The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายประชุม ปุ่มแก้ว, 2020-06-23 15:42:22

ตอนที่2หน่วย4

ตอนที่2หน่วย4

๔หนว� ยการเรย� นรทูŒ ี่

พลเมืองดใี นระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษตั ร�ยท รงเปšนประมขุ

เวลา ๑๐ ช�วั โมง

แผนการจดั การเรยี นรูŒที่ ๒๑ หลักการประชาธิปไตย: สิทธแิ ละเสรภี าพ เวลา ๑ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรทŒู ี่ ๒๒ หลกั การประชาธปิ ไตย: ความเสมอภาค เวลา ๑ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรทŒู ่ี ๒๓ วิถปี ระชาธิปไตย เวลา ๑ ชว่ั โมง
แผนการจดั การเรยี นรทŒู ี่ ๒๔ การมีสว นรวมในกจิ กรรมตา ง ๆ ของสังคม เวลา ๑ ชว่ั โมง
แผนการจัดการเรียนรูŒท่ี ๒๕ การตดั สินใจโดยใชเหตุผล เวลา ๑ ชวั่ โมง
แผนการจดั การเรียนรทูŒ ่ี ๒๖ การมีสว นรวมและรับผิดชอบ เวลา ๑ ชวั่ โมง
เวลา ๑ ชัว่ โมง
ในการตดั สินใจตอ กิจกรรมของหองเรยี น เวลา ๑ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรยี นรูŒที่ ๒๗ การมสี ว นรว มและรับผดิ ชอบ เวลา ๑ ช่ัวโมง
เวลา ๑ ชั่วโมง
ในการตดั สนิ ใจตอกิจกรรมของโรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรูŒท่ี ๒๘ การตรวจสอบขอ มูล
แผนการจัดการเรียนรูŒท่ี ๒๙ ความมีวนิ ัยในตนเองในการเปนพลเมืองดี

ในระบอบประชาธิปไตย
แผนการจดั การเรียนรูŒท่ี ๓๐ กิจกรรมบูรณาการ ทบทวน โครงงาน

และทดสอบกลางภาค

คูมอื ครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพิ่มเตมิ หนา ท่พี ลเมือง ๑–๒ ม. ๑ 127

แผนการจัดการเร�ยนรทูŒ ่ี ๒๑

หลักการประชาธปิ ไตย: สทิ ธิและเสรภ� าพ

กลม‹ุ สาระการเรียนรสูŒ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ ๑
หนว‹ ยการเรยี นรŒทู ี่ ๔ พลเมอื งดใี นระบอบประชาธิปไตย เวลา ๑ ชว่ั โมง

อนั มพี ระมหากษัตริยท รงเปนประมุข

๑. จุดเนนŒ

จุดเนนŒ ท่ี ๓ ความเปน พลเมอื งดีในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข
๓.๑ การดาํ เนนิ ชีวิตตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย

จุดเนนŒ ที่ ๕ ความมีวินัยในตนเอง
ความขยนั หมนั่ เพียร ความอดทน การใฝห าความรู การตัง้ ใจปฏบิ ัติหนา ที่

๒. ผลการเรียนรูŒ

๖. ปฏบิ ัติตนเปน พลเมืองดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตย
๑๐. ปฏิบัติตนเปนผมู วี ินยั ในตนเอง

๓. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด

ในระบอบประชาธิปไตยประชาชนทุกคนตางมีสิทธิและเสรีภาพอยางเทาเทียมกัน บุคคลอื่นใด
จะมาละเมิดสิทธแิ ละเสรีภาพเหลา น้ีไมได

๔. สาระการเรียนรูŒ

๑. พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
๑.๑ หลักการประชาธปิ ไตย
• สิทธแิ ละเสรภี าพ

๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผูเŒ รียน

๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต

๖. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค

๑. มวี นิ ยั
๒. ใฝเ รียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ

128 คมู อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หนา ท่พี ลเมือง ๑–๒ ม. ๑

๗. ช้นิ งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี น
– การสบื คน ขอมูลเกี่ยวกบั สทิ ธแิ ละเสรภี าพ
– การอภิปรายเกย่ี วกับสทิ ธแิ ละเสรภี าพ
– การทาํ กจิ กรรม/ใบงาน

๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรŒู

ดŒานความรูŒ (K) ดŒานคณุ ธรรม จริยธรรม ดŒานทักษะ/กระบวนการ (P)
๑. ทดสอบกอ นเรียน และค‹านยิ ม (A) • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ
๒. ซักถามความรูเรื่อง สทิ ธิ
• ประเมนิ พฤติกรรมในการ ทำงานเปน รายบุคคลและ
และเสรภี าพ ทำงานเปน รายบุคคลในดา น เปน กลุมในดานการส่อื สาร
๓. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม ความมวี นิ ยั ความใฝเรยี นรู การคดิ การแกปญหา ฯลฯ
ฯลฯ
เปนรายบคุ คลและเปนกลุม

๙. กจิ กรรมการเรียนรูŒ

ข้นั นําเขาŒ สบู‹ ทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสงิ่ แวดลอ มในการเรยี นรทู เี่ หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเปนกลุม นํานักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หองโสตทัศนศึกษา สนามหญา ใตร มไม
๒. ครูแจง ผลการเรียนรใู หนกั เรียนทราบ
๓. ครใู หน กั เรยี นทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี น โดยแจกแบบทดสอบใหน กั เรยี นทกุ คน แลว ใหน กั เรยี น
ทาํ แบบทดสอบ โดยเขียนเครื่องหมาย 7 ทบั ตวั อักษร (ก–ง) หนาคําตอบทถ่ี ูกตอ งทสี่ ุดเพียงคําตอบ
เดียว จากนน้ั ตรวจใหคะแนน แตย ังไมตอ งเฉลยคาํ ตอบ
๔. ครูใหนักเรียนชวยกันตอบวา หากมีคนอ่ืนมาบังคับไมใหเราพูด ไมใหเราขยับรางกาย หรือ
ไมใ หเราเดินทางไปไหนมาไหน เราจะรูสกึ อยา งไร
๕. หลงั จากทน่ี กั เรยี นชว ยกนั ตอบแลว ครอู ธบิ ายสรปุ วา การกระทาํ เหลา นถ้ี อื เปน การละเมดิ สทิ ธิ
และเสรีภาพของเรา เมื่อเราถูกบุคคลอ่ืนมาละเมิดสิทธิและเสรีภาพเรายอมรูสึกไมชอบ อึดอัด และ
ไมพอใจ เราจงึ ไมค วรละเมดิ สทิ ธิและเสรีภาพของบคุ คลอนื่ เพื่อเชื่อมโยงเขาสเู น้อื หาทจ่ี ะเรยี น
ขัน้ จัดกจิ กรรมการเรียนรŒู
๖. ครใู หน กั เรยี นอา นเนอื้ หาเรอื่ ง สทิ ธแิ ละเสรภี าพ จากหนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง
๑–๒ ม. ๑ ของ วพ. แลวสนทนาซกั ถามนักเรยี นเกี่ยวกบั เร่อื งทอี่ านในประเด็นตาง ๆ

คมู อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพม่ิ เติม หนาที่พลเมือง ๑–๒ ม. ๑ 129
๗. ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพนอกเหนือจากท่ีนําเสนอในหนังสือเรียน
จากนัน้ ใหน กั เรียนรวมกันอภปิ รายวา ตนเองมสี ิทธิและเสรภี าพเทาเทียมกับผูใหญหรอื ไม อยา งไร
๘. หลงั จากทอี่ ภิปรายจบ ครูและนักเรียนรว มกนั สรปุ ผลการอภิปราย โดยใหนกั เรยี นบันทกึ ลง
ในแบบบนั ทกึ ผลการอภิปราย
๙. ในขณะปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของนกั เรยี น ใหค รสู งั เกตพฤตกิ รรมในการทาํ งานและการนาํ เสนอผลงาน
ของนกั เรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทาํ งานเปน รายบคุ คล
ขน้ั ขยายความรŒู
๑๐. ครูใหนักเรียนชวยกันวิเคราะหวา หากนักเรียนในหองของเราไมเคารพสิทธิและเสรีภาพของ
เพื่อน ๆ หองเรยี นของเราจะเปน อยางไร
ขนั้ ประเมิน
๑๑. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเร่ืองอะไรบางท่ียัง
ไมเขา ใจหรอื มีขอสงสยั ถา มีครูชวยอธิบายเพ่มิ เติมใหนักเรยี นเขา ใจ
๑๒. ครใู หน กั เรยี นรว มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมวา มปี ญ หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม กี ารแกไ ข
อยางไรบาง
๑๓. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนที่ไดรับจากการเรียนหัวขอน้ี
และการปฏิบตั กิ จิ กรรม
๑๔. ครูทดสอบความเขาใจของนักเรียนโดยการใหต อบคาํ ถาม เชน

๑) สิทธแิ ละเสรีภาพคืออะไร
๒) นักเรยี นมสี ทิ ธแิ ละเสรภี าพอะไรบาง
๓) นกั เรียนตองปฏิบัติตามหลักสิทธแิ ละเสรภี าพหรอื ไม เพราะอะไร
๑๕. ครูใหนักเรียนทาํ กิจกรรม/ใบงานที่ ๒๑ เร่อื ง สิทธิและเสรภี าพ เปนการบาน
ขั้นสรุปและนําไปใชŒ
๑๖. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่อง สิทธิและเสรีภาพ โดยใหนักเรียนบันทึกขอสรุป
ลงในแบบบนั ทกึ ความรู หรอื สรปุ เปน ความเรยี ง แผนทค่ี วามคดิ หรอื ผงั มโนทศั นล งในสมดุ พรอ มตกแตง
ใหส วยงาม
๑๗. ครูใหนักเรียนนําความรูท่ีไดเรียนมาไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน รวมท้ังนําไปเผยแพรให
บุคคลอน่ื เชน คนในครอบครวั เพอ่ื นบา น ไดรแู ละเขาใจ

๑๐. สอ่ื การเรยี นรŒแู ละแหล‹งการเรยี นรูŒ

๑. แบบทดสอบกอนเรียน
๒. กิจกรรม/ใบงานที่ ๒๑ เร่อื ง สทิ ธิและเสรภี าพ
๓. แบบประเมนิ พฤติกรรมในการทาํ งานเปน รายบุคคล
๔. แบบบนั ทึกผลการอภิปราย
๕. แบบบนั ทึกความรู
๖. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จาํ กดั

130 คูม อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนา ทีพ่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ ผสŒู อน

๑๑. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรูŒ

๑. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นรู
แนวทางแกไ ข

๓. สง่ิ ที่ไมไ ดป ฏิบตั ติ ามแผน
เหตุผล

๔. การปรับปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู

ลงช่ือ
//

คูม อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพิม่ เตมิ หนาท่ีพลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ 131

แผนการจดั การเร�ยนรŒทู ่ี ๒๒

หลกั การประชาธิปไตย: ความเสมอภาค

กล‹ุมสาระการเรียนรสŒู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑
หน‹วยการเรยี นรูทŒ ่ี ๔ พลเมอื งดใี นระบอบประชาธปิ ไตย เวลา ๑ ช่วั โมง

อันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข

๑. จุดเนŒน

จดุ เนŒนที่ ๓ ความเปน พลเมอื งดีในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ
๓.๑ การดําเนนิ ชีวติ ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย

จุดเนŒนที่ ๕ ความมีวนิ ยั ในตนเอง
ความซื่อสัตยสุจริต ความขยันหมั่นเพียร ความอดทน การใฝหาความรู การต้ังใจปฏิบัติ

หนาท่ี การยอมรับผลที่เกดิ จากการกระทําของตนเอง

๒. ผลการเรยี นรŒู

๖. ปฏบิ ตั ติ นเปนพลเมืองดตี ามวิถปี ระชาธปิ ไตย
๑๐. ปฏบิ ตั ติ นเปนผูม ีวินยั ในตนเอง

๓. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด

ในสงั คมประชาธปิ ไตย ทกุ คนตา งมคี วามเสมอภาคเทา เทยี มกนั ทง้ั ในดา นโอกาส การเมอื ง กฎหมาย
เศรษฐกิจ และสงั คม

