The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายประชุม ปุ่มแก้ว, 2020-07-15 02:03:45

ตอนที่2หน่วย1

ตอนที่2หน่วย1

ตอนที่ ๒

แผนการจดั การเรยี นรู้
รายวชิ าเพม่ิ เติม หน้าท่ีพลเมือง ๓--๔ ม. ๒
กล่มุ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

28 ¤ÁÙ‹ Í× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพมิ่ เติม หนา ท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒

แผนการจัดการเร�ยนรทŒู ี่ ๑

ปฐมนเ� ทศและขอŒ ตกลงในการเรย� นรายว�ชาเพิ�มเตมิ หนŒาที่พลเมือง ๓-๔ ม. ๒

กลุ‹มสาระการเรยี นรสูŒ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒
รายวิชาเพมิ่ เติม หนาŒ ที่พลเมอื ง ๓–๔ เวลา ๑ ช่วั โมง

๑. จดุ เนนŒ

จุดเนŒนที่ ๑ ความเปน ไทย
๑.๑ ลกั ษณะที่ดีของคนไทย (มารยาทไทย กตัญูกตเวที เอื้อเฟอ เผื่อแผ เสียสละ)
๑.๒ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และประเพณีไทย (การแตงกาย ภาษา ภูมิปญญา

ประเพณี)
จดุ เนŒนที่ ๒ รักชาติ ยดึ มัน่ ในศาสนา และเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั รยิ 
• การเหน็ คณุ คา และการแสดงออกถงึ ความรกั ชาติ ยดึ มนั่ ในศาสนา และเทดิ ทนู สถาบนั พระ

มหากษัตริย
จดุ เนŒนท่ี ๓ ความเปน พลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท รงเปนประมขุ
๓.๑ การดำเนินชีวติ ตามวิถปี ระชาธิปไตย
๓.๒ การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย

ทรงเปนประมุข
จดุ เนŒนที่ ๔ ความปรองดอง สมานฉันท
๔.๑ การอยูรวมกนั ในสังคมแหงความหลากหลาย
๔.๒ การจัดการความขัดแยง และสันติวิธี
จดุ เนŒนที่ ๕ ความมวี นิ ัยในตนเอง
• ความซ่อื สัตยสจุ รติ ความขยนั หมัน่ เพียร ความอดทน การใฝหาความรู การตงั้ ใจปฏบิ ัติ

หนาที่ และการยอมรบั ผลทเ่ี กิดจากการกระทำของตนเอง

๒. ผลการเรย� นรŒู

• รแู ละเขาใจเก่ยี วกับการจดั การเรยี นรูร ายวิชาเพ่ิมเตมิ หนาทีพ่ ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒

๓. สาระสําคัญ/ความคดิ รวบยอด

การจดั การเรยี นรรู ายวชิ าเพิ่มเตมิ หนาที่พลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ เปนไปตามนโยบายของสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ท่ไี ดใ หส ถานศึกษาจัดการเรยี นรอู ีกรายวิชาหนง่ึ นอกเหนือ
จากรายวชิ าพื้นฐาน โดยไดกำหนดจดุ เนน และขอบขา ยของรายวชิ าเพิม่ เติม หนาที่พลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒
เปน ๕ จุดเนน และยังไดกำหนดผลการเรียนรูช้ันปและสาระการเรียนรูท่ีสอดคลองกับผลการเรียนรู
รวมท้ังยังไดจัดทำคำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม เพ่ือใหสถานศึกษานำไปกำหนดเปนหลักสูตรสถานศึกษา
ของตนใหเปน ไปในทศิ ทางเดียวกัน

¤Á‹Ù Í× ¤ÃÙ แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ 29

๔. สาระการเรย� นรูŒ

๑. เปาหมายการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพ่ิมเติม หนา ทีพ่ ลเมอื ง
๒. การกำหนดรายวิชาเพ่มิ เติม หนาทีพ่ ลเมือง
๓. การจดั รายวิชาเพม่ิ เติม หนา ที่พลเมือง ภาคเรยี นที่ ๒ ปการศกึ ษา ๒๕๕๗
๔. คมู ือครู แผนการจัดการเรยี นรู วชิ าเพ่ิมเตมิ หนาท่ีพลเมอื ง
๕. เทคนิคและวธิ ีการจัดการเรียนรูร ายวชิ าเพ่ิมเติม หนาทพ่ี ลเมอื ง
๖. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรยี นรรู ายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนาทพี่ ลเมือง
๗. คำอธิบายรายวชิ าเพ่มิ เตมิ หนา ท่ีพลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒
๘. โครงสรางรายวิชาเพิ่มเติม หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒
๙. โครงสรางเวลาเรียนรายชว่ั โมง รายวชิ าเพ่มิ เติม หนา ทพี่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒
๑๐. ตารางวเิ คราะหค วามสอดคลอ งของวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง กบั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

