The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

8.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายประชุม ปุ่มแก้ว, 2020-07-01 02:29:28

8.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.2

8.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.2

 
 
 
 

 
คมู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทกั ษะชีวติ

ประเภทลูกเสือสามญั รุนใหญ
เครื่องหมายลูกเสอื ช้ันพเิ ศษ

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2

 

คํานาํ

สมาคมวางแผนครอบครัวแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระศรีนครินทราบรม
ราชชนนี ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ
(สสส.) เพื่อจดั ทําโครงการลกู เสอื เสริมสรางทักษะชีวติ มีวตั ถปุ ระสงคเพอ่ื เสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ใหเดก็
และเยาวชนในสถานศึกษาดวยกระบวนการลูกเสือ โดยใหเด็กและเยาวชนลงมือปฏิบัติดวยตนเอง
ในการทาํ กจิ กรรมอยางครบวงจร ตั้งแตการศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และ
ปรับปรงุ การจัดกจิ กรรม รวมถงึ การทํางานเปนระบบหมูตามกระบวนการลูกเสือ ซึ่งกิจกรรมดังกลาว
เปนการพัฒนาความเปนมนุษยแบบองครวม ท้ังดานรางกาย จิตใจ สังคม และสติปญญา ทําใหเด็ก
และเยาวชนมีระเบียบวินัย มีจิตสํานึกในการทําความดี เพ่ือทําประโยชนใหกับครอบครัว ชุมชน
สงั คม และประเทศชาติ ตอ ไป

เริ่มจากการศึกษาความเปนไปได ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของทั้งในและ
ตางประเทศ จัดประชุมผูเช่ียวชาญท้ังดานลูกเสือ ดานทักษะชีวิต รวมทั้งดานการพัฒนาเด็กและ
เยาวชน เพื่อกําหนดกรอบโครงสรางหลักสูตรลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิต ที่สอดคลองกับปญหา
ตามวยั และพัฒนาการดา นตา ง ๆ ของลูกเสือแตล ะประเภท

คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิต ฉบับทดลอง ไดเร่ิมใชในป พ.ศ. 2553
มโี รงเรยี นจากทกุ ภูมิภาคของประเทศเขารวมโครงการ จํานวน 26 โรงเรียน โดยไดดําเนินการควบคู
ไปกับการวิจัยและประเมินผลการใชคูมือ และทําการปรับปรุงคูมือครั้งแรกเมื่อ เมษายน พ.ศ.2554
โดยไดเพิ่มเติม เพลง เกม นิทาน เรอื่ งส้นั และเนอ้ื หาใหครบถวนย่ิงข้ึน

การปรับปรุงคร้ังท่ีสอง มิถุนายน พ.ศ. 2559 เกิดข้ึนตามขอเสนอแนะจากการประชุม
ปฏิบตั กิ าร “การขับเคลอื่ นกิจกรรมพัฒนาผูเรียนดวยกระบวนการลูกเสือ” ซึ่งจัดโดยสํานักการลูกเสือ
ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยยึดขอบังคับคณะลูกเสือ
แหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ และเพ่ิมจํานวนแผนการจัดกิจกรรมให
ครบ 40 ช่ัวโมง เพ่ือครอบคลุมสาระท่ีจําเปนอยางครบถวน เปนการเตรียมการขยายผลในโรงเรียน
สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) ท่ัวประเทศ และไดแบงคูมือออกเปน
11 เลม สาํ หรบั ลูกเสือแตละชั้นป เพ่ือความสะดวกของผสู อน

สมาคมวางแผนครอบครวั แหง ประเทศไทยฯ ขอขอบพระคุณหนวยงานและบุคลากรทุกทาน
ทมี่ สี ว นรวมในโครง ตง้ั แตการริเรมิ่ โครงการและสนบั สนนุ งบประมาณจากสาํ นักงานกองทุนสนับสนุน
การสรางเสริมสขุ ภาพ (สสส.) การจัดทําหลักสตู รและคูม อื การทดลองวิจัยและประเมินผลการใชคูมือ
การปรบั ปรงุ คมู ือทงั้ 2 คร้ัง ใหส าํ เรจ็ ลุลว งไว ณ โอกาสนี้ หวังเปนอยา งยง่ิ วาคูมอื ชุดนี้จะชวยสงเสริม
ใหกิจการลูกเสือของประเทศไทย ซึ่งดําเนินมาครบวาระ 105 ป ในป พ.ศ. 2559 นี้ ไดเปนเครื่องมือ
สําคญั และกอใหเ กิดประโยชนส ูงสุดตอ การพัฒนาเดก็ และเยาวชนของชาติตอ ไป

สมาคมวางแผนครอบครัวแหง ประเทศไทย
ในพระราชปู ถัมภสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี

กรกฎาคม 2559

สารบัญ หนา
1
คาํ ชี้แจงการใชคมู ือ 5
แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รนุ ใหญช ัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 2
8
หนว ยที่ 1 ปฐมนิเทศ
แผนการจัดกิจกรรมท่ี 1 การปฐมนเิ ทศ 11
29
หนว ยท่ี 2 หนา ที่พลเมอื ง 31
แผนการจัดกิจกรรมที่ 2 ประวตั ลิ ูกเสือไทย 34
แผนการจดั กิจกรรมที่ 3 การพฒั นาตนเอง 41
แผนการจดั กิจกรรมที่ 4 การเยย่ี มหนวยงาน 43
แผนการจัดกิจกรรมที่ 5 หนาทขี่ องลกู เสอื ตามวิถีประชาธิปไตย 47
แผนการจดั กิจกรรมที่ 6 สง่ิ ดี ๆ ของฉนั
แผนการจัดกิจกรรมที่ 7 คคู รองในฝน 50
แผนการจัดกิจกรรมที่ 8 คิดอยา งไรไมเ ปน ทุกข 53
55
หนว ยท่ี 3 การเดนิ ทางสาํ รวจ
แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 9 การเตรียมตวั กอ นสํารวจ 59
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 10 กจิ กรรมระหวางการเดินทางสํารวจ
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 11 การรวบรวมขอ มูลและการรายงาน 66
73
หนวยท่ี 4 การแสดงออกทางศลิ ปะ 76
แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 12 การแสดงออกทางศลิ ปะ 80
84
หนว ยที่ 5 สมรรถภาพทางกาย
แผนการจดั กิจกรรมท่1ี 3 ลกู เสือไทยกายสมารท 94
แผนการจัดกจิ กรรมที่ 14 ภัยสังคม 104
แผนการจัดกิจกรรมที่ 15 เสยี่ งไมเ ส่ยี งรูไ ดอยา งไร 116
แผนการจัดกิจกรรมท่ี 16 อยา งนตี้ องปฏเิ สธ 120
แผนการจดั กิจกรรมที่ 17 ความรนุ แรง

หนว ยท่ี 6 บรกิ าร
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 18 การปฐมพยาบาล
แผนการจดั กิจกรรมท่ี 19 การรายงานการใหบ รกิ าร
แผนการจดั กิจกรรมท่ี 20 บัญชชี วี ติ
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 21 ปมู ชีวิตปราชญช าวบา น

สารบัญ(ตอ) หนา

หนว ยท่ี 6 บรกิ าร (ตอ ) 123
แผนการจดั กิจกรรมที่ 22 เสียหายเพราะอะไร 126
แผนการจดั กิจกรรมท่ี 23 โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดําริ
133
หนวยที่ 7 ประเมนิ ผล
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 24 การประเมนิ ผล 146

หนวยที่ 8 พธิ ีการ 147
แผนการจัดกิจกรรมที่ 25 การประดับเครือ่ งหมายลกู เสอื ชน้ั พเิ ศษ 159
เครอ่ื งหมายวิชาพิเศษ สายยงยศ 162

ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แนวคดิ เรือ่ งทกั ษะชวี ติ
ภาคผนวก ข กจิ กรรมลูกเสอื เสรมิ สรา งทักษะชีวติ
บรรณานกุ รม

คาํ ชีแ้ จงการใชคูมือ

คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิตชุดนี้ จัดทําข้ึนสําหรับผูกํากับลูกเสือใชเปน
แนวทางในการจัดกิจกรรมลูกเสือ มีจํานวน 11 เลม แยกตามชั้นป สําหรับลูกเสือ 4 ประเภท คือ
ลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามญั ลูกเสือสามัญรนุ ใหญ และลกู เสือวสิ ามญั

หลักสูตรลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิต มีเนื้อหาท่ีสอดคลองกับปญหาตามวัยและพัฒนาการ
ดานตาง ๆ ของลูกเสือแตละประเภท นอกจากน้ียังมีเน้ือหาครบถวน เปนไปตามขอบังคับคณะ
ลูกเสอื แหงชาติ วา ดว ยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญ
รุนใหญ และลูกเสือวิสามญั อีกดว ย

แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิตในคูมือชุดน้ี ไดออกแบบโดยบูรณาการ
กิจกรรมท่ีเสริมสรางทักษะชีวิตเขากับวิธีการลูกเสือ คือการใชระบบหมูหรือกลุมยอย โดยใหเด็กเปน
ศนู ยก ลาง และมีผใู หญทําหนาที่ชวยเหลือและสงเสริมใหเกิดกระบวนการเรียนรูในกลุม แนะนํา สั่งสอน
และฝกอบรมใหสามารถพึ่งตนเองได มีจิตอาสา รับผิดชอบตอสวนรวม ยึดม่ันในคําปฏิญาณและกฎของ
ลูกเสอื เสรมิ สรางคุณคาในตนเอง รวมทั้งใชระบบเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณทางลูกเสือและเครื่องหมาย
วิชาพเิ ศษ เปน แรงกระตนุ ไปสเู ปาหมายในการพฒั นาตนเอง

การเรียงลําดับแผนการจัดกิจกรรม จัดเรียงลําดับเนื้อหาสาระตามหลักสูตรในขอบังคับคณะ
ลกู เสือแหง ชาติ วาดวยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญ
รุนใหญ และลูกเสือวิสามัญ การนําไปใชขึ้นกับดุลยพินิจของสถานศึกษาในการเลือกวาแผนการจัด
กิจกรรมใดควรใชเมอื่ ใด

องคประกอบในการประชุมกอง เนนการใชชีวิตกลางแจง นอกหองเรียน ใกลชิดธรรมชาติ
เรียนรูจากการลงมือปฏิบัติดวยตนเอง เกม และการบริการผูอื่น ซึ่งถือเปนหัวใจของกิจกรรมลูกเสือ
ทกุ ประเภท โดยกจิ กรรมท่ใี ช แบง ออกเปน 5 ประเภท คือ การแสดงออก การสํารวจและการรายงาน
การวิเคราะหและการประเมิน เกมและการแขงขัน การบําเพ็ญประโยชน มีการออกแบบกิจกรรม
เพ่ือใหลูกเสือไดใชกระบวนการกลุมในการแลกเปล่ียนประสบการณ แลกเปล่ียนความคิดความเช่ือ
สรางองคความรูและสรุปความคิดรวบยอด รวมทั้งเปดโอกาสใหลูกเสือไดประยุกตใชสิ่งท่ีไดเรียนรู
ในชีวติ จรงิ อกี ดวย

เนือ้ หาสาระในแผนการจัดกจิ กรรมประกอบดว ย
1. กิจกรรมตามขอบังคับของคณะลูกเสือแหงชาติ (ไมรวมกิจกรรมทดสอบเพื่อรับ
เคร่ืองหมายหรอื สัญลกั ษณทางลกู เสอื และเครอื่ งหมายวิชาพิเศษ)
2. กิจกรรมตามขอบังคับของคณะลูกเสือแหงชาติที่ชวยเสริมสรางทักษะชีวิตดานคุณธรรม
จรยิ ธรรม ความภาคภมู ิใจในตนเอง ความรับผิดชอบตอสวนรวม
3. กิจกรรมเสริมสรางทกั ษะชีวิต เพอ่ื สรางภูมิคุมกันทางสังคมตอเหตุการณและสภาพปญหา
ของเดก็ แตล ะวยั

คูม อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ิต ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 1

คูมือแตละเลม ไดจดั ทําตารางหนว ยกิจกรรม และแผนการจดั กิจกรรม 40 ชั่วโมง เพ่ือใหเห็น
ภาพรวมของการจดั กจิ กรรมลูกเสอื เสริมสรางทกั ษะชีวติ ของลูกเสอื ในแตละระดบั ช้นั และมหี มายเหตุ
บอกไวในตารางชองขวาสดุ วาเปนแผนการจดั กจิ กรรมเสริมสรางทกั ษะชีวติ

แผนการจดั กิจกรรมประกอบดวย จุดประสงคก ารเรยี นรู เนือ้ หา สื่อการเรียนรู กิจกรรม การ
ประเมินผล องคประกอบทักษะชีวิตสําคัญท่ีเกิดจากกิจกรรม และภาคผนวกประกอบแผนการจัด
กิจกรรม (เพลง เกม ใบงาน ใบความรู เร่ืองท่เี ปนประโยชน)

จุดประสงคการเรียนรู
ผูสอนควรทําความเขาใจใหชัดเจนวาเปนจุดประสงคการเรียนรูดานความรู เจตคติ หรือ
ทกั ษะ เพอื่ จดั กิจกรรมไดต รงตามจดุ ประสงคก ารเรียนรแู ตละดาน
จุดประสงคการเรียนรูดานความรู มีจุดเนนที่การตั้งประเด็นใหวิเคราะห สังเคราะหเนื้อหา
ความรู ใหเขาใจอยางถองแท และสามารถนาํ ไปใชไดในชวี ติ จริง
จุดประสงคการเรียนรูดานเจตคติ มีจุดเนนท่ีอารมณความรูสึก และการตั้งประเด็นใหผูเรียน
ไดแ ลกเปล่ยี นและตรวจสอบความคิดความเชอ่ื ของตนเองกบั สมาชกิ กลุมคนอน่ื ๆ
จดุ ประสงคการเรียนรูดานทักษะ เนนท่ีการทําความเขาใจในข้ันตอนการลงมือทําทักษะ และ
ไดท ดลองและฝก ฝนจนชาํ นาญ
บางแผนการจัดกิจกรรมมีจุดประสงคการเรียนรูซอนกันมากกวา 1 ดาน ใหเนนดานท่ีเปน
จดุ ประสงคหลักของแผนการจดั กจิ กรรม
เนื้อหา
เปนผลการเรียนรูที่เกิดข้ึนหลังการสอน ผูสอนควรตรวจสอบวาผูเรียนไดเน้ือหาครบถวน
หรือไม
ส่ือการเรียนรู
เปนสอื่ อปุ กรณ ท่ีใชใ นการจดั กิจกรรม เชน แผนภูมิเพลง เกม ใบงาน ใบความรู และเร่ืองที่
เปนประโยชน ซึ่งมรี ายละเอยี ดอยใู นภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรม
กิจกรรม
กิจกรรมลูกเสือยังคงแบบแผนของลูกเสือไว คือ การเปดประชุมกอง/ปดประชุมกอง และ
เพลง เกม นิทาน เรอื่ งท่เี ปน ประโยชน ซง่ึ ใสไ วใ นทุกแผนการจัดกิจกรรม โดยผูกํากับลูกเสือสามารถ
ปรบั เปลยี่ นไดตามความเหมาะสม ผูสอนควรจัดกิจกรรมตามท่ีไดออกแบบไวเรียงตามลําดับข้ันตอน
การจัดกิจกรรม นอกจากนี้กอนการจัดกิจกรรมควรศึกษาแผนการจัดกิจกรรมใหเขาใจอยางถองแท
ทกุ ข้ันตอน ศึกษาใบความรูสําหรับผูสอน และใบงานสําหรับผูเรียน เพ่ือท่ีผูสอนจะไดจัดกิจกรรมการ
เรยี นการสอนใหไดเนือ้ หาตรงตามจดุ ประสงคการเรยี นรมู ากท่สี ดุ
ทงั้ นีผ้ กู ํากับควรทาํ ความเขาใจแนวคิดเรื่องทักษะชีวติ และกิจกรรมลูกเสือเสรมิ สรา งทักษะชวี ติ
ใหถ อ งแทดว ย โดยศึกษาไดจากภาคผนวก ก และภาคผนวก ข

2 คูมือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 2

การประเมินผล
สามารถประเมินไดท้ังระหวางการจัดกิจกรรม และหลังการสอนจบแลว ตามแนวทางที่ไดใหไว
ในแตล ะแผนการจดั กจิ กรรม
องคประกอบทกั ษะชีวติ สําคญั ทเ่ี กดิ จากกิจกรรม
ทักษะชีวิตเกิดขึ้นไดหลายองคประกอบในการจัดกิจกรรมแตละครั้ง ในที่นี้ไดระบุเพียง
องคประกอบทกั ษะชวี ติ สําคัญที่เกิดขึน้ เทานั้น
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรม
เปนสื่อ อุปกรณ ตามรายการที่ระบุไวในส่ือการเรียนรู เชน เพลง เกม บัตรคํา ใบงาน ใบความรู
และเรอื่ งท่เี ปน ประโยชน ฯลฯ หากมขี อเสนอแนะเพอ่ื การปรับปรงุ คูมอื ชุดน้ี กรณุ าติดตอที่
สมาคมวางแผนครอบครัวแหง ประเทศไทย ฯ
เลขท่ี 8 วภิ าวดีรงั สิต 44 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรงุ เทพฯ 10900
โทรศัพท 0-2941-2320 ตอ 151 โทรสาร 0-2561-5130

คูมอื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชีวติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 2 3



แผนการจัดกจิ กรรม
ลกู เสือสามัญรนุ ใหญ
เครื่องหมายลูกเสือช้ันพิเศษ
ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 2

คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ิต ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 2 5

แผนการจดั กิจกรรมลูกเสอื สามัญรนุ ใหญ ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 2

ชอ่ื หนว ยกิจกรรมตาม แผนจัดกิจกรรม จาํ นวน หมายเหตุ
ช่ัวโมง
ขอบังคบั คณะลกู เสือแหงชาติ เร่อื ง
1
1. ปฐมนิเทศ 1. ปฐมนิเทศ 1
1
2. หนาทพี่ ลเมือง 2. ประวตั ลิ กู เสือไทย 2
2
3. การพัฒนาตนเอง

4. การเยี่ยมหนว ยงาน

5. หนา ทขี่ องลกู เสอื ตามวถิ ี

ประชาธปิ ไตย

6. สิง่ ดีๆ ของฉนั 1 ทักษะชวี ติ
2 ทกั ษะชีวติ
7. คูค รองในฝน 1 ทกั ษะชีวติ
2
8. คดิ อยา งไรไมเ ปนทุกข
1
3. การเดินทางสาํ รวจ 9. การเตรยี มตัวกอ นสาํ รวจ