๔. สาระการเรียนรูŒ

๑. พลเมืองดตี ามวถิ ีประชาธิปไตย
๑.๑ หลกั การประชาธิปไตย
• ความเสมอภาค

๕. สมรรถนะสําคัญของผŒูเรยี น

๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ิต

๖. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค

๑. มวี ินัย
๒. ใฝเ รียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ

132 คมู ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพิม่ เตมิ หนา ท่พี ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑

๗. ชน้ิ งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การตอบคําถามเกย่ี วกับความเสมอภาค
– การทํากจิ กรรม/ใบงาน

๘. การวดั และประเมินผลการเรียนรŒู

ดาŒ นความรŒู (K) ดาŒ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดŒานทกั ษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซกั ถามความรเู ร่ือง และค‹านยิ ม (A) • ประเมินพฤตกิ รรมในการ

ความเสมอภาค • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ ทำงานเปนรายบุคคลและ
๓. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม ทำงานเปน รายบคุ คลในดาน เปน กลมุ ในดานการสื่อสาร
ความมีวนิ ยั ความใฝเ รยี นรู การคิด การแกปญหา ฯลฯ
เปน รายบคุ คลและเปน กลมุ ฯลฯ

๙. กิจกรรมการเรียนรูŒ

ขนั้ นําเขาŒ สบ‹ู ทเรียน
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอื่ กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U น่ังเรียนเปนกลุม นํานักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หองโสตทัศนศกึ ษา สนามหญา ใตร ม ไม
๒. ครูแจงผลการเรยี นรูใ หนักเรียนทราบ
๓. ครูใหนักเรียนดูภาพเด็กที่กําลังเรียนหนังสืออยูในโรงเรียนกับเด็กที่กําลังน่ังขอทาน แลว
ซกั ถามนักเรยี นวา หลังจากทด่ี ภู าพท้ังสองแลว นักเรยี นรสู ึกอยางไร
๔. หลังจากท่ีนักเรียนตอบคําถามจบแลว ครูสรุปวา ภาพทั้ง ๒ ภาพน้ี แสดงถึงการไมไดรับ
ความเสมอภาคเทาเทียมกันในดานการไดรับโอกาสทางการศึกษา แลวเชื่อมโยงไปสูเนื้อหาท่ีจะเรียน
ข้นั จัดกจิ กรรมการเรียนรูŒ
๕. ครูอธิบายเนอ้ื หาเรื่อง ความเสมอภาค ในหนังสอื เรยี น รายวชิ าเพิ่มเติม หนาที่พลเมอื ง ๑–๒
ม. ๑ ของ วพ. ใหนกั เรียนฟง แลว สนทนาซักถามนกั เรียนเก่ียวกบั เร่อื งท่อี ธบิ ายในประเดน็ ตาง ๆ
๖. ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับความเสมอภาคของคนไทยในปจจุบัน แลวนําขอมูลมา
ตอบคาํ ถามตอ ไปนี้

๑) คนไทยมคี วามเสมอภาคกนั ในดานใดบาง
๒) นักเรียนพอใจกบั ความเสมอภาคของคนไทยในปจจบุ นั หรอื ไม อยางไร
๓) ปจจบุ นั สังคมไทยเกดิ ปญ หาเกี่ยวกับความเสมอภาคของคนในสังคมหรอื ไม อยา งไร
๔) นักเรียนคดิ วา ขอ ดีของความเสมอภาคทีค่ นไทยไดร ับในปจจบุ นั มีอะไรบาง
๕) นกั เรียนคิดวา ตนเองจะนําความเสมอภาคทีไ่ ดรับไปใชใ หเกิดประโยชนไดอ ยา งไรบาง
๖) จากการสืบคนขอมูลเก่ียวกับความเสมอภาคของคนไทยในปจจุบัน นักเรียนไดขอสรุป
อยางไร

คมู ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ 133
โดยใหนักเรียนบันทึกลงในแบบบันทึกคําถาม–คําตอบ เร่ือง ความเสมอภาคของคนไทย
ในปจ จบุ ัน
๗. หลงั จากทน่ี กั เรยี นตอบคาํ ถามเสรจ็ แลว ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั สรปุ ความรจู ากการทาํ กจิ กรรม
โดยใหนกั เรียนบนั ทกึ ลงในสมุด
ขนั้ ขยายความรŒู
๘. ครูใหนักเรียนเขียนเรียงความเรื่อง “ความเสมอภาคท่ีขาพเจาไดรับ” ความยาวประมาณ
๑ หนา กระดาษ จากน้นั ครสู มุ นักเรยี นนาํ เสนอผลงานหนา ชัน้ เรยี น ประมาณ ๓–๕ คน
ขัน้ ประเมนิ
๙. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอท่ีเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเร่ืองอะไรบางท่ียัง
ไมเขาใจหรอื มขี อ สงสยั ถา มคี รชู ว ยอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ใหน กั เรยี นเขา ใจ
๑๐. ครใู หน กั เรยี นรว มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมวา มปี ญ หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม กี ารแกไ ข
อยางไรบาง
๑๑. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชนที่ไดรับจากการเรียนหัวขอนี้
และการปฏิบัติกิจกรรม
๑๒. ครูทดสอบความเขา ใจของนักเรียนโดยการใหตอบคําถาม เชน
๑) ความเสมอภาคคืออะไร
๒) นกั เรยี นไดรบั ความเสมอภาคเทา เทยี มกับคนอืน่ ๆ หรอื ไม เพราะอะไร
๑๓. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม/ใบงานท่ี ๒๒ เรื่อง ความเสมอภาค เปนการบาน
ขัน้ สรุปและนําไปใชŒ
๑๔. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเร่ือง ความเสมอภาค โดยใหนักเรียนบันทึกขอสรุปลงใน
แบบบนั ทกึ ความรู หรือสรุปเปนความเรียง แผนทีค่ วามคิดหรอื ผงั มโนทศั นล งในสมุด พรอ มตกแตง ให
สวยงาม
๑๕. ครูใหนักเรียนนําความรูที่ไดเรียนมาไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน รวมท้ังนําไปเผยแพรให
บุคคลอื่น เชน คนในครอบครัว เพอื่ นบาน ไดรูและเขา ใจ

๑๐. สอื่ การเรียนรูŒและแหลง‹ การเรียนรูŒ

๑. ภาพเดก็ ท่ีกําลงั เรียนหนังสืออยูในโรงเรียนกบั เด็กที่กาํ ลงั นง่ั ขอทาน
๒. กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๒๒ เร่ือง ความเสมอภาค
๓. แบบบนั ทกึ คําถาม–คําตอบ เรอ่ื ง ความเสมอภาคของคนไทยในปจจุบนั
๔. แบบบันทกึ ความรู
๕. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จาํ กดั

134 คูม อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนา ทีพ่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ ผสŒู อน

๑๑. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรูŒ

๑. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นรู
แนวทางแกไ ข

๓. สง่ิ ที่ไมไ ดป ฏิบตั ติ ามแผน
เหตุผล

๔. การปรับปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู

ลงช่ือ
//

คมู ือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพิ่มเติม หนาที่พลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ 135

แผนการจดั การเรย� นรูŒที่ ๒๓

ว�ถปี ระชาธปิ ไตย

กลุ‹มสาระการเรียนรŒูสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี ๑
หน‹วยการเรียนรŒทู ี่ ๔ พลเมอื งดีในระบอบประชาธปิ ไตย เวลา ๑ ชัว่ โมง

อันมีพระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมขุ

๑. จุดเนŒน

จุดเนนŒ ท่ี ๓ ความเปนพลเมอื งดใี นระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ
๓.๑ การดาํ เนนิ ชีวิตตามวิถีประชาธปิ ไตย

จุดเนนŒ ท่ี ๕ ความมวี ินยั ในตนเอง
ความซือ่ สัตยสุจรติ ความขยนั หมั่นเพยี ร ความอดทน การต้ังใจปฏิบัติหนาท่ี

๒. ผลการเรียนรูŒ

๖. ปฏบิ ัตติ นเปน พลเมอื งดตี ามวิถปี ระชาธปิ ไตย
๑๐. ปฏบิ ตั ติ นเปนผมู วี ินยั ในตนเอง

๓. สาระสําคญั /ความคิดรวบยอด

คนท่ีดําเนนิ ชวี ติ ตามวิถีประชาธปิ ไตยจะตอ งเคารพเหตุผล รูจ กั การประนปี ระนอม มรี ะเบียบวินัย
และมคี วามรบั ผิดชอบตอสวนรวม

๔. สาระการเรียนรŒู

๑. พลเมืองดตี ามวิถปี ระชาธิปไตย
๑.๒ วถิ ปี ระชาธปิ ไตย

๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผเŒู รียน

๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค

๑. มีวนิ ยั
๒. ใฝเ รยี นรู
๓. มีจิตสาธารณะ

136 คูมอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพ่ิมเตมิ หนา ท่ีพลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑

๗. ชิน้ งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การสาํ รวจเกย่ี วกบั การปฏิบัตติ นตามวถิ ปี ระชาธิปไตย
– การแสดงบทบาทสมมุตเิ กีย่ วกบั วถิ ีประชาธปิ ไตย
– การทาํ กจิ กรรม/ใบงาน

๘. การวัดและประเมินผลการเรยี นรŒู

ดาŒ นความรŒู (K) ดŒานคุณธรรม จริยธรรม ดŒานทกั ษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซักถามความรเู รื่อง และค‹านิยม (A) • ประเมินพฤตกิ รรมในการ

วิถปี ระชาธิปไตย • ประเมินพฤติกรรมในการ ทำงานเปน รายบุคคลและ
๓. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ทำงานเปนรายบคุ คลในดา น เปน กลมุ ในดานการสือ่ สาร
ความมีวนิ ัย ความใฝเรียนรู การคดิ การแกปญ หา ฯลฯ
เปน รายบุคคลและเปน กลมุ ฯลฯ

๙. กจิ กรรมการเรียนรŒู

ขนั้ นําเขาŒ สูบ‹ ทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสงิ่ แวดลอ มในการเรยี นรทู เี่ หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดน่ังเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเปนกลุม นํานักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หองโสตทศั นศกึ ษา สนามหญาใตรมไม
๒. ครูแจงผลการเรยี นรใู หนกั เรยี นทราบ
๓. ครูใหนักเรียนทองบทอาขยานคานิยมหลัก ๑๒ ประการ พรอม ๆ กัน จากนั้นครูอธิบายวา
คานิยมหลักประการท่ี ๗ เขาใจ เรียนรู การเปนประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
ที่ถูกตอง เปนส่ิงสําคัญที่จะทําใหเราปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยได
๔. ครูใหนักเรียนดูภาพคนที่กําลังทะเลาะเบาะแวงกันและภาพคนที่กําลังน่ังคุยปรึกษาหารือกัน
แลวซักถามนักเรียนวา หลังจากที่ดูภาพแลว นักเรียนมีความคิดเห็นอยางไร
๕. หลังจากท่ีนกั เรยี นแสดงความคดิ เหน็ แลว ครอู ธบิ ายวา ภาพท้งั สองนเี้ ปน ภาพทแี่ สดงถึงการ
ใชอ ารมณก บั การใชเ หตผุ ลตดั สนิ ปญ หา โดยหากเราใชอ ารมณต ดั สนิ ปญ หากจ็ ะกอ ใหเ กดิ ผลรา ยมากกวา
ผลดี เราจึงควรใชเหตุผลตัดสินปญหาทุกครั้ง เชนเดียวกับผูที่ปฏิบัติตนตามวถิ ีประชาธปิ ไตย ซึง่ จะ
เคารพเหตุผลมากกวาใชอ ารมณใ นการตดั สินใจหรือตดั สินปญ หา เพอื่ เชอื่ มโยงไปสเู น้ือหาทจ่ี ะเรยี น
ขัน้ จัดกิจกรรมการเรียนรŒู
๖. ครใู หน กั เรยี นอา นเนอ้ื หาเรอ่ื ง วถิ ปี ระชาธปิ ไตย จากหนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง
๑–๒ ม. ๑ ของ วพ. แลว สนทนาซกั ถามนกั เรยี นเกย่ี วกบั เรอ่ื งทอี่ า นในประเดน็ ตา ง ๆ
๗. ครูใหน ักเรยี นสาํ รวจในชมุ ชนของตนวา มบี คุ คลใดบางท่ีปฏบิ ตั ติ นตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย และ
บคุ คลนัน้ ปฏบิ ัติตนอยา งไร สรุป แลว ชวยกันจัดเปนปา ยนิเทศ

คูมอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หนาที่พลเมือง ๑–๒ ม. ๑ 137
๘. ครใู หน กั เรยี นรว มกนั แสดงบทบาทสมมตุ เิ กยี่ วกบั ลกั ษณะวถิ ชี วี ติ แบบประชาธปิ ไตย หลงั จาก
ท่ีแสดงจบ ครูและนักเรยี นรว มกันสรปุ ความรู โดยใหนกั เรียนบันทึกลงในแบบบนั ทกึ ความรู
๙. ในขณะปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของนกั เรยี น ใหค รสู งั เกตพฤตกิ รรมในการทาํ งานและการนาํ เสนอผลงาน
ของนกั เรยี นตามแบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทาํ งานเปน รายบคุ คล
ข้ันขยายความรŒู
๑๐. ครใู หน กั เรยี นชว ยกนั จดั ทาํ แผน พบั เผยแพรค วามรเู กย่ี วกบั วถิ ปี ระชาธปิ ไตย แลว นาํ ไปเผยแพร
แกคนในครอบครัว เพอื่ นบาน หรือคนในชมุ ชน
ขั้นประเมิน
๑๑. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเรื่องอะไรบางที่ยัง
ไมเขาใจหรือมีขอสงสัย ถามีครูชวยอธิบายเพ่ิมเติมใหนักเรียนเขาใจ
๑๒. ครใู หน กั เรยี นรว มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมวา มปี ญ หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม กี ารแกไ ข
อยา งไรบาง
๑๓. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนที่ไดรับจากการเรียนหัวขอนี้
และการปฏิบัติกิจกรรม
๑๔. ครทู ดสอบความเขา ใจของนักเรยี นโดยการใหต อบคําถาม เชน

๑) ผทู ี่มีวถิ ีชีวติ แบบประชาธิปไตยมีลักษณะอยางไรบา ง
๒) เราจะปฏิบัติตนท่แี สดงออกถงึ ความรับผดิ ชอบตอ สวนรวมไดอ ยา งไรบา ง
๑๕. ครใู หนกั เรียนทาํ กิจกรรม/ใบงานที่ ๒๓ เร่ือง วถิ ปี ระชาธิปไตย เปนการบาน
ขั้นสรปุ และนาํ ไปใชŒ
๑๖. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเร่ือง วิถีประชาธิปไตย โดยใหนักเรียนบันทึกขอสรุป
ลงในแบบบนั ทกึ ความรู หรอื สรปุ เปน ความเรยี ง แผนทค่ี วามคดิ หรอื ผงั มโนทศั นล งในสมดุ พรอ มตกแตง
ใหส วยงาม
๑๗. ครใู หนักเรียนสบื คน ขอ มลู เก่ียวกับการสรา งเรื่องจากจนิ ตนาการ จากสอ่ื ตา ง ๆ เชน หนังสอื
ในหองสมดุ อินเทอรเน็ต เปนการบาน เพอ่ื เตรียมการเรยี นรคู ร้งั ตอไป
๑๘. ครูใหนักเรียนนําความรูท่ีไดเรียนมาไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน รวมท้ังนําไปเผยแพรให
บคุ คลอืน่ เชน คนในครอบครวั เพอื่ นบา น ไดร แู ละเขาใจ

๑๐. สื่อการเรยี นรŒูและแหล‹งการเรียนรŒู

๑. บทอาขยานคา นยิ มหลัก ๑๒ ประการ
๒. ภาพคนทกี่ ําลังทะเลาะเบาะแวงกนั และภาพคนที่กาํ ลงั น่งั คุยปรึกษาหารอื กัน
๓. กิจกรรม/ใบงานที่ ๒๓ เรือ่ ง วถิ ปี ระชาธปิ ไตย
๔. แบบประเมนิ พฤติกรรมในการทํางานเปน รายบคุ คล
๕. แบบบันทึกความรู
๖. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จาํ กดั

138 คมู อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนา ทีพ่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ ผสŒู อน

๑๑. บันทึกหลังการจัดการเรียนรูŒ

๑. ความสำเรจ็ ในการจัดการเรียนรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญหา/อุปสรรคในการจดั การเรียนรู
แนวทางแกไ ข

๓. สงิ่ ทไ่ี มไ ดปฏิบัตติ ามแผน
เหตผุ ล

๔. การปรบั ปรุงแผนการจดั การเรียนรู

ลงช่ือ
//

คมู อื ครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนาทพ่ี ลเมือง ๑–๒ ม. ๑ 139

แผนการจัดการเรย� นรŒูที่ ๒๔

การมสี ว‹ นร‹วมในกิจกรรมตา‹ ง ๆ ของสงั คม

กล‹มุ สาระการเรียนรŒูสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๑
หน‹วยการเรียนรทูŒ ่ี ๔ พลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย เวลา ๑ ช่ัวโมง

อนั มพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ

๑. จดุ เนŒน

จดุ เนŒนที่ ๓ ความเปนพลเมอื งดใี นระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมขุ
๓.๑ การดาํ เนนิ ชวี ิตตามวิถีประชาธิปไตย

จุดเนŒนท่ี ๕ ความมวี ินัยในตนเอง
ความขยันหมั่นเพียร การตั้งใจปฏิบัติหนาท่ี การยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของตนเอง

๒. ผลการเรียนรูŒ

๖. ปฏิบตั ิตนเปน พลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตย
๑๐. ปฏิบตั ติ นเปนผูม วี นิ ยั ในตนเอง

๓. สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด

สมาชิกของสังคมตองเขารวมในกิจกรรมตาง ๆ ของสังคม ท้ังการรวมปรึกษาหารือและแสดง
ความคิดเห็น เขารวมเทศกาลงานประเพณีหรือกิจกรรมตาง ๆ สนใจรับรูขอมูลขาวสารของสังคม
มีสว นรว มในกจิ กรรมทางการเมอื งการปกครอง และรวมกจิ กรรมพฒั นาสังคม

๔. สาระการเรียนรŒู

๑. พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
๑.๓ การมสี ว นรวมในกิจกรรมตา ง ๆ ของสังคม

๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผูŒเรยี น

๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ

๖. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค

๑. มีวนิ ยั
๒. มุงม่ันในการทํางาน
๓. มจี ิตสาธารณะ

140 คูมือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพ่ิมเตมิ หนาทีพ่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑

๗. ชิ้นงาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การสรา งเรือ่ งจากจนิ ตนาการเกี่ยวกับการมีสว นรวมในกจิ กรรมตาง ๆ ของสงั คม
– การทาํ กจิ กรรม/ใบงาน

๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรŒู

ดŒานความรŒู (K) ดŒานคุณธรรม จรยิ ธรรม ดŒานทกั ษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซกั ถามความรเู รื่อง และค‹านยิ ม (A) • ประเมนิ พฤติกรรมในการ

การมีสวนรว มในกิจกรรม • ประเมินพฤตกิ รรมในการ ทำงานเปน รายบุคคลและ
ตา ง ๆ ของสงั คม ทำงานเปน รายบคุ คลในดา น เปน กลมุ ในดา นการสอื่ สาร
๓. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ความมวี ินัย ความใฝเรียนรู การคดิ การแกป ญ หา ฯลฯ
เปน รายบคุ คลและเปนกลมุ ฯลฯ

๙. กิจกรรมการเรยี นรูŒ

ขัน้ นําเขŒาส‹ูบทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสงิ่ แวดลอ มในการเรยี นรทู เี่ หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดน่ังเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเปนกลุม นํานักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หอ งโสตทัศนศกึ ษา สนามหญา ใตรม ไม
๒. ครูแจงผลการเรยี นรใู หน กั เรียนทราบ
๓. ครูซกั ถามนกั รียนวา นักเรยี นเคยเขารวมกิจกรรมใดกบั ชมุ ชนบาง หลงั จากทเ่ี ขา รวมกิจกรรม
นั้นแลวรูสึกอยางไร หลังจากท่ีนักเรียนตอบ ครูอธิบายวา การเขารวมกิจกรรมเหลานี้เปนส่ิงท่ีสมาชิก
ของชุมชนควรปฏิบัติ เพราะตนเองเปนสวนหนึ่งของชุมชน
๔. ครูสรุปความรูแลวเช่ือมโยงไปสูเนื้อหาที่จะเรียน
ขั้นจัดกจิ กรรมการเรยี นรŒู
๕. ครูใหนักเรียนอานเน้อื หาเรือ่ ง การมีสว นรวมในกจิ กรรมตา ง ๆ ของสงั คม จากหนงั สือเรยี น
รายวิชาเพมิ่ เติม หนาทีพ่ ลเมือง ๑–๒ ม. ๑ ของ วพ. แลวซกั ถามนักเรียนเกย่ี วกบั เรือ่ งทอ่ี า นในประเดน็
ตาง ๆ
๖. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๖–๘ คน แตละกลุมชวยกันระดมสมองสรางเร่ืองจาก
จินตนาการเกย่ี วกบั การมสี ว นรว มในกจิ กรรมตา ง ๆ ของสงั คม กลมุ ละ ๑ เรอ่ื ง
๗. ครูใหแ ตล ะกลุมสง ตัวแทนนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน หลังจากที่แตละกลุมนําเสนอจบ ครู
เปดโอกาสใหนักเรียนกลุมอ่ืนซักถามและรวมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูคอยใหคําแนะนํา ติชม
และแกไ ขขอบกพรอ ง

คูม อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพิ่มเตมิ หนาท่ีพลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ 141
๘. ครใู หแตละกลมุ ปรับปรงุ แกไ ขผลงานตนเองตามทไี่ ดร บั คําเสนอแนะและวิพากษวจิ ารณ
๙. ครูและนักเรยี นรวมกนั สรุปความรูท ไี่ ดร บั โดยใหน ักเรียนบนั ทกึ ลงในแบบบันทกึ ความรู
๑๐. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม/ใบงานที่ ๒๔ เร่ือง การมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ของสังคม
หลงั จากทนี่ กั เรยี นทาํ ใบงานเสรจ็ ครใู หน กั เรยี นแลกเปลย่ี นใบงานเพอื่ ตรวจคาํ ตอบ จากนนั้ ครเู ฉลยคาํ ตอบ
๑๑. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครูสังเกตพฤติกรรมในการทํางานและการนําเสนอ
ผลงานของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทํางานเปนรายบุคคลและเปนกลุม
ขน้ั ขยายความรูŒ
๑๒. ครใู หน กั เรยี นรว มกนั วเิ คราะหว า ในฐานะนกั เรยี น เราจะมสี ว นรว มในกจิ กรรมตา ง ๆ ของสงั คม
ไดอยา งไรบาง และผลทไี่ ดรับจะเปน อยางไร
ข้ันประเมนิ
๑๓. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเร่ืองอะไรบางที่ยัง
ไมเขาใจหรือมีขอสงสัย ถามีครูชวยอธิบายเพ่ิมเติมใหนักเรียนเขาใจ
๑๔. ครใู หน กั เรยี นรว มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ วา มปี ญ หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม กี าร
แกไขอยางไรบาง
๑๕. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนท่ีไดรับจากการเรียนหัวขอน้ี
และการปฏิบัตกิ จิ กรรม
๑๖. ครูทดสอบความเขาใจของนักเรียนโดยการใหตอบคําถาม เชน