๘ ประการ และคา นยิ มหลกั ๑๒ ประการ

๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผูŒเรย� น

๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกปญ หา
๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ติ
๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

๖. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค

๑. รักชาติ ศาสน กษัตริย
๒. ซือ่ สัตยสจุ รติ
๓. มีวินยั
๔. ใฝเ รียนรู
๕. อยอู ยางพอเพยี ง
๖. มงุ มัน่ ในการทำงาน
๗. รกั ความเปนไทย
๘. มีจิตสาธารณะ

๗. ช�นิ งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การตอบคำถามเกี่ยวกบั การจัดการเรียนรูรายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนาทพี่ ลเมอื ง
– การอภิปรายแสดงความคดิ เห็นเก่ียวการจดั การเรียนรรู ายวชิ าเพ่มิ เตมิ หนาที่พลเมือง

30 ¤Á‹Ù Í× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพ่ิมเตมิ หนาท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒

๘. การวัดและประเมนิ ผลการเรย� นรŒู

ดŒานความรŒู (K) ดาŒ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดาŒ นทักษะ/กระบวนการ (P)
และค‹านิยม (A)

๑. ซกั ถามความรเู รอ่ื ง • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมนิ พฤติกรรมในการ
ปฐมนเิ ทศและขอตกลง ทำงานเปนรายบุคคลในดา น ทำงานเปน รายบุคคลและ
ในการเรยี นรายวิชาเพมิ่ เติม ความมีวินัย ความใฝเรยี นรู เปน กลุม ในดา นการส่อื สาร
หนาท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒ ฯลฯ การคดิ การแกป ญหา ฯลฯ
๒. ตรวจผลงาน/กิจกรรม
เปน รายบุคคลและเปน กลุม

๙. กิจกรรมการเร�ยนรูŒ

ขนั้ นำเขาŒ สบ‹ู ทเรียน
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดน่ังเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเปนกลุม นำนักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หองโสตทัศนศกึ ษา สนามหญาใตร มไม
๒. ครูแนะนำตนเอง แลวใหนักเรียนแนะนำตนเองตามลำดับตัวอักษร หรือตามลำดับหมายเลข
ประจำตัว หรือตามแถวทนี่ ัง่ ตามความเหมาะสม
๓. ครใู หความรทู ั่ว ๆ ไปเกี่ยวกับการจัดการเรยี นรูรายวิชาเพ่ิมเตมิ หนา ทีพ่ ลเมอื ง พรอมซักถาม
นกั เรยี นในประเดน็ ตาง ๆ เชน

๑) ทำไมเราจงึ ตองเรยี นรายวิชาเพิ่มเติม หนา ท่พี ลเมอื ง
๒) รายวิชาเพิ่มเตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื งมคี วามสำคญั และจำเปนตอ เราหรือไม เพราะอะไร
๓) หนาทพ่ี ลเมืองในรายวชิ าพ้นื ฐานกบั รายวิชาเพ่มิ เติมตางกนั อยางไร
๔. ครูสรุปความรแู ลวเชื่อมโยงไปสูเน้อื หาทีจ่ ะเรยี น
ขั้นจดั กจิ กรรมการเรยี นรูŒ
๕. ครศู กึ ษาขอ มลู เรอ่ื ง เปา หมายการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง (โดยใชข อ มลู
จากตอนท่ี ๑) สรุป แลวนำมาเลาใหน ักเรียนฟง
๖. ครูอธิบายเพ่ือทำความเขาใจกับนักเรียนถึงเรื่อง การกำหนดรายวิชาเพิ่มเติม หนาที่พลเมือง
และการจดั รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ภาคเรยี นท่ี ๒ ปก ารศกึ ษา ๒๕๕๗ (โดยใชข อ มลู จากตอนท่ี ๑)
๗. ครูระบุสงิ่ ท่ีตองเรยี นในรายวิชาเพมิ่ เติม หนา ท่พี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ โดยใชข อ มลู จากหนา
สารบญั ในหนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ ของ วพ. จากนนั้ อธบิ ายเพอ่ื ทำความ
เขาใจกับนกั เรียนในเรื่องตอ ไปนี้ (โดยใชข อมลู จากตอนที่ ๑)
๑) คำอธิบายรายวิชาเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒
๒) โครงสรา งรายวชิ าเพิ่มเตมิ หนา ทีพ่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒
๓) โครงสรา งเวลาเรียนรายชัว่ โมง รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนา ท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒

¤Ù‹ÁÍ× ¤ÃÙ แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพิม่ เตมิ หนาที่พลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 31
๘. ครูบอกเทคนคิ และวิธีการจัดการเรยี นรูรายวชิ าเพิม่ เตมิ หนาทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ โดยสรุป
วามเี ทคนิคและวิธกี ารจดั การเรียนรูอ ะไรบาง (โดยใชขอ มูลจากตอนที่ ๑)
๙. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนเพ่ือทำความเขาใจถึงแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู
รายวิชาเพมิ่ เติม หนา ท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ รวมทง้ั เกณฑตดั สนิ ผลการเรียนรู (โดยใชข อมูลจากตอนที่
๑) ประเดน็ ตา ง ๆ เชน

๑) รายวิชาเพม่ิ เตมิ หนาท่ีพลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ มเี วลาเรียนเทาไร
๒) รายวิชานี้จะสอบและเกบ็ คะแนนอยา งไร และเทา ไร
๓) รายวิชานี้จะตัดสนิ ผลการเรียนอยา งไร
๑๐. ครแู นะนำสอ่ื การเรียนรูแ ละแหลง การเรียนรทู ่ีจะใชประกอบการเรียนรรู ายวิชาเพม่ิ เติม หนา ท่ี
พลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ โดยใชขอมูลจากหนา บรรณานกุ รมในหนงั สือเรยี น รายวิชาเพมิ่ เติม หนาท่พี ลเมอื ง
๓–๔ ม. ๒ ของ วพ. นอกจากนค้ี รคู วรแนะนำแหลง สบื คน ความรขู อ มลู เพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั เรอ่ื งตา ง ๆ ทไ่ี ด
ระบุไวในแตล ะหนวยในหนงั สือเรียน รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนาท่ีพลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ ของ วพ. เพือ่ ทำ
ความเขา ใจถงึ แหลงสบื คนความรแู ตละอยา ง
๑๑. ครูสนทนากับนักเรียนและรวมกันทำขอตกลงในการเรียน รายวิชาเพ่ิมเติม หนาท่ีพลเมือง
๓–๔ ม. ๒ ในประเด็นตาง ๆ ดังน้ี
๑) เวลาเรยี น ตอ งเขา เรยี นไมน อ ยกวา รอ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นในรายวชิ าน้ี หรอื ไมข าดเรยี น
เกนิ ๓ คร้ัง กรณีปวยตองสง ใบลาโดยผปู กครองลงชอื่ รับรองการลา
๒) ควรเขา หองเรยี นตรงเวลาและรกั ษามารยาทในการเรียน
๓) เมื่อเรมิ่ เรยี นแตละหนวยการเรยี นรูจะมีการทดสอบกอนเรียน และหลงั จากเรยี นจบแตล ะ
หนว ย
การเรียนรแู ลวจะมกี ารทดสอบหลงั เรยี น
๔) ในชว่ั โมงทม่ี กี ารฝก ปฏบิ ตั งิ าน ควรเตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ และเครอื่ งมอื ใหพ รอ ม โดยจดั หา
ไวล วงหนา
๕) รบั ผดิ ชอบการเรียน การสรา งชน้ิ งาน และการสงงานตามเวลาทีก่ ำหนด
๖) รกั ษาความสะอาดบรเิ วณทป่ี ฏบิ ตั งิ กจิ กรรม วสั ดุ อปุ กรณ และเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชท ำงานทกุ ครง้ั
ขัน้ ขยายความรูŒ
๑๒. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแหลงการเรียนรูและแหลงสืบคน
ความรอู ่นื ๆ ที่จะนำมาใชใ นการจัดการเรียนรูร ายวชิ าเพิ่มเตมิ หนา ที่พลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ จากนั้นครู
และนักเรียนรวมกันสรุปและบนั ทึกผล
ขนั้ ประเมนิ
๑๓. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอท่ีเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเรื่องอะไรบางที่ยังไม
เขา ใจหรือมีขอสงสัย ถามีครชู ว ยอธบิ ายเพม่ิ เติมใหนักเรียนเขาใจ
๑๔. นักเรียนรวมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมวามีปญหาหรืออุปสรรคใด และไดมีการแกไข
อยางไรบาง

