The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เฉลยแบบทดสอบและกิจกรรม/ใบงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายประชุม ปุ่มแก้ว, 2020-07-30 05:41:50

ตอนที่3 ส่วนที่ 2

เฉลยแบบทดสอบและกิจกรรม/ใบงาน

324 คูม อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพ่ิมเตมิ หนาทพี่ ลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓

กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๒๗

เร่อื ง การตรวจสอบการทำหนŒาทขี่ องบุคคล
ผลการเรยี นรูŒ ๗. มีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบขอมูล ตรวจสอบ

การทำหนาทข่ี องบคุ คลเพ่อื ใชประกอบการตัดสนิ ใจ
๑๐. ปฏิบตั ิตนเปนผูม ีวินัยในตนเอง
คำช้แี จง ตรวจสอบการทำหนา ท่ีของบคุ คลตอไปนี้ แลว ตอบคำถาม แนวคาํ ตอบ

นายสิทธิ ตงั้ ใจดี
ตำแหนง‹ ผŒูใหญ‹บาŒ น
บคุ ลกิ นายสทิ ธิ ตงั้ ใจดี เปน คนดี มคี วามรู จบการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาการพฒั นา
สังคม มนี ิสัยเห็นแกประโยชนส ว นรวม พรอมเสียสละความสขุ สวนตนเพอื่ ประโยชนของ
สว นรวม ซอื่ สัตยส จุ ริต เห็นความสำคัญของลกู บา นทุกคน ชว ยเหลือแกปญ หาแกลูกบา น
ดว ยความจรงิ ใจ และเปนผูนำชาวบา นในการทำกจิ กรรมตา ง ๆ ไดอ ยา งพรอมเพรยี งกนั
นายสมคั ร รักเพอ่ื นพอŒ ง
ตำแหน‹ง กำนนั
บุคลิก นายสมัคร รกั เพอ่ื นพอง เปนคนใจนักเลง รักพวกพอ ง คอยดูแลใหค วามชว ยเหลอื
เพื่อนและญาตพิ ี่นองทกุ คนอยา งเต็มกำลังและความสามารถ เมือ่ มปี ญหาตา ง ๆ กจ็ ะแก
ปญ หานน้ั ในทางท่ีเปนประโยชนต อ เพือ่ น ๆ และญาติของตน เม่ือชมุ ชนของตนมีการจัด
กิจกรรมใด ๆ กจ็ ะใหตัวแทนของตนไปรว มกจิ กรรมทุกคร้งั

บคุ คลใดท่ีนกั เรยี นคดิ วาควรดำรงตำแหนง เปนตัวแทนของประชาชนตอไป เพราะอะไร
แนวคําตอบ

นายสทิ ธิ ตง้ั ใจดี เพราะเปนคนไมเห็นแกป ระโยชนส วนตน ไมมีอคติ รบั ผิดชอบตอการ
ปฏบิ ตั ิหนา ท่ี มีความจรงิ ใจ มีความซอ่ื สัตย และมคี วามเปน ผนู าํ สวนนายสมคั ร รักเพ่ือนพอ ง
น้ันไมควรดํารงตําแหนงเปนตัวแทนของประชาชนตอไปเพราะเห็นแกประโยชนของพวกพอง
มากกวา สว นรวม ไมมีความจริงใจตอ ลูกบาน ขาดความซื่อสัตยตอ หนา ท่ี และไมมภี าวะผนู าํ

ช่อื นามสกลุ เลขที่ ช้ัน
โรงเรยี น

คูม ือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพมิ่ เติม หนา ท่ีพลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓ 325

กิจกรรม/ใบงานท่ี ๒๘

เรอ่ื ง ความมวี ินยั ในตนเองในการเปน พลเมอื งดใี นระบอบประชาธิปไตย
ผลการเรยี นรŒู ๖. ปฏิบตั ติ นเปนพลเมืองดีตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย

๗. มีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบขอมูล ตรวจสอบ
การทำหนา ที่ของบุคคลเพือ่ ใชประกอบการตัดสินใจ

๑๐. ปฏิบตั ิตนเปนผูมวี ินัยในตนเอง
คำชีแ้ จง นำตวั อักษรหนา ขอความเติมลงใน ใตขอความที่สมั พันธกัน แนวคาํ ตอบ

ก ความซือ่ สัตยสจุ รติ เม่ือพุกทำแจกันของแมแตก พุกจะ
ข ความขยนั หมนั่ เพียรและอดทน เก็บกวาดเศษแจกันจนหมด แลวเดินไป
ค การใฝห าความรู บอกแมวา ตนเปนคนทำแจกันแตกเอง
ง การตัง้ ใจปฏบิ ัติหนาที่
จ การยอมรับผลท่ีเกดิ จากการกระทำของตนเอง จ

กงุ ซอื้ ขนมแลว แมค า ทอนเงนิ เกนิ มาให สนต้ังใจทำการบานดวยความอดทน
กุงจงึ นำเงินทีเ่ กินมาคืนแกแมคา ไมท อ ถอย แมก ารบา นนน้ั จะยากมากกต็ าม

กข

เมื่อปอดสงสัยอะไร จะเขาไปศึกษา เม่ืออยูในครอบครัวอวนจะปฏิบัติตน
คนควาเพื่อหาคำตอบในหอ งสมุดอยูเสมอ เปนเดก็ ดี กตญั รู คู ุณตอ พอแม

คง

ชอ่ื นามสกุล เลขท่ี ช้นั
โรงเรยี น

326 คูม ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพ่มิ เติม หนาที่พลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓

กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๒๙

เรือ่ ง ทบทวนความรูŒ

ผลการเรยี นรูŒ ๖. ปฏบิ ตั ติ นเปน พลเมอื งดีตามวถิ ีประชาธิปไตย
๗. มีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบขอมูล ตรวจสอบ
การทำหนา ท่ขี องบุคคลเพอ่ื ใชป ระกอบการตัดสินใจ
๑๐. ปฏิบตั ติ นเปน ผมู วี ินยั ในตนเอง

คำช้แี จง ตอบคำถาม

๑. พลเมืองดตี ามวิถปี ระชาธปิ ไตยจะตอ งใชส ิทธิและหนาท่ีอยางไร
แนวคําตอบ
จะตองใชสิทธิควบคูไปกับการปฏิบัติหนาท่ี โดยตองคํานึงวาหากทุกคนมุงแตจะใชสิทธิ
แตไมปฏิบัติตามหนาท่ี สิทธินั้น ๆ ยอมไมเกิดข้ึน เชน สิทธิในการไดรับการศึกษา โดยหากเรา
ถือวามีสิทธิในการไดรับการศึกษา แตกลับไมปฏิบัติหนาที่ของตนในการเขารับการศึกษา เราก็จะ
ไมไ ดรับสิทธินี้