๑) เพราะอะไรเราจึงตองเขารว มกจิ กรรมตาง ๆ ของสงั คม
๒) การเขารวมกจิ กรรมตาง ๆ ของสงั คมสามารถทาํ ไดอ ยา งไรบา ง
๑๗. ครใู หน ักเรียนทาํ กิจกรรม/ใบงานที่ ๒๕ เรอ่ื ง ประสบการณการมีสวนรวมในกจิ กรรมตา ง ๆ
ของสงั คม เปน การบา น
ขัน้ สรุปและนําไปใชŒ
๑๘. ครูและนักเรยี นรว มกันสรุปความรูเ ร่ือง การมีสวนรวมในกจิ กรรมตาง ๆ ของสังคม โดยให
นกั เรยี นบนั ทึกขอสรปุ ลงในแบบบันทึกความรู หรือสรปุ เปนความเรียง แผนท่ีความคิดหรอื ผังมโนทศั น
ลงในสมุด พรอ มตกแตง ใหส วยงาม
๑๙. ครูใหนักเรียนนําความรูท่ีไดเรียนมาไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน รวมทั้งนําไปเผยแพรให
บคุ คลอ่ืน เชน คนในครอบครัว เพือ่ นบา น ไดร ูและเขา ใจ

๑๐. สือ่ การเรยี นรŒแู ละแหลง‹ การเรียนรŒู

๑. กิจกรรม/ใบงานท่ี ๒๔ เร่อื ง การมีสว นรวมในกิจกรรมตา ง ๆ ของสงั คม
๒. กิจกรรม/ใบงานท่ี ๒๕ เรือ่ ง ประสบการณก ารมีสวนรว มในกิจกรรมตา ง ๆ ของสงั คม
๓. แบบประเมินพฤตกิ รรมในการทาํ งานเปนรายบุคคลและเปน กลุม
๔. แบบบันทกึ ความรู
๕. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จาํ กดั

142 คูม อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนา ทีพ่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ ผสŒู อน

๑๑. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรูŒ

๑. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นรู
แนวทางแกไ ข

๓. สง่ิ ที่ไมไ ดป ฏิบตั ติ ามแผน
เหตุผล

๔. การปรับปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู

ลงช่ือ
//

คูมอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพิ่มเติม หนาทพี่ ลเมือง ๑–๒ ม. ๑ 143

แผนการจดั การเร�ยนรŒทู ่ี ๒๕

การตดั สินใจโดยใชŒเหตผุ ล

กลม‹ุ สาระการเรียนรสŒู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี ๑
หน‹วยการเรียนรทŒู ี่ ๔ พลเมืองดใี นระบอบประชาธปิ ไตย เวลา ๑ ชว่ั โมง

อนั มพี ระมหากษตั ริยท รงเปนประมุข

๑. จดุ เนนŒ

จุดเนŒนที่ ๓ ความเปนพลเมืองดใี นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมขุ
๓.๑ การดาํ เนินชีวิตตามวถิ ปี ระชาธิปไตย

จุดเนนŒ ท่ี ๕ ความมีวินยั ในตนเอง
ความซื่อสัตยสุจริต การต้ังใจปฏิบัติหนาท่ี การยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของตนเอง

๒. ผลการเรยี นรูŒ

๖. ปฏบิ ัติตนเปน พลเมอื งดีตามวิถีประชาธิปไตย
๑๐. ปฏิบตั ติ นเปน ผูมีวินัยในตนเอง

๓. สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด

การตดั สนิ ใจในสงั คมประชาธปิ ไตยจะใชห ลกั เหตผุ ล มกี ารรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของคนอนื่ แลว นาํ มา
พิจารณาดว ยใจเปนธรรมกอ นทีจ่ ะตัดสนิ ใจ ผูทม่ี ีเหตผุ ลจะเปน คนท่มี ีความคิดกวา งไกล มคี วามอดทน
อดกลน้ั และใชเหตุผลในการแกป ญ หา

๔. สาระการเรียนรูŒ

๑. พลเมืองดีตามวถิ ปี ระชาธิปไตย
๑.๔ การตดั สินใจโดยใชเ หตุผล

๕. สมรรถนะสําคัญของผŒูเรยี น

๑. ความสามารถในการคิด
๒. ความสามารถในการแกป ญหา
๓. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

๖. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

๑. ซ่อื สัตยสุจรติ
๒. มวี ินยั
๓. ใฝเ รยี นรู

144 คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพมิ่ เติม หนาท่ีพลเมือง ๑–๒ ม. ๑

๗. ชน้ิ งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การสํารวจตนเองเกีย่ วกบั การตดั สินใจ
– การทาํ กิจกรรม/ใบงาน

๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรŒู

ดาŒ นความรูŒ (K) ดŒานคุณธรรม จริยธรรม ดŒานทักษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซักถามความรูเร่อื ง และค‹านยิ ม (A) • ประเมินพฤตกิ รรมในการ

การตัดสินใจโดยใชเหตผุ ล • ประเมินพฤติกรรมในการ ทำงานเปนรายบคุ คลและ
๓. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ทำงานเปน รายบคุ คลในดา น เปน กลมุ ในดา นการสอื่ สาร
ความมวี ินัย ความใฝเรียนรู การคิด การแกป ญหา ฯลฯ
เปนรายบคุ คลและเปน กลมุ ฯลฯ

๙. กิจกรรมการเรียนรูŒ

ข้ันนําเขาŒ สบ‹ู ทเรียน
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสงิ่ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเปนกลุม นํานักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หองโสตทัศนศกึ ษา สนามหญาใตรม ไม
๒. ครูแจง ผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
๓. ครูซักถามนกั เรียนวา จะเกิดอะไรขึน้ หากเราใชอ ารมณต ดั สนิ ปญหา หลงั จากท่ีนกั เรียนตอบ
ครอู ธิบายวา หากเราใชอ ารมณตัดสนิ ปญ หาจะทาํ ใหไมสามารถแกป ญ หาน้นั ได และยงั จะทําใหป ญ หานั้น
ยิ่งทวีความรุนแรงหรือเกิดเปนขอขัดแยงกันข้ึน
๔. ครูสรุปความรูแลวเชื่อมโยงไปสูเน้ือหาท่ีจะเรียน
ขัน้ จัดกิจกรรมการเรียนรŒู
๕. ครูอธิบายเก่ียวกับการตัดสินใจโดยใชเหตุผลใหนักเรียนฟง โดยใชเนื้อหาจากหนังสือเรียน
รายวิชาเพ่ิมเติม หนา ทพ่ี ลเมือง ๑–๒ ม. ๑ ของ วพ. แลวสนทนาซักถามนักเรยี นเกยี่ วกับเรื่องที่อธบิ าย
ในประเด็นตาง ๆ พรอมทั้งยกกรณีตัวอยางที่เก่ียวกับการตัดสินใจโดยใชอารมณกับใชเหตุผลมา
เปรยี บเทียบใหน กั เรียนดสู ่ิงท่เี กดิ ขึ้นวาเหมอื นหรอื แตกตางกนั อยางไร
๖. ครูใหนกั เรียนสาํ รวจตนเองวา ในรอบ ๑ สปั ดาหท ี่ผา นมา ตนเองไดใชเ หตผุ ลตดั สินใจเร่อื ง
อะไรบา ง และผลทีไ่ ดร ับจากการตดั สนิ ใจนน้ั เปน อยา งไร โดยบนั ทึกลงในแบบบนั ทึกผลการสาํ รวจ เรอ่ื ง
การตดั สนิ ใจโดยใชเ หตุผล
๗. ครูใหนกั เรยี นออกมานําเสนอผลงานหนา ช้ันเรียน โดยเม่ือแตละคนนาํ เสนอผลงานจบ ครูให
คําแนะนํา ติชม หรือใหข อ เสนอแนะเพ่มิ เติม
๘. ครูใหแตล ะกลุม ปรับปรุงแกไขผลงานตนเองตามท่ีไดร บั คาํ เสนอแนะและวิพากษว จิ ารณ

คมู ือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนาท่พี ลเมือง ๑–๒ ม. ๑ 145
๙. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครูสังเกตพฤติกรรมในการทํางานและการนําเสนอ
ผลงานของนักเรียนตามแบบประเมินพฤตกิ รรมในการทาํ งานเปนรายบุคคล
ขัน้ ขยายความรŒู
๑๐. ครใู หน กั เรยี นเขยี นเรยี งความเกย่ี วกบั การตดั สนิ ใจโดยใชเ หตผุ ลของขา พเจา ความยาวประมาณ
๑ หนา กระดาษ จากนน้ั สมุ นกั เรยี นประมาณ ๕ คน ออกมานาํ เสนอผลงานหนา ชน้ั เรยี น
ขั้นประเมนิ
๑๑. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเร่ืองอะไรบางที่ยัง
ไมเขาใจหรือมีขอสงสัย ถามีครูชวยอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจ
๑๒. ครใู หน กั เรยี นรว มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมวา มปี ญ หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม กี ารแกไ ข
อยา งไรบา ง
๑๓. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนที่ไดรับจากการเรียนหัวขอน้ี
และการปฏิบัติกิจกรรม
๑๔. ครทู ดสอบความเขา ใจของนักเรยี นโดยการใหต อบคําถาม เชน

๑) การตัดสินใจโดยใชเ หตุผลทาํ ไดอ ยางไร
๒) บุคคลที่จะดาํ เนนิ ชวี ติ ไดอยา งมเี หตุผลจะตอ งเปน คนทีม่ ลี กั ษณะอยา งไร
๑๕. ครใู หนักเรยี นทํากิจกรรม/ใบงานท่ี ๒๖ เรื่อง การตดั สนิ ใจโดยใชเ หตผุ ล เปน การบาน
ขัน้ สรปุ และนําไปใชŒ
๑๖. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเร่ือง การตัดสินใจโดยใชเหตุผล โดยใหนักเรียนบันทึก
ขอสรุปลงในแบบบันทึกความรู หรือสรุปเปนความเรียง แผนท่ีความคิดหรือผังมโนทัศนลงในสมุด
พรอมตกแตงใหสวยงาม
๑๗. ครูใหนักเรียนนําความรูที่ไดเรียนมาไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน รวมทั้งนําไปเผยแพรให
บุคคลอนื่ เชน คนในครอบครวั เพือ่ นบาน ไดร ูและเขา ใจ

๑๐. สื่อการเรยี นรŒแู ละแหลง‹ การเรียนรŒู

๑. กรณีตวั อยา งท่เี กย่ี วกับการตดั สนิ ใจโดยใชอ ารมณก ับใชเหตผุ ล
๒. กิจกรรม/ใบงานที่ ๒๖ เรอ่ื ง การตัดสนิ ใจโดยใชเหตผุ ล
๓. แบบบันทกึ ผลการสาํ รวจเร่อื ง การตัดสนิ ใจโดยใชเ หตผุ ล
๔. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทาํ งานเปน รายบุคคล
๕. แบบบนั ทึกความรู
๖. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จาํ กดั

146 คูมอื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ ผสŒู อน

๑๑. บนั ทึกหลงั การจัดการเรยี นรูŒ

๑. ความสำเร็จในการจดั การเรียนรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญหา/อุปสรรคในการจดั การเรยี นรู
แนวทางแกไข

๓. สง่ิ ที่ไมไ ดป ฏิบตั ติ ามแผน
เหตุผล

๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรยี นรู

ลงช่ือ
//

คมู ือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนาท่ีพลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ 147

แผนการจัดการเรย� นรŒทู ่ี ๒๖

การมีส‹วนรว‹ มและรบั ผดิ ชอบในการตัดสนิ ใจตอ‹ กจิ กรรมของหอŒ งเร�ยน

กลม‹ุ สาระการเรียนรŒสู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๑
หนว‹ ยการเรียนรŒทู ่ี ๔ พลเมืองดใี นระบอบประชาธปิ ไตย เวลา ๑ ชว่ั โมง

อนั มีพระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข

๑. จดุ เนนŒ

จดุ เนนŒ ที่ ๓ ความเปน พลเมอื งดใี นระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ
๓.๒ การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย

ทรงเปนประมุข
จดุ เนŒนที่ ๕ ความมีวินยั ในตนเอง
ความซื่อสัตยสุจริต การตั้งใจปฏิบัติหนาท่ี การยอมรับผลที่เกิดจากการกระทําของตนเอง

๒. ผลการเรยี นรŒู

๗. มีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบขอมูลเพ่ือใชประกอบการตัดสินใจ
ในกิจกรรมตาง ๆ