10. กจิ กรรมระหวา งการเดนิ ทาง

สํารวจ

11. การรวบรวมขอมูลและการ 2

รายงาน

4. การแสดงออกทางศลิ ปะ 12. การแสดงออกทางศิลปะ 3
2 ทกั ษะชวี ติ
5. สมรรถภาพทางกาย 13. ลูกเสือไทยกายสมารท 1 ทกั ษะชีวติ
2 ทกั ษะชีวติ
14. ภยั สงั คม 2 ทักษะชีวติ
2 ทกั ษะชวี ติ
15. เส่ยี งไมเส่ียงรูไดอ ยางไร

16. อยางนตี้ อ งปฏิเสธ

17. ความรุนแรง

6 คมู ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื สามญั รนุ ใหญ ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 2

ชอ่ื หนวยกิจกรรมตาม แผนจดั กิจกรรม จาํ นวน หมายเหตุ
ชว่ั โมง
ขอบงั คบั คณะลูกเสอื แหงชาติ เร่อื ง ทกั ษะชีวติ
2 ทักษะชีวติ
6. บรกิ าร 18. การปฐมพยาบาล 1
2
19. การรายงานการใหบรกิ าร 2
1
20. บัญชีชวี ติ 2

21. ปมู ชวี ิตปราชญช าวบาน

22. เสยี หายเพราะอะไร

23. โครงการอนั เน่อื งมาจาก

พระราชดําริ

7. ประเมินผล 24. การประเมนิ ผล 1
1
8. พธิ ีการ 25. การประดับเครื่องหมายลกู เสอื

ชัน้ พเิ ศษ เครื่องหมายวชิ าพิเศษ

สายยงยศ

รวม 8 หนวยกจิ กรรม รวม 25 แผนการจดั กจิ กรรม 40

คูมือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 7

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสอื สามัญรุนใหญ (เครอ่ื งหมายลูกเสอื ชั้นพิเศษ) ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี 2

หนวยที่ 1 สาระสาํ คญั ของการลูกเสอื เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดกิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ

1. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
สามารถบอกเกณฑการไดร ับเครื่องหมายลูกเสอื ช้ันพิเศษได

2. เนือ้ หา
หลกั สตู รเครื่องหมายลูกเสือช้ันพิเศษ

3. สอ่ื การเรียนรู

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 ขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือสามัญ
รนุ ใหญ (ฉบบั ท่ี 14) พ.ศ. 2528 และคมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุน ใหญเสริมสรางทักษะชีวิต
3.3 ทะเบียนลูกเสือสามญั รุนใหญ ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 1
3.4 เรื่องท่ีเปนประโยชน

4. กจิ กรรม

4.1 พิธีเปด ประชมุ กอง (ชักธง สวดมนต สงบน่ิง ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคการเรียนรู

1) ผูกาํ กบั ลกู เสือสนทนากับลูกเสือเกี่ยวกับการเขารว มกจิ กรรมในหลกั สูตรลกู เสือ
โลก

2) ผกู าํ กบั ลกู เสอื นาํ เสนอเกณฑก ารไดร ับเครือ่ งหมายลกู เสือช้ันพเิ ศษใหก บั ลกู เสอื
3) ผูกํากับลูกเสือสุมลูกเสือ 3 – 5 คน นําเสนอเกณฑการไดรับเครื่องหมายลูกเสือ
ชน้ั พเิ ศษ หลงั จากทฟ่ี งผกู าํ กบั ลกู เสอื นาํ เสนอ
4) ผกู าํ กับลูกเสือและลูกเสอื รวมกนั สรุปรายละเอยี ดของเกณฑ ท่ีถกู ตอง ลกู เสือบนั ทึก
ไวเ ปน ขอมลู
4.4 ผูก ํากบั ลูกเสือเลา เร่อื งที่เปนประโยชน
4.5 พธิ ีปด เปดประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชักธง เลิก)

5. การประเมินผล

สงั เกต การมสี วนรว มในการทาํ กิจกรรม การแสดงออก การแสดงความคดิ เห็น และประเมิน
ความถกู ตองของการแตง เครอื่ งแบบและการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม

8 คูมือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชีวติ ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 2

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 1
เพลง

วันน้ยี นิ ดี

วันนย้ี นิ ดี ท่เี ราไดม าพบกนั (ซํ้า)
ยินดี ยินดี ยินดี มาเถดิ มา เรามารวมสนกุ
ปลดเปลอื้ งความทุกข ใหมันสิน้ ไป
มาเถดิ มา เรามารวมจิต
ชวยกันคิดทาํ ใหการลูกเสือเจริญ

เกม

ตามผนู ํา

วิธีเลน
แบงลูกเสือออกเปนกลุมๆ ละ 7-8 คน ยืนเขาแถวหนากระดานเรียงหนึ่ง ใหคนกลางหันไป
ทางเสนชัย สวนคนอื่นๆ หันหลังใหเสนชัย ใชขอศอกเก่ียวกันไว เม่ือผูกํากับลูกเสือใหสัญญาณ ให
ทุกคนวง่ิ ไปทเี่ สน ชยั กลมุ ใดถงึ กอนเปนฝาย ชนะ

ใบความรู

หลกั สูตรเครอื่ งหมายลกู เสือช้ันพเิ ศษ
ลกั ษณะเครือ่ งหมาย

เปน รปู สี่เหลี่ยมจตั รุ สั ขนาดดานละ 1 ซม. ตามแบบ พนื้ สีกากภี ายในมรี ปู ชอ ชยั พฤกษสขี าว
2 ชอ โคงเขา หากนั ปลายชอชยั พฤกษม ตี ราเครื่องหมายหวั ลกู ศรสขี าว ระหวางชอชยั พฤกษ มีหนา
เสอื สที อง เครอื่ งหมายน้ี ตดิ ท่กี ง่ึ กลางกระเปาเสอ้ื ขางขวา
\

ท่มี ารูปภาพ : http://www.prc.ac.th/scout/sc001.jpg

คูม ือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ิต ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 2 9

หลักสูตร
ผูทเี่ ขา เกณฑไ ดรบั เครือ่ งหมายลูกเสอื ชนั้ พเิ ศษ จะตองมคี ุณสมบตั ดิ งั นี้:

1. ไดร ับเครอ่ื งหมายลกู เสือโลก
2. สอบวชิ าพนื้ ฐานระดบั ลกู เสอื ชนั้ พิเศษได 5 วิชา คอื วชิ าการเดนิ ทางสาํ รวจ วิชาบรกิ าร และวชิ า
อ่นื อีก 3 วชิ า ซึ่งลูกเสือเปนผเู ลือก
3. ผานการฝก อบรมวชิ าความคดิ รเิ รม่ิ (Initiative Course) ซงึ่ ประกอบดวยการเดนิ ทางไกล ไปอยู
คา ยพกั แรมเปน เวลา 1 คนื การไปอยคู ายพกั แรมตอ งเดนิ ไปยงั ทอ งถิ่นทล่ี ูกเสอื ไมค ุน เคยจาํ นวน
ลกู เสือสามัญรุนใหญท่จี ะไปอยูคายพกั แรม ควรแบง เปนชดุ ชุดละ 4 คน การเดินทางไกลตอ งมี
ระยะทางอยา งนอย 8 กิโลเมตร และในระหวา งการเดนิ ทางใหสมมตุ ิวา มีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้นอยางนอ ย
5 อยา ง เชน ชวยเหลือผูประสบภยั หรือมีผตู ิดอยูใ นทส่ี งู การใชเ ข็มทศิ การปฏบิ ตั งิ านในเวลา
กลางคืน การแปลรหัส และเหตฉุ กุ เฉินทางนํา้ เปน ตน เหตฉุ กุ เฉินเชนวาน้ใี หเ วน ระยะหางกนั
พอสมควร และลูกเสอื จาํ เปน ตอ งมคี วามรูในเร่ืองแผนทแ่ี ละเขม็ ทิศ จงึ จะสามารถเดินทางไปถงึ
จุดหมายปลายทางไดการฝกอบรมวชิ าความคิดริเริม่ น้ตี อ งมีลกั ษณะเปน การทดสอบอยา งจริงจังใน
เรอื่ งความตัง้ ใจจรงิ ความคดิ รเิ รม่ิ และการพ่งึ ตนเอง (Self-reliance)
4. คณะกรรมการดาํ เนินงานของกองและผูกํากับลูกเสอื เหน็ วา เปนผทู สี่ มควรไดร บั เครือ่ งหมาย
ลูกเสอื ชั้นพเิ ศษ
5. ไดร บั อนุมัติจากเลขาธกิ ารคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหงชาติ หรอื ผอู ํานวยการลูกเสือจงั หวดั
แลวแตก รณี

เรอื่ งท่เี ปน ประโยชน

ความมีนํา้ ใจ

น้ําใจเปนส่ิงไมตองซื้อหาหรือลงทุนดวยเงินตรา เปนเพียงการกระทําซ่ึงแสดงออกใหเห็นวา
เราตองการชวยเหลือเพื่อนๆ พอแม และผูมีพระคุณ เทาท่ีเราพึงจะแสดงออก และกระทําไดในสิ่งท่ี
คดิ วาดงี าม ความมีนาํ้ ใจจะเปน ส่ิงทจ่ี รรโลงใหส ังคมมคี วามสุข

เรอื่ งน้สี อนใหร ูวา ทกุ คนควรมีนาํ้ ใจตอกนั

10 คูมอื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวิต ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 2

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญ(เครอ่ื งหมายลกู เสือชน้ั พเิ ศษ) ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2

หนวยที่ 2 หนา ท่ีพลเมอื ง เวลา 1 ชัว่ โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 2 ประวัตกิ ารลูกเสือไทย

1.จุดประสงคก ารเรียนรู
อธบิ ายประวตั กิ ารลกู เสือไทยและวธิ ดี าํ เนินการของขบวนการลกู เสอื ได

2. เนอ้ื หา

2.1 ประวตั กิ ารลกู เสอื ไทย
2.2 วธิ ดี าํ เนินการของขบวนการลูกเสือ

3. ส่ือการเรียนรู

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 ใบความรู
3.3 เรือ่ งทีเ่ ปนประโยชน

4. กิจกรรม

4.1 พิธีเปด ประชมุ กอง (ชกั ธง สวดมนต สงบน่ิง ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคการเรียนรู

1) ผูก ํากบั ลกู เสือบรรยายประวตั กิ ารลกู เสือไทย และวธิ ดี าํ เนินการของขบวนการลูกเสือ
โดยยอ และลกู เสอื จดบนั ทึก

2) ผกู ํากบั ลูกเสอื ใหลูกเสอื ซกั ถามขอสงสยั เกีย่ วกบั เนอื้ หาท่ีฟง
3) ผูกาํ กับลกู เสอื และลกู เสอื รว มกันสรปุ เก่ียวกับความรูที่ไดรบั จากการบรรยาย
4.4 ผกู ํากับลกู เสือเลา เรือ่ งทเ่ี ปนประโยชน
4.5 พธิ ีปด ประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธง เลกิ )

5. การประเมินผล
สังเกตพฤตกิ รรมขณะฟง การบรรยาย ความสนใจ และจากการซักถามปญหา

คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ติ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 11

เพลง ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี 2
ใบความรู
คายพกั แรม
วนั น้ีรืน่ เริง สาราญสุขสันตอ รุ า
พวกเราไดมา มาอยคู ายพักแรม
เรารองเราราํ ยามเม่อื มาพักแรม
สบายคลา ยคนื จันทรแจม
พักแรม สขุ สนั ตอ รุ า (ซา้ํ )

พระราชประวตั ิสงั เขปของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจาอยหู วั

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงเปนพระราชโอรสองคที่ 2 ในพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ (สมเด็จพระนางเจาเสาวภา
ผองศรี) ทรงพระราชสมภพเมื่อวันเสารท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2423 ไดรับพระราชทานพระนามวา
สมเด็จเจาฟา วชริ าวุธ

ทรงศึกษาวิชาหนังสือไทยกับพระยาศรีสุนทรโวหาร เม่ือพระชนมายุได 13 พรรษา จากนั้น
เสด็จไปทรงศึกษาตอ ณ ประเทศอังกฤษในสาขาประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร วรรณคดี ที่
มหาวิทยาลัยออ กซฟอรด และวิชาทหารบกท่ีโรงเรยี นแซนด-เฮิสต รวม 9 ป

พระองคเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติตอจากสมเด็จพระบรมชนกนาถ เม่ือวันที่ 23 ตุลาคม
2453ขณะพระชนมายุ 31 พรรษา ตลอดรัชสมัยไดทรงประกอบพระราชกรณียกิจทํานุบํารุง
ประเทศชาติในดานการปกครอง การทหาร การศึกษา การสาธารณสุข การคมนาคม การศาสนา
โดยเฉพาะทางวรรณคดีทรงพระราชนิพนธทั้งรอยแกว รอยกรอง ประมาณ 200 เร่ือง ดวยพระปรีชา
สามารถของพระองค ประชาชนจึงถวายพระสมัญญาแดพระองควา “พระมหาธีรราชเจา” ทรงอยูใน
ราชสมบัติเพียง 16 ปเสด็จสวรรคตเม่ือวันท่ี 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 พระชนมายุ 46 พรรษา

ดวยพระราชกรณียกิจท่ีทําคุณประโยชนแก บานเมืองอยางใหญหลวง รัฐบาลและประชาชน
ไดรวมใจกันสรางพระบรมรูปของพระองค ประดิษฐานไวที่สวนลุมพินี สําหรับคณะลูกเสือแหงชาติ
และคณะลูกเสือทั่วราชอาณาจักรไดรวมใจกันสรางพระบรมรูปของพระองคประดิษฐานไวหนาคาย
ลูกเสือวชริ าวธุ อาํ เภอศรรี าชา จังหวัดชลบุรี

ในระยะท่ีมีการกอตั้งลูกเสือขึ้นในโลกน้ัน ประเทศไทยตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎ-เกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 สถานการณของโลกในขณะนั้นกําลังทวีความคับขัน อิทธิพล
ของวัฒนธรรมตะวันตกเร่ิมไหลเขาสูเมืองไทย พรอมกับการแพรระบาดของระบอบมหาชนรัฐ และ
ภัยของชาติไทยก็คือการถูกรุกเงียบ แตดวยพระปรีชาญาณ ทรงเห็นการณไกล พระองคจึงทรงมี

12 คมู อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชีวิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2

พระราชดําริวา การลูกเสืออันสืบเนื่องมาแตงานปลุกชาติทางตรงน้ัน หาก ไดนํามาปรับปรุงใชให
เหมาะสมกับเด็กไทยก็จะเปนคุณประโยชนอันใหญหลวงแกชาติบานเมืองทรงมั่นพระราชหฤทัยเปน
อยางย่ิง พรอมท้ังทรงประกอบดวยความกลาหาญท่ีจะฟนฝาอุปสรรคทั้งปวง เปนตนวา คําตําหนิติ
เตียนอันเกิดจากประชาชนที่ยังไมเขาใจวัตถุประสงคและกิจการลูกเสือดีพอ เชน ผูปกครองเด็ก
โดยมากไมใครเต็มใจยินยอมใหเด็กของตน สมัครเขาเปนลูกเสือ โดยเขาใจไปวาการลูกเสือก็คือการ
เปนทหารนั่นเอง ประกอบทั้งการลูกเสือตองเปนการเสียสละดวยความเต็มใจ จึงเปนการลําบากอยู
มาก

ในช้ันแรกพระองคไ ดด ําเนินกศุ โลบาย โดยทรงพระอตุ สาหะจัดตั้ง “กองเสือปา” ขึ้นกอน เม่ือ
วันที่ 1 พฤษภาคม 2454 ทรงฝกพวกผูใหญ (สวนใหญเปนพวกขาราชการ) เรียกวาพวกพอเสือ
ดวยพระองคเอง โปรดเกลา ฯ ใหมีการซอมรบ และฝกซอมกลยุทธตาง ๆ ตามหลักวิชาการทหาร ท่ี
พระองคไดรับการอบรมมา ทั้งนี้เพื่อเปนการ ปลูกฝงความนิยมใหประชาชนชาวไทยรูจักคุณคาแหง
การทหาร ดวยทรงเล็งเห็นวาประเทศจะดํารงอิสรภาพอยูไดก็ดวยประชาชนทั้งหลายรักประเทศ
ตอมาไดทรงพระดําริวา กองเสือปาไดตั้งขึ้นเปนหลักฐานแลวพอท่ีจะหวังไดวาจะเปนผลดีแตผูที่จะ
เปนเสือปาน้ันตองนับวาเปนผูใหญแลว ฝายเด็กผูชายที่ยังอยูในวัยเด็กก็เปนผูท่ีสมควรไดรับการ
ฝกฝนท้ังในสวนรางกายและจิตใจ ใหมีความรูทางเสือปาเพ่ือวาเมื่อโตข้ึนจะไดรูจักหนาท่ีผูชายไทย
ทุกคนควรประพฤติใหเปนประโยชนแกชาติบานเมืองอันเปนบานเกิดเมืองนอนของตน และการ
ฝกฝนปลุกใจใหคิดถูกเชนนี้ ตองรีบฝกฝนเสียตั้งแตยังเยาว เปรียบเหมือนไมท่ียังออนจะดัดใหเปน
รูปอยา งไรกเ็ ปนไดโดยงา ยและงดงาม แตถ ารอ ไวจนแกเสียแลวเมื่อจะดัดก็ตองเขาไฟ และมักจะหัก
เสยี ในขณะทด่ี ัด ดงั น้ฉี ันใดสันดานคนก็ฉนั น้นั

เมื่อมีพระราชดําริดังน้ีแลว จึงโปรดเกลาฯ ใหตั้งกองลูกเสือขึ้นตามโรงเรียนและสถานท่ีอัน
สมควร และโปรดเกลาฯ ใหมีกําหนดขอบังคับลักษณะปกครองลูกเสือขึ้นไว เม่ือวันที่ 1 กรกฎาคม
2454 พระราชประสงคท ่ีไดค ิดจดั ใหม ลี ูกเสือข้ึนนั้น ก็โดยปรารถนาที่จะใหเด็กไทยไดศึกษาและจดจํา
ขอสําคญั 3 ประการ คือ

