิ แล้ว สามารถคานวณหาปริมาณการสั่งซ้อื เพิ่ม ดงั น้ี

2.3 คานวณหาจุดสั่งซอื้ ในกรณีไมท่ ราบสินคา้ คงเหลอื สงู สดุ
และต่าสดุ
ตัวอย่างที่ 8 สมมตวิ า่ อัตราการใช้สินค้า 15 หน่วยต่อวัน Lead Time 10
วนั

3. ปริมาณการส่ังซื้อเพิ่ม หมายถึง ปริมาณสินค้าท่ีซอ้ื เข้ามาเพื่อให้เพียงพอสาหรับการ
ขายหรอื สาหรบั การผลิตไม่ใช่ปรมิ าณการสั่งซ้ือทีป่ ระหยัดซ่ึงมุ่งหวังประหยัดค่าใช้จ่าย ปริมาณ
การส่งั ซอื้ สามารถคานวณไดด้ งั นี้
ตัวอย่างที่ 9 จากตัวอยา่ งที่ 6 คานวณหาปรมิ าณการสง่ั ซื้อเพิ่มไดด้ ังนี้

3. ปรมิ าณการสั่งซ้ือเพมิ่ หมายถงึ ปรมิ าณสนิ ค้าทีซ่ อื้ เขา้ มาเพ่อื ให้เพยี งพอสาหรับการขายหรอื สาหรบั การ
ผลติ ไมใ่ ช่ปรมิ าณการสงั่ ซื้อท่ีประหยัดซ่ึงมุ่งหวงั ประหยัดค่าใชจ้ ่าย ปรมิ าณการสัง่ ซ้ือสามารถคานวณไดด้ งั นี้
ตวั อยา่ งท่ี 9 จากตวั อยา่ งที่ 6 คานวณหาปรมิ าณการสัง่ ซื้อเพิ่มได้ดงั นี้

การใช้รหสั

รหัสแท่งหรือบาร์โค้ด (Bar Code) คือ รหสั ผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นภาษาสากลทางธุรกิจท่ีใช้กัน
ท่ัวโลก(Global Language of Business) ซ่งึ ปัจจุบันบาร์โค้ดสร้างข้ึนภายใต้แบบแผนของสมาคม
สญั ลกั ษณร์ หัสแทง่ สากล (International Article Numbering Association) แบง่ เป็น 2 กลุ่ม คอื

1. ระบบ UPC = Universal Product Code ใชใ้ นอเมรกิ าและแคนาดา
2. ระบบ EAN = European Article Numbering ใช้กันมากท่ัวโลก เช่น ยุโรป เอเชีย-
แปซิฟิกออสเตรเลีย และลาตนิ อเมรกิ า รวมทัง้ ประเทศไทยดว้ ย (EAN International)

รหสั แทง่ ของไทยเรยี กวา่ “TAN” (Thai Article Numbering) มวี ิธกี ารใช้โดยตดิ บารโ์ คด้ บนตวั
สินค้าซ่งึ จะอ่านไดโ้ ดยเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์หรือเคร่อื งสแกนน่งิ เมือ่ อา่ นรหัสแทง่ ณ จุดขาย เครอื่ งอา่ นจะแปลง
รหสั แท่งเป็นเลขหมายสนิ ค้า ราคาสนิ ค้าจะปรากฏบนเคร่อื งบนั ทึกเงินสดและพิมพใ์ บเสร็จรบั เงนิ ให้ลกู คา้ ได้
ทนั ที เปน็ การใชร้ หสั แทง่ ร่วมกับประเทศต่างๆ ท่วั โลก โดยสมาชิก EAN จะใช้แบบแผนอันเดียวกนั ทาใหอ้ ่าน
รหสั ได้เชน่ เดยี วกันในทกุ ประเทศ ผใู้ ช้ระบบ TAN ในประเทศไทยกเ็ ชน่ เดียวกัน จะอา่ นรหสั ทีเ่ ป็นสนิ ค้านาเข้า
ทั้งระบบ EAN และ UPC

รหสั แทง่ ของไทย (TAN) จะกาหนดเลขหมายประจาสินค้าเป็น 2 ประเภท คอื
1. เลขหมายชดุ มาตรฐาน (TAN - 13) จะใช้ตัวเลข 13 หลกั

1.1 เลขหมายนาหน้า 3 หลกั 8 8 5 หมายถงึ สนิ ค้าผลิตในประเทศไทย
1.2 เลขหมาย 4 หลักถัดมา 1 2 3 4 เปน็ เลขหมายผู้ผลติ จะระบถุ ึงธุรกิจ ช่ือ ยห่ี ้อผคู้ วบคมุ การบรรจุหีบหอ่ และป้าย
1.3 เลขหมาย 5 หลักถัดมา 5 6 7 8 9 เป็นเลขหมายสินค้าที่ผู้ผลิตกาหนดให้กับสินค้าแต่ละประเภทท่ีผลิตจะเป็น
ตัวเลขอะไรกไ็ ด้
1.4 เลขหมายสุดท้าย 8 เป็นเลขหมายตรวจสอบ 1 หลัก กาหนดขึ้นเพื่อใช้ตรวจสอบความถูกต้องของรหัสท้ัง 12 ตัว
แรก

2. เลขหมายชดุ มาตรฐานยอ่ (TAN - 8) จะใช้ตัวเลข 8 หลัก สาหรบั สนิ ค้าที่มบี รรจผุ ลติ ภัณฑ์ขนาดเล็ก ฉะน้ัน
5 หลกั แรกจะใช้เลข 0 แทน แล้วจงึ ตามด้วยรหสั ประเทศไทย รหสั ผู้ผลิตและหมายเลขตรวจสอบดังน้ี

2.1 เลขหมาย 5 หลกั แรกใช้ 0 0 0 0 0 เพอ่ื ให้ตวั เลขครบ 13 หลกั
2.2 เลขหมาย 3 หลกั ถัดมา 8 8 5 เป็นสนิ ค้าท่ผี ลิตในประเทศไทย
2.3 เลขหมาย 4 หลักสดุ ท้าย 1 2 3 4 เป็นเลขหมายผผู้ ลติ

สาหรับกิจการขนาดใหญ่ในปัจจบุ ันจะนยิ มใช้รหัสแทง่ (Bar Code) เพราะเปน็ มาตรฐานสากล
สามารถตรวจสอบจานวน ราคาสินค้าได้ เพราะเม่ือบาร์โคด้ ถูกอ่านก็จะสง่ ขอ้ มลู ไปตดั ยอดสนิ ค้าจากบัตรสนิ คา้
ในเครื่องคอมพวิ เตอร์ ทาใหท้ ราบยอดสนิ ค้าคงเหลือทันที ซ่ึงสะดวก รวดเร็ว

กจิ การทใ่ี ชร้ หัสแท่งจะไมต่ รวจนับสินค้าคงเหลือทุกชนดิ เพราะมกี ารบนั ทกึ บญั ชีสนิ ค้าคงเหลอื วิธี
ตอ่ เนือ่ งโดยป้อนข้อมลู รับเขา้ และตัดยอดเม่ือจาหนา่ ยสนิ ค้าดว้ ยบารโ์ ค้ดจะตรวจนบั สนิ ค้าคงเหลือ โดยวธิ ีการ
สมุ่ ตัวอยา่ งกบั สนิ ค้าบางชนดิ เท่าน้นั


Click to View FlipBook Version