๒. ปจ จุบันนักเรียนมีสวนรวมในการเลือกตง้ั สมาชิกสภาผแู ทนราษฎรไดอยา งไรบาง
แนวคําตอบ
แมว า ในปจ จบุ นั เรายงั ไมม สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ แตเ ราสามารถมสี ว นรว มในการเลอื กตง้ั ไดห ลากหลาย
วธิ ี เชน รวมรณรงคใ หค นไปใชสิทธเิ ลือกตงั้ สอดสองดูแลพฤตกิ รรมของพรรคการเมอื ง ผูสมัคร
รบั เลอื กตงั้ และหวั คะแนนทไี่ มป ฏบิ ตั ติ ามกฎหมายเลอื กตงั้ ตรวจสอบประวตั ขิ องผสู มคั รรบั เลอื กตง้ั
เผยแพรค วามรเู กย่ี วกบั การเลอื กตง้ั แกค นอนื่ รว มใหข อ เสนอแนะหรอื ความคดิ เหน็ แกพ รรคการเมอื ง
สังเกตการณการกระทําผิดกฎหมายเลือกต้ัง ติดตามการนับคะแนนเสียงเลือกต้ัง ติดตามผลการ
เลือกตั้ง ติดตามขอมูลการใชสิทธิเลือกตั้ง ติดตามขอมูลการจัดต้ังคณะผูปกครอง ตรวจสอบการ
ทาํ หนา ท่ขี องผแู ทนที่ไดร ับการเลือกตั้ง

๓. ตัวแทนของประชาชนท่ีดจี ะตอ งมพี ฤตกิ รรมอยางไร
แนวคําตอบ

ไมเห็นแกประโยชนสวนตน มีความซื่อตรง ไมมีอคติ สํานึกรับผิดชอบตอการปฏิบัติหนาท่ี

มีความเปดเผยและจรงิ ใจ มีความซ่ือสัตย และมีความเปน ผนู ํา

ช่อื นามสกลุ เลขที่ ชั้น
โรงเรียน

คูมอื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพิ่มเติม หนาที่พลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓ 327

แบบทดสอบหลงั เรียน
หนวยการเรยี นรทู ่ี ๔

คำชี้แจง เลือกคำตอบท่ถี ูกตŒองทส่ี ดุ เพียงคำตอบเดียว

๑. ใครใชŒสทิ ธิไมถกู ตอ ง ๔. เราควรร‹วมกิจกรรมการเลือกต้งั ตาม
ก เอน่ังชุมนุมประทวงรัฐบาลในที่ดิน ขŒอใด
ของตนเอง ก ชว ยผสู มัครทเ่ี ราช่นื ชอบหาเสยี ง
ข บแี สดงความคดิ เหน็ ทางการเมอื งในที่ เลอื กตง้ั
สาธารณะ ข ไมไปใชส ทิ ธิเลอื กตั้งหากไมมีผสู มัคร
ค ซีมักจะทําตัวตามสบาย ไมคอยมี ท่ีเปนคนดี
ระเบยี บขณะอยูใ นบาน ค เลือกผสู มคั รท่ีใหเ งินและสิ่งของแก
ง ดีกดดันใหนายจางขึ้นคาแรงโดยการ ชาวบา นมากท่สี ุด
นําพวกมาชุมนุมปดประตูทางเขา ง ทําลายปายหาเสียงของผูสมัครรับ
บริษทั เลอื กตั้งท่เี ปนคนไมด ี

๒. พลเมืองดีดามวิถีประชาธิปไตยจะตŒอง ๕. ก‹อนการเลือกต้ัง เราควรมีส‹วนร‹วมกับ
ปฏบิ ัตติ นอยา‹ งไร กจิ กรรมใดมากท่สี ุด
ก สันโดษ แยกตัวออกจากสังคม ก ไปงานจดั เลยี้ งของผสู มคั รรบั เลอื กตงั้
ข คาํ นึงถงึ ประโยชนของพวกพอ ง ข สังเกตการณการนับคะแนนเสียง
ค ปฏิบัตติ ามกฎหมายอยา งเครง ครดั เลือกตั้ง
ง ยึดถือความคิดเห็นของตนเองเปน ค เปนหัวคะแนนซ้ือเสียงใหแกผูสมัคร
สําคญั รบั เลอื กต้ัง
ง ตรวจสอบรายชื่อของตนจากบัญชี
๓. ขอŒ ใดเปน การใชเŒ สรภี าพอยา‹ งรบั ผดิ ชอบ รายชอ่ื ผูมีสิทธิเลือกตัง้
ก แอบฟง เพ่อื นสนิทสนทนากนั
ข วพิ ากษว ิจารณผอู ่นื โดยไมมีหลกั ฐาน ๖. ใครมสี ‹วนร‹วมกบั กิจกรรมของหŒองเรียน
ค ชมุ นมุ ปด การจราจรเพอ่ื ประทว งรฐั บาล ก ปุมชว ยครูถือของ
ง ใชโ ทรศพั ทส าธารณะอยา งทะนถุ นอม ข เอต ง้ั ใจทําการบา น
และถกู วิธี ค แกว ไมรับประทานขนมในหองเรียน
ง นุชทําความสะอาดหองเรยี นตามเวร
ท่ีรบั ผดิ ชอบ

328 คูมือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมือง ๕–๖ ม. ๓

๗. เราไมค วรเลอื กใครเปน ประธานนกั เรยี น ๙. ขอŒ ใดเปน การตรวจสอบการทาํ หนาŒ ทขี่ อง
ก คนดี บคุ คล
ข คนมีคณุ ธรรม ก ประชาชนชุมนุมเรียกรองใหรัฐบาล
ค คนเหน็ แกพ วกพอง ปรบั ข้นึ คาแรงข้ันตํ่า

ง คนมคี วามรบั ผิดชอบ ข ประชาชนเขา ชอ่ื กนั ถอดถอนรฐั มนตรี
๘. เม่ือโรงเรียนของเราจัดกิจกรรมพัฒนา ทีท่ ุจริตออกจากตาํ แหนง

ชุมชน เราควรทาํ อย‹างไร ค ประชาชนพรอ มใจกนั ไปใชส ทิ ธเิ ลอื กตง้ั
ก รวมกจิ กรรมดว ย สมาชิกสภาผูแทนราษฎร

ข อา นหนงั สือในหอ งสมดุ ง ประชาชนมาประชุมหมูบานเร่ืองการ
ค ชวนเพือ่ นไปเลน กีฬาที่ชอบ จัดสรางสาธารณปู โภคในชุมชน

ง หยุดเรยี น เพราะไมม ีการเรียน
การสอน

๑๐. เราควรตรวจสอบราคาไข‹ไกป‹ ระจาํ วนั จากท่ีใด
ก ตําราเรียน
ข หนังสือพิมพ
ค หนงั สอื จดหมายเหตุ
ง สารานุกรมไทยสาํ หรบั เยาวชน

หน�วยการเรย� นรŒูที่ ๕

ความปรองดอง สมานฉนั ท

• แบบทดสอบกอ นเรียน
• กิจกรรม/ใบงานท่ี ๓๐ เร่ือง วิถชี วี ิต
• กจิ กรรม/ใบงานที่ ๓๑ เรือ่ ง วัฒนธรรม
• กิจกรรม/ใบงานท่ี ๓๒ เรอ่ื ง ศาสนา
• กิจกรรม/ใบงานที่ ๓๓ เรอื่ ง สงิ่ แวดลอ มในภูมิภาคตาง ๆ ของโลก
• กิจกรรม/ใบงานที่ ๓๔ เรอ่ื ง สังคมพหุวัฒนธรรม
• กิจกรรม/ใบงานท่ี ๓๕ เรื่อง วินัยในการอยูรวมกันในสงั คมพหุวฒั นธรรม
• กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๓๖ เรื่อง ความขดั แยง
• กิจกรรม/ใบงานที่ ๓๗ เรื่อง การปองกนั ปญหาความขดั แยง
• กจิ กรรม/ใบงานที่ ๓๘ เรอ่ื ง วนิ ยั เพอ่ื ความปรองดอง สมานฉนั ท
• กจิ กรรม/ใบงานที่ ๓๙ เร่ือง ทบทวนความรู
• แบบทดสอบหลงั เรียน