๑๐. ปฏิบตั ติ นเปน ผมู ีวินัยในตนเอง

๓. สาระสําคญั /ความคิดรวบยอด

ในฐานะสมาชิกของโรงเรียน เราตองมีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจตอกิจกรรมของ
หอ งเรยี น เชน การแสดงความคดิ เหน็ การรว มประชมุ ปรกึ ษาหารอื การเลอื กตง้ั หวั หนา หอ ง การรว มกนั
แบง เวรทําความสะอาด การปฏบิ ัตติ ามกฎ ระเบียบ และขอตกลงของหองเรียน และการติดตามขอมลู
ขา วสารของหอ งเรยี น

๔. สาระการเรียนรŒู

๒. การมสี วนรวมทางการเมืองการปกครอง
๒.๑ การมสี วนรวมและรับผดิ ชอบในการตัดสินใจตอกิจกรรมของหองเรียนและโรงเรียน
• การมสี ว นรวมและรบั ผิดชอบในการตัดสนิ ใจตอ กิจกรรมของหอ งเรยี น

๕. สมรรถนะสําคัญของผเูŒ รยี น

๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวิต

๖. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค

๑. มวี ินัย
๒. มุงมั่นในการทํางาน
๓. มจี ติ สาธารณะ

148 คูมอื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพ่ิมเตมิ หนา ทีพ่ ลเมือง ๑–๒ ม. ๑

๗. ชน้ิ งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การแสดงละครเก่ียวกับการมีสว นรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจตอกิจกรรมของหองเรียน
– การทํากจิ กรรม/ใบงาน

๘. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรŒู

ดาŒ นความรŒู (K) ดŒานคุณธรรม จรยิ ธรรม ดาŒ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซักถามความรเู ร่ือง การมี และคา‹ นยิ ม (A) • ประเมินพฤตกิ รรมในการ

สว นรวมและรับผดิ ชอบ • ประเมินพฤติกรรมในการ ทำงานเปน รายบคุ คลและ
ในการตดั สินใจตอกิจกรรม ทำงานเปน รายบคุ คลในดา น เปน กลุมในดา นการส่ือสาร
ของหองเรียน ความมีวนิ ัย ความใฝเ รยี นรู การคิด การแกป ญ หา ฯลฯ
๓. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม ฯลฯ
เปน รายบคุ คลและเปนกลุม

๙. กจิ กรรมการเรยี นรŒู

ขน้ั นาํ เขาŒ ส‹ูบทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เี่ หมาะสมเพอื่ กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U น่ังเรียนเปนกลุม นํานักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หอ งโสตทัศนศกึ ษา สนามหญาใตร ม ไม
๒. ครูแจง ผลการเรยี นรใู หนกั เรียนทราบ
๓. ครูใหนักเรียนดูภาพการเลือกตั้งหัวหนาหอง แลวซักถามนักเรียนวา กิจกรรมน้ีเปนเรื่อง
เก่ียวกับอะไร เกี่ยวของกับพวกเราอยางไรบาง หลังจากที่นักเรียนตอบ ครูเฉลยวา กิจกรรมนี้เปน เรอื่ ง
เกี่ยวกับการเลือกต้ังหัวหนาหอง ซ่ึงเปนกิจกรรมท่ีมีข้ึนเพื่อคัดเลือกผูท่ีจะเปนตัวแทนของหองเรียน
ในการตดิ ตอ กับฝา ยตา ง ๆ
๔. ครูสรุปความรูแลวเชื่อมโยงไปสูเน้ือหาท่ีจะเรียน
ขนั้ จัดกิจกรรมการเรียนรูŒ
๕. ครูอธิบายเกี่ยวกับการมีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจตอกิจกรรมของหองเรียนให
นกั เรยี นฟง โดยใชเ นอ้ื หาจากหนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ ของ วพ. จากนน้ั
สนทนาซกั ถามนักเรยี นเกี่ยวกบั เรื่องท่อี ธิบายในประเดน็ ตา ง ๆ
๖. ครใู หน กั เรยี นแบง กลมุ เปน ๒ กลมุ เพอ่ื แสดงละครแบบไมเ ปน ทางการเกย่ี วกบั การมสี ว นรว ม
และรับผิดชอบในการตัดสินใจตอกิจกรรมของหองเรียน โดยเลือกแสดงตามหัวขอท่ีกําหนดใหกลุมละ
๑ หวั ขอ ดงั นี้

๑) การแสดงความคิดเหน็ ในหอ งเรียน
๒) การประชุมปรึกษาหารือกบั เพอ่ื นในหองเรียน
๓) การเลือกต้งั หัวหนา หอ ง

คมู อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพ่ิมเติม หนาทีพ่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ 149

๔) การรวมกันแบง เวรทาํ ความสะอาดหองเรียน
๕) การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และขอ ตกลงของหองเรยี น
๖) การตดิ ตามขอ มลู ขาวสารของโรงเรียน
๗. ครูใหแตละกลุมฝกซอมการแสดงโดยใชเวลาส้ัน ๆ จากนั้นผลัดกันออกมาหนาชั้นเรียนเพื่อ
แสดงละครใหเ พ่อื นอกี กลมุ หนง่ึ ชม
๘. หลงั จากทแี่ สดงจบครบทงั้ ๒ กลมุ แลว ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั การแสดงละคร
ของพวกตนลงในแบบบันทึกผลจากการแสดงละครเรื่อง การมีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ
ตอ กิจกรรมของหองเรยี น
๙. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครูสังเกตพฤติกรรมในการทํางานและการนําเสนอ
ผลงานของนักเรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทํางานเปนรายบุคคลและเปนกลุม
ขน้ั ขยายความรูŒ
๑๐. ครใู หน กั เรยี นแสดงความคดิ เหน็ วา การมสี ว นรว มและรบั ผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจตอ กจิ กรรมของ
หอ งเรยี นชว ยสง เสรมิ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยของไทยอยา งไร
ข้นั ประเมิน
๑๑. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเรื่องอะไรบางที่ยัง
ไมเขาใจหรือมขี อสงสัย ถามีครชู ว ยอธบิ ายเพม่ิ เติมใหน กั เรียนเขา ใจ
๑๒. ครใู หน กั เรยี นรว มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมวา มปี ญ หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม กี ารแกไ ข
อยางไรบา ง
๑๓. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนท่ีไดรับจากการเรียนหัวขอน้ี
และการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
๑๔. ครทู ดสอบความเขา ใจของนกั เรยี นโดยการใหต อบคาํ ถาม เชน
๑) เพราะอะไรเราตองมีสวนรว มและรบั ผิดชอบในการตัดสินใจตอกจิ กรรมของหองเรยี น
๒) เราควรมีสว นรว มและรับผดิ ชอบในการตดั สินใจตอกจิ กรรมของหอ งเรยี นอยา งไรบา ง
๑๕. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม/ใบงานท่ี ๒๗ เรื่อง การมีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ
ตอ กจิ กรรมของหอ งเรยี น เปน การบา น
ข้นั สรปุ และนําไปใชŒ
๑๖. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่อง การมีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจตอ
กิจกรรมของหองเรียน โดยใหนักเรียนบันทึกขอสรุปลงในแบบบันทึกความรู หรือสรุปเปนความเรียง
แผนท่ีความคดิ หรอื ผังมโนทศั นลงในสมดุ พรอ มตกแตง ใหส วยงาม
๑๗. ครูใหนักเรียนนําความรูท่ีไดเรียนมาไปประพฤติปฏิบัติใหเหมาะสมและสอดคลองกับ
สถานการณในชีวิตประจาํ วนั

๑๐. สือ่ การเรยี นรŒแู ละแหล‹งการเรยี นรูŒ

๑. ภาพการเลือกต้ังหัวหนา หอ ง
๒. กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๒๗ เรอ่ื ง การมสี ว นรว มและรบั ผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจตอ กจิ กรรมของ
หอ งเรยี น
๓. แบบบันทึกผลจากการแสดงละครเรื่อง การมีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจตอ
กิจกรรมของหองเรียน

150 คมู อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพม่ิ เติม หนาที่พลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑
๔. แบบประเมนิ พฤติกรรมในการทํางานเปนรายบุคคลและเปนกลมุ
๕. แบบบนั ทึกความรู
๖. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จาํ กดั

๑๑. บนั ทกึ หลงั การจดั การเรียนรŒู

๑. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนรู
แนวทางการพฒั นา

๒. ปญหา/อุปสรรคในการจดั การเรียนรู
แนวทางแกไ ข

๓. สิ่งที่ไมไดปฏบิ ตั ติ ามแผน
เหตผุ ล

๔. การปรับปรงุ แผนการจดั การเรียนรู

ลงช่อื ผŒูสอน
//

คูมอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ 151

แผนการจดั การเรย� นรูŒท่ี ๒๗

การมีส‹วนร‹วมและรับผิดชอบในการตดั สินใจต‹อกิจกรรมของโรงเร�ยน

กลม‹ุ สาระการเรยี นรสŒู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑
หน‹วยการเรียนรูŒที่ ๔ พลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย เวลา ๑ ชัว่ โมง

อนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข

๑. จดุ เนนŒ

จดุ เนŒนที่ ๓ ความเปนพลเมืองดใี นระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมขุ
๓.๒ การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย

ทรงเปนประมุข
จุดเนนŒ ท่ี ๕ ความมวี นิ ัยในตนเอง
ความขยันหมั่นเพียร การต้ังใจปฏิบัติหนาท่ี การยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของตนเอง

๒. ผลการเรยี นรŒู

๗. มีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบขอมูลเพื่อใชประกอบการตัดสินใจ
ในกจิ กรรมตา ง ๆ

๑๐. ปฏบิ ัตติ นเปนผมู วี ินยั ในตนเอง

๓. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด

ในฐานะสมาชิกของโรงเรียน เราตองมีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจตอกิจกรรมของ
โรงเรียน เชน การแสดงความคิดเห็น การรวมประชุม การเลือกต้ังประธานนักเรียน การรวมรักษา
ความสะอาด การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และขอตกลงของโรงเรียน และการติดตามขอมูลขาวสาร
ของโรงเรยี น

๔. สาระการเรียนรูŒ

๒. การมีสวนรวมทางการเมอื งการปกครอง
๒.๑ การมีสวนรวมและรบั ผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจตอกจิ กรรมของหอ งเรียนและโรงเรยี น
• การมีสวนรว มและรบั ผดิ ชอบในการตดั สินใจตอกจิ กรรมของโรงเรยี น

๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผเูŒ รียน

๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ติ

152 คูม อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพม่ิ เติม หนา ท่พี ลเมือง ๑–๒ ม. ๑

๖. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

๑. มีวนิ ัย
๒. มงุ มั่นในการทาํ งาน
๓. มีจติ สาธารณะ

๗. ช้ินงาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การสํารวจเก่ียวกับการมีสวนรวมและรบั ผดิ ชอบในการตัดสนิ ตอกจิ กรรมของโรงเรียน
– การทาํ กจิ กรรม/ใบงาน

๘. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูŒ

ดาŒ นความรŒู (K) ดาŒ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดŒานทกั ษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซกั ถามความรูเร่อื ง การมี และค‹านยิ ม (A) • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ

สว นรว มและรบั ผดิ ชอบ • ประเมินพฤตกิ รรมในการ ทำงานเปน รายบุคคลและ
ในการตดั สนิ ใจตอ กิจกรรม ทำงานเปนรายบคุ คลในดาน เปนกลุม ในดานการสือ่ สาร
ของโรงเรียน ความมวี นิ ยั ความใฝเรียนรู การคดิ การแกป ญหา ฯลฯ
๓. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม ฯลฯ
เปนรายบุคคลและเปนกลมุ

๙. กจิ กรรมการเรยี นรูŒ

ขั้นนําเขาŒ ส‹บู ทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเปนกลุม นํานักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หอ งโสตทัศนศึกษา สนามหญาใตร ม ไม
๒. ครแู จงผลการเรียนรใู หนักเรยี นทราบ
๓. ครูใหนักเรียนชวยกันคิดวา ตนเองเคยเขารวมกิจกรรมใดกับทางโรงเรียนหรือไม อยางไร
จากน้นั ครอู ธบิ ายวา ในฐานะสมาชิกของโรงเรยี นเราควรเขา รวมกิจกรรมตาง ๆ ของโรงเรยี น
๔. ครูสรุปความรูแลวเชื่อมโยงไปสูเน้ือหาที่จะเรียน
ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรยี นรูŒ
๕. ครใู หน กั เรยี นอา นเรอื่ ง การมสี ว นรว มและรบั ผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจตอ กจิ กรรมของโรงเรยี น
ในหนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ ของ วพ. แลว สนทนาซกั ถามนกั เรยี นเกีย่ วกับ
เรื่องท่อี า นในประเด็นตาง ๆ