1. ความจงรักภักดีตอ ผูทรงดํารงรฐั สมี าอาณาจกั รโดยตอ งตามนิตธิ รรมประเพณี
2. ความรกั ชาตบิ า นเมอื ง และนับถอื พระศาสนา
3. ความสามัคคีในคณะ และไมท าํ ลายซึ่งกันและกัน
ซงึ่ ทัง้ 3 ประการนี้เปนรากฐานแหงความม่นั คงทจี่ ะนําใหชาติดํารงอยูเปนไทยไดสมนาม กองลูกเสือ
ของประเทศไทยที่ตั้ง นับไดวาเปนลําดับท่ี 3 ของประเทศที่มีการลูกเสือในโลก และกองลูกเสือ
กองแรกต้ังข้ึนท่ีโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัยในปจจุบัน) ลูกเสือคนแรก คือ
นายชัพน บุนนาค นักเรียนโรงเรียนมหาดเล็กหลวง ซ่ึงถือวาไดแตงเคร่ืองแบบ ลูกเสือเปนคนแรก
และ ผูท่ีไดกลาวคําปฏิญาณของลูกเสือเปนคนแรก โดยพระองคทานไดมีพระราช โองการวา “อาย
ชัพน เอ็งเปนลูกเสือแลว” ตอ มากิจการลกู เสือกไ็ ดแพรห ลายไปยงั ทองถ่นิ ตา ง ๆ ใน ประเทศไทย

คูมือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวติ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 13

ประวตั ิการลกู เสือไทย
การลูกเสือไดอุบัติขึ้นเปนแหงแรกของโลก ณ ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ.2451โดย พลโท
ลอรด เบเดน เพาเวลล มลู เหตทุ ีท่ าํ ใหกอ กําเนิดการลูกเสือขึ้นมาคือในป พ.ศ.2442ทานไดถูกราชการ
ทหารสงไปทําหนาที่รักษาเมืองมาฟคิง (Mafeking) อันเปนเมืองขึ้นของอังกฤษในสหภาพ
อัฟริกาใต ในคราวเกิดสงครามกับพวกบัวร โดยมีทหารอยูในบังคับบัญชาอยูเพียง 2 กองพันแตตอง
ตอสูกับศัตรูซึ่งมีกําลังมากกวาถึง 3 เทา ตองตกอยูในวงลอมของขาศึกถึง 217 วันทหารในบังคับ
บัญชาไดเสยี ชวี ติ และลม เจบ็ ลงเปน จํานวนมาก แตท า นก็ประวิงเวลาขาศึกไวไดโดยไมเสียที่ม่ัน จนมี
กองทพั หนุนสง ไปรว ม
การท่ีรักษาเมืองมาฟคิงไวได ก็เนื่องจากทานไดต้ังกองทหารเด็กข้ึนหนวยหน่ึง เปนกําลัง
ชวยเหลือในดานตาง ๆ ซ่ึงไดผลดีมากเพราะเด็ก ๆ ไดปฏิบัติหนาท่ีที่รับมอบหมาย ไดอยางดีไมแพ
ผูใหญ บางอยางกลับปฏิบัติไดดีกวาผูใหญอีกดวย เมื่อกลับจากสงครามทานจึงเร่ิมโครงการอบรม
เด็กข้ึน โดยนําเด็ก 20 คน ไปอยูคายพักแรมที่เกาะบราวนซี ในป พ.ศ.2450ปรากฏวา ไดผลดีมาก
จึงต้งั กองลกู เสือข้นึ อยา งจริงจังเปน คร้ังแรกในประเทศอังกฤษ เมอื่ ป พ.ศ. 2451
2.1 การลูกเสอื ไทยในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจา อยหู ัว (รัชกาลที่ 6)
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสแกราษฎร ในงานพระราชพิธี
บรมราชาภิเษก เม่ือวันเสารท่ี 23 ตุลาคม พ.ศ.2453 ความตอนหนึ่งวา “การตั้งกองเสือปาข้ึนดวย
ความมุงหมายจะใหคนไทยทัว่ กนั รสู กึ วา ความจงรักภักดีตอผูดํารงรัฐสีมาอาณาจักร โดยตองตามมติ
ธรรมประเพณีประการ 1 ความรักชาติ บานเมืองและนับถือพระศาสนาประการ 1 ความสามัคคีใน
คณะและไมท ําลายซ่ึงกันและกันประการ 1”
นอกจากน้ียังมีพระราชปรารภในการจัดตั้งกองลูกเสือปาวา “มีพลเรือนบางคนท่ีเปน
ขาราชการและที่มิไดเปนขาราชการ มีความปรารถนาจะไดรับความฝกหัดอยางทหาร แตยังมิไดมี
โอกาสฝกหัด เพราะติดหนาท่ีราชการเสียบาง การฝกหัดเปนทหารนั้นยอมมีคุณประโยชนแก
บานเมืองอยูหลายอยางท่ีเปนขอใหญขอสําคัญก็คือกระทําใหบุคคลซึ่งไดรับความฝกฝนเชนนั้นเปน
ราษฎรดขี น้ึ กลา วคอื ทําใหกําลังกายและความคดิ แกกลา ในทางท่เี ปนประโยชนดวยเปนธรรมดาของ
คน ถาไมมี ผูใดหรือส่ิงใดบังคับใชกําลัง และความคิดของตนแลวก็มักจะกลายเปนคนออนแอไป”จึง
ไดท รง พระกรณุ าโปรดเกลา สถาปนาเสือปาขน้ึ ไวตงั้ แตว ันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2454

14 คมู อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 2

ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหเ สอื ปา หญงิ และขา ราชบรพิ ารถา ยภาพรว มกบั พระองค. .... อานตอ ได
ท่ี: https://www.gotoknow.org/posts/281703

2 เดือน ตอมาจึงไดทรงพระราชทานกําเนิดลูกเสือข้ึนเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2454 ซ่ึงเปน
เวลา 3 ป หลังจากการลูกเสือไดถูกสถาปนาข้ึนในประเทศอังกฤษ โดยทรงมีพระราชปรารภวา “กอง
เสือปาไดตั้งขึ้นเปน หลักฐานแลว พอจะเปนท่ีหวังไดวาจะเปนผลดีตามพระราชประสงค แตผูที่จะ
เปน เสอื ปาตอ งเปนผูที่ นบั วา เปนผใู หญแลว ฝายเด็กชายทีย่ ังอยใู นปฐมวยั ก็เปน ผทู ่ีสมควรจะไดรับ
ความฝกฝนทั้งในสวน รางกายและในสวนใจใหมีความรูในทางเสือปา เพ่ือวาเมื่อเติบใหญขึ้นแลวจะ
ไดรจู ักหนา ที่ซ่ึงผชู าย ไทยทกุ คนควรจะประพฤตใิ หเปนประโยชนแกชาติบานเมืองอันเปนท่ีเกิดเมือง
นอนของตน และการ ฝก ฝนปลกุ ใจใหค ิดถกู เชนนี้ ตองเริ่มฝกฝนเสียแตเมือยังเยาวอยู เปรียบเหมือน
ไมท ่ยี งั ออ นจะไดดัดไปเปนรปู อยา งไรก็เปนไปไดงา ยและงดงาม แตถ ารอไวจนแกเสียแลว เม่ือจะตอง
ดดั ก็ตองเขาไฟ และมักจะหักลิไดในขณะท่ีดัด ดังน้ีฉันใด สันดานคนก็ฉันน้ัน”จึงทรงพระกรุณาโปรด
เกลา ฯ ใหกําหนดขอ บังคบั ลักษณะปกครองลกู เสอื ข้ึน และพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหจัดต้ัง
กองลกู เสือขึ้นตามโรงเรยี นและสถานท่ีอนั สมควร กจิ การลกู เสือจงึ กาํ เนิดขึ้นในประเทศไทยในวันที่ 1
กรกฎาคม พ.ศ.2454 เปน ตนมา

ในเดือนพฤษภาคม 2456 เรือโดยสาร “บางเบิด” จากกรุงเทพ ฯ จะไปสุราษฎรธานีไดเกิด
อับปางลงเม่ือเวลาราว 22.00 น.บริเวณใกลเกาะสีชังลูกเสือโทฝาย บุญเล้ียง อายุ14ป แหงกอง
ลูกเสือมณฑลสุราษฎรไดชวยชีวิตชายชราและเด็กหญิงผอง ผูโดยสารมากับเรือใหรอดพนจากความ
ตายอยางเต็มความสามารถ ทั้งสามคนตองอยูในน้ําเปนเวลานาน 8 ชั่วโมงจนกระท่ังรุงเชา จึงมีเรือ
กลไฟชื่อ “ฮอลวาด” ไปพบเขาและนําตัวสงที่เกาะสีชัง ลูกเสือโทฝายไดรับพระราชทานเหรียญ
ราชนิยมเมื่อวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2457ในพระราชพิธีฉัตรมงคล ตอมาลูกเสือโทฝายผูน้ี ไดรับ
พระราชทานนามสกุลวา "บุญเล้ียง" ตอมาเม่ือสําเร็จการศึกษาแลวก็ไดเขารับราชการเปนครูไดรับ
พระราชทานบรรดาศกั ด์ิ เปน ขุนวรศาสนด รณุ กจิ

คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 15

ภายหลังจากที่ไดต ราขอ บงั คบั ลักษณะปกครองลกู เสอื ออกมาแลว เพื่อใหการลูกเสือไดดําเนนิ
ไปดังพระราชประสงคจึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหต้ังสภากรรมการกลางขึ้นโดยไดทรงพระ
กรณุ าเขารับตําแหนงหนาทีเ่ ปน สภานายกแหงสภากรรมการกลางดว ยพระองคเ อง
พรอมกันนี้ไดท รงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหส มเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอกรมพระยาดาํ รงราชา
นุภาพ ซ่ึงขณะนั้นยังทรงดํารงพระอิสริยยศเปนสมเด็จกรมพระฯ และกําลังดํารงตําแหนงเสนาบดี
กระทรวงมหาดไทย เปนผูตรวจการใหญและเปนอุปนายกดวยตามขอบังคับลักษณะปกครองลูกเสือ
รวมท้ังทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหเจาพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (ม.ร.ว.เปย มาลากุล) ซึ่ง
ดํารงตําแหนง ผรู ั้งตําแหนงเสนาบดีกระทรวงธรรมการเปน กรรมการ และทรงพระกรุณา โปรดเกลา ฯ
ใหพระยาบรุ นี วราษฐเปนเลขานุการ

ตําแหนงผูตรวจการใหญ และอุปนายกดังกลาวนี้ ตอมาในป พ.ศ.2457 สมเด็จกรมพระยา
ดํารงราชานุภาพ ไดกราบถวายบังคมลาพักราชการจึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหเจาพระยา
เสดจ็ สุเรนทราธบิ ดี เขารับตาํ แหนงแทนสบื มา จนถึงเวลาท่ีทานผนู ป้ี วยหนักและชราภาพ จึงทรงพระ
กรุณาโปรดเกลา ฯ ใหพระยาไพศาลศิลปศาสตร (รื่น ศยามานนท- ตอมาไดเล่ือนข้ึนเปนพระยาราช
นุกูลวิบูลภักดี) อธิบดีกรมศึกษาธิการ เขารับตําแหนงแทนตั้งแต 27 พฤษภาคม พ.ศ.2457 และได
ดาํ รงอยใู นตาํ แหนง น้ตี ลอดมาจนส้ินรชั สมัย

ตอจากตั้งสภากรรมการกลาง และผูตรวจการใหญแลว เพื่อใหกองลูกเสือไดต้ังข้ึนโดยเร็วใน
มณฑลกรุงเทพ ฯ อันเปน มณฑลราชธานี เพื่อจะไดเปนตัวอยางแกม ณฑลอื่น ๆ ตอ ไป จงึ ไดท รงพระ
กรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหมีสภากรรมการประจํามณฑลกรุงเทพ ฯ ข้ึนในอันดับตอมา โดยไดโปรด ฯ ให
เจาพระยายมราช (ปนสขุ มุ ) เสนาบดกี ระทรวงนครบาลอยูในขณะนน้ั เปนสภานายก

นอกจากน้วี ัตถปุ ระสงคที่กลาวมาแลว พระองคยังไดทรงพระราชนพิ นธเกี่ยวกับวัตถุประสงค
ของการตง้ั กองลูกเสือไวใ นพระราชนพิ นธ เรอื่ งประโยชนแหงเสอื ปาและลกู เสอื ในเวลาสงครามวา

...การท่ีจะคิดหวังใหลูกเสือทําการตอสูศัตรูจริง ๆ จัง ๆ นั้น ยอมไมไดอยูเอง เพราะโดยมาก
ลูกเสอื ไมมีปน ทีจ่ ะยงิ แตก ม็ ีหนทางทจี่ ะชว ยปลดเปล้ืองกงั วลแหง ฝา ยทหารมี อาทิ คือ

1. อาจจะเล็ดลอดไปสือ่ ขาวคราวไดในท่บี างแหง
2. เปนผูสงขาวระหวางกองกับกองได ขอน้ีเปนประโยชนไดมากเพราะไมตองถอนพลรบ
ไป ทาํ หนาทไ่ี ปรษณียบ ุรุษ
3. ชวยสะกดรอยตามและจับผูท่ีนาสงสัยวาเปนผูลักลอบสอดแนมได กิจน้ีปรากฏวา
องั กฤษ ไดใชแ ลวไดประโยชนดีมาก ในการสงครามคราวน้ีลูกเสืออังกฤษจับคนลักลอบสอดแนมของ
เยอรมันในเมืองอังกฤษไดแลวหลายคน กระทรวงทหารบกอังกฤษ จึงออกประกาศรับรองคณะ
ลกู เสือเปน คณะผชู วยพลรบคณะหนง่ึ
4. ชวยระวังรักษาการติดตอ เชน สายโทรเลข สะพานและทางรถไฟ เปนตน ซึ่งทั้งอังกฤษ
และฝรัง่ เศสใชลกู เสือในงานสงครามปน ้ี
5. ชวยคุมเสบียงสงท่ีฐานทัพ กิจน้ีฝรั่งเศสไดใชลูกเสือกระทําอยูโดยมาก นับวาเปน
ประโยชนเพราะไมต อ งถอนกาํ ลังพลรบไปในทางท่ีหา งไกลสนามรบ

16 คูมอื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวติ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2

6. ชวยรักษาความสงบภายในเมืองใหญ ๆ กิจนล้ี ูกเสือทงั้ องั กฤษและฝรั่งเศสไดแ สดงใหเห็น
ปรากฏแลววาสามารถทําไดดี เชน ท่ีปารสี เมื่อกอนจะเกิดสงครามหนว ยหนึ่ง ลูกเสือฝรั่งเศสประมาณ
40 คน ไดตอสูกับพวก "อะปช" (คนจรจัด) 100 กวาคนซ่ึงมีปนพกใชยิง และถือไมกับขวางกอนอิฐ
พวกลูกเสือใชพลองเขารุกไล ตีพวกจรจัดเจ็บถึงตองเขาโรงพยาบาล 2 หรือ 3 คน หัวแตกอีกหลาย
คน นอกนน้ั หนีไป

7. ชว ยในการพยาบาลคนถูกอาวุธ และคนไข คือชวยหา มเลอื ด และว่งิ เตนตา ง ๆ เปน ตน
กิจเหลานี้ ลว นเปนสงิ่ ซึง่ ลูกเสือสามารถจะทําไดโดยแทและเปนขอควรลูกเสือไทยเราจะ เตรียมตัวไว
พรอมที่จะทาํ เพ่อื เปน ประโยชนและเพื่อกลาวไดว า ถึงยงั เปนเดก็ ก็ไดท าการชว ยบา นเมือง

กองลูกเสือกองแรกของประเทศไทยไดต้ังขึ้นท่ีโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (โรงเรียนวชิราวุธ
วิทยาลัยในปจจุบัน) พระองคทรงไดเอาเปนพระราชธุระในการอบรมส่ังสอนตลอดจนการดําเนินงาน
ท่ัว ๆ ไปของกองลูกเสือนี้โดยตรง ทั้งนี้เพื่อทรงหวังจะใหเปนแบบอยางสําหรับโรงเรียนอื่น ๆ หรือ
สถานท่ีตาง ๆ ที่มีความประสงคจะต้ังกองลูกเสือข้ึน จะไดยึดเปนแบบอยางตอไป กองลูกเสือกองน้ี
จึงไดนามวา “กองลกู เสอื กรงุ เทพ ฯ ที่ 1” ผทู ่ีเปนลกู เสอื คนแรกคอื นายชัพน บุนนาค เพราะสามารถ
กลาวคําปฏิญาณไดเปนคนแรกวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2454 ไดพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให
กองลูกเสือท่ี 1 ไดเขาเฝาทูลละอองธุลีพระบาท ณ สโมสรสถานเสือปา และไดสอบซอมวิชาลูกเสือ
ตามแบบที่ทรง พระราชนิพนธไวสําหรับสั่งสอนเสือปาและลูกเสือและไดทรงพระราชทานนามกอง
ลูกเสอื มหาดเล็กหลวงซึ่งเปน กองแรกในประเทศไทยน้วี า “กองลกู เสอื หลวง”

กิจการลูกเสือก็ไดแพรหลายไปทั่ว กรมศึกษาธิการ กระทรวงธรรมการ (ในสมัยน้ัน) จึงได
เร่ิมฝกฝนผูที่จะเปนผูกํากับลูกเสือและรองผูกํากับลูกเสือจนมีจํานวนมากขึ้น จึงทําใหสามารถนําไป
ส่ังสอนอบรม นักเรียนใหมีความรูในวิชาลูกเสือมากข้ึน จากการน้ีเอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ
ใหตั้งกองลูกเสือเพิ่มข้ึนเปนลําดับตอมา พระองคจึงทรงใหตั้งกองฝกหัดผูกํากับลูกเสือขึ้นในบริเวณ
สโมสร คณะเสอื ปา ณ พระราชวังสวนดุสติ สาํ หรบั เปนสาํ นักศึกษาวชิ าผูกํากับลกู เสือ โดยกําหนดให
มี กําหนดเวลาเลาเรียน 2 เดือนเต็ม เร่ิมต้ังแตวันท่ี 1 พฤศจิกายน เปนตนไปจนถึงวันท่ี 31 ธันวาคม
เสมอไปทุกๆ ปเมื่อนักเรียนผูใดศึกษาวิชาครบหลักสูตรและสอบไลไดตามหลักสูตรก็ทรงพระกรุณา
โปรด เกลา ฯ พระราชทานใบประกาศนยี บัตรเปนสาํ คญั

หลังจากที่กองลูกเสือไทยไดกําเนิดข้ึนประมาณ 6 - 7 เดือน ขาวจากประเทศไทยก็แพร
สะพดั ไปยงั ประเทศตา ง ๆ วา พระเจาแผน ดนิ ไทยทรงใฝพ ระทยั ในกจิ การลูกเสอื เปน อยางย่ิง
ดวยเหตุน้ี มิสเตอรซิดนีย ริเชส ผูกํากับลูกเสือกองลูกเสือท่ี 4 กรุงลอนดอน จึงไดมีหนังสือกราบ
บังคมทูลพระกรุณาขออัญเชิญพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวใหเปนองคอุปถัมภ และขอพระราชทาน
นามกองลกู เสอื นีว้ า“กองลูกเสอื รกั ษาพระองคพระเจาแผนดินสยาม” (THE KING OF SIAM'S OWN
BOY SCOUT GROUP) พระองคไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาตามท่ีขอมา และใหกองลูกเสืออังกฤษ
กองน้ตี ดิ เครอ่ื งหมายเปนรูปธงชาติพ้ืนสีแดงเครื่องหมายชางเผือกอยูตรงกลางที่แขนเส้ือทั้ง สองขาง
ซง่ึ กองลูกเสอื กองนย้ี ังปรากฏอยตู ราบเทาทุกวนั น้ี

คูมือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 17

การฝกอบรมลูกเสือไดปรากฏผลดีเปนอยางย่ิง พระองคทรงใหมีพิธีเขาประจํากอง ลูกเสือ
ข้ึนเปนคร้ังแรกในวันที่ 3 สิงหําคม พ.ศ. 2454 โดยใหลูกเสือหลวงที่สอบไลไดแลวนั้นเขา กระทําพิธี
ประจาํ กองตอหนาพระทนี่ ั่ง ณ พระที่นัง่ อภิเศกดุสิต ในพิธีน้ีทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหกองลูกเสือ
ตาง ๆ ที่มีอยูในกรุงเทพ ฯ ในเวลาน้ัน เขาเฝาทูลละอองธุลีพระบาทดวย เพ่ือศึกษาพิธีการประจํา
กองดวยเมื่อลูกเสือไดทําพิธีเขาประจํากองกันบางแลว จึงทรงพระราชทานธงประจํากอง เพื่อรักษา
ไวตางพระองคตามลําดับไป กองลูกเสือหลวงไดรับพระราชทานธงเปนกองแรกในป พ.ศ.2457 และ
ไดทรงพระราชทานใหกับกองลูกเสือตาง ๆ ในโอกาสอันสมควร เชน การเสด็จหัวเมืองตาง ๆ เปน
ตน ธงท่ีพระราชทานใหกองลูกเสือน้ีมีรูปรางลักษณะท่ีแตกตางกันไป สุดแตจะทรง คิดขึ้น
พระราชทานใหต ามความเหมาะสมของแตล ะมณฑล

ในวันท่ี 1 เมษายน 2457 พระองคจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหมีพระราชกําหนด
เคร่ืองแตงตัวลูกเสือใหเหมาะสมกับสมัย และในวันที่10 เมษายน พ.ศ. 2459 ไดทรงมีประกาศ
พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหลูกเสือมณฑลปตตานี ใชหมวกกลมแบบมลายูดวยเหตุผลวา
เน่ืองจากลูกเสือในมณฑลปตตานีนี้ เปนบุตรหลานชาวมลายู ซึ่งนับถือศาสนาอิสลาม จึงทรงพระ
กรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหกองลูกเสือมณฑลปตตานีใชหมวกสักหลาด
หรอื กํามะหยีส่ ีดาํ ชนดิ กลมแบบหมวกมลายูเปนพเิ ศษ

ปพ.ศ.2461 พระองคจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหออกขอบังคับลักษณะปกครองลูกเสือ
พุทธศักราช 2461 ใหม เพราะขอบังคับลักษณะปกครองลูกเสือพุทธศักราช 2454 น้ัน ไดมีการแกไข
หลายครัง้

ดวยพระปรีชาญาณและพระราชดําริท่ีวาพลเมืองทุกเพศทุกวัยยอมเปนทรัพยากรสําคัญ
ของชาตเิ มอ่ื ชาตเิ จริญก็ยอ มเจริญดวยกันและเม่อื ชาติพินาศลม จมใครเลา จะอยไู ดดว ยเหตนุ ี้หลงั จาก
ไดทรงสถาปนาการลูกเสือขึ้นเปนหลักฐานแลว จึงไดทรงเตรียมการที่จะสถาปนา“เนตรนารี (GIRL
GUIDE)” หรือท่ีเรียกกันวา“ลูกเสือหญิง” สําหรับเด็กหญิงดวย เพื่อคูกับลูกเสือซ่ึงไดตั้งขึ้นเรียบรอย
แลวสําหรับเด็กชายจึงทรงมีพระราชประสงคท่ีจะใหมีการฝกฝนในแบบเดียวกันเพื่อความสมบูรณ

18 คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 2

แหงทรัพยากรดังกลาว พระองคจึงทรง มอบใหพระยําไพศาลศิลปศาสตรไปรางกฎระเบียบไว การ
รา งกฎระเบียบตา ง ๆ เสรจ็ เรยี บรอย แตย งั ไมท ันประกาศใช พระองคไ ดเ สดจ็ สวรรคตเสียกอ น

พ.ศ.2463 ไดมีการจัดงานชุมนุมลูกเสือโลกข้ึนเปนคร้ังแรกณ โอลิมเปย กรุงลอนดอน
ประเทศอังกฤษ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกลา ใหคัดเลือกเอานักเรียนกระทรวงธรรมการ ซึ่งกําลัง
ศึกษาอยูในประเทศอังกฤษ เปนผูแทนคือนายสวัสด์ิ สุมิตร นายศิริ หัพนานนท นายสง เทพาสิต
และนายศริ ิ แกวโกเมน

พ.ศ. 2465 คณะลูกเสือไทยสมัครเขาเปนสมาชิกของคณะลูกเสือโลก ซ่ึงขณะนั้นมีสมาชิก
รวม 31 ประเทศ ท้งั 31 ประเทศทเ่ี ขา เปน สมาชกิ รนุ แรกน้ี ถอื วาเปนสมาชิกผูกอ ตงั้

พ.ศ. 2467 ผูแทนลูกเสือไทย 10 คน ไดไปรวมการชุมนุมลูกเสือโลกคร้ังท่ี 2 ณ ประเทศ
เดนมารค โดยมีพระยาภรตราชา ผูดูแลนักเรียนไทยในประเทศอังกฤษ เปนหัวหนาคณะ สวนผูแทน
ลูกเสือไทยอีก 9 คน เปนนักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในประเทศอังกฤษ คือ นายประเวศ จันทนย่ิงยง
นายปุน มีไผแกว นายสวัสด์ิ สุมิตร นายเล็ก สุมิตร นายนารถ โพธิประสาท ม.ล.พันธุ ศิริวงศณ
อยุธยา นายทวี บุณยเกตุ นายศิริ หัพนานนท และนายวงศ กุลพงศ และในปเดียวกันน้ี ในฐานะที่
พระองคทรงดํารงอยูในราชสมบัติมาจะครบ 15 ป ในป พ.ศ. 2468จึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ
ใหเตรียมจัดงานพระราชพิธีเฉลิมฉลองข้ึนเปนการสมโภชสิริ ราชสมบัติเสมอดวยพระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลท่ี 2 พรอมกันนั้นก็ไดโปรดเกลา ฯ ใหเตรียมจัดงานสยามรัฐ
พิพิธภัณฑขึ้นที่สวนลุมพินีดวย ในการเตรียมการสมโภชนี้ ไดทรงพระ กรุณาโปรดเกลา ฯ ให
เจาพระยารามราฆพ เปนผูอํานวยการ และพระยาไพศาลศิลปศาสตรเปน เลขาธิการ การจัดงาน
ชุมนุมลูกเสือไดมีการเตรียมการไวทุกอยางพรอมหมดแลว ไดมีประกาศการ ชุมนุมลูกเสือแหงชาติ
คร้ังแรกและขอกําหนดตาง ๆ ไวอยางพรอมมูลแตแลวในวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2468 เหตุการณ
มหาวิปโยคก็ไดบังเกิดข้ึนอยางไมมีใครคาดคิดมากอน พระองคทรงมีพระอาการ ประชวรดวย
พระโรคเกี่ยวกับพระอันตะ (ไสต่ิง) ซ่ึงแพทยหลวงคาดวาพระอาการจะไมหนัก ซ่ึง ขณะน้ันพระองค
ทรงมีพระชนมายุเพียง 45 พรรษา เทาน้ัน แตก็เสด็จสูสวรรคาลัยโดยฉับพลัน อันเปนผลใหงานตาง
ๆ ท่ีเตรียมไวตองหยุดชะงักงันในบัดดล งานชุมนุมลูกเสือแหงชาติครั้งแรกจึง พลอยตองหยุดชะงัก
ไปดวยโดยปริยาย
2.2 การลูกเสือไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูห วั (รชั กาลที่7)

เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เสด็จสวรรคตตําแหนงนายกสภากรรมการ
กลางวางลง คณะกรรมการสภากรรมการกลางจดั การลูกเสือ จงึ นําความข้ึนกราบบังคมทูลพระกรุณา
ขออัญเชิญใหพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ใหทรงรับตําแหนงนายกสภากรรมการกลาง
ปรากฏวาไดรับพระมหากรุณาธิคุณทรงรับตําแหนง ความกาวหนาของกิจการ ลูกเสือไทย จึง
กาวหนาไปอยา งไมหยดุ ยง้ั

พ.ศ.2468 ผูอํานวยการสมาคมลูกเสือนานาชาติไดแจงยังคณะลูกเสือไทยวา คณะลูกเสือ
อังกฤษจะจัดใหมีการประชุมเกี่ยวกับลูกเสือรุนใหญ (ROVERS) ข้ึน ณ กรุงลอนดอน พระองคก็ทรง

คูมือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 19

พระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหคัดเลือกนักเรียนไทย 2 คน คือ นายปุน มีไผแกว กับนายประเวศ จันทน
ยง่ิ ยง ซง่ึ กําลงั ศกึ ษาอยทู ปี่ ระเทศอังกฤษ เปน ผเู ขา รว มประชุม

งานชุมนุมลูกเสือนานาชาติ ณ เมืองคันเดอรเสตก ประเทศสวิสเซอรแลนด ระหวางวันที่ 22
- 28 สิงหาคม พ.ศ.2469พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ คัดเลือก นักเรียน
ไทยที่กําลังศึกษาอยูที่ประเทศอังกฤษ ซึ่งเคยเปนรองผูกํากับลูกเสือ หรือนายหมูลูกเสือเอกแลวไป
เขารวมชุมนุม และทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานใหเรียนฝกหัดวิชาผูกํากับลูกเสือ
(Scoutmaster’s Training Course) ดว ยมผี ไู ดรบั การคัดเลือก 8 คน คอื

1. นายสวัสด์ิ สมุ ติ ร
2. นายทวศี กั ด์ิ บญุ หลง
3. นายประเวศ จนทนยิ่งยง
4. นายปุน มไี ผแ กว
5. นายศิริ หพั นานนท
6. นายกี ศนวตั
7. นายเชิน สนุ ทรวจิารณ
8. นายจรสั บนุ นาค
อันเนื่องมาจากการเตรียมการจัดงานชุมนุมลูกเสือแหงชําติคร้ังแรกในสมัยรัชกาลท่ี 6 ได หยุดชะงัก
ลงอยางฉับพลัน เนื่องดวยเหตุมหาวิปโยค ดังน้ันในป พ.ศ.2470 พระบาทสมเด็จพระปกเกลา
เจาอยูหัว จึงไดทรงใหมีการจัดงานชุมนุมลูกเสือแหงชําติคร้ังแรกข้ึนในงานพระราชพิธีฉัตรมงคลใน
ปลายป พ.ศ.2470 โดยทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหจัดงานชุมนุมข้ึน ระหวางวันท่ี 26 กุมภาพันธ
ถึงวันท่ี 3 มีนาคม ซึ่งการชุมนุมคร้ังน้ีมีลูกเสือเขารวมชุมนุมรวมทั้งสิ้น 14 มณฑลดวยกัน โดยจัดท่ี
พระราชอุทยานสราญรมยเนื่องจากงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติท่ีจัดข้ึนเปนคร้ังแรกไดผลดีย่ิง สมพระ
ราชประสงค จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ กาํ หนดใหม กี ารชุมนุมลกู เสอื แหง ชาติ ทกุ 3 ป
ตําแหนงอุปนายกสภากรรมการกลางจัดการลูกเสือแหงชาติ (ซ่ึงในเวลาน้ันใชคําวา "แหง
สยาม") ซ่ึงพระยาไพศาลศิลปศาสตร ดํารงตําแหนงสนองพระเดชพระคุณมาเปนเวลาชานานนับแต
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว และไดสรางสรรคความเจริญรุงเรืองใหแกวงการ
ลูกเสือไทยเปนอเนกประการน้ัน คร้ันมาในตอนน้ีไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหยายพระยา
ไพศาลศิลปศาสตรจากกระทรวงธรรมการไปรับราชการทางดานกระทรวงมหาดไทยจึงทรงพระ
กรุณาโปรดเกลาใหพระวรวงศเธอพระองคเจาธานีนิวัติ (ตอมาคือพระวรวงศเธอกรมหมื่นพิทยลาภ
พฤฒยิ ากร) เสนาบดกี ระทรวงธรรมการในขณะนัน้ ทรงเขา รับหนาท่ีนีแ้ ทนต้งั แตวนั ที่ 14 พฤษภาคม
พ.ศ.2472 เปน ตนมา
ตอ มาสภากรรมการกลางตอ งการทีจ่ ะใหมกี ารปรบั ปรุงกจิ การลกู เสอื ใหม คี วามเจริญ
กาวหนามากข้ึนจึงไดจัดใหมีการอบรมวิชาผูกํากับลูกเสือข้ึน ณ สมัคยาจารยสมาคม (เดิมต้ังอยูใน
บริเวณสวนกุหลาบวิทยาลัย) ระหวางวันท่ี 29 สิงหาคม ถึงวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2472 และในป
พ.ศ. 2473 จึงไดมีการจัดงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติครั้งที่สองขึ้น โดยกําหนดไวในวันที่ 1 มกราคม

20 คมู ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ติ ชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2

ถึงวันท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2473 ที่พระราชอทุ ยานสราญรมยเชนเดมิ ซงึ่ ตรงกับอภลิ กั ขิตสมัยคลายวนั
พระบรมราชสมภพแหงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว การชุมนุมครั้งน้ีลูกเสือญี่ปุนได
มารวมชุมนุมดวยจํานวน 22 คน เม่ือเสร็จส้ินงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติ คร้ังท่ี 2 น้ี ซึ่งไดผลดี เปน
อยางย่ิง และเพ่ือใหกิจการลูกเสือมีความเจริญยิ่งขึ้นจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทาน
สถานที่ในบริเวณพระรามราชนเิ วศน จังหวัดเพชรบุรี (พระราชวังบานปน) เปนสถานที่อบรม โดยให
จดั ขนึ้ ทุกป โดยใชเ วลาระหวางหยดุ ภาคเรียนฤดรู อน 2 เดอื นในการอบรม

ประเทศไทยไดเกิดการปฏิวัติเปล่ียนแปลงการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมา
เปนระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เปนผลใหพระบาทสมเด็จพระปกเกลา
เจาอยหู ัว สภานายกสภากรรมการกลางจัดการลูกเสือแหง ชาติ ตอ งสละราชสมบัติในกาลตอ มา ทําให
กิจการลูกเสือไทยท่ีพระองคทรงเกื้อกูลอยูตางพลอยซบเซาไปดวย ประกอบกับพระวรวงศเธอ
พระองคเจาธานีนิวัติไดทรงลาออกเน่ืองจากตองทรงพนจากตําแหนงเสนาบดีกระทรวงธรรมการ
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหพระยาประมวลวิชาพูล (วงศ บุญหลง) เขารับหนาท่ีแทน เมื่อวันท่ี
16 สิงหาคม พ.ศ. 2475 แตดํารงตาํ แหนงอยูเพียงปเศษ ก็กราบถวายบังคมทูลลาออก เนื่องจากตอง
ยายตําแหนงหนาท่ีจากตําแหนงเดิม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหพระยาปรีชานุสาสน (เสริม ปณ
ยารชุน) ดํารงตําแหนงแทน แตอยูในตําแหนงไมถึงป ก็ตองกราบบังคมทูลลาออกอีก เนื่องจากมี
อาการเจ็บปวย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาให พระยาประมวลวิชาพูล กลับเขามารักษาการใน
ตําแหนง อีกวาระหน่ึง จนกระทัง่ ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ให น.ท.หลวงศุภชลาศัย (ยศขณะนั้น)
เปนอธิบดี กรมพลศึกษา เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2477 ตําแหนงอุปนายกสภากรรมการการจัดการ
ลูกเสือแหง ชาติ จึงตกมาอยูแก อธิบดีกรมพลศึกษา นบั ต้งั แตบัดนั้น

ความผันผวนทางการเมืองหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองยังไมมีท่ีสิ้นสุด ทั้งนี้เน่ืองจาก
ไดมีการเกิดปฏิวัติเกิดข้ึน เรียกกันวา “กบฏบวรเดช” การปฏิวัติครั้งนี้ปรากฏวา ลูกเสือไดเขาชวย
ฝาย ราชการทหารอยางกลาหาญ จนไดรับคําชมเชยจากฝายทหารเปนอันมาก และในระหวางท่ีมี
ความผันผวนทางการเมืองอยูนี้ ไดมีการประกาศในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน
ฉบับใหมซ่ึงมีผลทําใหตองมีการแกไขขอบังคับลักษณะปกครองลูกเสือ พุทธศักราช 2461 ไปดวย
ทั้งน้ีเพ่ือใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติวาดวยระเบียบราชการบริหารแผนดินน่ันเอง โดยใหมีการ
ยุบสภากรรมการจัดการลกู เสือมณฑล และใหมคี ณะกรรมการจัดการลูกเสอื จังหวดั ข้ึน โดยข้ึนตรงตอ
สภากรรมการกลางจัดการลูกเสือและใหมีคณะกรรมการจัดการลูกเสืออําเภอข้ึนโดยข้ึนตรงตอ
คณะกรรมการจัดการลูกเสือจังหวัดทําหนาที่บริหารกิจการลูกเสือจังหวัดและอําเภอ ในขณะเดียวกัน
ไดม ีการจดั รปู แบบการบริหารราชการของกระทรวงธรรมการ มีกรมใหมเกิดข้ึนคือ กรมพลศึกษา ซึ่ง
มีการแบงสวนราชการออกเปนกองตาง ๆ โดยมี กองลูกเสือ สังกัดอยูในกรมพลศึกษาดวย การ
ลกู เสือไทยจึงอยใู นความรับผดิ ชอบของกรมพลศึกษาตั้งแตน ้นั มา

รัฐบาลในสมยั น้ันมนี โยบายจดั การฝกหดั อบรมวชิ าทหารแกน ักเรียนกระทรวงธรรมการจึง
ออกระเบยี บวา ดวยคณุ สมบตั ินักเรยี นที่จะสมัครเขา รบั การฝก อบรมวชิ าทหาร คอื จะตอ งสอบผา น
วชิ าลูกเสือเอกและยังคงเปน ลกู เสือประจาํ กองอยูชว งระยะนีก้ ิจการลกู เสอื ไดร บั ความเอาใจใสจาก