330 คมู ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพ่มิ เติม หนา ท่พี ลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓

แบบทดสอบกอ นเรยี น
หนว ยการเรียนรทู ี่ ๕

คำชแ้ี จง เลือกคำตอบที่ถูกตŒองท่สี ุดเพยี งคำตอบเดียว

๑. “บาŒ นในเขตแหงŒ แลงŒ มกั สรŒางดŒวย ๕. ขŒอใดเปนการอยู‹ร‹วมกันในสังคมพหุ-
ดินเหนียวสว‹ นในเขตรŒอนนิยมสราŒ งดวŒ ย วฒั นธรรมดวŒ ยการแบง‹ ปน˜ และชว‹ ยเหลอื
ไม”Œ คาํ กลา‹ วนแ้ี สดงถงึ ความหลากหลาย ซึง่ กันและกนั
ทางสงั คมวัฒนธรรมในเรือ่ งใด ก การพาชาวตา งชาตทิ ถ่ี กู ทาํ รา ยไปแจง ความ
ก วถิ ชี วี ติ ค สงิ่ แวดลอม ข การรบั ฟง ความคิดเห็นของคน
ข วฒั นธรรม ง การนบั ถอื ศาสนา ตา งเช้อื ชาตกิ บั เรา
๒. “การรับประทานเคกŒ หรอื ไอศกรมี กลาย ค การศึกษาวฒั นธรรมของคนในสงั คม
เปนส่งิ ที่ไดŒรับความนิยมมากขนึ้ ท่ีเราอาศัยอยู
ในทกุ พื้นที่ของโลก” คํากล‹าวน้ีแสดงถึง ง การแสดงวาจาตอชาวตางชาติ
ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรม ดวยความสภุ าพออนโยน
ในเรอ่ื งใด
ก วถิ ีชวี ติ ค สงิ่ แวดลอม ๖. ขอŒ ใดเปนการปฏบิ ตั ติ นท่ถี ูกตอŒ งตาม
ข วัฒนธรรม ง การนบั ถอื ศาสนา หลกั ความมีวินยั ในตนเองเพื่อการ
๓. “ยโุ รปตะวนั ออกนยิ มนบั ถอื นกิ าย อย‹รู ว‹ มกันในสังคมพหุวฒั นธรรมและ
ออรทอดอกซ สว‹ นนกิ ายโรมนั คาทอลกิ การพึ่งพาซงึ่ กนั และกนั
นับถอื กนั มากในยุโรปกลาง” คํากลา‹ วนี้ ก ยอมรบั ผดิ เมอ่ื ใชว าจาไมส ภุ าพตอ ผอู นื่
แสดงถงึ ความหลากหลายทางสังคม ข ยกยองเพื่อนวาเปนผูท่ีมีวัฒนธรรม
วัฒนธรรมในเรอื่ งใด ดีงามตอ หนา คนอน่ื ๆ
ก วิถีชีวติ ค สงิ่ แวดลอ ม ค ใหค วามเคารพเฉพาะผทู ม่ี รี ปู แบบทาง
ข วฒั นธรรม ง การนบั ถอื ศาสนา วฒั นธรรมเหมอื นกบั เรา
๔. “ทวีปแอฟริกามีพื้นท่ีป†าไมŒอยู‹นŒอยที่สุด ง แสดงกิริยาไมเห็นดวยทันทีเมื่อมีผูที่
และมีความแหงŒ แลงŒ มากท่สี ุดเมือ่ เปรยี บ ไมเ หน็ ดวยกบั ความคิดเห็นของเรา
เทยี บกบั ทวีปอ่นื ๆ” คาํ กล‹าวนีแ้ สดงถึง
ความหลากหลายทางสังคมวฒั นธรรม ๗. ความขดั แยŒงคืออะไร
ในเร่อื งใด ก การทแี่ ตล ะฝา ยมที รพั ยากรแตกตา งกนั
ก วถิ ชี ีวติ ค สงิ่ แวดลอม ข การทแ่ี ตล ะฝา ยมจี ดุ มงุ หมายทไ่ี ปดว ย
ข วัฒนธรรม ง การนบั ถอื ศาสนา กันไมไ ด
ค การท่ีท้ังสองฝายใชกําลังเขาประหัต
ประหารกนั
ง การที่ทั้งสองฝายไมตองการใหเกิด
ความปรองดอง

คูม อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพ่มิ เตมิ หนาที่พลเมือง ๕–๖ ม. ๓ 331

๘. ความขดั แยงŒ ระหวา‹ งประเทศเกาหลเี หนอื ๙. ขŒอใดไมใช ป˜ญหาความขัดแยŒงท่ีเกิดขึ้น
และเกาหลีใตŒถือเปนความขัดแยŒงทาง ไดจŒ ากเร่อื งชูŒสาว
ดŒานทัศนคติ ความคิด และความเชื่อ ก การหยาราง
ในเรอ่ื งใด ข การเกิดเดก็ กําพรา
ก ศาสนา ค การศกึ ษาไมท วั่ ถงึ
ข สิ่งแวดลอ ม ง การตง้ั ครรภก อ นวัยอนั ควร
ค ระบบเศรษฐกิจ
ง ลัทธิทางการเมอื ง

๑๐. ขอŒ ใดไมใช วธิ กี ารป‡องกันป˜ญหาความขัดแยŒง
ก การตอ รอง
ข การไกลเกลย่ี
ค การทาํ สงคราม
ง การประนีประนอม

332 คูมอื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพ่มิ เตมิ หนาท่พี ลเมือง ๕–๖ ม. ๓

กจิ กรรม/ใบงานที่ ๓๐

เรอ่ื ง วิถีชีวิต
ผลการเรียนรูŒ ๘. เห็นคณุ คาของการอยรู ว มกันในภมู ิภาคตา ง ๆ ของโลกอยา งสนั ติ และ

พึ่งพาซ่ึงกนั และกนั
๑๐. ปฏบิ ัติตนเปนผมู ีวินยั ในตนเอง
คำชีแ้ จง ลกั ษณะของวถิ ชี วี ติ จากภาพทก่ี ำหนดใหค วรเปน ลกั ษณะของวถิ ชี วี ติ ของคนในภมู ภิ าค
ใดของโลก เขยี นคำตอบลงในชองวางดานลางภาพ แนวคาํ ตอบ

ทกุ ภูมิภาคของโลก เอเชยี ตะวันตกเฉยี งใต

เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต สแกนดเิ นเวีย/อะแลสกา

คูมอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพ่มิ เตมิ หนาทพ่ี ลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓ 333

