GNIKNIHT EVITAGENLate-Lift EDICIUS FO KSIR DNA NOISSERPED
Depression
โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
I'M BECOMING MORE SILENT THESE DAYS
NO ONE SEES HOW BROKEN I REALLY AM
Late-Lift EDICIUS FO KSIR DNA NOISSERPED
Depression
โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
I'M BECOMING MORE SILENT THESE DAYS
นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1
คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี
รายวิชา การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์
ปีการศึกษา 2564
ชื่อหนังสือ Late-Life Depression โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
คณะผู้จัดทำ
นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1
ที่ปรึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี
จังหวัดนนทบุรี รุ่นที่ 30
อาจารย์ เจนจิรา เกียรติสินทรัพย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดำรงพล อินทร์จันทร์
บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดำรงพล อินทร์จันทร์
กองบรรณาธิการ กัญญารัตน์ พงษ์สว่าง
จิตราดา ทองพันธ์อยู่
ช่อทิพย์ เหรียญประยูร
นนทะณัฐดา นิพรรัมย์
พรฤดี พลหลา
ภนิดา ลาเทิง
วริศรา สังขดี
ศศิกานต์ หมดทุกข์
ออกแบบปก กัญญารัตน์ พงษ์สว่าง
ช่อทิพย์ เหรียญประยูร
นนทะณัฐดา นิพรรัมย์
วริศรา สังขดี
ศศิกานต์ หมดทุกข์
พิสูจน์อักษร ปาริชาติ ปิ่ นทอง
ปีที่พิมพ์ สิริกุล นาคคงคำ
ตุลาคม 2564
พิมพ์ที่ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี
47/99 ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
บรรณาธิการ y7JY
https://www.canva.com/media/MADyRxW
ความชรา ผู้สูงอายุ และโรคซึมเศร้า
องค์การสหประชาชาติไม่ได้กำหนดเกณฑ์อายุเริ่มต้นที่เป็นมาตรฐานของผู้สูงอายุ หากยอมรับโดยทั่วไปว่าหมายถึง
บุคคลหรือกลุ่มประชากรที่มีอายุตามปีปฏิทินตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เป็นเกณฑ์อายุเริ่มต้นเดียวกับขององค์การอนามัยโลก
(WHO) ที่ใช้ในการกำหนดช่วงอายุของผู้สูงอายุ ในทางปฏิบัติมีความแตกต่างระหว่างแต่ละประเทศ เช่น ในกลุ่มประเทศ
พัฒนาแล้วไม่ได้กำหนดอย่างเป็นทางการ แต่มักถูกอ้างอิงเกณฑ์อายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป หรือตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปในกลุ่ม
ประเทศที่กำลังพัฒนา (รศรินทร์ แกรย์ และคณะ, 2556)
นิยามของ ความชรา (Aging) คือการเสื่อมลง (decline) การสูญเสีย (loss) ของการเปลี่ยนแปลงและการเพิ่มขึ้น
ของอายุ ร่างกายที่แก่เฒ่า (elder body) เป็นสิ่งประกอบสร้างเช่นเดียวกับการกลายเป็นปัญหาทางสังคมที่สามารถ
แก้ไขได้โดยวิธีการจัดการเชิงชีวการแพทย์ ด้วยมุมมองทางการแพทย์ได้สร้างรูปแบบความชราภาพทางการแพทย์ (the
medical of aging) ทำให้ความชราภาพเป็นเรื่องของพยาธิวิทยาที่นำไปสู่กระบวนการทางการแพทย์และการรักษา
ทางการแพทย์ อัตลักษณ์ของความชราภาพ (identity of aging) จึงเป็นสิ่งที่ถูกทำให้แบ่งแยกและทำให้มีลักษณะเฉพาะ
เป็นกลุ่มที่มีความต้องการการดูแลที่เฉพาะ (Rose, 1991; Cohen 1992: Talarsky, 1998; Flatt, 2012)
ภาพลักษณ์ทางวัฒนธรรมเกี่ยวกับความอ่อนแอจากความชราภาพ ความไร้ประสิทธิภาพในการผลิตและการบริโภค
ที่มากเกินไปในแง่ของการดูแลทางด้านสุขภาพเชื่อมโยงภาระของการพึ่งพิงทางสังคมของผู้สูงอายุ ดังนั้น “ความเป็นผู้สูงอายุ”
หรือ “ความชราภาพ” ถูกมองว่า เป็น “ความเป็นอื่น” “ความเป็นชายขอบ” และ “การไร้ตัวตนในทางสังคม”
“การไม่มีบทบาทในฐานะผู้ทำกิจกรรมทางสังคม” ร่างกายของความชราภาพกายเป็นสิ่งไร้คุณค่าทางสังคมกลายเป็นความ
น่าเกลียดและความไม่สมบูรณ์ของร่างกาย(Young, 1990) ความชราภาพในผู้สูงอายุจึงกลายเป็นภาวะของการเกิดอคติ
ทางอายุ (ageism) นำไปสู่ความรู้สึกในการเลือกปฏิบัติหรือการกระทำบนพื้นฐานความเชื่อในข้อจำกัดและความสามารถ
ที่เกี่ยวข้องกับอายุส่งผลต่อการผลิตอคติทางอายุทั้งในระดับปัจเจกและระดับสถาบัน
บรรณานุกรม
Cohen, Lawrence. (1992). No aging in India: The uses of Gerontology. Culture, Medicine and Psychiatry. 16:
123-161. https://dot.org/10.1007/BF00117016
Duay, Deborah. L. and Bryan, Valerie. C. (2006). Senior adults’ perceptions of successful aging.
Educational Gerontology. 32: 423 -45. https://doi.org/10.1080/03601270600685636
Flatt, Thomas. (2012). A New Definition of Aging? Frontiers in Genetics.
3:148https://www.frontiersin.org/article/10.3389/fgene.2012.00148
Rose, M. R. (1991). Evolutionary Biology of Aging. New York: Oxford University Press.
ง
ปัญหา “ผู้สูงอายุ” หรือ “ผู้สูงวัย” เป็นปัญหาระดับโลกที่สังคมต่าง ๆ ทั่วโลกล้วนกำลังประเชิญหน้ากับภาวการณ์ y7JY
เปลี่ยนแปลงของประชากรที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นมา จากการสำรวจสำมะโนประชากร https://www.canva.com/media/MADyRxW
ในประเทศไทย จำนวนประชากรผู้สูงอายุมีมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด ( ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์ , 2558 )
แสดงถึงสัดส่วนของประชากรที่มีอายุมากมีจำนวนมากกว่าประชากรที่เกิดขึ้นใหม่ การเพิ่มขึ้นดังกล่าวส่งผลกระทบต่อ
เศรษฐกิจ แรงงานและสังคม เช่น ภาวะเปราะบาง การดูแลผู้สูงอายุ รวมถึงภาวะสุขภาพและความเจ็บป่วย
สวัสดิการ การให้บริการสุขภาพ เป็นต้น ร่างกายของผู้สูงอายุ จะมีความเสื่อมถอยมีสภาวะอ่อนแอทางร่างกายและ
จิตใจที่แปรปรวนนำไปสู่ความเจ็บป่วยทั้งสุขภาพและปัญหาทางด้านจิตใจ ปัญหาหนึ่งที่ปรากฏในสังคมคือมายาคติ
เกี่ยวกับผู้สูงอายุที่เชื่อว่า อายุที่มากขึ้นนำมาซึ่งความเจ็บป่วยความเสื่อมรวมถึงนิสัยและกิจวัตรประจำวันตอกย้ำ
ความไร้ประโยชน์ในเชิงกายภาพ ความสูญเสีย ความโดดเดี่ยว และไร้ความสามารถ มายาคติเหล่านี้สร้างภาพและ
มุมมองด้านลบต่อผู้สูงอายุ แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุจึงควรก้าวข้างมุมมองด้านลบที่เป็นเรื่องของความเสื่อมถอยไปสู่
มุมมองด้านบวกการเป็นผู้สูงอายุที่มีความสุข ( well-being aging ) หรือประสบความสำเร็จในชีวิตบั้นปลาย
(successful aging)
ลักษณะสำคัญของการบรรลุสู่การเป็นผู้สูงอายุที่ประสบความสำเร็จ ความสามารถในการประสานความสัมพันธ์
( engagement with others ) กับผู้อื่นความสามารถจัดการและรับมือกับการเปลี่ยนแปลง (coping with changes)
และสุดท้าย ความสามารถในการรักษาร่างกายจิตใจและสุขภาพของตนเอง (maintaining physical, mental and
financial health) ( Duay and Bryan, 2006)
"ภาวะซึมเศร้า" (Depression) หมายถึงโรคซึมเศร้าปรากฏพบในผู้สูงอายุเป็นภาวะซึมเศร้าในช่วงปลายชีวิตของ
ผู้สูงอายุ ( Late-life Depression ) ถือเป็นความผิดปกติที่แพร่หลายและคุกคามถึงชีวิต โดยส่งผลกระทบต่อประชากร
ผู้สูงอายุค่อนข้างยากจะระบุหรืออาจลังเลต่อการวินิจฉัยของแพทย์ทั่วไป เป็นเรื่องที่ควรระมัดระวังเพิ่มขึ้น
จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สูงอายุเพื่อรับทราบความเสี่ยง และแนวทางการรักษา โครงงานเรื่อง “ Late-life Depression
โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ” นี้ จึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อทำความเข้าใจ นิยามความหมาย สำรวจสาเหตุ การรับรู้ แนวโน้ม
การฆ่าตัวตาย มุมมองต่อโรค กรณีศึกษา การวินิจฉัย ผลกระทบ และ แนวทาง การรักษา รวมถึงเสนอกิจกรรม
นันทนาการอันเป็นทางเลือกของการลดทอนภาวะของโรคที่เกิดขึ้นด้วยเป้าประสงค์ เป็นสื่อสาธารณะสู่บุคคล ครอบครัว
หรือสถาบันเพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหาโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุได้ในปัจจุบันและอนาคต
ผศ.ดร.ดำรงพล อินทร์จันทร์
ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี
มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ
1 พฤศจิกายน 2564
Talarsky, Laura. (1998). Defining Aging and The Aged: Cultural and Social Constructions of Elders in the U.S.