คูมอื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพม่ิ เติม หนา ท่ีพลเมือง ๑–๒ ม. ๑ 153
๖. ครูใหนักเรียนสํารวจตนเองและเพ่ือน ๆ วาในรอบ ๑ สัปดาหที่ผานมาไดเขาไปมีสวนรวม
และรับผิดชอบในการตัดสินตอกิจกรรมของโรงเรียนหรือไม อยางไร แลวสรุปผลลงในสมุด
๗. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม/ใบงานท่ี ๒๘ เร่ือง การมีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ
ตอกิจกรรมของโรงเรยี น
๘. หลังจากทน่ี กั เรียนทาํ ใบงานเสรจ็ ครูและนกั เรียนรว มกนั เฉลยคาํ ตอบ จากนนั้ ครสู รปุ ความรู
ใหน กั เรยี นฟง
ขัน้ ขยายความรŒู
๙. ครูใหนักเรียนชวยกันจัดทําแผนพับเผยแพรความรูเก่ียวกับการมีสวนรวมและรับผิดชอบ
ในการตัดสินใจตอกิจกรรมของโรงเรียน แลวนําไปแจกจายเผยแพรแกสมาชิกของโรงเรียน
ข้นั ประเมนิ
๑๐. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอท่ีเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเรื่องอะไรบางที่ยัง
ไมเ ขาใจหรอื มขี อสงสยั ถามีครูชวยอธบิ ายเพิม่ เตมิ ใหน ักเรียนเขาใจ
๑๑. ครใู หน กั เรยี นรว มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมวา มปี ญ หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม กี ารแกไ ข
อยางไรบา ง
๑๒. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนท่ีไดรับจากการเรียนหัวขอน้ี
และการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม
๑๓. ครูทดสอบความเขาใจของนักเรียนโดยการใหตอบคําถาม เชน

๑) การมสี ว นรว มและรบั ผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจตอ กจิ กรรมของโรงเรยี นสามารถทาํ ไดอ ยา งไร
บา ง

๒) เพราะอะไรเราจงึ ตอ งมสี ว นรวมและรับผดิ ชอบในการตดั สินใจตอกิจกรรมของโรงเรยี น
ข้นั สรปุ และนาํ ไปใชŒ
๑๔. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเร่ือง การมีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจตอ
กิจกรรมของโรงเรียน โดยใหนักเรียนบันทึกขอสรุปลงในแบบบันทึกความรู หรือสรุปเปนความเรียง
แผนทคี่ วามคิดหรอื ผังมโนทศั นลงในสมดุ พรอมตกแตงใหสวยงาม
๑๕. ครูใหนักเรียนนําความรูที่ไดเรียนมาไปประพฤติปฏิบัติใหเหมาะสมและสอดคลองกับ
สถานการณในชีวิตประจําวัน รวมท้ังนําไปเผยแพรใหบุคคลอื่น เชน สมาชิกของโรงเรียน ไดรูและ
เขาใจ

๑๐. สอื่ การเรยี นรŒแู ละแหลง‹ การเรยี นรŒู

๑. กจิ กรรม/ใบงานที่ ๒๘ เรือ่ ง การมสี วนรวมและรบั ผิดชอบในการตดั สนิ ใจตอ กจิ กรรมของ
โรงเรยี น

๒. แบบบนั ทกึ ความรู
๓. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จาํ กดั

154 คูมอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ ผสŒู อน

๑๑. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรูŒ

๑. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นรู
แนวทางแกไ ข

๓. สง่ิ ที่ไมไ ดป ฏิบตั ติ ามแผน
เหตุผล

๔. การปรับปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู

ลงช่ือ
//

คูมือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพิ่มเติม หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ 155

แผนการจดั การเร�ยนรทŒู ี่ ๒๘

การตรวจสอบขอŒ มลู

กลุม‹ สาระการเรยี นรŒสู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑
หน‹วยการเรยี นรทูŒ ่ี ๔ พลเมืองดใี นระบอบประชาธปิ ไตย เวลา ๑ ชั่วโมง

อันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข

๑. จุดเนนŒ

จดุ เนนŒ ที่ ๓ ความเปน พลเมืองดใี นระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุข
๓.๒ การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย

ทรงเปนประมุข
จดุ เนนŒ ท่ี ๕ ความมีวนิ ัยในตนเอง
ความซ่ือสัตยสุจริต ความขยันหมั่นเพียรและอดทน การต้ังใจปฏิบัติหนาที่

๒. ผลการเรยี นรŒู

๗. มีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบขอมูลเพ่ือใชประกอบการตัดสินใจ
ในกจิ กรรมตาง ๆ

๑๐. ปฏิบัตติ นเปนผมู วี นิ ยั ในตนเอง

๓. สาระสาํ คญั /ความคิดรวบยอด

การทจ่ี ะเลอื กรับขอมลู ใด ๆ จะตอ งตรวจสอบขอ มลู กอนทกุ คร้งั โดยพิจารณาจากความนาเช่อื ถือ
ของแหลงขอมูล ความถูกตอ งของขอ มูล และความทันสมัยของขอ มูล

๔. สาระการเรยี นรŒู

๒. การมีสว นรว มทางการเมอื งการปกครอง
๒.๒ การตรวจสอบขอมูล

๕. สมรรถนะสาํ คัญของผŒเู รียน

๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการใชทักษะชวี ิต

156 คมู อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนาทพ่ี ลเมือง ๑–๒ ม. ๑

๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค

๑. มีวินยั
๒. ใฝเ รยี นรู
๓. มุงมั่นในการทํางาน

๗. ชน้ิ งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การตรวจสอบขอมลู ไดอ ยางถูกตองและเหมาะสม
– การทํากิจกรรม/ใบงาน

๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรูŒ

ดาŒ นความรูŒ (K) ดŒานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดาŒ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซักถามความรูเร่อื ง และคา‹ นิยม (A) • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ

การตัดสินใจโดยใชเหตุผล • ประเมินพฤตกิ รรมในการ ทำงานเปน รายบุคคลและ
๓. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม ทำงานเปน รายบคุ คลในดาน เปนกลุมในดา นการส่ือสาร
ความมวี นิ ยั ความใฝเ รยี นรู การคดิ การแกป ญ หา ฯลฯ
เปนรายบุคคลและเปน กลุม ฯลฯ

๙. กจิ กรรมการเรยี นรูŒ

ขั้นนาํ เขาŒ ส‹ูบทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เี่ หมาะสมเพอื่ กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดน่ังเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเปนกลุม นํานักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หอ งโสตทัศนศึกษา สนามหญา ใตร ม ไม
๒. ครูแจง ผลการเรียนรใู หน ักเรยี นทราบ
๓. ครูนําหนังสือพิมพมาใหนักเรียนดูประมาณ ๓–๕ ฉบับ แลวใหนักเรียนอานขาวเร่ืองใด
เรื่องหน่ึงเพียงเรื่องเดียวจากหนังสือพิมพทุกฉบับ จากนั้นซักถามนักเรียนวา ในปจจุบันขอมูลขาวสาร
ตาง ๆ จากหนงั สือพิมพเ หลา นี้ มคี วามถกู ตอ งตรงกนั ทกุ ฉบบั หรอื ไม
๔. หลังจากท่ีนักเรียนตอบแลว ครูเฉลยวา ขอมูลขาวสารจากหนังสือพิมพแตละฉบับอาจจะ
ไมตรงกัน โดยเน้ือหาอาจจะคลาดเคลอ่ื นกันแตกตางกันไปบา ง เนื่องจากผจู ดั ทาํ หนังสือพมิ พแตล ะฉบับ
ตางก็มีแนวคิด ทัศนคติ หรือความเช่ือท่ีแตกตางกันไป
๕. ครสู รุปความรแู ลว เช่อื มโยงไปสูเ น้ือหาทีจ่ ะเรยี น
ขน้ั จัดกจิ กรรมการเรยี นรŒู
๖. ครอู ธบิ ายเรอื่ ง การตรวจสอบขอ มลู ใหน กั เรยี นฟง โดยใชเ นอื้ หาจากหนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพมิ่ เตมิ
หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ ของ วพ. แลว สนทนาซกั ถามนกั เรยี นเกย่ี วกบั เรอ่ื งทอี่ ธบิ ายในประเดน็ ตา ง ๆ

คมู ือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หนา ทพ่ี ลเมือง ๑–๒ ม. ๑ 157
๗. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๔–๖ คน แตละกลุมสืบขอขอมูลจากสื่อตาง ๆ เชน
หนงั สอื พมิ พ อินเทอรเ น็ต กลุมละ ๑ เรอื่ ง จากน้ันนาํ ขอมลู มารว มกันตรวจสอบตามหลกั การที่ไดศกึ ษา
มาแลว สรุป แลวสงตัวแทนนําเสนอผลงานหนาชั้นเรยี น
๘. หลังจากที่นักเรียนนําเสนอผลงานครบทุกกลุมแลว ครูอธิบายเพิ่มเติมในสวนท่ียังไมถูกตอง
หรอื ครบถว น พรอ มทง้ั ใหข อ เสนอแนะและคาํ แนะนาํ ตา ง ๆ แกน กั เรยี น
๙. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรู โดยใหนักเรียนบันทึกลงในแบบบันทึกความรู
๑๐. ในขณะปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของนกั เรยี น ใหค รสู งั เกตพฤตกิ รรมในการทาํ งานและการนาํ เสนอผลงาน
ของนกั เรยี นตามแบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทาํ งานเปน รายบคุ คลและเปน กลมุ
ข้นั ขยายความรŒู
๑๑. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา สังคมไทยจะเปนอยางไร หากคนไทยรับขอมูลโดยไมมี
การตรวจสอบ สรุปผล แลว บันทกึ ลงในแบบบนั ทกึ ผลการอภิปราย
ขัน้ ประเมิน
๑๒. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเรื่องอะไรบางที่ยัง
ไมเขา ใจหรือมขี อสงสัย ถามคี รูชว ยอธิบายเพมิ่ เติมใหนกั เรียนเขาใจ
๑๓. ครูใหนักเรียนรวมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุมวามีปญหาหรืออุปสรรคใด และไดมี
การแกไขอยางไรบาง
๑๔. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนที่ไดรับจากการเรียนหัวขอนี้
และการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
๑๕. ครูทดสอบความเขาใจของนักเรียนโดยการใหตอบคําถาม เชน

๑) เพราะอะไรเราจงึ ตองตรวจสอบขอ มูล
๒) การตรวจสอบขอมูลมีหลักการอยางไรบา ง
๑๖. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม/ใบงานท่ี ๒๙ เร่ือง การตรวจสอบขอมูล เปนการบาน
ขั้นสรปุ และนําไปใชŒ
๑๗. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่อง การตรวจสอบขอมูล โดยใหนักเรียนบันทึกขอสรุป
ลงในแบบบันทึกความรู หรือสรุปเปนความเรียง แผนท่ีความคิดหรือผังมโนทัศนลงในสมุด พรอม
ตกแตงใหส วยงาม
๑๘. ครูใหนักเรียนนําความรูที่ไดเรียนมาไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน รวมทั้งนําไปเผยแพรให
บคุ คลอื่น เชน คนในครอบครัว เพ่ือนบาน ไดรูและเขาใจ

๑๐. สื่อการเรยี นรแูŒ ละแหลง‹ การเรยี นรŒู

๑. หนงั สอื พิมพป ระมาณ ๓–๕ ฉบบั
๒. กจิ กรรม/ใบงานที่ ๒๙ เรื่อง การตรวจสอบขอ มูล
๓. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทํางานเปนรายบุคคลและเปน กลมุ
๔. แบบบนั ทกึ ผลการอภปิ ราย
๕. แบบบนั ทกึ ความรู
๖. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จาํ กดั