ทกุ ภูมิภาคของโลก ปาปว นิวกนิ ี

เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต แอฟริกา

ยุโรปตะวันตก/อเมรกิ าเหนอื ทุกภูมิภาคของโลก
เลขท่ี ชั้น
ชือ่ นามสกุล
โรงเรียน

334 คูมือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพมิ่ เติม หนาที่พลเมือง ๕–๖ ม. ๓

กิจกรรม/ใบงานท่ี ๓๑

เร่ือง วัฒนธรรม
ผลการเรยี นรูŒ ๘. เห็นคณุ คาของการอยรู ว มกันในภูมิภาคตาง ๆ ของโลกอยางสนั ติ และ

พง่ึ พาซง่ึ กนั และกนั
๑๐. ปฏบิ ัตติ นเปน ผูมวี นิ ยั ในตนเอง
คำช้ีแจง สบื คน ภาพและขอ มลู เกย่ี วกบั วฒั นธรรมทน่ี กั เรยี นสนใจ ๑ เรอ่ื ง นำมาเขยี นเรยี งความ
ลงในชอ งวา งทก่ี ำหนดให

คูม ือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพิม่ เติม หนาท่พี ลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓ 335

ช่ือ นามสกุล เลขท่ี ชัน้
โรงเรยี น

336 คมู ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพมิ่ เติม หนาทพ่ี ลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓

กิจกรรม/ใบงานที่ ๓๒

เรือ่ ง ศาสนา
ผลการเรยี นรูŒ ๘. เห็นคุณคาของการอยูรว มกนั ในภมู ิภาคตา ง ๆ ของโลกอยางสันติ และ

พึง่ พาซงึ่ กนั และกนั
๑๐. ปฏบิ ัตติ นเปน ผมู วี นิ ยั ในตนเอง
คำชแี้ จง เขียนขอมูลเก่ียวกับการนับถือศาสนาในภูมิภาคตาง ๆ ของโลกลงในแผนผังท่ี
กำหนดให แนวคําตอบ

ศาสนา พระพทุ ธศาสนา นับถือกนั มากในเอเชียใต เอเชยี
ตะวนั ออก และเอเชยี ตะวนั ออก-
เฉยี งใต ผสมผสานเขากบั ลัทธิ

ความเช่อื ของตนเอง

คริสตศ าสนา แ บงออกเปน ๓ ินกาย โรมนั คาทอลกิ ยุโรปกลางและตอนใต
โปรเตสแตนต ของลาตินอเมริกา
ศาสนาอิสลาม ออรทอดอกซ
แบง ออกเปน ๒ นกิ าย แองโกลอเมรกิ า ยุโรป
เหนือ ยโุ รปตะวันตก

ออสเตรเลีย

ซนุ นี ชอี ะฮ ยุโรปตะวนั ออก
เลขท่ี ชั้น
เอเชยี ตะวนั ตกเฉียงใต อหิ รา น
มาเลเซีย อนิ โดนีเซีย
บรไู นดารุสซาลาม

ชอ่ื นามสกลุ
โรงเรียน

คูมอื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพ่มิ เติม หนา ทพ่ี ลเมือง ๕–๖ ม. ๓ 337

กิจกรรม/ใบงานที่ ๓๓

เรือ่ ง ส่ิงแวดลอŒ มในภมู ภิ าคต‹าง ๆ ของโลก
ผลการเรียนรูŒ ๘. เหน็ คุณคาของการอยรู วมกันในภูมภิ าคตาง ๆ ของโลกอยางสันติ และ

พ่ึงพาซ่ึงกันและกัน
๑๐. ปฏบิ ัตติ นเปน ผูมีวนิ ยั ในตนเอง
คำชีแ้ จง แบงกลุมออกเปน ๖ กลุม แตละกลุมแสดงขอมูลเกี่ยวกับส่ิงแวดลอมในภูมิภาค
ที่กลุมไดรับมอบหมาย แลวศึกษาขอมูลภูมิภาคอื่น ๆ เปรียบเทียบกับภูมิภาค
ของกลมุ ตนเอง สรุป และเขียนลงในชอ งวางทก่ี ำหนดให แนวคาํ ตอบ

ทมวีปปี า สอนเมอรยกิ มู าาเกหนมือสี ัตวปา ทมวีปีปา สยนโุ รอปยูมาก มสี ตั วป าอยูนอย
อยนู อ ย มแี รห ลายชนดิ มแี รหลายชนดิ คลา ยกบั ทวีป
อเมริกาเหนือ

ทวีปอเมรกิ าใตŒ ทมวคี ปี วเาอมเหชลยี ากหลายมาก มที ง้ั ปาดบิ
มีผืนปาดบิ ทใ่ี หญท ่สี ุดในโลก ทุงหญา กวางใหญในเขตแหงแลง
มีแรอยมู าก โดยเฉพาะนา้ํ มัน มแี รหลายชนิด

ทมวีปีปา อแยอูนฟอ รยิกมาาก แตมสี ัตวปา ทมวผี ปี นื อปอา ไสมเตม ารกเลนยี กั เพราะมพี นื้ ทแี่ หง แลง
อยูหลากหลายชนิด และมแี ร มาก มีจงิ โจเปนสตั วป ระจําถิน่ ท่สี าํ คญั
เปน จํานวนมาก เชน เพชร พลอย

ชอ่ื นามสกลุ เลขที่ ชนั้
โรงเรียน

338 คูมือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพิ่มเตมิ หนาที่พลเมือง ๕–๖ ม. ๓

กิจกรรม/ใบงานท่ี ๓๔

เรื่อง สังคมพหวุ ัฒนธรรม
ผลการเรียนรูŒ ๘. เหน็ คณุ คา ของการอยูรวมกันในภมู ภิ าคตาง ๆ ของโลกอยา งสันติ และ

พงึ่ พาซงึ่ กันและกนั
๑๐. ปฏบิ ตั ิตนเปนผมู ีวนิ ยั ในตนเอง
คำชแ้ี จง ตดิ ภาพหรือเน้ือหาขา วเกยี่ วกบั คน กลุมคนทมี่ ีเชือ้ ชาติ การนบั ถอื ศาสนา วฒั นธรรม
ทแี่ ตกตา งกนั แลว วเิ คราะหว า ถา เราอยใู นเหตกุ ารณด งั กลา ว เราจะปฏบิ ตั ติ นอยา งไร
เขยี น ลงในชองวางทีก่ ำหนดให

ข‹าว

คูมอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนาทพ่ี ลเมือง ๕–๖ ม. ๓ 339
ถาŒ ฉันอย‹ใู นเหตกุ ารณน ้ี ฉันจะ...