Arizona Anthropologist #13: 101-107, Department of Anthropology, University of Arizona, Tucson.
http://hdl.handle.net/10150/110216
Young, Iris. (1990). Justice and the Politics of Difference. Princeton, NJ: Princeton University Press.
รศรินทร์ เกรย์, อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์, เฉลิมพล แจ่มจันทร์ และเรวดี สุวรรณนพเก้า. (2556). มโนทัศน์ใหม่ ของนิยามผู้สูงอายุ :
มุมมองเชิงจิตวิทยาสังคม และสุขภาพ. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. นครปฐม: บริษัท โรงพิมพ์
เดือนตุลา จำกัด. ง
สารบัญ
บรรณาธิการ ง
สารบัญ จ
นิยามของคำว่าโรคซึมเศร้าและผู้สูงอายุ 2
ผลการสำรวจ 3
แนวโน้มในการฆ่าตัวตาย 4
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า 5
มุมมองต่อโรคซึมเศร้า 7
สาเหตุของโรคซึมเศร้า 8
กรณีผู้ป่วยตัวอย่าง 9
เกณฑ์การวินิจฉัย 11
อาการและวิธีป้องกัน 12
การเปลี่ยนแปลงในผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า 13
ผลกระทบของโรคซึมเศร้า 16
วิธีการรักษาภาวะซึมเศร้า 19
กิจกรรมนันทนาการ 22
บรรณานุกรม 24
จ
1 ELDE
DRERPSE
YLOSI
N
https://www.canva.com/media/MADyQz7GJb8
โรคซึมเศร้า ?
เ ป็ น โ ร ค ท า ง จิ ต เ ว ช ที่ มี ผู้ เ ป็ น จำ น ว น ไ ม่
น้ อ ย แ ต่ ยั ง มี ผู้ รู้ จั ก โ ร ค นี้ ไ ม่ ม า ก นั ก บ า ง ค น เ ป็ น
โ ด ย ที่ ตั ว เ อ ง ไ ม่ ท ร า บ คิ ด ว่ า เ ป็ น เ พ ร า ะ ต น เ อ ง
คิ ด ม า ก ไ ป เ อ ง ก็ มี ทำ ใ ห้ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ก า ร รั ก ษ า ที่
เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ทั น ท่ ว ง ที https://www.canva.com/media/MADGyLxpCQA
ผู้สูงอายุ?
ผู้ สู ง อ า ยุ ห ม า ย ถึ ง ผู้ ที่ มี อ า ยุ ตั้ ง แ ต่ 6 0 ปี ขึ้ น ไ ป ใ น วั ย นี้
จ ะ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ห ล า ย ด้ า น ทั้ ง ท า ง ร่ า ง ก า ย ท า ง ส ม อ ง
ท า ง อ า ร ม ณ์ แ ล ะ ท า ง สั ง ค ม จึ ง เ ป็ น วั ย ที่ ค น ส่ ว น ม า ก ก ลั ว
ดั ง นั้ น ก า ร ไ ด้ เ ข้ า ใ จ ถึ ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต่ า ง ๆ ดั ง
ก ล่ า ว ก็ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ สู ง อ า ยุ ไ ด้ ป รั บ ตั ว ไ ด้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ร ว ม ทั้ ง บุ ต ร
ห ล า น ห รือ ผู้ ใ ก ล้ ชิ ด มี ส่ ว น สำ คั ญ ม า ก ใ น ก า ร ช่ ว ย ใ ห้ ท่ า น ป รั บ
ตั ว ไ ด้ อ ย่ า ง มี ค ว า ม สุ ข
2h t t p s : / / w w w . c a n v a . c o m / m e d i a / M A D G v z Y E V i Q
ผลการสำรวจ
E D บทความวิจัย ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อ
L E ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในชุมชน จังหวัดราชบุรี
DP ผู้สูงอายุในชุมชนตำบลดอนทราย อำเภอโพธาราม
E R จังหวัดราชบุรี จำนวน 300 คน
R E
S ผลการวิจัย พบว่า ผู้สูงอายุเป็นเพศหญิง
LS (ร้อยละ 62.00) มีอายุอยู่ระหว่าง 60-69 ปี (ร้อยละ 43.33)
Y I จบการศึกษา ระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 86.30) มีรายได้เฉลี่ย
O ต่อเดือน 500-1,000 บาท (ร้อยละ 44.3) อาศัยอยู่กับคู่สมรสหรือ
บุตรหลาน (ร้อยละ 88.30) จากการประเมินภาวะซึมเศร้าใน
N ผู้สูงอายุ พบว่า ร้อยละ 37.33 มีภาวะซึมเศร้า
ซึ่ ง เ พ ศ ห ญิ ง มี ภ า ว ะ ซึ ม เ ศ ร้ า ม า ก ก ว่ า เ พ ศ ช า ย
โ ด ย มี ภ า ว ะ ซึ ม เ ศ ร้ า อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ เ ล็ ก น้ อ ย
(ร้อยละ 70.54)
แ ล ะ มั ก มี อ า ก า ร น อ น ห ลั บ ไ ม่ ส นิ ท
ในช่วง 2สัปดาห์ ที่ผ่านมา
(ร้อยละ 57.99)
ปั จ จั ย ที่ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ
ภ า ว ะ ซึ ม เ ศ ร้ า ข อ ง ผู้ สู ง อ า ยุ
ได้แก่ เพศ สถานภาพสมรส
ลั ก ษ ณ ะ ก า ร อ ยู่ อ า ศั ย
ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ใ น ค ร อ บ ค รั ว
แ ล ะ ค ว า ม เ พี ย ง พ อ ข อ ง ร า ย ไ ด้
3 https://www.canva.com/media/MADQ496SXsE
แนวโน้มในการฆ่าตัวตาย
ข อ ง โ ร ค ซึ ม เ ศ ร้ า ใ น ผู้ สู ง อ า ยุ
ก ร ม สุ ข ภ า พ จิ ต ชี้ ส ถิ ติ ก า ร ฆ่ า ตั ว ต า ย สำ เ ร็ จ ใ น ผู้ สู ง อ า ยุ สู ง เ ป็ น อั น ดั บ 2
ต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา และสาเหตุการฆ่าตัวตายในของตำรวจ
ส่วนใหญ่ คือ อาการซึมเศร้า ปัจจุบันมีผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จประมาณ
4,000 คนต่อปี อยู่ในวัยทำงานมากเป็นอันดับ 1 และวัยสูงอายุ
มากเป็นอันดับ 2 โดยสาเหตุการฆ่าตัวตายในผู้สูงอายุ 3 อันดับแรกคือ
ความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิด , โรคเรื้อรังทางกาย และโรคซึมเศร้า
ตามลำดับ พบว่า ร้อยละ 15ของผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จเป็นการพยายาม
ฆ่าตัวตายซ้ำ ซึ่งปัญหาการฆ่าตัวตายในผู้สูงอายุ สืบเนื่องจากปัจจุบันมี
ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร จ า ก ทั่ ว โ ล ก ที่ สำ ร ว จ แ ล้ ว มี
สั ด ส่ ว น ข อ ง ผู้ สู ง อ า ยุ ม า ก ขึ้ น เ รื่ อ ย ๆ
คาดการณ์อีก 8 ปี ข้างหน้าประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุเพื่ม
ขึ้นเป็น 14.9 ล้าน แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มจำนวน
ป ร ะ ช า ก ร ผู้ สู ง อ า ยุ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ก า ร ที่
บุ ค ค ล มี อ า ยุ ม า ก ขึ้ น ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ทำ ง า น
ข อ ง ร่ า ง ก า ย แ ล ะ ส ม อ ง ย่ อ ม เ สื่ อ ม ถ อ ย ล ง ค ว า ม
ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ทำ ง า น ย่ อ ม ล ด น้ อ ย ล ง ร ว ม
ทั้ ง อ า จ มี ข้ อ จำ กั ด ใ น ก า ร ป รั บ ส่ ง ผ ล ใ ห้ ผู้
สู ง อ า ยุ ส่ ว น ห นึ่ ง เ กิ ด ภ า ว ะ เ ค รี ย ด วิ ต ก
กั ง ว ล ไ ม่ มี ค ว า ม สุ ข ใ น ก า ร ดำ ร ง ชี วิ ต
ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น ชี วิ ต ล ด ล ง
ttps://www.canva.com/media/MADQ496SXsE 4
DEPRE
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับโรค ซึมเศร้า
"ภาวะซึมเศร้า" เป็นอาการเจ็บป่วยทางจิตใจชนิดหนึ่ง ส่งผลให้มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง
ไป เช่น มีความรู้สึกไม่สบายใจ เศร้า ท้อแท้ไม่อยากทำอะไร มีความรู้สึกสิ้นหวัง มองตนเองไร้ค่า เป็นภาระ
ต่อคนอื่น ถ้ามีอาการมาก จะมีความรู้สึกเบื่อชีวิต คิดฆ่าตัวตาย โดยภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ เกี่ยวข้องกับ
โรคทางกายต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจ ความดัน โลหิตสูง เบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง โรคไตวาย
ปวดเรื้อรัง และมีการสูญเสีย การเผชิญกับความลำบากในชีวิต
ทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
1. ด้านร่างกาย
ทฤษฎีที่ใช้อธิบายการเกิดภาวะซึมเศร้า ได้แก่ ทฤษฎีเกี่ยวกับพันธุกรรม (Genetic)และทฤษฎีชีวเคมี
(Biochemical Theory of Depression)
1) ทฤษฎีเกี่ยวกับพันธุกรรม (Genetic Transmission) เป็นทฤษฎีที่เชื่อว่า ภาวะซึมเศร้าเป็นโรคที่
ถ่ายทอดทางพันธุกรรม โดยผลการศึกษาพบว่าหากพ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่งเป็นที่โรคซึมเศร้า ลูกมีโอกาสเป็น
โรคดังกล่าวร้อยละ 27 แต่ถ้าทั้งพ่อและแม่เป็นโรคซึมเศร้า ลูกมีโอกาสเป็นโรคดังกล่าวเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 54
นอกจากนี้ถ้าลูกเป็นคู่แฝดที่เกิดจากไข่ใงเดียวจะมีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้าสูงถึงร้อยละ 70
2) ทฤษฎีชีวเคมี (Biochemical Theory of Depression) มีแนวคิดว่า ภาวะซึมเศร้าเกิดจากสารสื่อ
ประสาทในสมองขาดความสมดุล (neurotransmitter) กลุ่มไบโอจินิก เอมีนส์ (biogenic amines) ได้แก่ อิน
โดเลมีนส์(indoleamines) หรือซีโรโทนิน (serotonin) ที่มี ความสำคัญหลักต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า และ
กลุ่มแคทีโคลามีนส์(catecholamines) คือนอร์เอพิเนฟรีน (norepinephrine) และโดพามีน (dopamine)
โดยมีความผิดปกติของกระบวนการดูดกลับสาร เข้าสู่เซลล์ประสาทส่งต่อ ทำให้สารสื่อประสาทกลุ่มดังกล่าวมี
ปริมาณลดลง
5
SSION
2. ด้านจิตใจ
ทฤษฎีที่นิยมใช้ในการอธิบายการเกิดภาวะซึมเศร้า ได้แก่ ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitive Theory)
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) และทฤษฎีการสูญเสีย และความเศร้าโศก (Grief and
Loss Theory)
1) ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitive Theory:CT) (Beck,1967)
ประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ประการ ได้แก่ ความคิดหลัก 3 ประการ (Cognitivetriad)
โครงสร้างทางความคิด(Schema)และเนื้อหาความคิดที่บิดเบือน(Cognitive distortion)
2) ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory)
เชื่อว่าพฤติกรรมของบุคคลเกิดจากจิตใต้สำนึก (Subconscious) หรือสัญชาตญาณดั้งเดิม (basic instinct)
การแก้ไขพฤติกรรมสามารถกระทำได้โดยการเจาะลึกลงสู่จิตใต้สำนึก ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ Id
(สัญชาตญาณที่คอยผลักดันให้บุคคลแสดงพฤติกรรมเพื่อตอบสนองความสุข และความต้องการของตนเอง),
Ego (ทำหน้าที่ในการตระหนักถึงความเป็นเหตุเป็นผลตามสภาพความเป็นจริง)และ Superego (ทำหน้าที่
คอยควบคุมพฤติกรรม) โดยปกติการทำงานของ 3 ส่วนจะมีความสมดุลระหว่างกัน
3) ทฤษฎีการสูญเสียและความเศร้าโศก (Grief and Loss Theory)
อธิบาย การสูญเสีย (loss) ว่าเป็นสถานการณ์ที่บุคคลประสบกับความสูญเสียสิ่งที่มีค่า มีความหมาย และ
ความสำคัญต่อชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการสูญเสียบุคคลสำคัญในชีวิต สูญเสียอวัยวะ สูญเสียทรัพย์สิน ความภาค
ภูมิใจในตนเอง รวมทั้งสูญเสียความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต
3. ด้านสิ่งแวดล้อม/ สิ่งเร้าที่เข้ามากระตุ้น
โดยทฤษฎีที่นิยมนำมาอธิบาย การเกิดภาวะซึมเศร้าของบุคคล ได้แก่ ทฤษฎีด้านสังคม (Social
Theory) โดยสถานการณ์ปัญหาที่ ส่งผลต่อบุคคล ได้แก่ ปัญหาความรัก การปรับตัวกับเพื่อน/ ครอบครัว/
เพื่อนร่วมงาน การเงิน ความเจ็บป่วย หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงวัยของชีวิต เมื่อหลายสถานการณ์
รวมกันเป็นสิ่งเร้าที่เข้า มาคุกคามภาวะสมดุลของบุคคล
6
มุมมองต่อโรค
ซึมเศร้า
ในสังคมไทยมีมุมมองต่อโรคซึมเศร้าที่แตกต่างกัน ซึ่งผู้เขียนขอแบ่งออกเป็น 3 แบบ
โดยการสังเกตของผู้เขียนเองว่า ในแต่ละแบบนั้นมีการมองโรคซึมเศร้าแบบไหน? นั่นคือ
แบบที่หนึ่ง ผู้คนในสังคมส่วนใหญ่มองว่า
โรคซึมเศร้าเป็นแค่โรคธรรมดาหรือโรคที่เรียกร้องความสนใจจากคนรอบข้าง แบบที่
สอง บุคลากรทางการแพทย์มองว่าโรคซึมเศร้าเกิดขึ้นจากสิ่งผิดปกติของสารเคมีในสมอง
และแบบที่สาม เป็นแบบที่นักศึกษาทั่วๆ ไป มองว่าโรคซึมเศร้าเกิดขึ้นจากความผิดปกติ
ทางจิตใจและความคิด
คนทั่วไปส่วนใหญ่มักจะมองว่าโรคซึมเศร้าเป็นแค่โรคธรรมดาไม่นานก็หาย แต่หารู้
ไม่ว่าโรคซึมเศร้านี้สร้างความเจ็บปวดอย่างมากให้แก่ ผู้ที่เป็นและครอบครัวที่ได้รับผลกระ
ทบจากเรื่องนี้มานับไม่ถ้วน
7
สาเหตุ
โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ มีสาเหตุมาจากพันธุกรรม ลักษณะนิสัย รวมกันสภาพ
แวดล้อมในการใช้ชีวิต ซึ่งสาเหตุหลักของการเกิดโรคซึมเศร้า แบ่งออกเป็น 2
ประเภทคือ
1. ด้านร่างกาย
ผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าเกิดจากการสื่อประสาทในสมองทำงานผิดปกติ ทำให้
อารมณ์ผิดปกติเสียสมดุล ซึ่งจะทำให้เป็นโรคซึมเศร้าได้ง่าย หรือการเจ็บป่วย แม้
จะไม่ส่งกระทบต่อสมองโดยตรง แต่ก็ทำให้รู้สึกเจ็บปวด เครียด และเป็นกังวลได้
2. ด้านจิตใจ
เมื่อลูกหลานต้องออกไปทำงาน ปล่อยให้ผู้สูงอายุอยู่บ้านคนเดียว จนทำให้ผู้สูงอายุ
เหงา รู้สึกว่าตัวเองไร้ประโยชน์ หรือสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ก็มักจะทำใจไม่ได้
เกิดความรู้สึกไม่อยากทำอะไร ไม่อยากเจอใคร ถือว่าเป็นสัญญาณอันตรายของการ
เข้าสู่ภาวะซึมเศร้า สำหรับผู้สูงอายุบางคนที่คนในครอบครัวไม่สนใจ ไม่มีสังคม
หรือเพื่อนคุย ก็ส่งผลให้สามารถป่วยเป็นโรคซึมเศร้าได้
https://today.line.me/th/v2/article/G2rmN6
8
ใครจะคาดคิดเบื้องหลังชีวิตเปื้อน ฝุ่นของ...สุธีชายหนุ่ม
ผิวพรรณและหน้าตาดีพูดจาฉะฉานมีความแตกฉานใน
การวาดรูป กวาดรางวัลมานับไม่ถ้วน มีรายได้จากการ
เขียนรูปขายระหว่างเรียนในมหาวิทยาลัยชื่อดังของรัฐ
เดือนละนับหมื่น จนใครต่อใครพากันอิจฉาเขา แต่อยู่ๆ
เขากลับก่อคดีจี้ชิงทรัพย์เพราะมีอาการบางอย่าง
กำเริบ!! สุธีตัดสินใจไปขึ้นเวทีเปิดใจหมดเปลือกแบ่งปัน
ประสบการณ์ฝันร้ายของเขา ต่อหน้ามหาชนจำนวน