32 ¤ÙÁ‹ Í× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพิม่ เติม หนา ทีพ่ ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒
๑๕. ครใู หน กั เรยี นรว มกนั แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ประโยชนท ไ่ี ดร บั จากการเรยี นหวั ขอ นแ้ี ละการ

ปฏิบัตกิ จิ กรรม
๑๖. ครทู ดสอบความเขาใจของนกั เรียนโดยการใหตอบคำถาม เชน
๑) รายวิชานมี้ ีเกณฑตัดสนิ ผลการเรียนรอู ยา งไร
๒) ขอตกลงในการเรียนมอี ะไรบา ง
ขน้ั สรปุ และนำไปใชŒ
๑๗. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเร่ือง ปฐมนิเทศและขอตกลงในการเรียนรายวิชาเพ่ิมเติม

หนา ทพี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ โดยใหน กั เรยี นบันทึกขอ สรุปลงในแบบบนั ทึกความรู หรอื สรุปเปน แผนท่ี
ความคดิ หรือผงั มโนทศั นลงในสมดุ พรอ มทง้ั ตกแตง ใหสวยงาม

๑๘. ครูใหนักเรียนนำประโยชนจากการเรียนรูเร่ือง ปฐมนิเทศและขอตกลงในการเรียนรายวิชา
เพิม่ เตมิ หนา ทพี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ ไปประพฤติปฏิบัติใหถ กู ตองเหมาะสมและสอดคลองกับการจดั
การเรียนรู

๑๐. สอ่ื การเรย� นรŒูและแหลง‹ การเรย� นรŒู

– หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ บรษิ ทั สำนกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จำกดั

๑๑. บันทกึ หลงั การจดั การเร�ยนรŒู

๑. ความสำเร็จในการจดั การเรยี นรู
แนวทางการพฒั นา

๒. ปญหา/อปุ สรรคในการจดั การเรียนรู
แนวทางแกไ ข

๓. สง่ิ ท่ไี มไดปฏิบัติตามแผน
เหตุผล

๔. การปรับปรงุ แผนการจัดการเรียนรู

ลงชื่อ ผสŒู อน
//

๑หนว� ยการเรย� นรŒูท่ี

ความเปšนไทย

เวลา ๑๐ ชั�วโมง

แผนการจัดการเรยี นรูŒท่ี ๒ การแสดงความเคารพ เวลา ๑ ช่ัวโมง
แผนการจดั การเรียนรทŒู ี่ ๓ การสนทนา เวลา ๑ ชว่ั โมง
แผนการจดั การเรียนรทŒู ่ี ๔ การแตง กาย เวลา ๑ ชว่ั โมง
แผนการจัดการเรยี นรูŒท่ี ๕ การมีสัมมาคารวะ เวลา ๑ ชว่ั โมง
แผนการจดั การเรยี นรูทŒ ี่ ๖ ความเอื้อเฟอ เผ่ือแผและความเสยี สละตอ สงั คม เวลา ๑ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรยี นรทูŒ ี่ ๗ ความมวี ินยั ในตนเอง (๑) เวลา ๑ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรยี นรูŒท่ี ๘ ความมีวนิ ัยในตนเอง (๒) เวลา ๑ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูŒท่ี ๙ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี เวลา ๑ ชั่วโมง
เวลา ๑ ชั่วโมง
และศลิ ปวัฒนธรรม เวลา ๑ ชว่ั โมง
แผนการจดั การเรยี นรูŒท่ี ๑๐ ภมู ิปญ ญาไทย
แผนการจดั การเรียนรทŒู ่ี ๑๑ กจิ กรรมบูรณาการ ทบทวน

โครงงาน และทดสอบกลางภาค

34 ¤‹ÙÁÍ× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนา ท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒

แผนการจดั การเรย� นรูŒท่ี ๒

การแสดงความเคารพ

กลุม‹ สาระการเรียนรŒูสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๒
หน‹วยการเรยี นรูŒท่ี ๑ ความเปนไทย เวลา ๑ ช่ัวโมง

๑. จุดเนนŒ

จดุ เนนŒ ท่ี ๑ ความเปนไทย
๑.๑ ลักษณะท่ีดขี องคนไทย (มารยาทไทย กตญั ูกตเวที เออื้ เฟอ เผอื่ แผ เสียสละ)

จดุ เนŒนที่ ๕ ความมวี ินัยในตนเอง
การตงั้ ใจปฏิบตั หิ นา ท่ี การยอมรับผลทเี่ กดิ จากการกระทำของตนเอง