ชอ่ื นามสกลุ เลขท่ี ชั้น
โรงเรยี น

340 คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพมิ่ เติม หนาท่ีพลเมือง ๕–๖ ม. ๓

กจิ กรรม/ใบงานที่ ๓๕

เรือ่ ง วนิ ยั ในการอย‹ูร‹วมกนั ในสงั คมพหุวฒั นธรรม

ผลการเรยี นรูŒ ๘. เห็นคุณคา ของการอยรู วมกนั ในภมู ิภาคตา ง ๆ ของโลกอยางสันติ และ
พ่งึ พาซึ่งกนั และกัน

๑๐. ปฏิบตั ิตนเปน ผมู ีวินัยในตนเอง
คำชแ้ี จง บอกวินัยที่เราควรปฏิบัติเมื่อตองอยูรวมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมลงในชองวางที่

กาํ หนดให แนวคาํ ตอบ

วินัย ตองมีความซ่ือสัตยตอตนเองและตอผูอื่นในการปฏิบัติตนอยาง
สมาํ่ เสมอ ไมเ ลอื กปฏบิ ตั ติ อ ใครคนใดคนหนง่ึ หรอื กลมุ คนใดกลมุ
ทตี่ อŒ งปฏิบัติ คนหนึง่

มคี วามอดทนอดกลน้ั ไมแ สดงความโกรธเคอื งเมอ่ื ถกู ดหู มน่ิ
วาราย และอดทนท่ีจะไมดูหม่ิน ดูถูกผูอ่ืน และไมทําราย
ผูอ่ืนดว ยกําลัง ไมใชอารมณในการตัดสินใจ

หมน่ั คน ควา หาความรเู กยี่ วกบั วฒั นธรรมของกลมุ คนตา ง ๆ
ในสังคมอยูเสมอ

รูจักการยอมรับผลที่เกิดจากการกระทําของตนเอง คือ
ยอมรบั และรบั ผดิ ชอบในสงิ่ ทต่ี นเองเปน ผกู ระทาํ นอ มรบั ผดิ
เมื่อการกระทําของเราสงผลกระทบตอ ผูอน่ื และหาแนวทาง
แกไขและปรับปรุง

ชอ่ื นามสกุล เลขที่ ช้นั
โรงเรียน

คมู ือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพมิ่ เติม หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓ 341

กจิ กรรม/ใบงานที่ ๓๖

เรอ่ื ง ความขัดแยŒง
ผลการเรยี นรŒู ๙. มสี ว นรว มและเสนอแนวทางการปองกันปญหาความขัดแยง

๑๐. ปฏบิ ัติตนเปนผมู วี ินัยในตนเอง
คำช้แี จง ทำกจิ กรรมตอไปน้ี
๑. บอกความหมายและประเภทของความขดั แยง

ความขดั แยง หมายถึง การท่ีแตละฝายมีจุดมุงหมายที่ขัดกันหรือไปดวยกันไมได เปนสิ่งท่ีเกิด
ข้ึนมาจากความตองการที่ตรงกันขามในขณะหนึ่ง อาจเกี่ยวของกับความไมสามารถตัดสินใจกระทํา
อยางใดอยา งหนงึ่ หรืออยากทําทั้งสองอยา งในเวลาเดยี วกนั

ความขัดแยง แบงออกเปน ๒ ประเภท ไดแ ก ความขดั แยง ภายใน ซง่ึ เปน ความขัดแยง
ระหวางบุคคลกับคานิยมของสังคมที่บุคคลน้ันอาศัยอยู และความขัดแยงทางสังคม ซ่ึงเปนความ
ขัดแยง ระหวางบคุ คลหรอื ระหวา งกลุม

๒. เขียนแผนที่ความคิดสรุปความรูเกี่ยวกับความขัดแยงเร่ืองทัศนคติ ความคิด และความเช่ือ
ลงในกรอบท่ีกำหนดให

แนวคาํ ตอบ ทัศนคติ คือ แนวความคดิ ตอ เรอื่ งใดเรอ่ื งหน่งึ

ความหมาย ความคดิ คือ ส่งิ ท่ีนึกรขู ้นึ ในใจ
ความเชอ่ื คอื ความไวว างใจ ความมัน่ ใจ

ทศั นคติ ความคดิ และความเช่อื

มหี ลายดา น เชน ปจจยั ทท่ี าํ ใหแ ตกตา งกนั เชน
ความรู ระดับการศึกษา
ศาสนา สถานภาพทางสงั คม
การเมอื ง สถานภาพทางเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ

342 คูม อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หนา ทพ่ี ลเมือง ๕–๖ ม. ๓
๓. คน หาขาวที่เกย่ี วกบั ความขดั แยง เร่ืองชสู าว ๑ ขาว จากหนังสอื พมิ พ นำภาพขาวและเนื้อหาขาว

มาตดิ ลงในชอ งวางทกี่ ำหนดให แลวเขียนบอกสาเหตุทีท่ ำใหเกิดความขดั แยง ดงั กลา วข้นึ

สาเหตุทีท่ ำใหเŒ กิดความขดั แยงŒ

ชอื่ นามสกลุ เลขที่ ชนั้
โรงเรียน

คูมอื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพิม่ เตมิ หนา ที่พลเมือง ๕–๖ ม. ๓ 343

กจิ กรรม/ใบงานที่ ๓๗

เรื่อง การปอ‡ งกันปญ˜ หาความขัดแยŒง
ผลการเรียนรŒู ๙. มสี วนรว มและเสนอแนวทางการปอ งกันปญหาความขดั แยง

๑๐. ปฏิบตั ิตนเปน ผูมวี ินัยในตนเอง
คำชี้แจง บอกวิธีปองกันปญหาความขดั แยง จากกรณีตวั อยางทีก่ ำหนดให

กรณีที่ ๑: ทารกแรกเกิด หนา ตานารัก ถูกทิ้งในปา ยาง

พบทารกแรกเกิด หนาตานารัก ถูกทิ้งอยูในสวนยางบานควน อ.ตะก่ัวทุง ตํารวจ
คาดเปนลูกของวัยรุนในพื้นที่ท่ีไมพรอมจะมีลูก เม่ือคลอดเสร็จก็ใหคนอ่ืนนํามาท้ิง
ในสภาพทย่ี งั ไมไดท ําความสะอาดเด็กทารก และสะดอื ถกู ตัดดวยของมคี ม

เมอื่ เวลา ๑๖.๐๐ น. วนั ที่ ๑๕ ต.ค. ๕๗ ทต่ี กึ กมุ ารเวชกรรม รพ.พงั งา นางดารารตั น
สเุ ทศ หวั หนา บา นพักเด็กและครอบครวั จงั หวดั พงั งา พรอมดว ย นพ.สพุ จน ภเู กา ลวน
ผอ.รพ.พังงา พญ.ทิพยรัตน ตันสกุลประเสริฐ รอง ผอ.รพ. รวมกันตรวจสอบทารก
แรกเกดิ ทถี่ กู ทง้ิ ไวใ นสวนยางพาราเมอ่ื คาํ่ วานน้ี (๑๔ ต.ค. ๕๗) พบวา เปน เพศชาย มคี วาม
สมบูรณดี หนาตานา รัก ผิวพรรณดี น้าํ หนกั ตัว ๓,๒๐๐ กรัม มีรอ งรอยแมลงกัดตอย
เล็กนอ ย แพทยไ ดช วยเหลือเรียบรอยแลว