มาก ซึ่งต่างนั่งฟังเรื่องราวของเขาอย่างจดจ่อ ราวกับ
กำลังลุ้นผลการออกรางวัลเลขท้าย
“อาการของผมเพิ่งฟื้นตัวได้ไม่นาน” สุธีเปิดประเด็น
ที่ตัดสินใจมาวันนี้เพราะผมอยากแบ่งปันประสบการณ์
ความเครียด ซึมเศร้า และการไปก่อคดี (อาชญากรรม)
ที่ไม่อยากให้มันเกิดขึ้นกับใครอีก เผื่อจะเป็นประโยชน์
https://www.kruthai.info/sara/2027 บ้าง”ห้องประชุมยังคงความเงียบสงัด
กรณีผู้ป่วยตัวอย่าง
ชายหนุ่มเล่าว่า พื้นฐานชีวิตในวัย
เด็กของเขา นอกจากพ่อกับแม่ชอบทะเลาะ https://www.yuusook.com/cont
ent/5260/โรคซึมเศร้า
กันรุนแรง ยังชอบใช้อารมณ์ในการสื่อสารกับเขา ทำให้เขารู้สึกกดดันและเก็บสั่งสม
เรื่อยมา จนกลายเป็นความเครียดลึกๆ ผลที่ตามมาในวัยประถมสุธีจึงไม่สนใจการ
เรียน ไม่อยากจะพัฒนาตัวเอง กระทั่งผลการเรียนของเขาเริ่มแย่ลงเรื่อยๆ จนถึงขั้น
แย่มาก และกลายเป็นปมด้อยที่ทำให้เขามองไม่เห็นคุณค่าของตัวเอง ชายหนุ่มเล่าว่า
หนักเข้าเขาเริ่มกลายเป็นคนที่ชอบ เรียกร้องความสนใจ...ด้วยวิธีก้าวร้าว เขาเรียกสิ่ง
นี้ว่า บาดแผลในใจนอกจากมันทำให้ตัวเองรู้สึกขาดอะไรบางอย่างยังไม่มีใครสามารถ
เติมเต็มปัญหาข้างต้นดำเนินเรื่อยมา กระทั่งสุธีเริ่มเข้าสู่วัยมัธยมต้นเขาเล่าว่าวันหนึ่ง
ชีวิตเริ่มพบกับจุดเปลี่ยนครั้งใหญ่เมื่อเขาได้อ่านหนังสือบางเล่มซึ่งก็มักจะบรรยายถึง
การกำหนดจิตใจของตนให้อยู่กับปัจจุบันหนังสือเล่มนั้นสร้างประสบการณ์ความรู้สึก
ใหม่ให้แก่เขาเหมือนมันช่วยนำพาตัวตนของเขาให้เข้าไปซ่อนอยู่ในภวังค์...ช่วยให้สุธี
มีจิตใจเข้มแข็งกว่าเก่า สามารถควบคุมอารมณ์โกรธและย้อนแย้งของตัวเองได้ดีขึ้น
ที่สำคัญ มันช่วยให้เขามีพลังในการคิดและมองมุมบวกมากขึ้น
9
กรณีผู้ป่วยตัวอย่าง
นอกจากหนังสือที่สอนให้เขารู้จักกำหนดใจอยู่กับปัจจุบัน สุธียังมี งานศิลปะ ที่ตัวเองชื่นชอบเป็นอีกตัว
ช่วยให้เขาผ่อนคลายและใจเย็นลง เมื่อได้ระบายความอัดอั้นทั้งปวงลงไปกับการถ่ายทอดงานศิลป์ตอนอยู่มัธยม
ปลาย ดอกไม้ชื่อ “สุธี” เริ่มเบ่งบาน และส่งกลิ่นหอมฟุ้ง...เป็นที่เตะตาใครต่อใคร หลังจากเขาถูกคัดเลือกให้เป็น
ตัวแทนของโรงเรียนไปประกวดวาดภาพศิลปะ และได้รับรางวัลกลับมา สุธีใช้ความสามารถที่โดดเด่นทางด้าน
ศิลปะ จนสอบเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยชื่อดังได้ แถมระหว่างเรียนยังมีผู้ว่าจ้างให้เขาไปทำงานด้านศิลป์ มีราย
ได้ก้อนงามระหว่างเรียน
สุธีเล่าว่า ชีวิตที่หอมหวานช่วงนั้นนั่นเอง เป็นจุดเริ่มที่ทำให้เขาเริ่มทะนงตัว คิดว่าตัวเองเหนือกว่าใครอีก
หลายคนในวัยเดียวกัน กระทั่งวันหนึ่งงานที่เขาทำอยู่ เริ่มมีปัญหา...เหมือนเทวดาตกสวรรค์!!!...จู่ๆอาการหูแว่ว
หวาดระแวง แบบผู้ป่วยจิตเวช คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย...เริ่มเข้าสิงสุธี ราวกับฝูงผีห่าซาตาน เลือกใช้ร่างของเขา
เป็นห้องประชุม ในที่สุดชายหนุ่มพาตัวเองไปพบจิตแพทย์ เพื่อทำการรักษาอาการหูแว่ว หวาดระแวง และซึม
เศร้า ด้วยการกินยาและฝึกกำลังใจให้เข้มแข็ง...เขารับการรักษาอยู่ระยะหนึ่ง เห็นว่าอาการดีขึ้นจึงเลิกรักษาแต่
มันกลับยิ่งทำให้อาการของเขากำเริบหนักขึ้น...ในที่สุดนาทีระทึกของสุธีก็มาถึง...เมื่อวันหนึ่งเขากลับไปรับยาและ
รับการรักษาจากโรงพยาบาลเดิม โดยพกมีดติดตัวไปด้วย (อาการหวาดระแวง) หลังรับยาเสร็จขึ้นแท็กซี่กลับ
บ้าน...เขาเกิดความคิดสับสน ตัดสินใจใช้มีดจี้ชิงทรัพย์คนขับแท็กซี่...ได้เงินไป ไม่กี่บาท
กรณีดังกล่าว พญ.ดวงตา ไกรภัสสร์พงษ์ รักษาการผู้อำนวยการ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ บอกว่า ถ้า
เป็นวันนี้เคสของสุธีคงไม่ต้องถูกจำคุก แต่อาจถูกส่งตัวไปรับการบำบัดรักษา หรือฟื้นฟูแทน แต่ช่วงที่สุธี ไปก่อ
คดี กฎหมายอาญาเก่ายังกำหนดไว้ว่า ผู้ป่วยที่ทำผิดแบบเขา ต้องมีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี จึงจะเข้าเงื่อนไข ซึ่ง
ปัจจุบันกฎหมายอาญา ได้ปรับเปลี่ยนอัตราโทษใหม่ ขยายเป็น มีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปีแล้ว
พญ.ดวงตา บอกว่า เคสของสุธีน่าจะเป็นอุทาหรณ์ที่ดีของกระบวนการยุติธรรมไทย
ทุกวันนี้สังคมไทยมีผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจำนวนมาก ยามมีอาการผู้ป่วยโรคนี้มักไม่มีความสามารถพอที่จะดูแลตัว
เอง แถมยังเป็นโรคที่เสี่ยงต่อการนำไปสู่การฆ่าตัวตาย
“น้อยคนที่จะรู้ว่าตัวเองป่วยเป็นโรคซึมเศร้า พอพลาดพลั้งไปก่ออาชญากรรมขึ้นมา
แม้แต่ทนายความเองก็ยังไม่ค่อยรู้ช่องทางในการต่อสู้คดีแบบนี้ เพราะขาดความรู้เรื่องจิตเวช นี่คือปัญหา”
- พญ.ดวงตา -
10
เกณฑ์การวินิจฉัย https://allwellhealthcare.com/depression-elderly/
วิธีสังเกตอาการของโรคซึมเศร้า
เกณฑ์การวินิจฉัยผู้ป่วยโรคซึมเศร้า = วิธีการสังเกต
ข้อสังเกตอาการของโรคซึมเศร้ามีดังนี้
• มีอารมณ์ซึมเศร้าแทบทั้งวัน (ในเด็กและวัยรุ่นอาจเป็น
อารมณ์หงุดหงิดก็ได้) ความสนใจหรือความเพลินใจใน
กิจกรรมต่างๆ แทบทั้งหมดลดลงอย่างมากแทบทั้งวัน
• น้ำหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นมาก (น้ำหนักเปลี่ยนแปลง
มากกว่าร้อยละ 5 ต่อเดือน) หรือมีการเบื่ออาหารหรือเจริญ
อาหารมาก
• นอนไม่หลับ หรือหลับมากไป
• กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข หรือเชื่องช้าลง อ่อนเพลีย ไร้
เรี่ยวแรง รู้สึกตนเองไร้ค่า
• สมาธิลดลง ใจลอย หรือลังเลใจไปหมด
คิดเรื่องการตาย คิดอยากตาย
* ต้องมีอาการในข้อ 1 หรือ 2 อย่างน้อย 1 ข้อ
* ต้องมีอาการเป็นอยู่นาน 2 สัปดาห์ขึ้นไป และต้องมี
อาการเหล่านี้อยู่เกือบตลอดเวลา แทบทุกวันไม่ใช่เป็นๆ
หายๆ เป็นเพียงแค่วันสองวันหายไปแล้วกลับมาเป็นใหม่
11
https://allwellhealthcare.com/depression-elderly/ อาการของโรคซึมเศร้า
และการป้องกันโรคซึมเศร้า
1.มีอารมณ์ซึมเศร้า (เด็กหรือวัยรุ่นอาจมีอาการหงุดหงิด
โกรธง่าย)
2.เบื่อ หมดความสนใจหรือความสุขในการทำกิจกรรมต่างๆ
3.นอนไม่หลับ หรือหลับๆตื่นๆหรือหลับมาก
4. เหนื่อยง่ายหรือไม่ค่อยมีแรง
5. เบื่ออาหารหรือกินมากเกินไป
6.รู้สึกไร้ค่า รู้สึกไม่ดีกับตัวเอง
7. ไม่มีสมาธิหรือลังเลใจไปหมด
8.พูดช้า ทำอะไรช้าลงหรือกระวนกระวาย ไม่อยู่นิ่ง
9.มีความคิดอยากตาย คิดทำร้ายตัวเอง
'' การป้องกันโรคซึมเศร้า ''
การป้องกันโรคซึมเศร้าทำได้โดยปฏิบัติหลักสุขศึกษา คือ
อาหาร ให้กินอาหารครบ 5 หมู่ หากขาดสารอาหารบางอย่าง
ไปจะทำให้มีความเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้ามากขึ้น เช่น โอเมก้า 3
วิตามิน อี ซี ดี ทองแดง ธาตุเหล็ก