คมู ือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชีวิต ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 21

รฐั บาลเปน อยา งดที งั้ นีเ้ ปน ผลสะทอนจากการที่ลกู เสือไดช ว ยปราบจลาจล ทําใหร ัฐบาลเหน็
ความสําคญั ของการลูกเสอื

กิจการลูกเสอื ของไทยยุคหลงั เปล่ียนแปลงการปกครอง ไดมีลกู เสือเกิดข้ึนอีกหนึง่ เหลา คอื
เหลาสมทุ รเสนา โดยท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัว ทรงมพี ระราชดาํ ริวาเปนการสมควรท่ีจะจดั การ
ฝก อบรมเด็กทม่ี ภี ูมลิ าํ เนาอยใู นทองถ่ินท่ีสมควรจะตอ งมีความรคู วามสามารถในวิทยาการทางทะเล
จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหจ ดั ตัง้ กองลกู เสอื เหลาสมทุ รเสนาในจงั หวดั ชายทะเล หรือในทอ งถิน่
ทม่ี กี ารคมนาคมทางนา้ํ ติดตอกับทะเล กใ็ หต ง้ั กองลกู เสอื เหลาสมทุ รเสนาได ทจ่ี ริงการลกู เสอื สมทุ ร
เสนาน้ีมใิ ชเ ปน ของแปลกใหมในรชั สมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจา อยูหัวกไ็ ดม กี ารฝก ฝน
อบรมตามจังหวัดชายทะเลมาแลว โดยเลียนแบบจาก “กองเสอื นํ้ารักษาพระองค” แตทวา ในคร้งั น้นั
ยงั มไิ ดมกี ารแยกหนว ย ประเภท หลักสตู ร และการฝกฝนอบรมตลอดจนเครือ่ งแบบใหต า งกันแต
อยางใด คงใชว ธิ ฝี กรวม ๆ กันไปในหนวยของลกู เสอื เสนานั่นเอง หลงั จากทมี่ กี ารประกาศตัง้
การลกู เสอื สมุทรเสนาไดเพยี ง 7 วัน พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจาอยูห วั ก็ทรงสละราชสมบตั ิ
ต้ังแตว ันท่ี 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 เปน ตนไป
2.3 การลกู เสอื ไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล รัชกาลที่ 8

เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 7ทรงสละราชสมบัติแลวพระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ก็ไดเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติสืบสนองตามกฎมณเฑียรบาลวา
ดวยการสืบสันตติวงศตอมา เปนรัชกาลท่ี 8 แหงราชวงศจักรี ขณะนั้นพระองคยังทรงพระเยาวมาก
มี พระชนมายุเพียง 9 พรรษา และกําลังประทับศึกษาวิชาการอยู ณ ตางประเทศ จึงตองมีคณะ
ผูสาํ เร็จ ราชการแทนพระองค บรหิ ารราชการแผนดินในพระปรมาภไิ ธย

การลูกเสือในยุคเริ่มตนประชาธิปไตยนี้ มีความซบเซาอยางมากเกิดวิกฤตการณทาง
การเมืองภายในและภายนอกประเทศ วิกฤตการณภายในน้ันไดเกิดขอขัดแยงท้ังในฝายสถาบัน
บริหารและสถาบันนิติบัญญัติ จนถึงกับตองยุบสภาเปลี่ยนรัฐบาลใหมหลายคร้ัง วิกฤตการณ
ภายนอกเกิดจากลัทธเิ ผด็จการไดคุกคามสันติภาพของโลกโดยท่ัวไป จนเกิดสงครามโลกครั้งท่ี 2 ใน
ป พ.ศ.2482ประเทศไทยมีกรณีพิพาทเร่ืองดินแดนอินโดจีนของฝรั่งเศสอีก จนถึงข้ันปะทะกันเปน
สงครามทมี่ ไิ ดประกาศ แตพอเร่อื งสงบลง ประเทศญ่ีปุนกจ็ ุดชนวนสงครามทางดานเอเชียบูรพาเม่ือ8
ธันวาคม 2484 สงครามไดล ุกลามมาถงึ ประเทศไทยดวย

วิกฤตการณเหลานี้มีผลกระทบถึงกิจการลูกเสือไทยเปนอันมาก เพราะรัฐบาลไดหันไปสนใจ
ดานความมั่นคงของประเทศที่สําคัญกวา และเมื่อสงครามเกิดขึ้นก็มีผลกระทบใหคูสงครามตัด
ความสัมพันธทางการทูตกัน เปนผลใหความสัมพันธของกิจการลูกเสือนานาชาติตองหยุดชะงักไป
ดวย ประกอบรัฐบาลในสมัยน้ันไดจัดมีการจัดต้ังยุวชนทหารข้ึนมาซอนกับกิจการของลูกเสือ ท้ังน้ี
เพื่อไวใชประโยชนในการรับสถานการณคับขันของโลก ซึ่งทวีความรุนแรงเพ่ิมข้ึนอยางรวดเร็ว
เจริญเติบโตข้ึนแทนที่การลูกเสืออยางรวดเร็ว เปนผลใหการลูกเสือยิ่งลดบทบาทลงจนถึงที่สุดถึงกับ
ยุบลงกลายสภาพเปนหนวยหน่ึงขององคการยุวชนทหาร เม่ือป พ.ศ.2486 เปนการสิ้นสุดสมัยของ
รชั กาลท่ี 8

22 คมู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชีวติ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

กิจการลูกเสือนับตั้งแตสถาปนาขึ้นเม่ือ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2454 ยังไมเคยมีดวงตราเปน
สัญลักษณประจําคณะคงใชเครื่องหมายเปนรูปเสือตัวเล็ก ๆ ในทากําลังยาง เดินยกเทาหนาขางขวา
ขึ้นทางหนึ่ง อยูภายในวงกลมธรรมดาบางก็เปนรูปหนาเสือเฉย ๆ บางก็มีคําขวัญวา “เสียชีพ อยา
เสียสัตย” อยูภายใตหนาเสือ ซึ่งเคร่ืองหมายเหลาน้ีเคยใชในราชการเสือปามากอน คร้ันทรงพระ-
กรุณาโปรดเกลา ฯ ใหส ถาปนา ลูกเสือขนึ้ จงึ ไดใชรวมกันเรื่อยมา ในฐานะท่ีลูกเสือเปนสวนหนึ่งของ
เสือปา แตมิไดมีการประกาศเปนทางราชการไว แตเมื่อมีความจําเปนท่ีจะตองมีตราประจําคณะ
ลกู เสอื แหง ชาติ เพราะสถาบันตาง ๆ ที่เปนราชการตางก็มีตราประจําคณะของตนดวยกันท้ังสิ้น และ
ลูกเสือตางประเทศท่ัวโลกตางก็มี ดวงตราเปนเอกลักษณของตนเองทั้งสิ้น เพื่อใหเขากับหลักสากล
และสอดคลองกับการลูกเสือนานาชาติ จึงจําเปนตองมีตราคณะลูกเสือแหงชาติขึ้นโดยตราคณะ
ลูกเสือแหงชาติมีรูป เฟอร เดล ลีร กับรูปหนาเสือประกอบกันและมีตัวอักษรจารึกภายใตวา “เสียชีพ
อยาเสยี สัตย”

เม่ือกิจการลูกเสือไดเวียนมาบรรจบในวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ.2479 ครบ 25 ป ทางสภา
กรรมการกลางในขณะนั้นไมสามารถจะจัดงานสมโภชเฉลิมฉลองใหใหญโตไดการจัดงานชุมนุม
ลูกเสือแหงชาติก็ไมสามารถจะจัดได ทั้งนี้เพราะเหตุการณตาง ๆ บีบบังคับอยู อุปนายกสภา
กรรมการกลางจึงไดมีโครงการที่จะสรางพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวพระผู
พระราชทานกําเนิดลูกเสือไทยโดยจะอัญเชิญประดิษฐานไว ณ สนามกีฬาแหงชาติ เพ่ือแสดงความ
กตญั กู ตเวทีตอมาสาํ นกั นายกรฐั มนตรไี ดมปี ระกาศสรางพระบรมรปู เชน เดยี วกนั จงึ ไดย บุ รวมสราง
เปนองคเดียวกัน และประดิษฐานอยูท่ีหนาสวนลุมพินี กรุงเทพมหานครจวบจนทุกวันนี้ ดวยเหตุผล
ที่วา เนื่องจาก ระบอบการปกครองในปจจุบัน เปนประชาธิปไตยแลวประกอบกับขอบังคับลักษณะ
ปกครองลูกเสือ พุทธศักราช2461 ไดใชมาเปนเวลานานแลวและมีการแกไขเพิ่มเติมกันอีกหลายครั้ง
จงึ ไดมกี ารออกพระราชบญั ญัตลิ กู เสอื พุทธศกั ราช 2482 ขึน้ เปนพระราชบัญญัติฉบับแรกของลูกเสือ
ในระบอบประชาธิปไตย ขอความสําคัญ คือ “ใหคณะลูกเสือแหงชาติมีสภาพเปนนิติบุคคล” และในป
เดียวกันนี้ “เสือปา” ซึ่งไดหยุดชะงักไปหลังจากท่ีรัชกาลที่ 6 เสด็จสวรรคต แตไมไดมีการประกาศ
ยกเลิกกิจการนี้ในที่ใด ๆ รัฐบาลจึงไดออกพระราชบัญญัติใหทรัพยสินกองเสือปา
ตกเปนของคณะลูกเสือแหงชาติ ซ่ึงมีผลเทากับเปนการประกาศเลิกลมกองเสือปาใหส้ินสภาวะไป
โดยปริยาย จะเห็นไดวากิจการลูกเสือไทยในสมัยรัชกาลที่ 8 นั้นซบเซาเปนอันมาก จากวิกฤตการณ
หลาย ๆ ดานจวบจนสิ้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ซึ่งถูกลอบปลง
พระชนม ณ พระทน่ี ง่ั บรมพิมาน เมอื่ วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 เวลา 09.00 น.
2.4 การลกู เสอื ไทยในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ภูมพิ ลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9)

ในรชั กาลของสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช การลูกเสือไดเริ่มมีการฟนฟูข้ึนใหม และ
เพ่ือใหกิจการลูกเสือไทยไดดําเนินการตอไป จึงไดมีการออกพระราชบัญญัติลูกเสือ พุทธศักราช
2490 ซ่ึงมีหลักการคลายกับพระราชบัญญัติลูกเสือฉบับปพุทธศักราช 2482 แตมีสาระสําคัญที่
เพ่ิมข้ึน คือ “กําหนดใหพระมหากษัตริย ทรงดํารงตําแหนงพระบรมราชูปถัมภคณะลูกเสือแหงชาติ”
และไดมีการโอนทรัพยสินของลูกเสือซ่ึงตกเปนขององคการยุวชนทหารกลับมาเปน คณะลูกเสือ

คมู อื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ิต ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 2 23

แหงชาติอยางเดิม ซึ่งเทากับองคการยุวชนทหารแหงชาติตองสลายตัวไปดวยตามพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้

งานชุมนุมลูกเสือแหงชาติ ซึ่งจัดมาแลว 2 คร้ัง แตตองหยุดชะงักไปดวยวิกฤตการณตาง ๆ
ไดวา งเวนไปถึง 24 ป ทางราชการจึงไดกําหนดใหมีการจัดงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติคร้ังที่ 3 ขึ้น ใน
ระหวา งวันท่ี 20 - 26 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2497 ณ กรีฑาสถานแหง ชาติ

พระราชบัญญัติลูกเสือพุทธศักราช 2490ไดกําหนดใหมีเหรียญลูกเสือ 2 ชนิด คือ เหรียญ
ลูกเสือสรรเสริญและเหรียญลูกเสือสดุดี เหรียญลูกเสือสรรเสริญมีการแบงเปน 3 ช้ัน คือ ช้ันที่ 1
ช้ันที่ 2และช้ันท่ี 3 โดยถือเปนเครื่องราชอิสริยาภรณชนิดหน่ึง สําหรับพระราชทานแกลูกเสือผูมี
ความดีความชอบที่ไดบัญญัติไวเปนช้ัน ๆ ไปสวนเหรียญลูกเสือสดุดี มีชั้นเดียว โดยถือเปน
เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณอกี ชนิดหนง่ึ สาํ หรบั พระราชทานแกผ มู คี วามดีความชอบตามท่ีไดบญั ญตั ไิ ว

กิจการลูกเสือในสมัยน้ีมีความกาวหนาเปนอยางมาก และแพรขยายไปอยางรวดเร็ว ทั้งใน
โรงเรียนและประชาชนในป พ.ศ.2507 รัฐบาลไดออกพระราชบัญญัติลูกเสือพุทธศักราช 2507อีก 1
ฉบับ เพอ่ื ปรับปรงุ กฎหมายวา ดว ยลูกเสือใหท ันสมยั และเหตุการณโดยมีหลกั การสาํ คัญ คือ
มาตรา 5 ใหคณะลูกเสือแหงชาติ ประกอบดวยบรรดาลูกเสือทั้งปวงผูบังคับบัญชาลูกเสือ
ผตู รวจการลกู เสอื กรรมการลูกเสอื และเจา หนา ที่ลูกเสือ
มาตรา 8 พระมหากษตั ริยท รงเปนประมุขของคณะลูกเสือแหงชาติ

พ.ศ. 2509ออกพระราชบัญญัติลูกเสือ (ฉบับท่ี 2) มีหลักการที่สําคัญ แกไขมาตราท่ี 43
พระราชบัญญัติลูกเสือฉบบั แรก

พ.ศ. 2528ออกพระราชบัญญัติลูกเสือ (ฉบับที่ 3) มีการแกไขเพิ่มเติมหลักการหลายประการ
ดว ยกันรวมทัง้ ไดกาํ หนดใหเ หรียญลูกเสอื สดดุ แี บงเปน 3 ชั้น

พ.ศ. 2530 ออกพระราชบัญญัติลูกเสือ (ฉบับท่ี 4) มีหลักการสําคัญคือ กําหนดใหมี
เครือ่ งราชอิสริยาภรณอ นั เปน สิรยิ ิง่ รามกีรตลิ กู เสือสดดุ ชี ้ันพิเศษ เพ่ิมขน้ึ อกี 1 เหรียญ

นอกจากการมีการออกพระราชบัญญัติลูกเสือฉบับตาง ๆ แลว กิจการลูกเสือในสมัยน้ียัง
เขาถึงประชาชนทั่วไปดวย โดยไดมีการฝกอบรมลูกเสือชาวบานรุนแรกของประเทศไทยณ หมูบาน
เหลากอหก ตําบลแสงพา ก่ิงอําเภอนาแหว อําเภอดานซาย จังหวัดเลย เมื่อ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2514
มี พ.ต.ต. สมควร หริกุล ผูกํากับลูกเสือการตํารวจตระเวนชายแดน เขต 4 ในขณะน้ัน นายวิโรจน
พูลสุข อดีตศึกษาธิการเขตเขตการศึกษา 9 จังหวัดอุดรธานี นายสมเกียรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร
ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ พรอมดวยวิทยากรจากกองกํากับการตํารวจตระเวนชายแดน
เขต 4 และวทิ ยากรจากเขตการศึกษา 9 เปนผูริเริ่มจัดทําหลักสูตรและดําเนินการฝกอบรมปรากฏวา
ไดผลดีเปนอันมาก เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จ
พระราชดาํ เนนิ ไปทอดพระเนตรการฝก อบรม เม่อื 19 มนี าคม พ.ศ. 2519 เปนทพี่ อพระราชหฤทัย จึง
ไดทรงรับกิจการลูกเสือชาวบานไวในพระบรมราชานุเคราะหตั้งแตนั้นมา กิจการลูกเสือชาวบานได
แพรข ยายไปทว่ั ประเทศอยางรวดเร็ว ปจ จบุ ันมีลูกเสือชาวบา นทวั่ ประเทศไทยนับเปนพนั รุน

24 คมู อื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ติ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

สําหรับดานวิชาการและการฝกอบรม นับวามีความกาวหนาอยางมากท้ังการฝกอบรม
ผูบังคับบัญชาลูกเสือทุกประเภทและทุกระดับและการฝกอบรมของสมาคมลูกเสือโลก ท้ังนี้เพ่ือให
เปนเอกภาพ ทางดานวิชาการทุกประเทศ รวมท้ังไดมีการตั้งกองลูกเสือเหลาสมุทรและกองลูกเสือ
เหลาอากาศเพิ่มข้ึน ตอมาไดมีคําสั่งของกระทรวงศึกษาธิการใหนําหลักสูตรวิชาลูกเสือเขาอยูใน
หลักสูตรของโรงเรียนมีการจัดต้ังกองลูกเสือวิสามัญในโรงเรียน จัดตั้งคายลูกเสือระดับจังหวัดและ
ระดับอาํ เภอท่ัวประเทศ เพ่ือใชเ ปนท่ฝี ก อบรมผูบงั คับบัญชาลูกเสือและลูกเสอื

ดานกิจกรรมของลูกเสือภายในประเทศไดมีการจัดงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติ จํานวนหลาย
ครั้ง และเปนเจาภาพในการจัดงานชุมนุมลูกเสือเขตเอเชีย-แปซิฟกคร้ังที่ 5 เปนเจาภาพในการจัด
ประชุมสมัชชาลูกเสือโลกเขตเอเชีย-แปซิฟก ในป พ.ศ.2529 มีคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ
หลายทานไดรับเลือกใหเปนคณะกรรมการบริหารลูกเสือประจําสํานักงานลูกเสือโลกและ
กรรมการบรหิ ารลกู เสือเขตเอเชีย-แปซิฟก รวมทงั้ มีคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหงชาติไดรบั เกยี รติ
ใหไดรับเหรียญลูกเสือโลก

ศูนยฝ กอบรมผบู งั คับบัญชา-ลูกเสือนานาชาติ แหงกิลเวลปารค ประเทศอังกฤษไดทูลเกลาฯ
ถวายเคร่ืองหมายแสดงคุณวุฒิทางลูกเสือชั้นสูงสุดของโลกแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพล
อดุลยเดช (เคร่ืองหมายวูดแบดจ 4 ทอน) ในฐานะที่พระองคทรงเปนพระประมุขของคณะลูกเสือ
แหง ชาติ และเปนเพยี งพระองคเดียวในโลกทีไ่ ดรับการทูลเกลา ถวายเครอ่ื งหมายนี้