ที่มา: www.thairath.co.th/content/457019

วธิ กี ารปอ‡ งกันไมใ‹ หŒเกดิ ความขดั แยŒงในกรณที ่ี ๑
แนวคําตอบ

เจาหนาท่ตี าํ รวจ แพทย พยาบาลจากโรงพยาบาลตาง ๆ และเจา หนาทีท่ ่เี ก่ียวของตองรวมกนั
จัดต้ังเครือขายปองกันปญหาการต้ังครรภกอนวัยอันควร ซึ่งยังไมพรอมจะมีลูก โดยรวมกันให
ความรกู บั กลมุ วยั รนุ หรอื เยาวชนทเ่ี สย่ี งตอ การมเี พศสมั พนั ธโ ดยไมไ ดม กี ารปอ งกนั ดว ยการใหค วามรู
เรื่องความรัก การมีเพศสัมพันธ การปองกันการมีเพศสัมพันธและการตั้งครรภกอนวัยอันควร
รวมถึงการดูแล ปกปอง และเฝาระวังไมใหเกิดการท้ิงเด็กทารก ใหความชวยเหลือแกแมของเด็ก
ที่ยงั อยูในวัยเยาวชน และยังไมพรอ มทีจ่ ะมลี กู ในการเล้ยี งดูลูกที่คลอดออกมาแลว

344 คมู อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพ่ิมเตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓
กรณที ่ี ๒: มือปน พระกาฬยิงหนมุ ดับคาบานพกั กลางกรงุ พุงปมชูสาว

เม่ือชวงสาย วันท่ี ๑๑ ม.ค. ตํารวจ สน.ดุสิต พรอมแพทยและเจาหนาที่พิสูจน
หลักฐานเขาชันสูตรศพนายกรธรรม อินทร อายุ ๔๓ ป ทํางานเปนเจาหนาท่ีสังกัด
หนวยงานแหง หนง่ึ ถกู ยงิ ดวยอาวธุ ปนไมท ราบขนาด เสียชวี ติ อยใู นหอ งนอนชัน้ ๒ ของ
บา นเชา เลขที่ ๔/๑๐ ซอยสุโขทยั ๗ แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสติ กรงุ เทพฯ

จากการสอบสวน น.ส.จริยาภรณ ขวัญยืนคง อายุ ๓๔ ป ผูเชาบานที่เกิดเหตุ
ใหการวาคบหาอยูกับผูตาย ซึ่งจะแวะมาพักคางคืนดวยเปนครั้งคราว โดยเชาวันนี้ขณะ
ตัวเอง ผูตาย รวมท้ังลูกติดจากสามีเกา กําลังพักผอนกันอยูในหองนอน มีชายคนหนึ่ง
มาเคาะประตูหอง เม่ือผูตายลุกขึ้นไปเปดประตู ชายดังกลาวก็ใชปนยิงใส ๓ นัดแลว
หลบหนีไป

ขณะทีพ่ ยานแวดลอ มใหก ารวา ชว งหลงั น.ส.จริยาภรณมีความสนิทสนมกับตาํ รวจ
ไมทราบสังกัดนายหนึ่ง ซ่ึงมีรูปพรรณคลายกับชายคนกอเหตุ ตํารวจจึงเรงสอบสวนเพ่ือ
ระบุตวั ผกู อเหตตุ อ ไป

ท่มี า: www.thairath.co.th/content/474121

วธิ ีการปอ‡ งกันไม‹ใหŒเกิดความขดั แยงŒ ในกรณีท่ี ๒
แนวคําตอบ

เจา หนา ทท่ี เ่ี กย่ี วขอ งรว มกนั จดั ตง้ั เครอื ขา ยเพอ่ื ใหค วามรเู กย่ี วกบั ประชาชนทว่ั ไปในเรอ่ื ง ชสู าว
การรักเดียวใจเดียว เชิญวิทยากรหรือพระสงฆที่มีความรูความเขาใจมาใหความรู รวมถึงใหแงคิด
เกย่ี วกบั การประพฤตติ นอยใู นศลี ธรรมอนั ดี และคอยชว ยดแู ล ปอ งกนั รวมถงึ เจา หนา ทตี่ าํ รวจบงั คบั
ใชก ฎหมายอยางเขม งวดมากขึน้ เพ่ือไมใหเ กดิ เหตุการณด งั กรณีตวั อยา งนขี้ ้นึ ไดอีก

คูม อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพิ่มเติม หนา ที่พลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓ 345

กรณีท่ี ๓: ปะทขุ ัดแยงจนี –ญ่ปี นุ รอบใหม ชิงเกาะเตยี วหยู

จากกรณีความขัดแยงระหวางญี่ปุน–จีนระอุขึ้นอีกครั้ง เม่ือเรือรบจีนใชเรดารล็อก
เปาหมายเรือรบของญ่ีปุนในบริเวณทะเลจีนตะวันออก ใกลพ้ืนท่ีพิพาทแยงกรรมสิทธ์ิ
ระหวา งสองประเทศและรัฐบาลญ่ปี นุ ไดย ื่นหนงั สือประทว งแลว

นายอิตสโุ นริ โอโนเดระ รัฐมนตรกี ลาโหมของญีป่ ุน แถลงเมอ่ื วนั องั คาร พรอมกับ
เปด เผยภาพเรอื เจยี งไค เรือฟรเี กตช้ัน ๑ ของจนี ทใ่ี ชเรดารล็อกเปาเฮลิคอปเตอรข องกอง
กําลงั ปองกันตนเองทางทะเลของญปี่ นุ เม่อื วนั ที่ ๑๙ ม.ค. และภาพเรือเจียงเวย เรอื ฟรีเกต
ช้ัน ๒ ของจีนใชเรดารล็อกเปาเรือรบของกองกําลังปองกันตนเองทางทะเลของญ่ีปุนเม่ือ
๓๐ ม.ค.

เขาระบวุ า ทัง้ สองเหตกุ ารณเ กิดขึน้ ในทะเลจีนตะวันออก ใกลห มเู กาะเซนกากุ หรือ
ทจ่ี ีนเรยี กวา “เกาะเตยี วหยู” และเปนเร่อื งผิดปกตอิ ยางทส่ี ุดที่ใชร ะบบเรดารล ็อกเปา ยงิ ซึ่ง
อาจทําใหเกิดอันตรายไดหากมีความผิดพลาดเกิดขึ้น แมไมมีรายงานการยิงฝายใดก็ตาม
และขอเรยี กรองใหจ ีนยบั ย้งั พฤติกรรมย่ัวยเุ ชนน้ี และในวนั เดยี วกัน กระทรวงตา งประเทศ
ญ่ีปุนไดยื่นหนังสือประทวงอยางเปนทางการผานสถานทูตจีนในกรุงโตเกียวและสถานทูต
ญป่ี นุ ในกรุงปกกง่ิ นอกจากน้ีลาสดุ นายกรัฐมนตรีชนิ โสะ อาเบะ ของญี่ปนุ แถลงตอ รัฐสภา
ในวนั น้ี (๖ ก.พ. ๕๖) ระบุวา ในขณะท่กี ําลังมสี ญั ญาณท่ดี ีในการเจรจาระหวา งสองชาติ จึง
เปนเรื่องนา เสียใจอยางท่สี ุดทจ่ี นี ดําเนินการยัว่ ยเุ พยี งฝา ยเดียว

ทมี่ า: www.bangkokbiznews.com

วิธกี ารปอ‡ งกนั ไม‹ใหŒเกดิ ความขัดแยŒงในกรณที ี่ ๓
แนวคาํ ตอบ

จนี และญปี่ นุ ควรใชก ารเจรจาไกลเ กลย่ี เพมิ่ มากขนึ้ โดยอาจจะหาคนกลางมาชว ยเปน ผปู ระสานงาน
และไกลเกล่ียใหท้ังสองฝายสามารถตกลงแกปญหารวมกันได ไมควรใชวิธีการทางทหารในการ
บีบบงั คบั แตค วรใชการเจรจาเปนหลักในการแกปญ หาความขัดแยง รว มกัน