การออกกำลังกาย ควรออกกำลังกายสัปดาห์ละอย่างน้อย 4
วันต่อสัปดาห์ ต่อเนื่องกัน 30-40 นาที เป็นการออกกำลังกาย
เบาๆ เช่น เดินเร็วก็ได้
การพักผ่อน นอนหลับให้เพียงพอกับที่ร่างกายต้องกาย ให้ตื่น
ขึ้นมาแล้วรู้สึกสดชื่น ไม่ง่วงหรือยังเพลียอยู่
การทำสมาธิ (Mindfulness) เพื่อผ่อนคลายจิตใจ
มีงานวิจัยมากมายพบว่าการทำสมาธิช่วยให้สมอง ผ่อนคลาย
ลดความเครียดได้
การฝึกคิดบวก ป้อนความคิดทางบวกให้กับตัวเองอยู่เสมอเพื่อ
สร้างให้จิตใจมีความเข้มแข็ง เอาชนะอุปสรรคในชีวิตได้
12
ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ใ น ผู้ ที่ เ ป็ น โ ร ค ซึ ม เ ศ ร้ า
changes in people with depression
การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้าดังนี้ อาจเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไปเป็นเดือนๆ หรือ
เป็นเร็วภายใน 1-2 สัปดาห์ ซึ่งขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย เช่น มีเหตุการณ์มากระทบรุนแรงมากน้อยเพียงใด
บุคลิกเดิมของเจ้าตัวเป็นอย่างไร มีการช่วยเหลือจากคนรอบข้างมากน้อยเพียงใด เป็นต้น และผู้ที่เป็นอาจไม่มี
อาการตามนี้ไปทั้งหมด แต่อย่างน้อยอาการหลักๆ จะมีคล้ายๆ กัน เช่น รู้สึกเบื่อเศร้า ท้อแท้ รู้สึกตนเองไร้ค่า
https://www.samitivejhospitals.com https://www.yuusook.com
ลั กลัษก ษณณะ กะ กาารรเเปปลีล่ี่ยยนน แแ ปปลลงงทีท่ีส่ สำำคัคญั ญ
1 อารมณ์เปลี่ยนแปลงไป ที่พบบ่อยคือจะกลายเป็นคนเศร้า
สร้อย หดหู่ สะเทือนใจง่าย ร้องไห้บ่อย เรื่องเล็กๆน้อยๆ ก็
ดูเหมือนจะอ่อนไหวไปหมด บางคนอาจไม่มีอารมณ์เศร้า
ชัดเจนแต่จะบอกว่าจิตใจหม่นหมอง ไม่แจ่มใส ไม่สดชื่น
เหมือนเดิม บางคนอาจมีความรู้สึกเบื่อหน่ายไปหมดทุกสิ่ง
ทุกอย่าง สิ่งที่เดิมตนเคยทำแล้วเพลินใจหรือสบายใจ เช่น
ฟังเพลง พบปะเพื่อนฝูง เข้าวัด ก็ไม่อยากทำหรือทำแล้วก็ไม่
ทำให้สบายใจขึ้นบ้างก็รู้สึกเบื่อไปหมดตั้งแต่ตื่นเช้ามาบาง
คนอาจมีอารมณ์หงุดหงิดฉุนเฉียวง่าย อะไรก็ดูขวางหู
ขวางตาไปหมดกลายเป็นคนอารมณ์ร้ายไม่ใจเย็นเหมือน
ก่อน
https://www.chula.ac.th/cuinside/5149/
13
https://www.gedgoodlife.com/health/ 2 ความคิดเปลี่ยนไป มองอะไรก็รู้สึกว่าแย่ไปหมดมองชีวิตที่ผ่าน
มาในอดีตก็เห็นแต่ความผิดพลาดความล้มเหลวของตนเอง
รู้สึกท้อแท้หมดหวังกับชีวิต ไม่มั่นใจตนเองจะตัดสินใจอะไรก็
ลังเล รู้สึกว่าตนเองไร้ความสามารถ ไร้คุณค่าเป็นภาระแก่คน
อื่น ทั้งๆ ที่ญาติหรือเพื่อนๆ ก็ยืนยันว่ายินดีช่วยเหลือ เขาไม่
เป็นภาระอะไรแต่ก็ยังคงคิดเช่นนั้นอยู่ ความรู้สึกเหล่านี้อาจ
ทำให้เจ้าตัวคิดถึงเรื่องการตายอยู่บ่อยๆ แรกๆ
ก็อาจคิดเพียงแค่อยากไปให้พ้นๆ จากสภาพตอนนี้ต่อมาเริ่ม
คิดอยากตายแต่ก็ไม่ได้คิดถึงแผนการณ์อะไรที่แน่นอนเมื่อ
อารมณ์เศร้าหรือความรู้สึกหมดหวังมีมากขึ้น ก็จะเริ่มคิดเป็น
เรื่องเป็นราวว่าจะทำอย่างไร ในช่วงนี้หากมีเหตุการณ์มา
กระทบกระเทือนจิตใจก็อาจเกิดการทำร้ายตนเองขึ้นได้จาก
อารมณ์ชั่ววูบ
3 สมาธิความจำแย่ลง จะหลงลืมง่าย โดยเฉพาะกับเรื่อง
ใหม่ๆ วางของไว้ที่ไหนก็นึกไม่ออก ญาติเพิ่งพูดด้วยเมื่อ
เช้าก็นึกไม่ออกว่าเขาสั่งว่าอะไร จิตใจเหม่อลอยบ่อย
ทำอะไรไม่ได้นานเนื่องจากสมาธิไม่มี ดูโทรทัศน์นานๆ
จะไม่รู้เรื่อง อ่านหนังสือก็ได้ไม่ถึงหน้า ประสิทธิภาพใน
การทำงานลดลง ทำงานผิดๆ ถูกๆ
https://www.thaihealth.or.th/Content/35697 https://www.thaipost.net/main/detail/26553
4 มีอาการทางร่างกายต่างๆ ร่วม ที่พบบ่อยคือจะรู้สึกอ่อนเพลีย
ไม่มีเรี่ยวแรง ซึ่งเมื่อพบร่วมกับอารมณ์รู้สึกเบื่อหน่ายไม่อยาก
ทำอะไร ทำให้คนอื่นดูว่าเป็นคนขี้เกียจ ปัญหาด้านการนอน
ก็พบบ่อยเช่นกัน มักจะหลับยาก นอนไม่เต็มอิ่ม หลับๆตื่นๆ
บางคนตื่นแต่เช้ามืดแล้วนอนต่อไม่ได้ จะรู้สึกเบื่ออาหาร
ไม่เจริญอาหารเหมือนเดิม น้ำหนักลดลงมาก บางคนลดลง
หลายกิโลกรัมภายใน 1 เดือน นอกจากนี้ยังอาจมีอาการท้อง
ผูก อืดแน่นท้อง ปากคอแห้ง อาการปวดหัว ปวดเมื่อยตามตัว
14
5 ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างเปลี่ยนไป ดังกล่าวบ้าง
แล้วข้างต้น ผู้ที่เป็นโรคนี้มักจะดูซึมลง ไม่ร่าเริง
แจ่มใส เหมือนก่อน จะเก็บตัวมากขึ้น ไม่ค่อยพูดจา
กับใคร บางคนอาจกลายเป็นคนใจน้อย อ่อนไหวง่าย
ซึ่งคนรอบข้างก็มักจะไม่เข้าใจว่าทำไมเขาถึงเปลี่ยน
ไป บางคนอาจหงุดหงิดบ่อยกว่าเดิม แม่บ้านอาจทน
ที่ลูกๆ ซนไม่ได้ หรือมีปากเสียงระหว่างคู่ครองบ่อยๆ
https://today.line.me/th/v2/article/G2rmN6
6 การงานแย่ลง ความรับผิดชอบต่อการงานก็ลดลง ถ้า
เป็นแม่บ้านงานบ้านก็ไม่ได้ทำ หรือทำลวกๆ เพียงให้
ผ่านๆ ไป คนที่ทำงานสำนักงานก็จะทำงานที่ละเอียด
ไม่ได้เพราะสมาธิไม่มี ในช่วงแรกๆ ผู้ที่เป็นอาจจะพอ
ฝืนใจตัวเองให้ทำได้ แต่พอเป็นมากๆ ขึ้นก็จะหมด
พลังที่จะต่อสู้ เริ่มลางานขาดงานบ่อยๆ ซึ่งหากไม่มีผู้
เข้าใจหรือให้การช่วยเหลือก็มักจะถูกให้ออกจากงาน
https://www.paolohospital.com/th-TH/chokchai4/Article/Details/อายุรกรรม/ https://allwellhealthcare.com/depression-elderly/
7 อาการโรคจิต จะพบในรายที่เป็นรุนแรงซึ่งนอกจากผู้ที่
เป็นจะมีอาการซึมเศร้ามากแล้ว จะยังพบว่ามีอาการของ
โรคจิตได้แก่ อาการหลงผิดหรือประสาทหลอนร่วมด้วย
ที่พบบ่อยคือ จะเชื่อว่ามีคนคอยกลั่นแกล้ง หรือประสงค์
ร้ายต่อตนเอง อาจมีหูแว่วเสียงคนมาพูดคุยด้วยอย่างไร
ก็ตามอาการเหล่านี้มักจะเป็นเพียงชั่วคราวเท่านั้น เมื่อได้
รับการรักษา อารมณ์เศร้าดีขึ้น อาการโรคจิตก็มัก
ทุเลาตาม
15
ผลกระทบ
โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
http://diamondcare.co.th/blog/elder-depression/ โรคซึมเศร้าส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ
https://today.line.me/th/v2/article/G2rmN6 และความคิด โดยอาการเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตใน
https://www.yuusook.com/content/ แต่ละวันอย่างมาก เช่น กินอาหารได้น้อยลง เบื่ออาหาร นอนไม่
หลับ สิ้นหวัง หดหู่ รู้สึกว่าตัวเองไม่มีความสุขกับชีวิตวิตกกังวล
ตลอดเวลาและที่สำคัญคือผู้ป่วยจะไม่สามารถรับมือกับปัญหาต่างๆที่
ต้องเผชิญในชีวิต
โดยข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก ระบุว่า มีประชากรทั่วโลก
ประสบกับโรคซึมเศร้าประมาณ 350 ล้านคน ซึ่งวัฒนธรรมที่แตก
ต่างกันก็มีผลต่ออัตราการเกิดภาวะซึมเศร้าได้ตามรายงานวารสาร
ประจำปีด้านสาธารณสุข(The Journal Annual Review of Public