158 คูมอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนา ทีพ่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ ผสŒู อน

๑๑. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรูŒ

๑. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นรู
แนวทางแกไ ข

๓. สง่ิ ที่ไมไ ดป ฏิบตั ติ ามแผน
เหตุผล

๔. การปรับปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู

ลงช่ือ
//

คูม อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพ่มิ เติม หนาที่พลเมือง ๑–๒ ม. ๑ 159

แผนการจัดการเร�ยนรทŒู ่ี ๒๙

ความมีว�นัยในตนเองในการเปšนพลเมืองดีในระบอบประชาธปิ ไตย

กลุ‹มสาระการเรียนรูสŒ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี ๑
หนว‹ ยการเรยี นรŒูที่ ๔ พลเมอื งดีในระบอบประชาธิปไตย เวลา ๑ ชัว่ โมง

อันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมุข

๑. จุดเนŒน

จดุ เนŒนท่ี ๓ ความเปน พลเมอื งดใี นระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมขุ
๓.๑ การดําเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย
๓.๒ การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย

ทรงเปนประมุข
จุดเนนŒ ท่ี ๕ ความมีวินัยในตนเอง
ความซอื่ สตั ยส จุ รติ ความขยนั หมนั่ เพยี ร ความอดทน การใฝห าความรู การตงั้ ใจปฏบิ ตั หิ นา ท่ี

การยอมรับผลที่เกิดจากการกระทําของตนเอง

๒. ผลการเรยี นรูŒ

๖. ปฏิบัตติ นเปน พลเมอื งดตี ามวิถีประชาธิปไตย
๗. มีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบขอมูลเพ่ือใชประกอบการตัดสินใจ
ในกจิ กรรมตา ง ๆ
๑๐. ปฏบิ ัตติ นเปนผมู ีวินัยในตนเอง

๓. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด

นอกจากปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยแลว เราจะตองปฏิบัติตนเปนผูมีวินัย
ในตนเองดวย โดยการมีความซอื่ สัตยส จุ ริต ขยนั หมั่นเพียรและอดทน ใฝหาความรู ตัง้ ใจปฏิบัตหิ นาท่ี
และยอมรับผลทเ่ี กิดจากการกระทาํ ของตนเอง

๔. สาระการเรยี นรูŒ

๑. พลเมืองดีตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
๒. การมีสว นรวมทางการเมืองการปกครอง

๕. สมรรถนะสําคัญของผูเŒ รียน

๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ิต

๖. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค

๑. มวี นิ ยั
๒. อยอู ยางพอเพยี ง
๓. มจี ิตสาธารณะ

160 คูม ือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพม่ิ เติม หนา ทีพ่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑

๗. ชน้ิ งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การตอบคาํ ถามเกยี่ วกบั ความมวี ินัยในตนเองในการเปนพลเมอื งดใี นระบอบประชาธปิ ไตย
– การทํากิจกรรม/ใบงาน

๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรูŒ

ดŒานความรูŒ (K) ดาŒ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดาŒ นทักษะ/กระบวนการ (P)
และคา‹ นิยม (A)

๑. ซกั ถามความรเู รอ่ื ง • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ • ประเมนิ พฤติกรรมในการ
ความมีวินยั ในตนเองในการ ทำงานเปน รายบุคคลในดา น ทำงานเปนรายบคุ คลและ
เปน พลเมืองดีในระบอบ ความมวี นิ ยั ความใฝเ รียนรู เปนกลุมในดานการสือ่ สาร
ประชาธปิ ไตย ฯลฯ การคิด การแกปญหา ฯลฯ
๓. ตรวจผลงาน/กิจกรรม
เปน รายบุคคลและเปน กลุม

๙. กิจกรรมการเรียนรŒู

ข้ันนําเขŒาส‹ูบทเรียน
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดน่ังเรียนแบบรูปตัว U น่ังเรียนเปนกลุม นํานักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หอ งโสตทัศนศึกษา สนามหญาใตรม ไม
๒. ครแู จงผลการเรียนรูใหน ักเรียนทราบ
๓. ครูใหนักเรียนทองบทอาขยานคานิยมหลัก ๑๒ ประการ พรอม ๆ กัน จากน้ันครูอธิบาย
ใหนักเรียนฟงวา หากเราปฏิบัติตามคานิยมหลักดังกลาวจะทําใหเราสามารถปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยใน
ตนเองไดดวย
๔. ครใู หน ักเรียนชว ยกนั คิดวา หากเราขยนั อา นหนังสือและทบทวนความรูทเ่ี รียนมาทุกวัน ผลท่ี
ไดรับจะเปนอยางไร เม่ือนักเรียนตอบเสร็จ ครูอธิบายวา หากเราขยันอานหนังสือและทบทวนความรู
ทุกวันเปนการแสดงออกวาเราเปนผูท่ีมีความขยันหมั่นเพียรและต้ังใจปฏิบัติหนาที่ ซ่ึงจะชวยใหเรา
มีผลการเรียนท่ดี ีขน้ึ
๕. ครสู รปุ ความรูแลว เชอ่ื มโยงไปสูเ น้ือหาท่จี ะเรยี น
ขน้ั จัดกิจกรรมการเรียนรŒู
๖. ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเก่ียวกับการปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยในตนเอง แลวสนทนาซักถาม
ความรูเ กย่ี วกบั เร่ืองท่นี กั เรยี นไดส ืบคนขอมลู มาในประเดน็ ตาง ๆ
๗. ครใู หนกั เรียนอา นใบความรเู รอื่ ง วนิ ัยมด...วนิ ัยคน
๘. ครใู หน กั เรียนชว ยกันตอบปญ หาจากเรือ่ งท่อี า น ตัวอยา งคําถาม เชน

๑) เรือ่ งนี้เปน เรอื่ งเกย่ี วกบั อะไร

คมู อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพิม่ เติม หนาที่พลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ 161
๒) เรื่องน้ีเกย่ี วขอ งกับความมีวินยั ในตนเองอยางไรบาง
๓) หลงั จากท่อี านเรื่องน้แี ลว นกั เรียนคดิ วา หากเราปฏบิ ตั ติ นเปนผูมวี ินยั ในตนเองจะทําใหเ รา
เปน พลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยไดห รือไม เพราะอะไร
๙. หลังจากที่นักเรียนตอบคําถามครบทุกขอแลว ครูกลาวชมเชยนักเรียนทุกคน จากนั้นครูสรุป
ความรู แลวใหนักเรียนบันทึกลงในแบบบันทึกความรู
ข้ันขยายความรูŒ
๑๐. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ความมีวินัยในตนเองในการเปนพลเมืองดีในระบอบ
ประชาธิปไตยชว ยพฒั นาประเทสไทยใหเจรญิ กา วหนา ไดอยางไร จากน้นั ครูและนักเรยี นรว มกันสรุปผล
โดยใหนักเรียนบันทึกลงในแบบบนั ทกึ ผลการอภปิ ราย
ขั้นประเมิน
๑๑. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเรื่องอะไรบางท่ียัง
ไมเขาใจหรือมีขอสงสัย ถามีครูชวยอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจ
๑๒. ครใู หน ักเรียนรวมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมวามีปญหาหรืออุปสรรคใด และไดมีการ
แกไขอยางไรบาง
๑๓. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชนที่ไดรับจากการเรียนหัวขอนี้
และการปฏิบัติกิจกรรม
๑๔. ครทู ดสอบความเขา ใจของนกั เรยี นโดยการใหต อบคาํ ถาม เชน
๑) คนทม่ี ีวนิ ัยในตนเองมลี กั ษณะอยา งไรบาง
๒) การปฏบิ ัตติ นเปนคนมีวนิ ยั ในตนเองกอ ใหเกิดประโยชนอยา งไรบา ง
๑๕. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม/ใบงานที่ ๓๐ เรื่อง ความมีวินัยในตนเองในการเปนพลเมืองดี
ในระบอบประชาธิปไตย เปน การบาน
ขัน้ สรุปและนาํ ไปใชŒ
๑๖. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรเู รอ่ื ง ความมีวินัยในตนเองในการเปน พลเมืองดีในระบอบ
ประชาธิปไตย โดยใหนักเรียนบันทึกขอสรุปลงในแบบบันทึกความรู หรือสรุปเปนความเรียง แผนที่
ความคดิ หรือผงั มโนทศั นล งในสมดุ พรอมตกแตง ใหส วยงาม
๑๗. ครูใหนักเรียนนําความรูท่ีไดเรียนมาไปประพฤติปฏิบัติใหเหมาะสมและสอดคลองกับ
สถานการณในชีวติ ประจาํ วัน รวมทัง้ นําไปเผยแพรใหบ ุคคลอนื่ เชน คนในครอบครัว เพ่อื นบาน ไดร ู
และเขา ใจ

๑๐. สอื่ การเรยี นรูแŒ ละแหล‹งการเรียนรูŒ

๑. บทอาขยานคานยิ มหลัก ๑๒ ประการ
๒. กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๓๐ เรอ่ื ง ความมวี นิ ยั ในตนเองในการเปน พลเมอื งดใี นระบอบประชาธปิ ไตย
๓. ใบความรเู รอ่ื ง วนิ ัยมด...วินยั คน
๔. แบบบนั ทกึ ผลการอภปิ ราย
๕. แบบบนั ทกึ ความรู
๖. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จาํ กดั

162 คูม อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนา ทีพ่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ ผสŒู อน

๑๑. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรูŒ

๑. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นรู
แนวทางแกไ ข

๓. สง่ิ ที่ไมไ ดป ฏิบตั ติ ามแผน
เหตุผล

๔. การปรับปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู

ลงช่ือ
//

คมู อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพิ่มเติม หนา ทพ่ี ลเมือง ๑–๒ ม. ๑ 163

แผนการจดั การเร�ยนรูทŒ ี่ ๓๐

กิจกรรมบรู ณาการ ทบทวน โครงงาน และทดสอบกลางภาค

กลุม‹ สาระการเรียนรŒสู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๑
หนว‹ ยการเรียนรŒทู ี่ ๔ พลเมอื งดใี นระบอบประชาธปิ ไตย เวลา ๑ ชวั่ โมง

อนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข

๑. จุดเนŒน

จดุ เนŒนที่ ๓ ความเปนพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ
๓.๑ การดําเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย
๓.๒ การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย

ทรงเปนประมุข
จดุ เนŒนที่ ๕ ความมีวนิ ยั ในตนเอง
ความซ่ือสัตยสุจริต ความขยันหมั่นเพียร ความอดทน การใฝหาความรู การต้ังใจปฏิบัติ

หนาท่ี การยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของตนเอง

๒. ผลการเรียนรูŒ

๖. ปฏิบตั ิตนเปนพลเมอื งดีตามวถิ ีประชาธิปไตย
๗. มีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบขอมูลเพ่ือใชประกอบการตัดสินใจ
ในกจิ กรรมตา ง ๆ
๑๐. ปฏิบัตติ นเปนผูมวี นิ ยั ในตนเอง

๓. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด

พลเมอื งดีตามวิถีประชาธิปไตยจะตองเขา มามีสว นรวมในกิจกรรมตาง ๆ ของสงั คม ไดแ ก รวม
ปรกึ ษาหารือหรือแสดงความคิดเห็นทีเ่ ปน ประโยชน รว มกจิ กรรมเทศกาลงานประเพณตี าง ๆ สนใจรบั รู
ขอ มลู ขาวสาร มีสวนรว มในกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง รว มกจิ กรรมพัฒนาสังคม และตัดสินใจ
โดยใชเ หตุผล

ในฐานะทเี่ ปน สมาชกิ ของหอ งเรยี นและโรงเรยี น เราจะตอ งมสี ว นรว มและรบั ผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจ
ในกิจกรรมของหองเรียนและโรงเรียน ไดแก การแสดงความคิดเห็น การประชุมปรึกษาหารือกัน
การเลือกต้ังหัวหนาหองและประธานนักเรียน การรักษาความสะอาด การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ
และขอตกลง และการติดตามขอ มูลขาวสาร