๒. ผลการเร�ยนรŒู

๑. มีสว นรว มและแนะนำผอู ่นื ใหอ นุรกั ษม ารยาทไทย
๑๐. ปฏบิ ตั ิตนเปนผูมวี ินยั ในตนเอง

๓. สาระสําคัญ/ความคดิ รวบยอด

การแสดงความเคารพเปน มารยาทไทยทแี่ สดงใหเ หน็ ถงึ ความกตญั กู ตเวทขี องคนไทย ทำใหเ กดิ
ความเปนมงคลตอ ทั้งสองฝาย และเปน สง่ิ ที่เช่ือมโยงสายสมั พนั ธระหวางบคุ คลทัง้ ทอ่ี ยูในระดบั เดยี วกนั
และอยูตางระดบั กนั ไดเปน อยา งดี

๔. สาระการเรย� นรูŒ

๑. มารยาทไทย
๑.๑ การแสดงความเคารพ

๕. สมรรถนะสาํ คัญของผŒเู รย� น

๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการแกป ญหา
๓. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวิต

๖. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค

๑. มวี ินัย
๒. ใฝเ รียนรู
๓. รกั ความเปนไทย
๔. มีจิตสาธารณะ

¤Á‹Ù Í× ¤ÃÙ แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนาท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 35

๗. ชนิ� งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การทำแบบทดสอบกอ นเรียน
– การแสดงบทบาทสมมุตเิ กี่ยวกบั การแสดงความเคารพ
– การทำกจิ กรรม/ใบงาน

๘. การวัดและประเมนิ ผลการเร�ยนรŒู

ดŒานความรูŒ (K) ดŒานคณุ ธรรม จริยธรรม ดŒานทกั ษะ/กระบวนการ (P)
และค‹านยิ ม (A)

๑. ทดสอบกอนเรยี น • ประเมนิ พฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
๒. ซักถามความรเู รือ่ ง มารยาท ทำงานเปนรายบคุ คลในดา น ทำงานเปนรายบุคคลและ
ไทย: การแสดงความเคารพ ความมีวนิ ยั ความใฝเรยี นรู เปน กลุม ในดานการส่ือสาร
๓. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ฯลฯ การคิด การแกป ญหา ฯลฯ
เปนรายบคุ คลและเปน กลุม

๙. กิจกรรมการเร�ยนรŒู

ขนั้ นำเขาŒ ส‹ูบทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดน่ังเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเปนกลุม นำนักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หองโสตทัศนศกึ ษา สนามหญาใตรม ไม
๒. ครูแจง ผลการเรียนรูใหนักเรยี นทราบ
๓. ครใู หน กั เรยี นทำแบบทดสอบกอ นเรยี น โดยแจกแบบทดสอบใหน กั เรยี นทกุ คน แลว ใหน กั เรยี น
ทำแบบทดสอบ โดยเขยี นเคร่ืองหมาย  ทบั ตวั อกั ษร (ก–ง) หนาคำตอบท่ีถูกตองทีส่ ดุ เพยี งคำตอบ
เดยี ว จากนน้ั ตรวจใหคะแนน แตย ังไมต องเฉลยคำตอบ
๔. ครใู หน กั เรยี นทอ งบทอาขยานหรอื รอ งเพลงคา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ พรอ ม ๆ กนั
จากนัน้ ครูสรปุ ใหน ักเรยี นฟงวา การแสดงความเคารพ เปน เรือ่ งของมารยาทและวัฒนธรรมไทย ดงั นนั้
การรกั ษาวัฒนธรรมไทยถือเปน ๑ ในคานิยมหลักขอ ๕ “รกั ษาวัฒนธรรม ประเพณอี ันงดงาม”
๕. ครซู กั ถามนกั เรยี นในประเดน็ วา “ถา เรารจู กั แสดงความเคารพอยา งถกู ตอ ง จะทำใหเ ราเปน คน
อยา งไร” สุมเลือกนักเรยี นมาตอบ จากนน้ั เฉลยคำตอบและสรปุ ความรูเช่ือมโยงไปสเู น้อื หาท่ีจะเรยี น
ขั้นจดั กิจกรรมการเรยี นรŒู
๖. ครูใหนักเรียนอานเน้ือหาเก่ียวกับมารยาทไทยเร่ือง การแสดงความเคารพ ในหนังสือเรียน
รายวิชาเพิ่มเติม หนาที่พลเมือง ๓–๔ ม. ๒ ของ วพ. จากน้ันซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องท่ีอาน
ในประเด็นตาง ๆ