ดานกิจกรรมตางประเทศ ไดมีการสงผูแทนเขารวมชุมนุมลูกเสือโลก การชุมนุมลูกเสือเขต
เอเชียแปซฟิ ก ทกุ ครง้ั และงานชมุ นุมลกู เสือแหงชาตขิ องประเทศตา ง ๆ ที่ไดเ ชิญมา
การลูกเสือในยุคน้ีจึงนับไดวาเปนยุคที่มีความกาวหนารุงเรืองมากที่สุดกวาทุกยุคและมีความเจริญ
รุดหนาประเทศอ่ืน ๆ อีกหลายประเทศที่เปนสมาชิกของสมาคมลูกเสือโลก ซึ่งปจจุบัน (พ.ศ. 2559)
มีอยูทั้งหมด 163 ประเทศ มีสมาชิกกวา 40 ลานคน เปนยุคท่ีมีความกาวหนากวาทุกยุคของการ
ลูกเสือไทย และทุกดาน ท้ังทางดานอุดมการณ ดานการบริหารดานวิชาการ และดานกิจกรรม
นอกจากนี้ กิจกรรมบางอยางยังมคี วามกาวหนา ที่ประเทศอ่นื ๆ ยงั ไมม ีนนั่ คอื ลูกเสอื ชาวบา น ซึง่ เปน
กิจกรรมทท่ี ําใหประชาชนเกิดความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และมีความสามัคคีกัน ตลอดจน
การรูจักพฒั นาตนเองและสังคมในชมุ ชุนของตนใหดขี ึน้ เปน อันมาก

วิธดี ําเนนิ การขบวนการลกู เสอื
3. โครงสรางของการบรหิ ารลกู เสอื แหง ชาติ
โครงสรางคณะลกู เสอื แหงชาติ
การบริหารงานของคณะลูกเสือแหงชาติ สภาลูกเสือไทย ตามพระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ.2551
กําหนดใหสภาลกู เสอื ไทยประกอบดวย
(1) นายกรัฐมนตรี เปนสภานายก
(2) รองนายกรฐั มนตรี เปน อุปนายก

คมู อื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ิต ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี 2 25

(3) กรรมการโดยตําแหนง ไดแก รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย ผูบัญชาการทหารสูงสุด ผูบัญชาการทหารบก ผูบัญชาการทหารเรือ ผู
บัญชาการทหารอากาศ ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการ
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการสภากาชาดไทย อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมการ
ปกครองทองถ่ิน ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ผูวาราชการจังหวัด และผูอํานวยการศูนยปฏิบัติการ
ลูกเสือชาวบาน
(4) กรรมการผูท รงคณุ วุฒจิ าํ นวนไมเ กนิ แปดสิบคนซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตง ต้งั ตามพระราช
อัธยาศัย ใหเลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติเปนกรรมการและเลขานุการ รองเลขาธิการและ
ผูชวยเลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติเปนผูชวยเลขานุการ สภาลูกเสือไทยอาจมีสภานายก
กติ ติมศกั ด์ิ อปุ นายกกิตตมิ ศักดิ์ และกรรมการกิตติมศักดิ์ ซึ่งจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ัง
สภาลูกเสือไทยมอี ํานาจหนาที่ดงั ตอไปนี้
(1) วางนโยบายเพอ่ื ความมัน่ คงและความเจรญิ กาวหนาของคณะลกู เสือแหง ชาติ
(2) ใหค ําแนะนาํ ในการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแหง ชาติ
(3) พจิ ารณารายงานประจาํ ปข องคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ
คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหงชาติ

คณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติเปนองคกรบริหารของคณะลูกเสือแหงชาติ
ประกอบดวย
(1) รฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน ประธานกรรมการ
(2) กรรมการโดยตําแหนงไดแก ปลัดกระทรวงศึกษาธิการและปลัดกระทรวงมหาดไทยเปนรอง
ประธานกรรมการ เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการ
สภากาชาดไทย อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมการปกครองทองถ่ิน ผูวาราชการ
กรุงเทพมหานคร ผวู าราชการจงั หวดั และผอู ํานวยการศนู ยปฏบิ ัติการลูกเสือชาวบา น
(3) กรรมการผทู รงคุณวุฒจิ าํ นวนไมเกินสิบหา คน ซึ่งสภานายกสภาลกู เสือไทยแตง ต้งั โดยคาํ แนะนํา
ของกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติตาม(1) และ(2) ซ่ึงในจํานวนน้ีตองมาจาก ภาคเอกชนไมนอย
กวา กง่ึ หนง่ึ

เลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติเปนกรรมการเลขานุการ รองเลขาธิการและผูชวย
เลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติเปนผูชวยเลขานุการ กรรมการผูทรงคุณวุฒิตาม (3) มีวาระการ
ดํารงตาํ แหนงคราวละ 4 ปและอาจไดร บั แตงตงั้ อกี ได แตจ ะแตง ตง้ั ตดิ ตอกนั เกนิ 2 วาระมิได
ในกรณีที่กรรมการตามวรรคหนึ่งพนจากตําแหนงกอนครบวาระ ใหดําเนินการแตงต้ังกรรมการใหม
ภายใน 90 วนั นบั แตว นั ที่กรรมการพน จากตําแหนง และใหผูซึ่งไดรับแตงต้ังอยูในตําแหนงเพียงเทา

26 คมู อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ิต ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 2

วาระท่ีเหลืออยูของผูซ่ึงตนแทน แตถาวาระการดํารงตําแหนงเหลืออยูนอยกวา 180 วันจะไม
ดาํ เนินการแตงตั้งแทนกไ็ ด

คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง ชาตมิ อี ํานาจหนา ที่ ดงั ตอไปนี้
(1) ดาํ เนนิ การตามวตั ถปุ ระสงคข องคณะลูกเสอื แหง ชาตแิ ละตามนโยบายของ สภาลกู เสอื ไทย
(2) สงเสรมิ ความสัมพนั ธกบั คณะลกู เสอื นานาชาติ
(3) สนับสนนุ และสง เสรมิ ใหมีการพฒั นาบคุ ลากรทางการลกู เสอื
(4) สนับสนุนใหม กี ารจัดกจิ กรรมอยา งตอ เนอื่ ง
(5) จดั การทรพั ยส ินของสาํ นกั งานลูกเสือแหง ชาติ
(6) ใหความเหน็ ชอบในการลงทุนเพอื่ ประโยชนข องสํานักงานลกู เสอื แหง ชาติ
(7) ออกขอ บงั คบั ของคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหง ชาติตามทรี่ ะบุไวใ นพระราชบญั ญัติน้โี ดย
ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา
(8) วางระเบียบและแนวทางปฏบิ ัติเกย่ี วกบั กิจการลูกเสอื
(9) จัดทาํ รายงานประจาํ ปเสนอสภาลกู เสือไทยพิจารณาตามมาตรา 12(3)
(10) แตงต้ังทปี่ รึกษาคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหง ชาติ
(11) แตง ตัง้ คณะอนกุ รรมการเพอื่ พจิ ารณาหรอื ปฏิบตั กิ ารตามทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง ชาติ
มอบหมาย
(12) กาํ กบั ดแู ล สนับสนนุ และสง เสรมิ กจิ การลกู เสือชาวบา น
(13) จดั ตั้งตาํ แหนง กติ ติมศกั ดิ์ และตาํ แหนงอื่นใดทม่ี ไิ ดร ะบไุ วพ ระราชบัญญตั ิ
(14) ปฏบิ ตั ิการอ่ืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอาํ นาจหนา ท่ขี องคณะกรรมการบริหาร ลูกเสอื
แหงชาติหรอื ตามที่คณะรฐั มนตรีมอบหมาย

คูมือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 27

เรอ่ื งที่เปน ประโยชน

“มดงามกับจักจัน่ ”

เชาวันหน่ึงในฤดูฝน แตแดดออกจัดดี มดงามพวกหนึ่งจึงชวยกันขนเมล็ดขาวท่ีหาไวไดใน
ฤดูรอนออกตากแดด ขณะน้ันมีจักจั่นผอมเดินโซเซผานมาเห็นเขาจึงแวะเขาไปหามดแลวพูดวา
“ขาพเจาอดอาหารมาหลายวันแลว หิวเต็มทน ขอทานขาวใหขาพเจากินสักเมล็ดสองเมล็ดพอรอด
ตายจะไดห รอื ไม”

มดถามวา “ก็ในฤดูรอนซ่ึงเปนหนาเก่ียวขาว มีอาหารอุดม ทานไปทําอะไรเสีย จึงไมหา
อาหารเก็บเอาไวเลา ”

จักจั่นตอบวา “ขาพเจาหาเวลาวางไมได เพราะฤดูแลงเท่ียวรองเพลงเลนเพลินไปวันยังค่ํา
จนสนิ้ ฤดู ครั้นถึงฤดูฝนตกขาวก็งอกเสยี หมดแลว ”

มดจึงเยยใหวา “อาว ! ดีแลวละเปนไร ถาทานรองเพลงเพลินไปในฤดูรอน ทําไมจึงไมหัดรํา
ในฤดูฝนเลา ”

เรื่องนี้สอนใหรูวา ขณะท่ีดีๆ อยูถาเราไมอุตสาหทําการงานสะสมทรัพยสินเอาไวในเม่ือถึงเวลา
เจบ็ ไขไดยากเราก็จะไดค วามลาํ บากยากแคนเปน อยา งยงิ่

28 คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ติ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2

แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรนุ ใหญ(เครื่องหมายลกู เสอื ชัน้ พเิ ศษ) ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2

หนวยที่ 2 หนา ท่ีพลเมอื ง เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดกิจกรรมท่ี 3 การพฒั นาตนเอง

1. จุดประสงคการเรยี นรู

ลูกเสอื รจู กั บทบาทของตนเองในฐานะพลเมืองดไี ด
2. เน้ือหา

หลกั สูตรการฝกอบรม
3. สือ่ การเรยี นรู

3.1 แผนภูมเิ พลง
3.2 เอกสารประกอบการฝกอบรมแตล ะประเภท
3.3 เร่อื งท่ีเปน ประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 พิธเี ปด ประชมุ กอง (ชกั ธง สวดมนต สงบนิ่งตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคก ารเรียนรู

1) ผกู ํากับลกู เสอื แนะนาํ ถงึ รายละเอียดการฝก อบรม และการสอบไดเ ครอ่ื งหมายวิชา
ลูกเสือสวัสดภิ าพนกั เรยี น หรือวิชาลูกเสอื บรรเทาสาธารณภัย หรือวิชาลูกเสือพยาบาล หรอื วชิ า
ลกู เสือพฒั นาชมุ ชน หรอื วิชาอน่ื ที่คณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแหงชาติกาํ หนด

2) ผกู าํ กับลกู เสอื ใหล กู เสอื อภปิ รายถงึ ความตองการทจี่ ะเขา รบั การฝกอบรมวิชาลูกเสือ
เร่ืองอะไร

3) ผูกํากับลูกเสือดําเนินการจัดทําโครงการฝกอบรมโดยใหลูกเสือท่ีมีความตองการเขา
รบั การฝกอบรมเขยี นใบสมคั ร โดยผกู าํ กบั ลูกเสอื กาํ หนดวันและเวลาในการฝกอบรม

4) ผูกาํ กบั ลูกเสือดําเนินการจดั การฝก อบรมตามวันและเวลาที่กําหนด
4.4 ผูก าํ กบั ลกู เสอื เลาเรือ่ งทเ่ี ปนประโยชน
4.5 พิธปี ด ประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชักธง เลิก)

5. การประเมินผล
ประเมนิ จากการเขา รวมปฏบิ ัติกิจกรรม ความสนใจใฝร ูใฝเรียน

คูม ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต ช้นั มัธยมศึกษาปที่ 2 29

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 3

เพลง

โชคดี

ชางโชคดีวันนีม้ าพบเธอ (ซ้าํ )
ฉนั ดีใจจริงนะเออมาพบเธอสขุ ใจ
เธอนั้นอยูสบายดีหรอื ไร (ซํา้ )
มารองรําเพลินฤทยั ใหห วั ใจสขุ สาํ ราญ
ตบมอื ไปกนั ใหพรอมเพรียง (ซ้าํ )
ยกมือไวสายหัวเอยี งใหพ รอ มเพรยี งตามกัน
แลว หมุนกลบั ปรบั ตวั เสยี ใหท นั (ซ้ํา)
มือทาวเอวซอยเทาพลนั ใหพ รอ มกันเถิดเอย

ใบความรู

หลกั สตู รการฝก อบรมแตล ะประเภท

เรื่องทเ่ี ปน ประโยชน

ลกู อึ่งอางกบั แม

ลูกอึ่งอางไดรีบมาเลาใหแมของตนฟงอยางต่ืนตระหนกหวาดกลัววาตนเห็นแมวัวเหยียบพี่
นองของมันตายหมด“ตัวมันใหญโตมากจะแมจา สัตวสี่เทาอะไรก็ไมรู ลูกไมเคยเห็นมากอนเลยจะ
แม” แมอ ึง่ อา งจึงพองตวั ใหใหญขึน้ ใหลูกดูพรอมกบั ถามวา “ตวั มันใหญเทาน้ีไดไหมลูก”ลูกอึ่งอางตอบ
แมก ลบั ไปวา ไมจะแมตัวมันใหญกวาน้ันอีก แลวแมอึ่งอางจึงพองตัวใหใหญข้ึนอีก แตลูกก็บอกวาจะ
พองตัวใหใหญซักแคไหนก็คงไมเทาสัตวตัวน้ัน หรอกจะแมแตแมอ่ึงอางก็ไมยอมหยุด กลับพยายาม
เบงตวั ใหตวั พองข้นึ อีก จนตนพงุ แตกตายไปในทส่ี ุด

เรื่องนี้สอนใหรวู า ทําสง่ิ ใดไมดกู ําลังความสามารถของตนกต็ องพบกับภัย อนั ตรายแนน อน

30 คูม อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2

แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสอื สามญั รุนใหญ (เครอื่ งหมายลูกเสือชน้ั พเิ ศษ) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2

หนว ยที่ 2 หนาทพ่ี ลเมือง เวลา 2 ช่ัวโมง
แผนการจดั กิจกรรมท่ี 4 การเยีย่ มหนว ยงาน

1. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู

1.1 สามารถไปเยย่ี มหนวยงานตา ง ๆได
1.2 สามารถรายงานผลการไปเยย่ี มหนวยงานได
2. เนื้อหา

การเยยี่ มหนว ยงานราชการตาง ๆ
3. สอื่ การเรียนรู

3.1 แผนภูมเิ พลง
3.2 เรอ่ื งที่เปนประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 กิจกรรมครง้ั ท่ี 1

1) พธิ ีเปดประชมุ กอง (ชักธง สวดมนต สงบน่ิงตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคการเรียนรู

(1) ผูกํากับลูกเสือและลูกเสือรวมกันสนทนาถงึ ประสบการณใ นการไปติดตอหนวยงาน
ตางๆ

(2) ผกู ํากบั ลกู เสือมอบหมายงานใหล ูกเสือแตละคน หรอื กบั ลกู เสอื สามัญรุนใหญค น
อืน่ ในกองไปเย่ียมหนวยงานหรอื สถาบนั 2 แหง ทีไ่ มผ ิดศลี ธรรมและมีความสําคญั ในชีวติ ของ
ชุมชนในทองถน่ิ เชนสาํ นกั งานเทศบาล สถานตี ํารวจ สถานีตาํ รวจดับเพลงิ โรงพยาบาล สถานี
วิทยหุ รือโทรทัศน ตลาดสดทา เรือ เมรุเผาศพ ทที่ ําการไปรษณียโ ทรเลข ทท่ี ําการโทรคมนาคม
สาํ นกั งานหนงั สือพมิ พ ศาลสถติ ยตุ ธิ รรม ฯลฯ

(3) ผกู าํ กับลกู เสือใหลกู เสอื ทาํ รายงานสง วา หนว ยงานหรือสถาบันนั้น ๆ ทําอะไร ได
งบประมาณในการดําเนินงานมาจากไหน และมีสวนเกี่ยวของกับองคการอ่ืนๆ อยางไร แลว
นาํ เสนอในการประชุมกองครั้งตอ ไป

4) ผูกํากับลกู เสือเลาเร่อื งทีเ่ ปน ประโยชน
5) พิธีปด ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชักธง เลกิ )
4.2 กจิ กรรมครง้ั ท่ี 2

1) พธิ ีเปด ประชมุ กอง (ชกั ธง สวดมนต ตรวจ สงบนิง่ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กิจกรรมตามจดุ ประสงคการเรียนรู

คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชีวติ ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 2 31

(1) ผกู ํากับลกู เสือใหลูกเสอื นาํ เสนอรายงานการไปเยีย่ มหนวยงานหรือสถาบัน ให
กองลูกเสือรับทราบ

(2) ผูกํากบั ลกู เสอื ใหล ูกเสอื ในกองมีสว นรวมในการซกั ถาม
(3) ผูกาํ กับลูกเสอื และลูกเสือรวมกนั สรปุ ผลจากการที่ลกู เสอื ออกไปเย่ียมหนวยงาน
หรือ
สถาบัน
4) ผูก ํากับลกู เสือเลาเรอ่ื งทีเ่ ปน ประโยชน
5) พธิ ปี ดประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชักธง เลิก)

5. การประเมินผล
5.1 สังเกตพฤตกิ รรมการเขา รว มกิจกรรม ความสนใจ
5.2 ผลงานการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมและการรายงานผล

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมท่ี 4

เพลง รอคอย

รอฉนั รอเธออยูแตไมรเู ธออยหู นใด เธอจะมา ๆ เมื่อใด นดั ฉันไวท าํ ไมไมม า
ฉันเปนหว งฉันเปนหว งตวั เธอ นดั ฉันเกอชะเงอคอยหา
นดั แลวทําไมไมมา ลูกเสอื จาอยา ชาเรว็ หนอย รบี หนอ ย ๆ เรง
หนอย ๆ

ยิ้ม

ยิ้มยิม้ กนั เถอะนะ ยม้ิ แลวพาคลายเศรา
ย้มิ ทาํ ใหค ลายเหงา ยมิ้ พาเราเพลินใจ
ยม้ิ น้นั พาสุขล้าํ ทําเร่ืองยากเปนงา ย
ย้ิมใหก นั เมอ่ื ไร เรือ่ งรายจะกลายเปนดี

32 คูม อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ติ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