กิจกรรมเสนอแนะ เปน กิจกรรมบรู ณาการท่ีรวบรวมหลักการและความคิดรวบยอดในเรอ่ื งตา ง ๆ
ที่นักเรียนไดเรียนรูไปแลวมาประยุกตใชในการปฏิบัติกิจกรรม เชน การศึกษาคนควาและทํารายงาน
นักเรียนจะตองมีความรูเรื่อง การวางแผน ทักษะการทํางานกลุม ทักษะการสืบคนขอมูล

164 คมู ือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพิม่ เติม หนาทพ่ี ลเมือง ๑–๒ ม. ๑
โครงงาน เปน การกาํ หนดใหน กั เรยี นปฏบิ ตั โิ ครงงาน โดยเสนอแนะหวั ขอ แนวทางปฏบิ ตั ิ หรอื อาจ

เลอื กทาํ โครงงานอื่นตามความสนใจ โดยใหเ ก่ียวของกับเน้ือหาในบทเรียน
การประยกุ ตใชใ นชีวิตประจาํ วนั เปนตัวอยางสถานการณ กิจกรรมหรือคําถามเพอื่ ใหน กั เรียนเห็น

แนวทางในการนาํ เน้ือหาความรใู นหนวยการเรียนรูน้นั ๆ ไปประยกุ ตใชในชวี ติ ประจําวนั
คาํ ถามทบทวน เปนคําถามแบบอัตนัยเพอื่ ทบทวนผลการเรยี นรขู องนักเรยี น

๔. สาระการเรยี นรŒู

๑. พลเมืองดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย
๑.๑ หลักการประชาธิปไตย
๑.๒ วิถปี ระชาธปิ ไตย
๑.๓ การมสี ว นรว มในกจิ กรรมตาง ๆ ของสงั คม
๑.๔ การตัดสินใจโดยใชเหตผุ ล

๒. การมีสวนรว มทางการเมอื งการปกครอง
๒.๑ การมสี ว นรว มและรบั ผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจตอกจิ กรรมของหอ งเรยี นและโรงเรยี น
๒.๒ การตรวจสอบขอมลู

๓. กิจกรรมเสนอแนะ
๔. โครงงาน
๕. การประยุกตใชใ นชีวติ ประจําวัน
๖. คาํ ถามทบทวน

๕. สมรรถนะสําคญั ของผเŒู รียน

๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกป ญหา
๔. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต
๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค

๑. ซ่ือสัตยสุจรติ
๒. มีวินยั
๓. ใฝเรียนรู
๔. อยูอยา งพอเพียง
๕. มุงมนั่ ในการทาํ งาน
๖. มจี ติ สาธารณะ

คูม ือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ที่พลเมือง ๑–๒ ม. ๑ 165

๗. ช้นิ งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การอภิปรายเกี่ยวกับการมสี วนรว มในกิจกรรมตา ง ๆ ของสงั คม
– การแสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับการมีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจตอกิจกรรมของ
หอ งเรยี นและโรงเรยี น
– การทาํ กจิ กรรม/ใบงาน
– การทําแบบทดสอบหลงั เรียน
– การทําแบบทดสอบกลางภาค

๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูŒ

ดŒานความรŒู (K) ดŒานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดาŒ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
และคา‹ นยิ ม (A)

๑. ทดสอบหลงั เรยี น • ประเมินพฤตกิ รรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
๒. ซกั ถามความรเู รอ่ื ง พลเมอื งดี ทำงานเปน รายบุคคลในดา น ทำงานเปนรายบุคคลและ
ในระบอบประชาธิปไตยอันมี ความมีวินยั ความใฝเรยี นรู เปนกลุมในดานการสือ่ สาร
พระมหากษตั รยิ ทรงเปน ฯลฯ การคิด การแกป ญ หา ฯลฯ
ประมขุ
๓. ตรวจผลงาน/กิจกรรม
เปนรายบคุ คลและเปนกลุม
๔. ทดสอบกลางภาค

๙. กจิ กรรมการเรียนรูŒ

ขั้นนําเขŒาส‹ูบทเรียน
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอื่ กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U น่ังเรียนเปนกลุม นํานักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หองโสตทัศนศกึ ษา สนามหญาใตร มไม
๒. ครูแจง ผลการเรยี นรใู หน ักเรียนทราบ
๓. ครูอานขาวเก่ียวกับพลเมืองดีจากหนังสือพิมพใหนักเรียนฟง แลวซักถามนักเรียนในประเด็น
ตาง ๆ เชน

๑) ขาวน้ีเปน เรอื่ งเกี่ยวกบั อะไร
๒) บคุ คลในขาวปฏิบัตติ นไดถ กู ตองหรือไม
๓) หลังจากที่ฟงขาวนแี้ ลว นกั เรียนรูสึกอยางไร
๔. ครูกลา วชมเชยนักเรียนทไ่ี ดช ว ยกันตอบคําถาม
๕. ครูสรุปความรูแลวเช่อื มโยงไปสูก จิ กรรมท่ีจะปฏบิ ตั ิ

166 คมู ือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เติม หนา ทพ่ี ลเมือง ๑–๒ ม. ๑
ขน้ั จดั กิจกรรมการเรียนรูŒ
๖. ครใู หน กั เรียนอานเนอื้ หาเร่อื ง การมีสวนรว มในกจิ กรรมตาง ๆ ของสังคม และการมีสว นรวม

และรบั ผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจตอ กจิ กรรมของหอ งเรยี นและโรงเรยี น จากหนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ
หนาทีพ่ ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ ของ วพ. จากนน้ั ใหนกั เรียนทาํ กิจกรรมเสนอแนะตอ ไปน้ี

๑) ใหน กั เรยี นแบง ออกเปน กลมุ กลมุ ละ ๔–๖ คน แตล ะกลมุ รว มกนั อภปิ รายวา การมสี ว นรว ม
ในกิจกรรมตาง ๆ ของสังคมกอใหเกิดประโยชนตอสังคมอยางไรบาง สรุปผลแลวสงตัวแทนนําเสนอ
ผลงานหนา ชนั้ เรียน

๒) ใหนักเรียนแบงออกเปนกลุม กลุมละ ๔–๖ คน แตละกลุมรวมกันแสดงบทบาทสมมุติ
เก่ียวกับการมีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจตอกิจกรรมของหองเรียนและโรงเรียน กลุมละ
๑ ประเด็น หลังจากท่ีแสดงครบทกุ กลมุ แลว ครลู ะนักเรียนรวมกนั สรปุ ความรู

๗. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครูสังเกตพฤติกรรมในการทํางานและการนําเสนอ
ผลงานของนกั เรยี นตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทํางานเปนรายบคุ คลและเปน กลุม

๘. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําโครงงานเร่ือง การมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ของสังคม หรือ
อาจเลือกทําโครงงานอื่นตามความสนใจ โดยใหเกี่ยวของกับเน้ือหาในบทเรียน และใหนักเรียนเสนอ
ชื่อโครงงานใหพิจารณากอน

๙. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็นท่ีกําหนดใหในหัวขอ การประยุกตใช
ในชวี ติ ประจําวนั

• ในการประชมุ ของหอ งเรยี นเกีย่ วกบั การจัดเวรทําความสะอาดหองเรยี น หากนกั เรยี นเสนอ
ความคิดเห็นวา ใหจัดเวรทําความสะอาดเพียง ๒ กลุม โดยสลับกันทําความสะอาดหองเรียนกลุมละ
๑ วัน แตมีเพื่อนเสนอความคิดเห็นแยงกับเราวา ควรจัดเวรทําความสะอาดออกเปน ๕ กลุม
โดยผลัดกันทาํ ความสะอาดหอ งเรียนกลุม ละ ๑ วนั กรณนี ี้ นกั เรียนจะปฏบิ ตั ิอยางไร

จากนั้นครแู นะนําใหนกั เรียนนาํ ความรูที่ไดไ ปประยกุ ตใ ชในชวี ติ ประจําวันใหเหมาะสม
๑๐. ครมู อบหมายใหนักเรียนตอบคาํ ถามในหวั ขอ คําถามทบทวน เปนการบา น
ขั้นขยายความรŒู
๑๑. ครูใหนักเรียนสํารวจชุมชนของตนวามีใครบางท่ีปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
จากน้ันใหชวยกันสัมภาษณบุคคลนั้นเกี่ยวกับประวัติสวนตัวและวิถีการดําเนินชีวิต แลวนําขอมูลมาจัด
เปน ปา ยนิเทศพลเมืองดีศรีชุมชน
ข้ันประเมนิ
๑๒. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอท่ีเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเร่ืองอะไรบางที่ยัง
ไมเขาใจหรือมีขอสงสัย ถามีครูชวยอธิบายเพ่ิมเติมใหนักเรียนเขาใจ
๑๓. ครใู หนักเรียนรวมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุมวามีปญหาหรืออุปสรรคใด และไดมี
การแกไขอยางไรบาง
๑๔. ครใู หน กั เรยี นรว มกนั แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั ประโยชนท ไ่ี ดร บั จากการเรยี นหนว ยการเรยี นรู
น้แี ละการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
๑๕. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม/ใบงานท่ี ๓๑ เร่ือง ทบทวนความรู เพ่ือทดสอบความเขาใจของ
นักเรียน

คมู ือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนาที่พลเมือง ๑–๒ ม. ๑ 167
ขัน้ สรปุ และนําไปใชŒ
๑๖. ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั สรปุ ความรเู รอื่ ง พลเมอื งดใี นระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ 
ทรงเปนประมุข โดยใหนักเรียนบันทึกขอสรุปลงในแบบบันทึกความรู หรือสรุปเปนความเรียง แผนที่
ความคิดหรือผังมโนทัศนล งในสมดุ พรอ มตกแตง ใหสวยงาม
๑๗. ครูใหนักเรียนนําความรูที่ไดเรียนมาไปประพฤติปฏิบัติใหเหมาะสมและสอดคลองกับ
สถานการณใ นชวี ิตประจาํ วนั รวมท้ังนาํ ไปเผยแพรใหบ คุ คลอนื่ เชน คนในครอบครวั เพ่ือนบาน ไดร ู
และเขา ใจ
๑๘. ครใู หน กั เรยี นทาํ แบบทดสอบหลงั เรยี น โดยแจกแบบทดสอบใหน กั เรยี นทกุ คน และใหน กั เรยี น
ทาํ แบบทดสอบ โดยเขยี นเคร่ืองหมาย 7 ทับตัวอกั ษร (ก–ง) หนาคําตอบท่ีถกู ตอ งที่สดุ เพยี งคาํ ตอบ
เดียว จากนนั้ ตรวจใหคะแนน พรอ มเฉลยคาํ ตอบของแบบทดสอบกอ นเรยี นและหลังเรียน เพื่อประเมนิ
ผลการเรียนรขู องนกั เรยี น
๑๙. ครูมอบหมายใหนกั เรยี นไปอา นเน้ือหาเรือ่ ง ความหลากหลายทางสงั คมวฒั นธรรมในภมู ิภาค
เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต ในหนว ยการเรยี นรูที่ ๕ เปนการบานเพอ่ื เตรยี มจดั การเรียนรูในช่ัวโมงตอ ไป
๒๐. ครูใหนกั เรยี นทาํ แบบทดสอบกลางภาค

๑๐. สื่อการเรยี นรŒูและแหลง‹ การเรียนรŒู

๑. ขาวเก่ยี วกับพลเมืองดจี ากหนังสอื พิมพ
๒. กิจกรรม/ใบงานที่ ๓๑ เรอ่ื ง ทบทวนความรู
๓. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทาํ งานเปน รายบคุ คลและเปน กลมุ
๔. แบบบนั ทึกความรู
๕. แบบทดสอบหลงั เรยี น
๖. แบบทดสอบกลางภาค
๗. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๑–๒ ม. ๑ บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จาํ กดั

๑๑. บันทกึ หลังการจัดการเรียนรูŒ

๑. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู
แนวทางแกไข

๓. ส่งิ ทไี่ มไดป ฏิบตั ิตามแผน
เหตผุ ล

๔. การปรับปรงุ แผนการจดั การเรียนรู

ลงชือ่ ผูŒสอน
//


Click to View FlipBook Version