36 ¤‹ÁÙ Í× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพ่มิ เตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒
๗. ครใู หน กั เรียนแบง กลมุ กลมุ ละ ๔–๖ คน แสดงบทบาทสมมุติเกย่ี วกับการแสดงความเคารพ

ในสถานการณตาง ๆ ตามเนื้อหาในหนังสือเรียน จากนั้นเปดโอกาสใหเพื่อนแสดงความคิดเห็นและ
ประเมินผลการแสดง

๘. ครูกลาวชมเชยนักเรียน รวมท้ังสรุปผลการแสดงบทบาทสมมุติของนักเรียนและเนื้อหาเกี่ยว
กับการแสดงความเคารพ

๙. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอผล
งานของนักเรียนตามแบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทำงานเปนรายบคุ คลและเปนกลมุ

ขัน้ ขยายความรŒู
๑๐. ครูใหน ักเรียนทำกิจกรรม/ใบงานที่ ๑ เรอ่ื ง การแสดงความเคารพตามสถานการณ
ข้นั ประเมนิ
๑๑. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเร่ืองอะไรบางที่ยัง
ไมเ ขา ใจหรอื มีขอ สงสัย ถา มคี รูชว ยอธิบายเพ่ิมเติมใหน กั เรียนเขาใจ
๑๒. นกั เรยี นรว มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ วา มปี ญ หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม กี ารแกไ ข
อยา งไรบา ง
๑๓. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนท่ีไดรับจากการเรียนหัวขอน้ีและ
การปฏบิ ตั ิกิจกรรม
๑๔. ครทู ดสอบความเขา ใจของนักเรยี นโดยการใหตอบคำถาม เชน

๑) เราสามารถแสดงความเคารพในหองประชุมตามลำดับไดอยางไร
๒) การแสดงความเคารพรูปเคารพตาง ๆ สามารถทำไดอยา งไรบาง
ขนั้ สรปุ
๑๕. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเก่ียวกับมารยาทไทยเรื่อง การแสดงความเคารพ โดยให
นักเรียนบันทึกขอสรุปลงในแบบบันทึกความรู หรือสรุปเปนแผนท่ีความคิดหรือผังมโนทัศนลงในสมุด
พรอ มตกแตง ใหสวยงาม
๑๖. ครูใหนักเรียนนำความรูที่ไดเรียนมาไปประพฤติปฏิบัติใหเหมาะสมและสอดคลองกับ
สถานการณในชีวติ ประจำวัน รวมทัง้ นำไปเผยแพรใ หบุคคลอน่ื เชน คนในครอบครวั เพ่อื นบาน ไดร ู
และเขา ใจ

๑๐. สอื่ การเรย� นรูŒและแหลง‹ การเรย� นรูŒ

๑. แบบทดสอบกอนเรียน
๒. บทอาขยานหรอื เพลงคา นิยมหลัก ๑๒ ประการ
๓. กจิ กรรม/ใบงานที่ ๑ เรอ่ื ง การแสดงความเคารพตามสถานการณ
๔. แบบประเมินพฤติกรรมในการทำงานเปน รายบคุ คลและเปนกลุม
๕. แบบบันทกึ ความรู
๖. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ บรษิ ทั สำนกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จำกดั

¤‹ÙÁÍ× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพิม่ เตมิ หนา ท่พี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ 37

๑๑. บนั ทึกหลงั การจดั การเรย� นรูŒ

๑. ความสำเร็จในการจดั การเรยี นรู
แนวทางการพฒั นา

๒. ปญ หา/อปุ สรรคในการจดั การเรียนรู
แนวทางแกไ ข

๓. สิ่งที่ไมไ ดปฏิบตั ติ ามแผน
เหตผุ ล

๔. การปรับปรงุ แผนการจดั การเรียนรู

ลงช่อื ผสŒู อน
//

38 ¤Á‹Ù Í× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนาที่พลเมือง ๓–๔ ม. ๒

แผนการจดั การเร�ยนรทŒู ่ี ๓

การสนทนา

กลุ‹มสาระการเรยี นรสูŒ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ ๒
หนว‹ ยการเรยี นรทŒู ี่ ๑ ความเปนไทย เวลา ๑ ชวั่ โมง

๑. จุดเนŒน

จดุ เนŒนที่ ๑ ความเปนไทย
๑.๑ ลกั ษณะทดี่ ขี องคนไทย (มารยาทไทย กตัญูกตเวที เออ้ื เฟอ เผ่อื แผ เสยี สละ)