คมู ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 33

เรื่องท่เี ปน ประโยชน

สงิ โตกับทีป่ รกึ ษา

กาลครั้งหน่ึงนานมาแลวมีสิงโตตัวหนึ่งถามแกะวา“ลมหายใจของขามีกลิ่นเปนอยางไรบาง”
เมื่อแกะดมแลวจึงไดตอบออกไปตามตรงวา “เหม็นมากเลยนะเจาปา”สิงโตไดยินดังนั้นจึงโกรธมาก
จึงจับแกะกินเสีย แลวก็เรียกหมาปาเขามาถามคําถามเดียวกันหมาปาเห็นวาแกะถูกจับกินเพราะ
อะไรจึงตอบออกไปวา “ไมมีกลิ่นเลยทานเจาปา” คําตอบของหมาปาท่ีตอบออกมาทําใหสิงโตโกรธ
จึงจับหมาปากินเสียเพราะสิงโตคิดวาหมาปาเอาแตประจบ ไมมีความจริงใจกับตนตอมาสิงโตเรียก
สุนัขจ้ิงจอกเขามาถามบาง สุนัขจ้ิงจอกจึงตอบออกไปวา“วันนี้ขาเปนหวัด จมูกของขาคงดมอะไร
ไมไ ดก ล่ินหรอกทา น”สงิ โตเห็นวาสุนัขจิง้ จอกพดู มีเหตุผลจงึ ปลอ ยตวั ไป

เรื่องนสี้ อนใหร วู า ถามีปญ ญา ก็สามารถเอาตัวรอดได

วัวกบั แมลงหวี่

วัวเปนสัตวท่ีตัวใหญและมีพละกําลังมหาศาลแตเม่ือมีสัตวตัวเล็กๆ อยางแมลงหวี่มากอกวน
แถมทาทายแทนที่วัวจะวางตนน่ิงเฉยแตวัวกลับเขาทะเลาะตอตีไมยอมใหแมลงหวี่คุยขมตนซ่ึงตัว
ใหญกวา แมลงหว่ีจงึ ไดท าตอสกู นั ถาใครชนะกแ็ สดงวา ผนู ัน้ ยิ่งใหญก วา เกงกวา และแข็งแรงกวา เม่ือ
วัวไดยินดังน้ันก็ตอบตกลงไปในทันที แมลงหว่ีก็ไดบินตอมวนเวียนอยูรอบๆเขาและเหนือหัวของวัว
แตวัวไมสามารถจะขวิดหรือทําอะไรแมลงตัวนอยตัวน้ันไดเลยแมแตนอยวัวไดแตตองทนอับอายกับ
บรรดาสตั วนอยใหญทงั้ หลาย ท่มี ามุงดูกันเปนจํานวนมากในบรเิ วณนั้น

เรอ่ื งนสี้ อนใหร วู า ถา วางตนน่ิงเฉยไมวุนวายกบั สิ่งทไ่ี มคคู วร กไ็ มต อ ง อับอายเปลอื งตวั

34 คูมอื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 2

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรนุ ใหญ (เครื่องหมายลกู เสือช้นั พิเศษ) ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2

หนว ยท่ี 2 หนา ทพี่ ลเมอื ง เวลา 2 ชว่ั โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 5 หนาทข่ี องลกู เสือตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย

1.จุดประสงคก ารเรียนรู

บอกบทบาทและหนา ท่ีของตนเอง ในฐานะพลเมอื งดีตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
2. เน้ือหา

2.1 คณุ ลกั ษณะของพลเมืองดตี ามวิถปี ระชาธปิ ไตย
2.2 การปฏบิ ัติตนเปน พลเมอื งดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตย
3. สือ่ การเรียนรู

3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 กระดาษปรูฟ ปากกาเมจกิ ฯลฯ
3.3 ใบความรูเรื่อง “พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวคําพอสอนพระบรมราโชวาท
พลเมอื งดีตามวิถีประชาธปิ ไตยจรยิ ธรรมของการเปนพลเมืองดี”

3.4 เร่ืองทเี่ ปนประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 กิจกรรมครั้งที่ 1

1) พธิ ีเปดประชมุ กอง (ชกั ธง สวดมนต สงบน่ิง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจุดประสงคการเรียนรู

(1) ผกู ํากับลกู เสือนําสนทนาถึงความหมายของคําวา “พลเมืองดี” ลกู เสอื รว มกนั
แสดงความคดิ เห็นโดยยงั ไมต อ งสรปุ

(2) ผูกํากับลูกเสือ แบงเอกสารเทาจํานวนหมูลูกเสือ(ไมซ้ํากัน)ใหหมูลูกเสือรวมกัน
ศกึ ษา และวเิ คราะห ในประเด็น

- คุณลกั ษณะพลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตยควรเปน อยา งไร (พลเมืองท่มี ี
คณุ ลักษณะทด่ี ี คอื เปน ผูที่ยึดม่นั ในหลกั ศลี ธรรมและคุณธรรม มหี ลักประชาธปิ ไตยในการ
ดํารงชวี ติ คอื มสี ว นรวมในกิจการสาธารณะของชมุ ชน มคี วามรบั ผิดชอบในชมุ ชน ปฏิบัตติ น
ตามกฎหมาย ดํารงตนเปนประโยชนต อ สังคม โดยมีการชว ยเหลือเก้อื กูลกัน อนั จะกอ ใหเกิด
การพฒั นาสงั คมและประเทศชาติ ใหเ ปนสงั คมและประเทศท่ีมวี ถิ ชี วี ติ แบบประชาธิปไตย
อยา งแทจ ริง)

- แนวทางการปฏิบัตติ นเปน พลเมืองตามวิถปี ระชาธปิ ไตยควรทําอยา งไร(ดู
ใบความรปู ระกอบ)

คมู ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ติ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 35

(3) สุมใหหมูลูกเสือรายงานทีละประเด็น และใหหมูอ่ืน ๆ ชวยเพิ่มเติมในสวนของ
ตนเอง ผูกํากับลูกเสือนําอภิปรายสรุป และชวยเพ่ิมเติมจนครบ โดยมอบหมายใหลูกเสือทุก
หมูจดบนั ทกึ ขอ สรุปทไี่ ดเ พ่อื ใชปฏิบตั ิกิจกรรมในคาบตอ ไป

(4) ผูกํากับลูกเสือมอบหมายใหแตละหมู ศึกษาขอสรุปที่ได แลวเขียนบทละครสั้น
หมูละ 1 เรื่อง ท่ีเนนพฤติกรรมหรือแสดงถึงคุณลักษณะของพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
โดยใหเ วลาในการแสดงหมลู ะประมาณ 5 - 8 นาที

4) ผูก าํ กบั ลกู เสือเลา เรื่องท่ีเปน ประโยชน
5) พิธปี ดประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธง เลิก)
4.2 กิจกรรมคร้ังท่ี 2
1) พิธเี ปดประชุมกอง (ชักธง สวดมนต ตรวจ สงบนงิ่ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจุดประสงคการเรียนรู

(1) ลูกเสือแสดงละครส้ันทลี ะหมู หลังจบการแสดงนายหมอู อกมาสรุปขอคดิ ใน
ละครส้ัน “การกระทาํ ทเ่ี รียกวาพลเมืองดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตย”

(2) ผูกํากบั ลกู เสือและหมูล กู เสอื อนื่ ๆ แสดงความชื่นชมหรือชมเชยใหกําลงั ใจ
(3) ผูกาํ กบั ลกู เสือและลกู เสือรว มกันสรปุ ขอคิดทไ่ี ดและการนําไปใชในชีวิตประจําวัน
เพ่อื ใหไดชอ่ื วา เปน “ลกู เสือประชาธปิ ไตย”
4) ผูก ํากับลกู เสือเลาเร่ืองท่ีเปน ประโยชน
5) พธิ ีปด ประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธง เลกิ )
5. การประเมนิ ผล
ลกู เสอื มพี ฤตกิ รรมความเปน ประชาธิปไตยในการทํางานในหมลู ูกเสอื กองลูกเสือ เชน
ความรวมมือการรับฟง ความคดิ เหน็ การแสดงความคดิ เห็น การเปนผูน าํ และผตู ามท่ดี ี เปนตน

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมที่ 5
เพลง

คาํ ขวญั ลกู เสอื

เกียรติคณุ ลกู เสือ เราจะเทดิ เหนือดวงฤทัยเรานนั้
เรามนั่ ใจในคําขวญั “เสยี ชีพอยา เสยี สตั ย” ไวจนตาย เรานน้ั
ประพฤติตนสมกับทเี่ ราเปนลูกผชู าย ไวล าย ไลล าย ลูกเสอื ไทย
กลาหาญการชว ยเหลอื นาๆ เมตตาโดยมเิ ลอื กวา ใคร
เปน มติ รทด่ี ขี องคนทว่ั ไป รวมจติ รว มใจ สามคั คมี ีวฒั นธรรม

36 คูมอื การจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวิต ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2

ลกู เสอื ของชาติ

ชาติตองการชายฉกรรจ จรรโลงชาติ เอกราชคงอยูศัตรขู าม
เกิดเปน ไทยฟน ฝา พยายาม รักษาความเกง กลา สามัคคี
ตอ งรอบรทู กุ อยา งทางไลห นี
เหลาลกู เสือเช้อื ไทยใจนักสู เพอื่ ศักดศิ์ รีลกู เสือเชอ้ื ชาตไิ ทย
มีความสัตยสจุ รติ มติ รไมตรี

ใบความรู

ชุดท่ี 1 พระราชดาํ รสั

พระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห ัว

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานคุณธรรม 4 ประการ แกขาราชการและ
ประชาชน ในคราวสมโภชกรงุ รัตนโกสินทร 200 ป ความวา

“ประการแรก คือ การรักษาความสัจ ความจริงใจตอตัวเอง รูจักสละประโยชนสวนนอยของ
ตนเอง เพือ่ ประโยชนส วนใหญข องบานเมอื ง ทจ่ี ะประพฤตปิ ฏบิ ตั ิแตส ง่ิ ท่ีเปน ประโยชนและเปนธรรม

ประการท่ีสอง คือ การรจู ักขม ใจตนเอง ฝก ใจตนเองใหป ระพฤตปิ ฏบิ ตั ิอยใู นความสัจ ความดีนน้ั
ประการทีส่ าม คอื การอดทน อดกลั้น และอดออม ไมประพฤติลวงความสัตยสุจริต ไมวา
จะดวยเหตปุ ระการใด
ประการที่สี่ คือ การรูจักละวางความช่ัว ความทุจริต และรูจักเสียสละประโยชนสวนนอย
ของตน เพอ่ื ประโยชนส ว นใหญข องบา นเมอื ง”
พระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว

“.....การฝก ฝนและปลูกฝง ความรจู กั เหตผุ ล ความรูจกั ผิดชอบชั่วดี เปน ส่ิงจําเปนไมนอ ยกวา
การใชว ชิ าการ เพราะการรูจกั พิจารณาใหเ หน็ เหตุเหน็ ผล ใหร จู ักจาํ แนกส่งิ ผดิ ชอบชวั่ ดีไดโ ดย
กระจาง ยอ มทําใหมองบคุ คล มองสิ่งตา ง ๆ ไดลึกลงไปจนเหน็ ความจริง.....”
(พระราชดํารัส เมอื่ วันท่ี 26พฤศจิกายน 2516)
คําพอสอน

“....ความสามัคคีพรอมเพรียงกัน เปนพื้นฐานที่สําคัญยิ่งในการปฏิบัติ บริหารงานใหญ ๆ
เชน งานของแผนดิน และความสามัคคีนี้จะเกิดมีขึ้นม่ันคงได ก็ดวยบุคคลในหมูคณะมีคุณธรรมเปน
เคร่อื งยดึ เหน่ียวผกู พนั จติ ใจของกันและกนั ไว คุณธรรมเครือ่ งยึดเหน่ยี วจิตใจนั้น

ประการหนึ่ง ไดแก การให คือใหการสงเคราะหชวยเหลือกัน ใหอภัยไมถือโทษกันให
คาํ แนะนําตักเตอื นทดี่ ตี อกนั

ประการท่ีสอง ไดแก การมีวาจาดี คือพูดแตคําสัจคําจริงตอกัน พูดใหกําลังใจกัน พูด
แนะนําประโยชนกนั และพดู ใหรักใครป รองดองกัน

คูมอื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ิต ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 2 37

ประการท่ีสาม ไดแก การทําประโยชนใหแกกัน คือประพฤติปฏิบัติตนใหเกิดประโยชน
เกอ้ื กลู ทงั้ แกก นั และกัน และแกห มคู ณะโดยสว นรวม

ประการที่สี่ ไดแก การวางตนไดสมํ่าเสมอ อยางเหมาะสม คือ ไมทําตัวดีเดนเกินกวา
ผูอน่ื และไมดอ ยใหตํ่าทรามไปจากหมคู ณะ

หมูใดมีคุณธรรมเคร่ืองยึดเหนี่ยวกันไวดังกลาว หมูคณะน้ันยอมจะมีความเจริญม่ันคงข้ึน
ดว ยสามัคคีธรรม....”
(พระราชดํารัส พระราชทานแกส ามคั คสี มาคมในพระบรมราชปู ถมั ภใ นการเปดประชุม ประจําป
พ.ศ.2525ระหวางวนั ที่ 10 – 11 เมษายน 2525)
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั

“…. บา นเมอื งไทยของเราดํารงม่นั คงมาชา นาน เพราะคนไทยมีความพรอ มเพรียงกัน
เขมแขง็ ถงึ จะมีความเปลีย่ นแปลงเกิดขน้ึ บา งตามกาลตามสมัย กเ็ ปน ไปตามความปรารถนาของ
พวกเราเอาทจ่ี ะทําใหป ระเทศชาตเิ จริญกาวหนา การทาํ นบุ าํ รุงบานเมืองนนั้ เปนงานสวนรวมของ
คนทงั้ ชาติ จงึ เปน ธรรมดาอยเู องท่จี ะตองมคี วามขดั แยงเกดิ ขน้ึ บาง จะใหท ุกคนทกุ ฝายมคี วาม
คิดเหน็ สอดคลองกนั ตลอดทกุ ๆ เรอื่ งไปยอ มเปนการผดิ วสิ ยั เพราะฉะน้ันแตล ะฝายแตล ะคนจงึ ควร
คาํ นึงถึงจุดประสงคร ว มกนั คอื ความเจริญไพบลู ยข องชาตเิ ปน ขอใหญ ทุกฝา ยชอบทจี่ ะทาํ ใจให
เทีย่ งตรงเปน กลาง ทําความคดิ ความเหน็ ใหกระจางแจมใส ทําความเขา ใจอนั ดีในกันและกนั ให
เกดิ ข้นึ แลวนําความคดิ ความเหน็ ของกนั และกันน้นั มาพจิ ารณาเทียบเคยี งกนั โดยหลกั วิชาเหตุผล
ความชอบธรรม และความเมตตาสามัคคี ใหเห็นแจงจรงิ ทุกฝายจะสามารถปรับเปลี่ยนความคิด
และวธิ ีปฏบิ ัตใิ หสอดคลอ งเขา รปู เขา รอยกนั ไดทุกเรอ่ื ง.....”
(พระบรมราโชวาท พระราชทานแกประชาชนชาวไทยในโอกาสขึ้นปใหม พทุ ธศกั ราช 2535 เมอื่
วันที่ 31 ธนั วาคม 2534)

ชดุ ท่ี 2 พลเมอื งดีตามวถิ ปี ระชาธิปไตย
ความหมายของ พลเมอื งดี ในวิถปี ระชาธิปไตย

พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน ไดใ หความหมายของคาํ วา
พลเมือง หมายถึง ชาวเมอื ง ชาวประเทศ ประชาชน และ
วถิ ี หมายถงึ สาย แนว ทาง ถนน
ประชาธิปไตย เปนคําท่ีประกอบดวยประชา + อธิปไตย เม่ือ “อธิปไตย” แปลวา “เปนใหญ”
ประชาธิปไตยจึงหมายถึง การที่ประชาชนผูเปนใหญมีอํานาจการตัดสินใจในสังคมชุมชนที่ตนอาศัย
ผกู พนั อยู
“พลเมอื งดใี นวถิ ีประชาธิปไตย” จงึ หมายถึง พลเมืองที่มีคุณลกั ษณะท่ีดี คอื เปนผทู ่ยี ึดมนั่
ในหลักศลี ธรรมและคุณธรรม มหี ลกั ประชาธปิ ไตยในการดํารงชีวิต คอื มีสว นรว มในกิจการสาธารณะ
ของชมุ ชน มคี วามรบั ผิดชอบในชุมชน ปฏิบัตติ นตามกฎหมาย ดํารงตนเปนประโยชนตอสงั คม โดย

38 คมู ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ติ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 2

มกี ารชว ยเหลอื เกื้อกลู กนั อนั จะกอ ใหเ กิดการพฒั นาสงั คมและประเทศชาติ ใหเ ปน สงั คมและประเทศที่
มวี ิถีชวี ิตแบบประชาธปิ ไตยอยางแทจ รงิ
แนวทางการปฏบิ ตั ิตนเปน พลเมืองดตี ามวิถปี ระชาธปิ ไตย

1) ดา นสงั คม ไดแ ก
(1) การแสดงความคดิ อยางมีเหตุผล
(2) การรับฟง ขอ คิดเห็นของผูอน่ื และยอมรับเมือ่ ผูอ่ืนมีเหตุผลทด่ี ีกวา
(3) การตัดสนิ ใจโดยใชเหตผุ ลมากกวา อารมณ
(4) ความเอือ้ เฟอ เผือ่ แผ เสียสละพรอมชว ยเหลือผูอ ืน่
(5) การเคารพกฎหมายและกติกาตา ง ๆ
(6) การมีจิตสาธารณะ คือ การรักษาสาธารณสมบัติและการอาสาทํางานเพ่ือ

ประโยชนของสวนรวม
2) ดานเศรษฐกิจ ไดแก

(1) การประหยัดและอดออมในครอบครัว
(2) การซื่อสัตยสุจรติ ตอ อาชพี ทีท่ าํ
(3) การพฒั นางานอาชีพใหก า วหนา
(4) การใชเวลาวา งใหเ ปนประโยชนต อ ตนเองและสงั คม
(5) การสรางงานและสรางสรรคส่ิงประดิษฐใหม ๆ เพ่ือใหเกิดประโยชนตอ
สงั คมไทยและสังคมโลก
(6) การเปนผูผลติ ท่มี คี วามรบั ผิดชอบตอ สงั คมและผูบริโภคท่ีมคี วามพอเพยี ง
(7) อตุ สาหะหมน่ั เพียรทาํ งานดว ยความรับผิดชอบและอยา งเต็มกาํ ลงั ความสามารถ
และสตปิ ญญา
3) ดา นการเมือง ไดแก
(1) การเขามสี วนรว มรบั ผดิ ชอบชุมชนสงั คม
(2) การยอมรบั ในความแตกตา งหลากหลายที่มอี ยใู นชุมชนสังคม
(3) การมคี วามอดทนตอความขดั แยง ที่เกดิ ขน้ึ และมุงแสวงหาการแกไ ขความ
ขัดแยง โดยสันติวธิ ี
(4) ความรบั ผิดชอบและซอื่ สัตยต อหนา ที่โดยไมเ ห็นแกป ระโยชนส วนตน
(5) การกลา เสนอความคดิ เหน็ ตอสวนรวม กลา เสนอตนเองเขารว มกจิ กรรมการเมอื ง
จริยธรรมของการเปน พลเมืองดี
จรยิ ธรรม หมายถึง ธรรมทเ่ี ปนขอประพฤติปฏิบตั ิ จริยธรรม ที่สงเสริมความเปนพลเมือง
ดี เปน ไปตามหลักคารวธรรม สามัคคีธรรมและปญ ญาธรรม ดังตัวอยา งตอ ไปนี้
1) ความสามัคคี หมายถงึ การยึดม่ันในการอยูรวมกนั โดยเคารพกตกิ าที่ตกลงกนั
2) ความกลาทางจริยธรรม หมายถึง ความกลาหาญทจ่ี ะกระทาํ ในสงิ่ ทเี่ หน็ วา ถกู ตอง เปนธรรม

คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวติ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 39

3) ความรบั ผดิ ชอบ หมายถงึ การยอมรับผลของการกระทําทตี่ นเองเปน ผูก อขึน้ ไมวา ผล
ของการกระทาํ น้ันเปนผลทดี่ หี รือไมดกี ต็ าม

4) การเสยี สละ หมายถงึ การยอมเสยี ผลประโยชนส ว นตนเพื่อผูอ่นื หรือสงั คมโดยรวม
5) การตรงตอ เวลา หมายถึง การรักษาเวลาท่ตี กลงกนั ไว
การสงเสริมใหผ ูอ น่ื ปฏิบตั ติ นเปนพลเมอื งดี
เมื่อบุคคลปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตยแลว ควรสนับสนุนสงเสริมใหบุคคล
อ่ืนปฏิบตั ติ นเปนพลเมอื งดีในวิถปี ระชาธปิ ไตยดว ย โดยมแี นวทางการปฏิบัตดิ ังน้ี
1. ปฏิบตั ิตนใหเ ปนพลเมืองดใี นวิถปี ระชาธิปไตย โดยยดึ มนั่ และใชหลักคุณธรรม จริยธรรมของ
ศาสนาและหลักการของประชาธิปไตย ในวิถีการดํารงชีวิตประจําวันเพื่อนเปนแบบอยางท่ีดีแกคนรอบ
ขา ง
2. เผยแพร อบรม หรือส่ังสอนโนมนาวบุคคลในครอบครัว เพ่ือนบานคนในสังคมใหใช
หลกั ประชาธปิ ไตยเปน พืน้ ฐานในการดํารงชวี ิตประจาํ วัน
3. สนับสนุนชุมชนในเร่ืองที่เก่ียวกับการปฏิบัติตนใหถูกตองตามกฎหมาย โดยการบอก
กลาวหรือชวยประชาสมั พนั ธ โดยวธิ ตี า ง ๆ เชน เขียนบทความเผยแพรผานส่อื มวลชน เปน ตน
4. ชักชวนหรือสนับสนุนคนดีมีความสามารถในการมีสวนรวมกิจกรรมทางการเมืองหรือ
กิจกรรมสาธารณประโยชนข องชุมชน
5. เปน หเู ปนตาใหรฐั หรอื หนวยงานของรัฐในการสนบั สนุนคนดี และปอ งกนั ดแู ลมิใหค นไมด ี
ทาํ ผิดกฎหมายบา นเมือง
การสนับสนุนใหผูอ่ืนปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย ควรเปนจิตสํานึกท่ีบุคคล
พึงปฏิบตั เิ พ่อื ใหเ กิดความเปนประชาธิปไตยอยา งแทจรงิ

เร่ืองทีเ่ ปน ประโยชน

ราชสหี กับหมาปา
หมาปาตัวหนง่ึ ออกลา ลูกแกะมาได และกําลังพยายามทีจ่ ะนําซากลกู แกะผูน า สงสารนน้ั
กลับไปทรี่ ัง แตโชครา ยทมี่ ันไปพบกบั ราชสีหอ ดโซเขา ตวั หน่ึง ราชสีหต รงเขา มาแยง ลกู แกะนน้ั
ทันที ซึ่งสรางความขนุ เคอื งใหก ับหมาปามากมนั ตะโกนบอกราชสหี วา “ทานไมนกึ ละอายใจบา งหรอื
อยางไรทีท่ ําตวั เปน เหมอื นโจรรา ย เขา แยง อาหารของขา แบบน”ี้ ราชสหี ไดฟงดังนัน้ ก็หัวเราะรา แลว
ตอบกลบั ไปวา “ตัวขานะ รึ ท่เี จา ประณามวาเปน ไอโ จรราย ฮะ...ฮะ...แลวส่ิงทีเ่ จา กระทํามาน้นั เลา
เรียกวา ความสุจริตหรอกรึ ขาไมเ ชื่อหรอกวา คนเลยี้ งแกะจะคดิ วา เจาเปนผบู รสิ ุทธ์ิ ท้ัง ๆ ทเี่ จา
ขโมยเอาลกู แกะของเขามาเชนนี!้ ”

เรอ่ื งน้ีสอนใหรวู า คนทท่ี ุจรติ ยากจะหาความยุตธิ รรมจากผอู นื่ ได

40 คูมือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2

นกกา
รูกันท่ัวไปวา นกกาเปนนกที่ขี้ขโมย โดยเฉพาะอาหารแลว นกกาขโมยไดเกงนัก กาจึง
เปนนกท่ีหนาดานท่ีสุด นอกจากนี้แลวกายังเปนนกที่ข้ีริษยาตารอน เห็นนกตัวอ่ืนสวยกวาตน กา
เกิดความไมพอใจโดยเฉพาะนกยูงดว ยแลว กาไมชอบหนา เอาเลย
วันหนึ่ง กาลงสํารวจตรวจดูขนของตัวเองแลว รูสึกไมพอใจในความดําสนิทมิดหมีมองไม
เห็นความสวยงามสวนไหน ๆเลย จึงไปเที่ยวหาขนนกยูงมาแซมขนของตน เสร็จแลวก็เที่ยว
โฆษณาวาตัวเองเปนนกท่ีสวยงามกวานกใด ๆ ในโลก จนเปนที่เกลียดชังของนกทั่วไป เพราะนก
ทั้งหลายเห็นแลวก็รูวามิใชขนของกาจริง ๆ เปนขนของนกยูง จึงตางพากันมารุมจิกขนท่ีแซมออก
หมด แตเพราะความหม่ันไสมากจึงชวยกันจิกขนดําของกาออกดวย กาจึงเหลือแตตัวลอนจอนนา
อับอาย ขายหนาจริง ๆ
เรื่องนีส้ อนใหรูวา จงพอใจในสง่ิ ท่ีตนมอี ยู ไมฉ กฉวยของผูอ ่ืน

คมู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ติ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 41

แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญ(เครอ่ื งหมายลกู เสือชน้ั พิเศษ) ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 2

หนวยที่ 2 หนาทพี่ ลเมอื ง เวลา 1 ชวั่ โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 6 ส่ิงดี ๆ ของฉัน

1. จุดประสงคการเรียนรู

วเิ คราะหต นเอง สามารถนําคณุ สมบัตทิ ด่ี แี ละความสามารถพเิ ศษของตนไปใชใ หเ กิด
ประโยชนกบั ตนเองและหมคู ณะ
2. เน้ือหา

การรูจ ักตนเองเพอื่ การพัฒนาใหเ กิดประโยชนตอ ตนเองและสว นรวม
3. สือ่ การเรียนรู

3.1 เกม
3.2 กระดาษวาดภาพสญั ลกั ษณข องลูกเสอื เครอ่ื งหมายประกอบเครอื่ งแบบตาํ แหนง ลกู เสือ
3.3 เร่ืองท่เี ปน ประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 พธิ เี ปดประชุมกอง (ชักธง สวดมนต สงบนิง่ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคการเรยี นรู

1) ผูกํากับลูกเสือนําสนทนาเรื่องหนาท่ีความรับผิดชอบในกองลูกเสือ การประดับ
เคร่ืองหมายประกอบเคร่ืองแบบของนายหมู รองนายหมู พลาธกิ ารและการเลอื กหนาท่ีของสมาชิกใน
หมูล กู เสือแตละหมู

2) ผูกํากับลูกเสือแจกกระดาษวาดภาพใหลูกเสือแตละคนและใหลูกเสือภายในหมู
วเิ คราะหศ กั ยภาพตนเองและทําแผนปลิววาดภาพสัญลักษณบอกความถนัดและความสามารถพิเศษ
ของตนที่เหมาะสม

3) ลูกเสือประชาสัมพันธแนะนําตนเอง ตอสมาชิกคนอ่ืน ขอเขารับการคัดเลือกเพื่อ
ปฏิบัติหนาท่ีภายในหมู

4) เพ่ือนในหมูลูกเสือรวมกันแสดงความคิดเห็น และสรุปเลือกผูท่ีเหมาะสมในการ
ปฏิบตั หิ นาท่ีตาํ แหนง ตางๆในหมลู ูกเสือโดยทําเปน แผนภมู ิคณะกรรมการผนู าํ หมลู กู เสือตดิ บอรดไว

5) ผูกํากับลูกเสือและลูกเสือในกองรวมกันประกาศคุณสมบัติและความสามารถในการ
ปฏบิ ตั หิ นา ท่ีของลูกเสือแตล ะหมู เพอื่ ใหลกู เสอื เกดิ ความภาคภูมใิ จในหนาทีท่ จี่ ะปฏิบัตใิ นหมูแ ละกอง
ลกู เสือ

6) ลูกเสือสรุปและนําเอาความสามารถพิเศษไปใชใหเกิดประโยชนแกตนเองและหมู
คณะ

4.4 ผกู าํ กบั ลูกเสอื เลา เร่อื งท่เี ปนประโยชน
4.5 พิธปี ด ประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธง เลกิ )

42 คูม ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวิต ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 2

ผกู าํ กบั ลกู เสอื นดั หมายลูกเสอื แตง เครอ่ื งแบบใหถูกตอ งตามบทบาทหนา ทีข่ องตนเองในหมู
ลูกเสอื เพื่อเปน แบบอยา งสาํ หรับลูกเสือรนุ นอ ง

5. การประเมินผล
5.1 ลกู เสอื รคู ุณสมบัตทิ ด่ี แี ละความสามารถพเิ ศษของเพอื่ น ๆ ไดรอยละ 90 ของกลมุ เพือ่ น
5.2 ลูกเสือภมู ิใจและรูจักจุดเดนของตนในมุมมองของเพอ่ื น

6. องคป ระกอบทักษะชวี ติ สําคัญทเี่ กดิ จากกจิ กรรม
คือ ความคดิ วเิ คราะห ความคดิ สรา งสรรค ตระหนกั รใู นตนเอง

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 6
เกม

เพ่ือนฉัน ..... คนเกง
วิธเี ลน
1. ลกู เสอื น่งั รอบวง ผูกํากบั ลกู เสือและลูกเสือรอ งเพลงพรอ มปรบมือใหจ ังหวะ
2. ผูกาํ กบั ลูกเสือนาํ ฉลาดท่ีเขียนไวในกระดาษมามว นเปนกอ นกลมหรอื ใสใ นกลอ งกไ็ ดส ง
ใหลกู เสอื ในวง
3. ลูกเสือเม่ือรบั กลองฉลากมาแลว ใหส ง ตอ ไปใหเ พ่ือนลกู เสอื คนตอ ไป
4. ผูกํากับลูกเสือหยุดรองเพลงกลองฉลากอยูท่ีลูกเสือคนใด ลูกเสือคนน้ันจะตองบอก
ความสามารถของเพ่ือนคนใดคนหน่ึงในหมูหรือในกองวามีความสามารถอะไรบางที่ผูอื่นขอความ
ชว ยเหลอื ได เชน ตอกตะปูเกง รอ งเพลง เลานทิ าน เลนกีตาร ตีฉง่ิ รูรักตนไม รอยลูกปด สเกตภาพ
พดู เลียนเสยี งฯลฯ

เร่ืองเลา ท่ีเปนประโยชน

คนขีเ้ หนียวกับทองคํา
ชายคนหน่ึงเปนคนข้ีเหนียว เขามักจะเอาสมบัติฝงดิน ไวรอบๆ บานไมยอมนํามาใชจายให
เกิดประโยชนตอมาเขากลัววาจะไมปลอดภัยถาฝงเงินทอง ไวหลายเเหงเขาจึงขายสมบัติท้ังหมดเเล
วซ้ือทองคําเเทงหนึ่ง มาฝงไวที่หลังบานเเลวหม่ันไปดูทุกวันคนใชผูหนึ่งสงสัยจึงเเอบตามไปดูท่ีหลัง
บาน เเลวก็ขุดเอาทองเเทงไปเสียชายขี้เหนียวมาพบหลุมที่วางเปลาในวันตอมาก็เสียใจ รองหม
ร อ ง ไ ห ไ ป บ อ ก เ พื่ อ น บ า น ค น ห นึ่ ง เ พ่ื อ น บ า น จึ ง เ เ น ะ นํ า แ บ บ ป ร ะ ช ด ป ร ะ ชั น ว า
"ทา นกเ็ อากอ นอฐิ ใสใ นหลมุ เเลวคิดวาเปน ทองคําสิ เพราะถงึ อยา งไรทา นก็ไมเ อาออกมาใชอยเู เลว ”

คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชีวิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 43

เรือ่ งนี้สอนใหรูวา ของมีคา ถาไมนํามาทําใหเ กดิ ประโยชนกย็ อ มเปนของไรค า
แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญ (เครอ่ื งหมายลูกเสือชั้นพิเศษ) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2

หนวยท่ี 2 หนา ทพี่ ลเมอื ง เวลา 1 ช่วั โมง
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 7 คคู รองในฝน

1.จุดประสงคการเรียนรู

เหน็ คณุ คา ของความเปนสภุ าพบุรษุ และสุภาพสตรี
2. เน้ือหา

คุณสมบตั ิสาํ คัญทคี่ วรพจิ ารณาในการเลอื กคูครอง
3.สอื่ การเรียนรู

3.1 กระดาษแผนเล็ก กระดาษปรูฟ ปากกาหัวสกั หลาด ปากกา
3.2 เรือ่ งทเี่ ปน ประโยชน
4.กจิ กรรม

4.1 กจิ กรรมคร้งั ท่ี 1

1) พิธเี ปด ประชมุ กอง (ชักธง สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก ารเรียนรู

(1) ผูกาํ กับลกู เสือชวนสนทนาเก่ียวกบั ละครโทรทศั นห ลงั ขา วภาคค่ํา ถงึ พฤตกิ รรม
ตา งๆของตวั ละครและรว มกนั วิจารณพ ฤติกรรมของตวั ละครทต่ี นเองพบเห็น

(2) หมูลูกเสือนง่ั ลอมวง แตล ะคนเขยี นคณุ สมบตั ิของตนเองทแี่ สดงความเปน
สภุ าพบุรษุ หรอื สภุ าพสตรที เี่ พศตรงขามจะตดั สนิ ใจเลอื กมาเปนคคู รองในอนาคตคนละ 3 ขอ
ลงกระดาษแผน เลก็ แผนละ 1 คณุ สมบตั ิ

(3) เขยี นคณุ สมบตั ขิ องเพศตรงขา มทตี่ นเองจะตดั สินใจเลือกเปน คูค รองใน
อนาคตคนละ 3ขอลงกระดาษแผน เล็กแผน ละ 1 คณุ สมบัติ

(4) นาํ ไปจดั แยกประเภทคณุ สมบัติสุภาพบุรษุ และสุภาพสตรี โดยไมใ ชเ สียง
(5) นายหมเู ลอื กมาเพศละ 4 คุณสมบตั ทิ มี่ ผี ูเขยี นมากที่สดุ และรองลงมา
ตามลาํ ดบั
(6) รว มกนั วเิ คราะหค วามหมาย และพฤตกิ รรมท่แี สดงออกถึงแตล ะคุณสมบตั ทิ ี่
สําคญั ของสภุ าพบุรุษและสภุ าพสตรที ่เี พศตรงขา มตอ งการเปนคคู รอง
(7) สรุปผลกิจกรรมรายงานในกองลูกเสือคาบตอ ไป
4) ผูก าํ กับลกู เสือเลา เรอื่ งทเ่ี ปนประโยชน
5) พิธีปด ประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธง เลิก)

4.2 กจิ กรรมครง้ั ท่ี 2
1) พธิ ีเปดประชุมกอง (ชักธง สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก)

44 คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวติ ชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2

2) เพลง หรอื เกม
3) กิจกรรมตามจุดประสงคการเรียนรู

(1) ตัวแทนหมูล ูกเสอื รายงานผูกาํ กบั ลูกเสอื นาํ อภปิ ราย รวบรวม และสรปุ คณุ สมบตั ิ
ของท้งั สองเพศเขยี นลงกระดาษปรูฟ

(2) ผูกํากับลกู เสอื นาํ อภปิ รายใหเลือกคณุ สมบัติท่ีสาํ คัญท่ีสดุ เหลอื เพศละ 3 ขอ ให
กองลูกเสอื โหวตวา จะตดั คณุ สมบตั ิขอ ใดออกไป

(3) ถามขอ คดิ ท่ไี ดจากกิจกรรมและการนาํ ไปปฏบิ ตั ใิ นชีวติ ประจําวนั (ในคุณสมบัติ
ท่ดี ีท้งั หมด เมอื่ พิจารณาอยา งถอ งแท จะพบวา มีคณุ สมบัติที่สาํ คัญมากนอ ยตางกนั )

4) ผูกํากับลูกเสือเลาเร่อื งทเ่ี ปนประโยชน
5) พธิ ปี ด ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธง เลกิ )

5. การประเมินผล
สังเกต การมสี ว นรวมในการทํากิจกรรม การแสดงออก และการใหความคดิ เห็นในหมู และ

กองลูกเสอื

6. องคประกอบทกั ษะชวี ติ สาํ คัญทเ่ี กดิ จากกิจกรรม
คอื ความคิดวเิ คราะห ความคิดสรา งสรรค ตระหนกั ถึงคณุ คา ของการเปนสภุ าพบรุ ษุ

และสภุ าพสตรี

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมที่ 7

เพลง

พวกเดียวกนั

มาเถิดเรามามารวมรอ งเพลงกัน พวกเราท้ังนัน้ ลุกข้ึนพลันทนั ที

แลว เราก็หนั หนา มาหากัน (ซํ้า) สง ยิ้มใหก ันแลว ปรบมอื 5 ที( 1 2 3 4 5 )

เสร็จพลันกห็ นั กลบั มา สนกุ หนกั หนา แลวสายเอว 5 ที ( 1 2 3 4 5 )

คมู ือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 45


Click to View FlipBook Version