Health)กล่าวว่าอัตราการเกิดภาวะซึมเศร้าของทุกเพศทุกวัยในญี่ปุ่น
จะอยู่ที่ 2.2% ซึ่งถือว่าค่อนข้างต่ำ ในขณะที่บราซิลนั้นมีอัตราการ
เกิดภาวะซึมเศร้าสูงถึง 10.4%
ส่วนในประเทศไทยนั้นโรคซึมเศร้าถือเป็นอีกหนึ่งปัญหาด้าน
สุขภาพที่มีความสำคัญ และน่าเป็นห่วงอย่างมากโดยสังเกตได้จาก
สังคมในปัจจุบันนี้ที่มักมีข่าวเกี่ยวกับปัญหาการฆ่าตัวตายรวมไปถึง
ปัญหาการทำร้ายร่างกายตัวเองและคนรอบข้าง ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้
นับเป็นเรื่องที่น่าสลดใจไม่น้อยทีเดียว นอกจากนี้ยังพบว่า 50%
ของผู้ที่ฟื้นตัวจากภาวะซึมเศร้าในครั้งแรก มักมีภาวะซึมเศร้าซ้ำอีก
หนึ่งครั้งหรือมากกว่านั้นและ 80% ของคนที่เคยป่วยเป็นโรคซึมเศร้า
มีภาวะซึมเศร้าเกิดขึ้นถึงสองครั้ง
16
https://www.gedgoodlife.com/health/
ผลกระทบต่อตนเอง ผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย
ผลกระทบต่อสมอง การเสื่อมสภาพของหัวใจและหลอดเลือด สิ่งหนึ่งที่
ฮิปโปแคมปัส เป็นส่วนของสมองที่รับผิดชอบเกี่ยว นักวิจัยพบ คือคนที่เป็นโรคซึมเศร้าในระยะยาวมีความ
กับความจำเหนือสิ่งอื่นใด ปัญหาใหญ่อย่างหนึ่งสำหรับผู้ เสี่ยงต่อการเสื่อมสภาพของหลอดเลือดหัวใจคนที่ซึมเศร้า
ที่มีภาวะซึมเศร้าในระยะยาวคือการสูญเสียความจำ และ เป็นเวลานานมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจวายนอก
ปัญหาความจำระยะสั้น นั่นเป็นเพราะสารเคมีที่ผลิตใน จากนี้เมื่อหัวใจวายหรือปัญหาหัวใจอื่น ๆ เกิดขึ้นกับผู้ที่มี
ฮิปโปแคมปัส และมีผลต่อการทำงานของมันหนึ่งในสาร ภาวะซึมเศร้าครั้งใหญ่จะพบว่าการฟื้นตัวยากขึ้น
เคมีที่ผลิตในฮิปโปแคมปัส คือคอร์ติซอลมีการผลิตคอร์ การขาดสารอาหาร อาการซึมเศร้ามักทำให้ความ
ติซอลมากขึ้นในช่วงเวลาของความเครียดทางร่างกาย อยากอาหารเปลี่ยนแปลงไป คุณอาจพบว่ามันยากที่จะกิน
หรือจิตใจเช่นความ เครียดจากภาวะซึมเศร้าคอร์ติซอลที่ อะไรเลย หรือคุณอาจพบว่าคุณกินอาหารที่ไม่ถูกต้องมาก
มากเกินไปในฮิปโปแคมปัสนี้ทำให้การผลิตเซลล์ประสาท เกินไป หากคุณไม่กินอะไรเลยนอกจากอาหารขยะหรือถ้า
ใหม่ช้าลง และอาจทำให้เซลล์ประสาทในฮิปโปแคมปัส คุณไม่กินมากเลยก็อาจเป็นเรื่องง่ายมากกว่าที่จะขาดสาร
หดตัวลงนี่คือสิ่งที่นำไปสู่ปัญหาด้านความจำ อาหารเมื่อเวลาผ่านไป ยิ่งอาการซึมเศร้าและความอยาก
เยื่อหุ้มสมองส่วนหน้า จะหดตัวลงเช่นกันเมื่อมีการ อาหารเปลี่ยนแปลงไปนานเท่าใดคุณก็ยิ่งเสี่ยงต่อการเป็น
ผลิตคอร์ติซอลมากเกินไป เมื่อเยื่อหุ้มสมองส่วนหน้าหด โรคขาดสารอาหารมากขึ้นเท่านั้น
ตัวจะทำให้เกิดปัญหาในการสร้างความทรงจำใหม่ความ โรคอ้วน การเปลี่ยนแปลงความอยากอาหารจาก
สามารถในการตัดสินใจ หรือมีความสามารถในการควบ ภาวะซึมเศร้าอาจทำให้เกิดโรคอ้วนได้เช่นกัน ภาวะซึม
คุมอารมณ์ เศร้าอาจทำให้เกิดพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่
เพียงพอซึ่งอาจทำให้คุณมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
17
ผลกระทบต่อครอบครัว การแยกตัวออกจากสังคม หลายคนหลายคน
ที่มีภาวะซึมเศร้าในระยะยาวกลายเป็นคนโดดเดี่ยว
ผู้สูงอายุที่ป่วยโรคซึมเศร้าบางครั้งจะมี ทางสังคมเมื่อคุณรู้สึกหดหู่คุณจะสูญเสียความสนใจ
อาการมักไม่ค่อยเป็นมิตรกับใคร มีพฤติกรรม ในกิจกรรมและสิ่งที่คุณเคยชอบ เมื่อคุณขาดความ
รุนแรง อารมณ์ฉุนเฉียว หงุดหงิดง่าย ขี้บ่น สนใจบวกกับการขาดพลังงานคุณจะหยุดออกไปมี
มากขึ้น มีเหตุผลน้อยลง ซึ่งบางครั้งอาจจะลง ส่วนร่วมทางสังคมและกิจกรรมต่างๆคุณอาจเบื่อที่
อารมณ์กับคนในครอบครัว ทำให้เกิดความบัน จะคุยกับเพื่อนของคุณ และให้พวกเขาถามคุณว่า
ทอนในความสัมพันธ์ของครอบครัว อะไรผิดอยู่ตลอดเวลาดังนั้นจงตัดใจจากพวกเขาที่
คิดว่าคุณทำเพื่อประโยชน์แก่พวกเขาหลายคนยิ่ง
ผลกระทบต่อสังคม ซึมเศร้านานเท่าไหร่ พวกเขาก็ยิ่งโดดเดี่ยวมากขึ้น
มีผลกระทบเล็กน้อยของภาวะซึมเศร้า
ในระยะยาวที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตของคุณ ผลกระ
ทบทางสังคม และเศรษฐกิจของภาวะซึมเศร้า
ในระยะยาวมักเกิดขึ้นบ่อยในผู้ที่มีอาการซึม
เศร้าเป็นเวลาหลายเดือนหรือหลายปี ยิ่งคุณ
เป็นโรคซึมเศร้านานเท่าไหร่โอกาสที่คุณจะมี
ปัญหาเหล่านี้ก็จะยิ่งมากขึ้นเท่านั้น
https://40plus.posttoday.com/health/10119/
18
วิธีการรักษาภาวะ
ซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
หากผู้สูงอายุอยู่ในภาวะซึมเศร้านานๆ โดยไม่ได้รับ 3. รักษาอาการนอนไม่หลับ การนอนไม่หลับดู
การรักษา จะกลายเป็นโรคซึมเศร้าและบางรายอาจมีโรค เหมือนจะเป็นปัจจัยสำคัญในภาวะซึมเศร้า และการที่
สมาธิความจำเสื่อมจนพัฒนาเป็นโรคสมองเสื่อมหรืออัล นอนไม่หลับเป็นปัญหาทั่วไปในผู้ใหญ่สูงอายุ วิธีหนึ่งใน
ไซเมอร์ได้วิธีการรักษาภาวะโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุมีดังนี้ การรักษาอาการนอนไม่หลับ ได้แก่ การออกกำลังกาย
เพื่อผ่อนคลายก่อนเข้านอนเพื่อสร้างความสงบในจิตใจ
1. ประเมินความเสี่ยงของการฆ่าตัวตาย ผู้สูงอายุมี และร่างกาย ลองพักผ่อนออกกำลังกายเช่น การหายใจ
ความเสี่ยงที่จะฆ่าตัวตายมากกว่า ภาวะซึมเศร้าสามารถ ลึกหรือการทำสมาธิบางคนใช้ยาตามสั่งแพทย์สำหรับ
เพิ่มโอกาสในการฆ่าตัวตายได้ ระวังสัญญาณเตือนการฆ่า ปัญหาการนอนหลับ ซึ่งสามารถหาได้จากแพทย์ คุณยัง
ตัวตายต่อไปนี้ พูดอยากฆ่าตัวตาย พูดว่าเป็นภาระของ สามารถใช้ทางเลือกที่มีประสิทธิภาพ
ครอบครัวหรือเพื่อน แสดงความรู้สึกไม่อยากมีชีวิต รู้สึกสิ้น
หวัง แจกสมบัติ พูดถึงการอยู่ในความเจ็บปวดหรือความ 4. พูดคุยกับผู้ให้บริการทางการแพทย์ หากคุณมี
ทุกข์ทรมานเหลือทน เรียกหรือเยี่ยมคนเที่รู้จักหรือคนที่ อาการปวดหรือปวดเมื่อยตามร่างกาย ให้ปรึกษาแพทย์
สนิทใจพื่อบอกลา คุณอาจต้องใช้ยาหรือการรักษาอื่นๆ เพื่อช่วยให้คุณรับ
มือกับความเจ็บปวดหรือเพิ่มการทำงานภายในร่างกาย
2. สังเกตอาการทางร่างกายว่ามีส่วนทำให้เกิดภาวะ ของคุณ คุณสามารถปรึกษาผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
ซึมเศร้า ผู้สูงอายุไม่เคยบ่นว่ารู้สึกเศร้า แต่พวกเขาอาจจะ ของยา ความเจ็บปวด ปวดเมื่อย หรืออาการทางกาย
บ่นถึงอาการทางร่างกายที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า เช่น ภาพอื่นๆ กับแพทย์ได้ เงื่อนไขเช่นอาการปวดหลังส่ง
ความเฉื่อย แรงจูงใจต่ำ และปัญหาทางกายภาพ เช่นโรค ผลกระทบต่อผู้สูงอายุจำนวนมาก แม้ว่าคุณจะไม่ต้อง
ข้ออักเสบ คุณอาจไม่ทราบว่าการปวดเมื่อยตามร่างกาย การยาให้ปรึกษาทางเลือกในการรักษากับผู้ให้บริการ
และความเจ็บปวดโดยไม่ทราบสาเหตุ สามารถบ่งบอกถึง