จดุ เนŒนท่ี ๕ ความมีวินยั ในตนเอง
ความขยนั หม่ันเพียร ความอดทน การต้ังใจปฏบิ ัติหนา ท่ี การยอมรบั ผลท่เี กดิ จากการกระทำ

ของตนเอง

๒. ผลการเร�ยนรูŒ

๑. มีสวนรว มและแนะนำผอู ่นื ใหอนุรกั ษมารยาทไทย
๑๐. ปฏิบัติตนเปนผูม วี ินัยในตนเอง

๓. สาระสาํ คัญ/ความคิดรวบยอด

การสนทนาเปน สว นสำคญั ในการคบหาสมาคมกบั ผอู น่ื การสมาคมนน้ั คอื การพบปะ พดู จา ตดิ ตอ
กนั โดยตามหลักมารยาทไทย การคบหาสมาคมกบั ผอู ืน่ ตอ งสำรวมกิริยาทั้งกาย วาจา ใจ ใหเรยี บรอย
ตองมีมารยาทในการสนทนาเพื่อใหผ อู นื่ มองวาเราเปน คนทป่ี ระพฤตติ นเหมาะสมกบั กาลเทศะ

๔. สาระการเรย� นรูŒ

๑. มารยาทไทย
๑.๒ การสนทนา

๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผเŒู รย� น

๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
๒. ความสามารถในการแกปญ หา
๓. ความสามารถในการใชทักษะชีวติ

๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค

๑. มีวินยั
๒. ใฝเรียนรู
๓. รกั ความเปนไทย
๔. มจี ิตสาธารณะ

¤ÙÁ‹ ×ͤÃÙ แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนา ที่พลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 39

๗. ชน�ิ งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การสงั เกตลักษณะของผสู นทนาทดี่ ี
– การทำกจิ กรรม/ใบงาน

๘. การวดั และประเมินผลการเรย� นรŒู

ดาŒ นความรŒู (K) ดาŒ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดาŒ นทักษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซกั ถามความรูเ ร่ือง และคา‹ นยิ ม (A) • ประเมินพฤตกิ รรมในการ

มารยาทไทย: การสนทนา • ประเมินพฤตกิ รรมในการ ทำงานเปน รายบคุ คลและ
๒. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ทำงานเปน รายบุคคลในดา น เปนกลุมในดานการสือ่ สาร
ความมวี นิ ัย ความใฝเรียนรู การคิด การแกปญ หา ฯลฯ
เปน รายบคุ คลและเปนกลมุ ฯลฯ

๙. กิจกรรมการเรย� นรูŒ

ข้ันนำเขาŒ สบู‹ ทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U น่ังเรียนเปนกลุม นำนักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หอ งโสตทัศนศึกษา สนามหญา ใตรมไม
๒. ครแู จงผลการเรียนรใู หน ักเรียนทราบ
๓. ครซู ักถามนักเรียนวา ผพู ดู ในวงสนทนาทีด่ คี วรเปน อยางไร ใหนกั เรยี นชว ยกนั ตอบคนละ ๑
คำตอบ จากน้ันครเู ฉลยคำตอบ
๔. ครูสรปุ ความรแู ลวเชอ่ื มโยงไปสูเนอื้ หาทจ่ี ะเรียน
ขั้นจัดกจิ กรรมการเรียนรŒู
๕. ครใู หน กั เรยี นอา นเนอ้ื หาเกย่ี วกบั มารยาทไทยเรอ่ื ง การสนทนา ในหนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ
หนาท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ ของ วพ. จากนัน้ ซักถามนกั เรียนเกย่ี วกับเรือ่ งทอี่ านในประเดน็ ตาง ๆ
๖. ครูใหนักเรยี นดวู ีดทิ ศั นร ายการสนทนาตา ง ๆ แลว ใหน กั เรยี นสังเกตพฤติกรรมหรือลักษณะ
ทา ทางของการสนทนาในวดี ิทศั น จากนั้นบนั ทกึ วาผูทร่ี ว มวงสนทนามลี ักษณะในการสนทนาอยา งไรบา ง
แลวใหนักเรยี นนำผลการบันทึกสงครู
๗. ครคู ดั เลือกผลงานท่ีดที ส่ี ุดประมาณ ๔–๕ ช้ิน แลวใหน ักเรยี นเจาของผลงานออกมานำเสนอ
หนาชัน้ เรยี น
๘. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอ
ผลงานของนกั เรียนตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทำงานเปน รายบคุ คล
ขั้นขยายความรŒู
๙. ครูใหน ักเรียนทำกจิ กรรม/ใบงานท่ี ๒ เรอ่ื ง การสนทนา