ช่ือ นามสกุล เลขท่ี ชัน้
โรงเรียน

346 คูมอื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หนา ท่พี ลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓

กจิ กรรม/ใบงานที่ ๓๘

เรื่อง วนิ ัยเพ่ือความปรองดอง สมานฉนั ท

ผลการเรยี นรŒู ๘. เห็นคุณคาของการอยรู ว มกันในภมู ภิ าคตา ง ๆ ของโลกอยางสันติ และ
พง่ึ พาซง่ึ กันและกนั

๙. มสี วนรว มและเสนอแนวทางการปอ งกันปญหาความขัดแยง
๑๐. ปฏิบัติตนเปนผมู ีวินยั ในตนเอง
คำชแ้ี จง บอกวนิ ยั ทเ่ี ราควรปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความปรองดอง สมานฉนั ท และควรปฏบิ ตั อิ ยา งไร แลว
ตรงกบั คานิยมหลกั ๑๒ ประการขอ ใด เรือ่ งอะไร ลงในตารางท่กี ําหนดให แนวคาํ ตอบ

วนิ ยั ทเ่ี ราควรปฏิบัตเิ พ่ือความปรองดอง สมานฉนั ท ตรงกับค‹านิยม ๑๒ ประการ

ตอ งมีความซ่ือสัตยตอ ตนเองและตอผอู ื่น ไมคดโกงผูอื่น ปฏบิ ตั ิ ขอ ๒ ซอ่ื สตั ย เสยี สละ อดทน มอี ดุ มการณ
ตนตอ ผูอ ืน่ อยา งเทาเทียมกัน ไมเ ลอื กปฏิบตั ิ ในสง่ิ ทดี่ งี ามเพ่ือสว นรวม
ขอ ๑๑ มีความเขมแขง็ ทง้ั รางกายและจติ ใจ
ไมยอมแพต อ อาํ นาจฝา ยตาํ่ หรือกเิ ลส

ตองมีความอดทนตอคําดูหมิ่น ดูถูกของผูอ่ืน ไมตอบโตกลับ ขอ ๒ ซอื่ สตั ย เสยี สละ อดทน มอี ดุ มการณ
ดว ยความรุนแรง และอดทนท่ีจะไมด ูถกู ดูหมิ่นผอู นื่ ไมทํารายผูอื่น ในสิ่งที่ดีงามเพอ่ื สว นรวม
ไมใ ชอ ารมณในการตัดสิน

ตองรูจักใฝหาความรูอยูเสมอ โดยเฉพาะการศึกษาเก่ียวกับสังคม ขอ ๔ ใฝห าความรู หมนั่ ศกึ ษาเลา เรยี นในทาง
วฒั นธรรมที่แตกตางจากเรา ตรงและทางออ ม

ตอ งตงั้ ใจปฏบิ ตั หิ นา ทเี่ มอ่ื ไดร บั มอบหมาย ปฏบิ ตั ดิ ว ยใจทเ่ี ปน กลาง ขอ ๘ มรี ะเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู อ ย
ไมเ ขา ขา งฝายใดฝายหน่งึ และปฏิบตั อิ ยางถกู ตอง มปี ระสิทธภิ าพ รูจกั เคารพผใู หญ

ตองรูจักยอมรับผลที่เกิดจากการกระทําของตนเอง ยอมรับและ ขอ ๖ มีศลี ธรรม รักษาความสัตย หวังดตี อ
รับผิดชอบเม่ือการกระทําของตนเองสรางความเสียหาย หรือกอให ผูอน่ื เผือ่ แผและแบงปน
เกิดผลกระทบตอ ผูอน่ื

ช่อื นามสกุล เลขท่ี ชัน้
โรงเรียน

คมู อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพ่มิ เตมิ หนา ท่ีพลเมือง ๕–๖ ม. ๓ 347

กิจกรรม/ใบงานที่ ๓๙

เร่ือง ทบทวนความรูŒ

ผลการเรียนรŒู ๘. เหน็ คณุ คาของการอยูรว มกันในภมู ภิ าคตา ง ๆ ของโลกอยา งสันติ และ
พ่งึ พาซึ่งกันและกัน

๙. มสี วนรวมและเสนอแนวทางการปอ งกันปญหาความขัดแยง
๑๐. ปฏิบตั ิตนเปนผมู ีวินยั ในตนเอง
คำช้ีแจง ทํากจิ กรรมตอ ไปนี้
๑. คน หาภาพเก่ยี วกบั วิถชี ีวิต วฒั นธรรม ศาสนา และส่งิ แวดลอมในชมุ ชนท่ีเราอยอู าศัย นำภาพ
มาติดลงในกรอบแลวอธิบายลักษณะและความแตกตางของสังคมวัฒนธรรมเหลาน้ันลงใน
ชอ งวางทีก่ ำหนดให
๑) วถิ ชี วี ิต

๒) วัฒนธรรม

348 คูมอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เติม หนา ทีพ่ ลเมือง ๕–๖ ม. ๓
๓) ศาสนา

๔) สง่ิ แวดลอ ม

๒. บอกวธิ กี ารอยรู ว มกนั ในสงั คมพหวุ ฒั นธรรมและการพง่ึ พาซงึ่ กนั และกนั ตามหวั ขอ ทก่ี ำหนดให
๑) การเคารพซ่งึ กนั และกนั ทําไดโดยการศึกษา ทําความเขาใจรูปแบบทางสังคมวัฒนธรรมที่
แตกตางจากเรา ปรับตัวใหเขากับวัฒนธรรมที่แตกตาง และเปนผูฟงที่ดี รับรูรับฟงอยางต้ังใจ
และใสใจ
๒) ไมแ สดงกิริยาและวาจาดูหมนิ่ ผูอื่น ทําไดโ ดยการแสดงกิริยาและวาจาทีส่ ุภาพ ออนโยน
ใหเกยี รตกิ นั และกันอยเู สมอ ศกึ ษา ทาํ ความเขา ใจวัฒนธรรมท่ีแตกตา งกนั ไมพูดในส่ิงทไ่ี มรู
ไมดูหม่ิน ลอเลยี น ไมปฏบิ ัตติ นในขอ หา มของคนตางชาตพิ นั ธุ
๓) แบงปน และชวยเหลอื ซึง่ กันและกนั ทําไดโดยการมอบหรือบริจาคสิ่งของที่เรามีเหลือใช
หรือใชแลวใหผ ทู ี่ขาดแคลน หรอื มีความตอ งการ ใหความชว ยเหลือแกผ ทู ่ปี ระสบภัยตา ง ๆ และ
กระทาํ โดยไมห วงั ผลตอบแทนใด ๆ

คูม ือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพิม่ เติม หนา ที่พลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓ 349
๓. หาขาวความขัดแยงเกี่ยวกับทัศนคติ ความคิด และความเชื่อ หรือเรื่องชูสาว นำขาวมาติด