อาการซึมเศร้าได้เมื่ออายุมากขึ้น ผู้สูงอายุอาจสูญเสียการ
เคลื่อนไหวและการทำงาน เช่น การขับรถ พวกเขาอาจจะ
พัฒนาความพิการ การทำงานของร่างกายที่ลดลงอาจทำให้
เกิดอาการซึมเศร้าได้
19 https://www.thaihealth.or.th/Content/
5. หลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์ อย่าหันไปพึ่งแอลกอฮอล์ 8. เพิ่มความเพลิดเพลินให้กับชีวิตของคุณ หาเวลา
เพื่อรับมือกับความเจ็บปวดทางอารมณ์หรือทางร่างกาย ทำกิจกรรมสนุกๆ เพื่อช่วยรับมือกับอาการซึมเศร้า คิดถึง
แอลกอฮอล์สามารถนำไปสู่ปัญหาการนอนหลับโต้ตอบใน งานอดิเรกที่เคยทำให้คุณมีความสุข แล้วไปทำมันซะ สิ่ง
ทางลบกับยาที่ต้องสั่งโดยแพทย์ เพิ่มความรู้สึกซึมเศร้า เหล่านี้อาจรวมถึงการขี่จักรยาน ถักโครเชต์ ทำสวนหรือ
และกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง ถึงแม้ว่ามันอาจจะช่วย ทำอาหารคุณสามารถเดินเล่นหรือเพลิดเพลินกับธรรมชาติ
บรรเทาความเครียด ความเจ็บปวดทางกายหรือความเจ็บ การหัวเราะช่วยเพิ่มอารมณ์โดยอัตโนมัติ ดังนั้น จงหา
ปวดทางอารมณ์ได้ชั่วคราว ปัญหาที่คุณมีจะรอคุณอยู่เมื่อ โอกาสที่จะหัวเราะให้ได้มากที่สุดเชิญเพื่อนหรือครอบครัว
แอลกอฮอล์หมด มาเล่าเรื่องราวตลกๆ และเล่นเกมกระดานกับเพื่อน และ
คนในครอบครัว
6. มีส่วนร่วมในการสนับสนุนทางสังคม ผู้สูงอายุ
หลายคนรู้สึกโดดเดี่ยวและโดดเดี่ยวหากอาศัยอยู่ในสถาน 9. ทำงานผ่านความเศร้าโศก เมื่ออายุมากขึ้น พวก
พยาบาลหรืออยู่คนเดียว พวกเขาอาจรู้สึกห่างไกลหรือถูก เขาอาจประสบกับความสูญเสียมากขึ้นเรื่อยๆพ่อแม่พี่น้อง
ตัดขาดจากเพื่อนและครอบครัว การติดต่อทางสังคมเป็น คู่หูและเพื่อน ๆ อาจเริ่มเสียชีวิตบ่อยขึ้น การจัดการกับ
ปัจจัยสำคัญที่ช่วยป้องกัน และฟื้นตัวจากภาวะซึมเศร้า การสูญเสียหลังจากการสูญเสียอาจเป็นเรื่องที่ยาก โดย
การใกล้ชิดกับคนที่คุณรักสามารถสร้างความแตกต่างได้ เฉพาะอย่างยิ่ง หากมีบุคคลสำคัญหลายคนผ่านไปแล้วถึง
อย่างมากในความเป็นอยู่โดยรวมของคนๆหนึ่ง หากครอบ แม้ว่าเป็นเรื่องปกติที่จะเศร้า และเสียใจกับการสูญเสียให้
ครัวอยู่ห่างไกลให้พิจารณาเชื่อมต่อผ่านโทรศัพท์หรือผ่าน มองหาอาการซึมเศร้า หากบุคคลนั้นดูเหมือนหมดความ
วิดีโอคอลออนไลน์ เชื่อมต่อกับผู้สูงอายุคนอื่น ๆ และหา หวังและผิดปกติ อาจเป็นมากกว่าความโศกเศร้า สำหรับ
เพื่อน สร้างกิจกรรมให้ทำร่วมกัน เช่น ทานอาหารเย็น ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการที่จะรับมือกับการสูญเสีย ให้
หรือดูหนังด้วยกัน นั่งพูดคุยกันในเรื่องต่างๆ ตรวจสอบวิธีการรับมือกับความเศร้าโศก และวิธีการทำ
ความเข้าใจกับความเสียใจ
7. ค้นพบความรู้สึกของวัตถุประสงค์ ผู้สูงอายุบาง
คนอาจรู้สึกว่าไม่มีเหตุผลที่จะมีชีวิตอยู่ พวกเขาได้เห็นตัว 10. มีส่วนร่วมในการออกกำลังกาย ถึงแม้ว่า
ตนของพวกเขาว่าเป็นแม่หรือพ่อที่มีอาชีพ ตอนนี้โตและ การเคลื่อนไหวจะจำกัด แต่ก็มีท่าออกกำลังกายมากมาย
เกษียณแล้วอาจรู้สึกว่าไม่มีจุดมุ่งหมายแทนที่จะมีบทบาท ที่คุณสามารถทำได้ ท้ายที่สุดการออกกำลังกายอาจรักษา
ที่ต้องเติมเต็ม ให้เลือกบทบาทของคุณเองที่คุณต้องการ ภาวะซึมเศร้าได้อย่างมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับการใช้ยา
หากไม่มีจุดมุ่งหมาย ให้สร้างมันขึ้นมา อาจเป็นเรื่องง่ายๆ โดยไม่มีผลข้างเคียง ออกไปเดินเล่นในแต่ละวัน ทำความ
เช่น “ฉันเลือกใช้ชีวิตทุกช่วงเวลาอย่างสนุก สนานและ สะอาดแบบเบาๆ หรือทำงานบ้าน และเล่นกับหลานๆ
เพลิดเพลิน” หรือ “ฉันต้องการอุทิศเวลาให้กับการเรียนรู้ เพื่อทำกิจกรรมในแต่ละวัน คุณสามารถใช้ตุ้มน้ำหนักเพื่อ
ทักษะใหม่ๆ เช่น “การเล่นไวโอลิน” หรือ “ตอนนี้ฉัน รักษาหรือสร้างกล้ามเนื้อได้ หากคุณชอบการออกกำลัง
ทุ่มเทความพยายามให้กับหลานๆ” ดูแลสัตว์เลี้ยงเช่นแมว กายที่นุ่มนวลกว่า ให้พิจารณาแอโรบิกในน้ำหรือการยืด
หรือสุนัข กล้ามเนื้อเบาๆ
20
https://www.posttoday.com
11. อาสาสมัคร การเป็นอาสาสมัครช่วยให้คุณ 13. ถามเรื่องยา หากคุณคิดว่าการใช้ยาอาจเป็น
ติดต่อกับอาสาสมัครคนอื่นๆ และได้เพื่อนใหม่ในขณะ ประโยชน์ในการรักษาภาวะซึมเศร้า ให้ปรึกษาแพทย์
ที่ช่วยเหลือผู้อื่นเนื่องจากการแยกตัวเป็นส่วนใหญ่ของ หรือจิตแพทย์ โดยที่คุณสามารถอธิบายอาการของคุณ
ภาวะซึมเศร้า การเป็นอาสาสมัครช่วยให้คุณสามารถ และเขาหรือเธอ สามารถระบุได้ว่ายารักษาโรคซึมเศร้า
เชื่อมต่อกับผู้อื่น และยังต่อสู้กับภาวะซึมเศร้าได้อย่างมี นั้นเหมาะกับคุณหรือไม่ ยาบางชนิดไม่สามารถผสมกับ
ประสิทธิภาพมากขึ้นการเป็นอาสาสมัครสามารถช่วย ยาอื่นได้ ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณมีแผนภูมิทางการ
ให้คุณรู้สึกถึงจุดมุ่งหมาย และเหมือนกับว่าคุณมีบท แพทย์ และจดยาปัจจุบันทั้งหมด หากคุณกำลังใช้ยาอยู่
บาทสำคัญบางอย่าง ลองเป็นอาสาสมัครร่วมกับเด็กๆ ให้ถามแพทย์ว่าภาวะซึมเศร้าเป็นผลข้างเคียงหรือไม่
กับสัตว์ หรือทำงานเล็กๆน้อยๆให้กับองค์กรไม่แสวงหา หากเป็นเช่นนั้นให้ถามว่ามีทางเลือกอื่นหรือไม่
ผลกำไรในท้องถิ่น
14. ตรวจสอบการบำบัดด้วยเครื่องไฟฟ้า
12. พูดคุยกับนักจิตอายุรเวท การบำบัดสามารถ Electroconvulsive Therapy (ECT) บางครั้งใช้ในผู้
เป็นประโยชน์สำหรับคนจำนวนมาก เนื่องจากทำงาน สูงอายุที่ไม่สามารถใช้ยาสำหรับภาวะซึมเศร้าเนื่องจาก
ผ่านอาการซึมเศร้า การบำบัดสามารถช่วยสร้างทักษะ ผลข้างเคียงหรือปฏิกิริยาระหว่างยาอื่น ๆ หรือสำหรับผู้
ในการเผชิญปัญหาเปลี่ยนรูปแบบความคิดเชิงลบ และ ที่ได้รับผลกระทบจากภาวะซึมเศร้าที่ไม่สามารถทำ
ช่วยค้นพบวิธีที่จะใช้ชีวิตที่เติมเต็ม การบำบัดยังช่วยให้ หน้าที่ประจำวันได้ ECT ใช้กระแสน้ำขนาดเล็กที่ส่งไป
ผ่านพ้นความผิดหวังจากการสูญเสียในการเคลื่อนไหว ยังสมองเพื่อสร้างอาการชักเล็กน้อย อาการชักเหล่านี้ยัง
การสูญเสีย และความเศร้าโศก พิจารณาให้คำปรึกษา สามารถกระตุ้นให้สมองเดินสายใหม่ และยังช่วยให้มี
เพื่อรับมือกับความเจ็บป่วยในช่วงระยะยาวหรือปัญหา อาการซึมเศร้ารุนแรงได้ แม้ว่าECTอาจมีผลข้างเคียง
สุขภาพที่ส่งผลต่อความรู้สึกซึมเศร้า การให้คำปรึกษา บ้างแต่แนว ทางปฏิบัติในปัจจุบันใช้ยาสลบ (ในขณะที่
ยังเป็นประโยชน์ในการจัดการกับความกลัว การรักษาในอดีตไม่ได้ผล) มีความปลอดภัยมากกว่าที่
เคยเป็นมาในครั้งแรกที่นำมาใช้เป็นแนวทางการรักษา
21
กิจกรรมนันทนาการที่เกี่ยวกับ
ผู้ป่วยซึมเศร้า
จากรายงานระบุว่าประมาณร้อยละ30ของผู้ที่มีอายุมากกว่า60ปีขึ้นไปเคยมีประสบการณ์ของการมีภาวะ
ซึมเศร้าที่รุนแรงอย่างน้อยหนึ่งครั้ง ซึ่งส่งผลต่อสุขภาวะของผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง กิจกรรมนันทนาการที่เหมาะ
สมสำหรับผู้สูงอายุควรเป็นกิจกรรมเบาๆที่ผู้สูงอายุเลือกทำตามความต้องการ หรือผู้ดูแลผู้สูงอายุจัดให้เหมาะสม
กับผู้สูงอายุ
1.กิจกรรมทางสังคม ได้แก่ การร่วมในงานบุญ งานประเพณี งานเทศกาล งานของเพื่อนบ้าน ซึ่งเป็นกิจกรรม
ภายในชุมชนที่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังเข้าร่วมอยู่ นอกจากนั้นผู้สูงอายุบางส่วนยังเข้าร่วมเป็นสมาชิกชมรมหรือกลุ่ม
เช่น ชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มศาสนา ซึ่งผู้สูงอายุเองเห็นด้วยว่ามีความจำเป็นที่ผู้สูงอายุควรเข้าสังคมพบปะกับบุคคล
ต่างๆ ในสังคมบ้าง โดยเฉพาะการพบปะพูดคุยกับลูกหลาน ญาติ เพื่อนฝูง ตลอดจนการดูโทรทัศน์กับครอบครัว
ศึกษาปฏิบัติธรรม และปลูกต้นไม้กับครอบครัวหรือเพื่อนร่วมวัยเดียวกัน
2.กิจกรรมการออกกำลังกาย เป็นสิ่งที่มีประโยชน์แก่ผู้สูงอายุซึ่งมีการเปลี่ยนของ ร่างกายจากความเสื่อมจึง
จำเป็นต้องออกกำลังกายเพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพและพิการของอวัยวะต่างๆ เช่น กล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ปอด และหัวใจ เป็นต้น การออกกำลังกายยังช่วยให้ร่างกายคล่องตัว ไม่หกล้มง่าย และไม่อ้วนเกินไป ซึ่งเป็น
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หรือความดันโลหิตสูง นอกจากนั้นยังช่วยให้ผู้สูงอายุได้ลด
ความเครียด และทำให้สมรรถภาพทางเพศดีขึ้นด้วย
กิจกรรมการออกกำลังกายมีหลายรูปแบบ ได้แก่
1)การทำกายบริหาร เช่น การรำมวยจีน การฝึกโยคะ เป็นต้น
2)การออกกำลังกายแบบแอโรบิก เป็นการเคลื่อนไหวของร่างกายอย่างต่อเนื่อง นานประมาณ 3-5 นาทีขึ้น
ไป เพื่อช่วยป้องกันโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ ซึ่งควรได้รับการตรวจสุขภาพและคำแนะนำจากแพทย์ก่อน
3)การเล่นกีฬาหรือเกม เช่น เล่นหมากรุก หมากฮอส กอล์ฟ โยนห่วง เปตอง ทอยเกือกม้า และเกมต่างๆ
22
กิจกรรมนันทนาการที่เกี่ยวกับ
ผู้ป่วยซึมเศร้า
3.กิจกรรมการท่องเที่ยว ได้แก่ การเดินทางไกลในโลกกว้าง การท่องเที่ยวในเมืองไทยทั้งใน
กรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด การเป็นมัคคุเทศก์หรือไกด์บรรยายในการท่องเที่ยว การเขียนหนังสือคู่มือ
การท่องเที่ยว
4.กิจกรรมงานอดิเรก เช่น การทำงานฝีมือต่างๆ งานเย็บปักถักร้อย ทอผ้า ทำหุ่น ทำอาหารคาวอาหาร
หวาน
งานวาดภาพ ฟ้อนรำหรือเต้นรำ ร้องเพลง งานช่างไม้ การจัดสวน เป็นต้น
สรุปได้ว่า นันทนาการสำหรับผู้สูงอายุควรเป็นกิจกรรมที่ไม่หักโหมหรือแข่งขัน แต่ควรเป็นกิจกรรมที่
สร้างความสนุกสนานรื่นเริงบันเทิงใจ และเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรม อันได้แก่
กิจกรรมทางสังคม กิจกรรมการออกกำลังกาย กิจกรรมการท่องเที่ยว และกิจกรรมงานอดิเรก
https://www.canva.com/media/MADyRNsXNnk
23
บรรณานุกรม
กระทรวงสาธารณะสุข กรมสุขภาพจิต. 2561. สถิติผู้สูงอายุฆ่าตัวตาย อันดับ 2 อาชีพตำรวจก็ด้วย.(ออนไลน์).
แหล่งที่มา: https://www.dmh.go.th. 5 ตุลาคม 2564.
_______________. 2562. นันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ แก้เหงาลดทอนโรคซึมเศร้า. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา: https://www.dmh.go.th. 12 ตุลาคม 2564.
_______________. 2562. โรคซึมเศร้า...เรากำลังเป็นหรือเปล่า?. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา: https://www.dmh.g.th/. 5 ตุลาคม 2564.
ไทยรัฐ ออนไลน์. 2560. เคสป่วยซึมเศร้า หนุ่มหล่อก่อคดี. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา: https://www.thairath.co.th/. 9 ตลาคม 2564.
นันทิรา หงษ์ศรีสุวรรณ์. 2559. ภาวะซึมเศร้า Depression. พิมพ์ครั้งที่ 38.
สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรนี. 2564. คุณภาพการนอนหลับ และภาวะซึมเศร้าของ
ผู้สูงอายุในอำเภอท่าใหม่ จังหวัด จันทบุรี. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา: http://www.eresearch.rbru.ac.th. 15 ตุลาคม 2564.
มาโนช หล่อตระกูล. 2560. โรคซึมเศร้าโดยละเอียด. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา: https://med.mahidol.ac.t/. 11 ตุลาคม 2564.
วนบุษป์ ยุพเกษตร. 2560. เปิดสถิติโรคใหม่ ในโลกใหม่. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา: https://hr.tcdc.or.th. 14 ตุลาคม 2564.
Bumrungrad International hospital. 2563. โรคซึมเศร้า. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา: https://www.bumrungrad.com. 11 ตุลาคม 2564.
MATICHON ONLINE. 2563. สังคมไทยกับโรคซึมเศร้า. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา: https://www.matichon.co.th/. 6 ตุลาคม 2564.
SND (นามแฝง). 2563. โรคซึมเศร้าในวัยรุ่น ความเปราะบางของวัย กับโรคทางใจที่น่าเป็นห่วง. (ออนไลน์).
แหล่งที่มา: https://www.stopdrink.com. 6 ตุลาคม 2564.
24
คณะผู้จัดทำ
นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1
คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีจังหวัดนนทบุรี รุ่นที่ 30
64123301002 นางสาวกชพรรณ อัศวานึก 1A
64123301011 นางสาวกัญญารัตน์ พงษ์สว่าง 1B
64123301021 นางสาวจิตราดา ทองพันธ์อยู่ 1B
64123301030 นางสาวฉันทนา พิลาทอง 1B
64123301039 นางสาวช่อทิพย์ เหรียญประยูร 1B
64123301075 นางสาวนนทะณัฐดา นิพรรัมย์ 1A
64123301104 นางสาวปาริชาติ ปิ่ นทอง 1A
64123301107 นางสาวพรฤดี พลหลา 1B
64123301120 นางสาวภนิดา ลาเทิง 1B
64123301140 นางสาววริศรา สังขดี 1A
64123301145 นางสาวศศิกานต์ หมดทุกข์ 1A
64123301154 นางสาวสิริกุล นาคคงคำ 1A
64123301169 นางสาวอริสา เชยพิมพ์ 1A
"โรคซึมเศร้า" อย่าคิดว่าเป็นโรคที่"ตลก"หรือไร้
สาระ เพราะโรคนี้มันน่ากลัวกว่าที่บางคนคิด....
อ ย า ก ใ ห้ ค น ร อ บ ข้ า ง ที่ กำ ลั ง ม อ ง เ ห็ น ค ว า ม เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
ข อ ง " พี่ น้ อ ง ส า มี ภ ร ร ย า ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว ห รือ แ ม้ ก ร ะ ทั่ ง
เ พื่ อ น " # ช่ ว ย เ ข้ า ไ ป ใ ห้ กำ ลั ง ใ จ เ ข า # ช่ ว ย ทำ ใ ห้ เ ข า รู้ สึ ก ว่ า
มี ค่ า แ ล ะ มี ตั ว ต น สำ ห รั บ พ ว ก คุ ณ
- สมมาตร์ แก้วพงหงษ์ษา -
elderly
patinents with
major Depression