ลงในกรอบ แลว บอกวธิ ีการปอ งกนั ปญ หาความขดั แยง เปนขอ ๆ ลงในชอ งวางทีก่ ำหนดให

350 คูมอื ครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพม่ิ เตมิ หนา ที่พลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓
วิธกี ารป‡องกนั ปญ˜ หาความขัดแยŒง

ชื่อ นามสกุล เลขที่ ช้นั
โรงเรียน

คูม อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนาท่พี ลเมอื ง ๕–๖ ม. ๓ 351

แบบทดสอบหลงั เรยี น
หนวยการเรียนรูที่ ๕

คำชีแ้ จง เลือกคำตอบทถ่ี ูกตอŒ งท่ีสุดเพยี งคำตอบเดยี ว

๑. “คนทอี่ ยูใ‹ นเขตรŒอนมีฝนตกชุกมกั ๓. วฒั นธรรมสากลมคี วามแตกตา‹ งจาก
ประสบกบั ภัยจากน้ําทว‹ มทุกป ขณะท่ี วฒั นธรรมของคนในภมู ภิ าคตา‹ ง ๆ
คนทอ่ี ย‹ใู นเขตหนาว จะประสบกบั อากาศ ของโลกอยา‹ งไร
หนาวเยน็ ตลอดทงั้ ป” ขอŒ ความนกี้ ลา‹ วถงึ ก มคี วามสวยงามมากกวาวฒั นธรรม
ความหลากหลายทางสงั คม วัฒนธรรม อนื่ ๆ
ในภมู ภิ าคต‹าง ๆ ของโลกในเรอ่ื งใด ข ใชในชีวติ ประจาํ วนั ไดงายกวา
ก ทอ่ี ยูอ าศยั วัฒนธรรมอื่น ๆ
ข สิง่ แวดลอม ค นํามาประยกุ ตใหเ ขา กบั วฒั นธรรม
ค การแตง กาย อน่ื ๆ ไดท ุกรูปแบบ
ง การประกอบอาชพี ง มคี วามทนั สมยั ตอโลกในปจจุบนั
มากกวาวฒั นธรรมอ่ืน ๆ

๒. ขอŒ ใดกลา‹ วถงึ ความหลากหลายทางสงั คม ๔. “ยโุ รปกลางและยโุ รปตะวันออกมพี ้ืนท่ี
วัฒนธรรมในเร่ืองวิถชี ีวิตจากขŒอความ ติดต‹อกัน แต‹มีการนบั ถือศาสนาที่
ในขŒอ ๑ ไดŒถูกตอŒ ง แตกต‹างกัน” ขŒอใดกล‹าวถงึ ขอŒ ความนี้
ก คนในเขตรอ นและเขตหนาวจะประกอบ ไดถŒ กู ตŒอง
อาชพี เหมอื นกนั ก ยุโรปตะวันออกไมมีคนนับถือคริสต-
ข คนในเขตหนาวเทานั้นที่จะมีวิถีชีวิต ศาสนา
ตามแบบวฒั นธรรมสากล ข ยุโรปตะวันออกมีคนสวนใหญนับถือ
ค คนในเขตรอ นนยิ มแตง กายดว ยเสอ้ื ผา ศาสนาอสิ ลาม
บางเบา สวนคนในเขตหนาวตองใส ค ยุโรปกลางมีคนท่ีนับถือพระพุทธ-
เสื้อสทู ศาสนามากทส่ี ดุ ในยโุ รป
ง คนในเขตรอนนิยมสรางบานจากอิฐ ง ยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกนับถือ
และปนู สว นคนในเขตหนาวตอ งสรา ง ครสิ ตศ าสนาตา งนิกายกนั
บานดวยไม

352 คูม ือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพมิ่ เติม หนา ที่พลเมือง ๕–๖ ม. ๓

๕. ขŒอใดไมใช วิธีการปฏิบัติตนเพ่ือการอยู‹ ๘. ขŒอใดเปนป˜ญหาความขัดแยŒงในภูมิภาค
ร‹วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมและการ ต‹าง ๆ ของโลกท่ีเกิดข้ึนจากทัศนคติ
พ่ึงพาซ่งึ กันและกัน ความคดิ และความเชือ่ ทแี่ ตกตา‹ งกัน
ก การเปน ผฟู ง ท่ีดี ทางดาŒ นการเมือง
ข การวิเคราะหวิจารณข าว ก ความขัดแยงระหวางเกาหลีเหนือและ
ค การศึกษาทําความเขาใจถึงวัฒนธรรม เกาหลีใต
ตาง ๆ ข ความขดั แยงในพน้ื ทสี่ ามจงั หวัด
ง การบริจาคส่ิงของใหแกผูประสบภัย ชายแดนภาคใตข องไทย
ธรรมชาติ ค การแยงชงิ หมูเกาะในมหาสมทุ ร
แปซิฟกระหวางจีนกบั ญ่ปี ุน
๖. เมอื่ พบคนตา‹ งเช้อื ชาตจิ ากเรากําลงั ง การทําสงครามตอตานการกอการราย
ตอŒ งการความชว‹ ยเหลอื เราควรปฏบิ ตั ติ น ในเอเชียตะวนั ตกเฉียงใตของ
อยา‹ งไร สหรฐั อเมริกา
ก พูดจากับคนตางเช้ือชาติอยางสุภาพ
และเดนิ จากไป ๙. ขŒอใดเปนพฤติกรรมท่ีทําใหŒเกิดป˜ญหา
ข ศกึ ษาวฒั นธรรมของคนเชอื้ ชาตนิ นั้ ๆ ความขัดแยŒงเร่อื งชสŒู าวไดŒ
กอนใหความชว ยเหลอื ก พกถงุ ยางอนามัยตดิ ตัวอยูเสมอ
ค ไมตองทําอะไร ปลอยใหคนเช้ือชาติ ข ทดลองเรียนรูเร่อื งเพศสัมพนั ธ
เดียวกันเปน ผูช ว ยเหลือกันเอง ดว ยตนเอง
ง สอบถามความตองการแลวพาไปพบ ค ไมย งุ เกยี่ วหรอื เดนิ เท่ียวใน
หนว ยงานท่ีใหค วามชวยเหลอื ได สถานเรงิ รมยตาง ๆ
ง ขอคําปรกึ ษาเรอื่ งเพศสมั พนั ธจาก
๗. ทศั นคติ ความคิด และความเชือ่ ครแู ละผปู กครองอยเู สมอ
ที่แตกต‹างกนั มลี ักษณะเปน อยา‹ งไร
ก เปนปญหาทางการเมืองและศาสนา ๑๐. ถาŒ เกดิ ความขดั แยŒงเรือ่ งชูสŒ าวข้นึ
ข มคี วามคดิ เหน็ ทางการเมอื งทแ่ี ตกตา ง เราสามารถปอ‡ งกนั ปญ˜ หาดŒวยวิธกี ารใด
กันเทานน้ั ดีทส่ี ดุ
ค ความคิดและความเช่ือท่ีแตกตางกัน ก การบงั คับ
มผี ลจากปจ จัยทางเศรษฐกิจ ข การหลบหนี
ง ทศั นคตทิ แี่ ตกตา งกนั สง ผลใหค วามคดิ ค การเจรจาตอ รอง
และความเชอื่ แตกตา งกนั ดวย ง การสรางเครือขา ย


Click to View FlipBook Version