40 ¤Ù‹ÁÍ× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพ่ิมเติม หนาที่พลเมือง ๓–๔ ม. ๒
ขั้นประเมนิ
๑๐. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเร่ืองอะไรบางที่ยัง

ไมเขา ใจหรอื มีขอ สงสัย ถา มคี รูชว ยอธิบายเพ่ิมเติมใหน ักเรียนเขาใจ
๑๑. นักเรียนรวมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมวามีปญหาหรืออุปสรรคใด และไดมีการแกไข

อยา งไรบา ง
๑๒. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนที่ไดรับจากการเรียนหัวขอนี้และ

การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม
๑๓. ครทู ดสอบความเขาใจของนกั เรียนโดยการใหตอบคำถาม เชน
๑) เพราะเหตุใดเราจงึ ตอ งสงั เกตลกั ษณะของผรู วมสนทนาดวย
๒) ขอ ปฏิบัตใิ นการนง่ั และการยนื สนทนามีความเหมือนและแตกตางกันอยา งไร
ขน้ั สรปุ และนำไปใชŒ
๑๔. ครูและนกั เรยี นรว มกันสรุปความรูเกยี่ วกับมารยาทไทยเรือ่ ง การสนทนา โดยใหน ักเรยี นสรุป

เปน ความเรยี ง แผนทีค่ วามคดิ หรอื ผงั มโนทศั นล งในสมดุ พรอ มตกแตงใหส วยงาม
๑๕. ครูใหนักเรียนนำความรูท่ีไดเรียนมาไปประยุกตใชในชีวิตประจำวันหรือประพฤติปฏิบัติให

เหมาะสมและสอดคลองกบั สถานการณใ นชีวติ ประจำวัน

๑๐. สื่อการเรย� นรŒูและแหล‹งการเร�ยนรูŒ

๑. วดี ิทัศนร ายการสนทนาตา ง ๆ
๒. กจิ กรรม/ใบงานที่ ๒ เรอื่ ง การสนทนา
๓. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทำงานเปน รายบคุ คล
๔. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ บรษิ ทั สำนกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จำกดั

๑๑. บันทกึ หลังการจดั การเร�ยนรŒู

๑. ความสำเร็จในการจัดการเรียนรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญ หา/อปุ สรรคในการจัดการเรยี นรู
แนวทางแกไข

๓. ส่งิ ทไ่ี มไ ดป ฏบิ ัติตามแผน
เหตผุ ล

๔. การปรับปรงุ แผนการจดั การเรียนรู

ลงช่อื ผูŒสอน
//

¤Ù‹Á×ͤÃÙ แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพ่มิ เติม หนาทพี่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 41

แผนการจดั การเร�ยนรูทŒ ่ี ๔

การแต‹งกาย

กล‹ุมสาระการเรยี นรูสŒ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๒
หนว‹ ยการเรียนรทŒู ี่ ๑ ความเปน ไทย เวลา ๑ ชวั่ โมง

๑. จุดเนนŒ

จดุ เนนŒ ท่ี ๑ ความเปนไทย
๑.๑ ลักษณะทด่ี ขี องคนไทย (มารยาทไทย กตญั กู ตเวที เอือ้ เฟอ เผอ่ื แผ เสียสละ)

จุดเนนŒ ที่ ๕ ความมีวนิ ัยในตนเอง
การตัง้ ใจปฏิบัตหิ นาที่ การยอมรับผลท่ีเกดิ จากการกระทำของตนเอง

๒. ผลการเรย� นรŒู

๑. มสี วนรวมและแนะนำผอู ่นื ใหอ นรุ ักษม ารยาทไทย
๑๐. ปฏิบัติตนเปนผูมวี ินัยในตนเอง

๓. สาระสาํ คญั /ความคิดรวบยอด

การแตงกายถือเปนสิ่งที่แสดงถึงบุคลิกภาพของมนุษยเรา การแตงกายเปนส่ิงที่จะสรางความ
นา เชอ่ื ถือ ความสำเรจ็ แกบคุ คลโดยทัว่ ไป ดังน้นั การเขา สมาคมกบั ผใู ดกต็ ามเราจำเปนตองศกึ ษาเรอ่ื ง
การแตง กายใหถกู ตอ งตามกาลเทศะ เหมาะสมกบั วยั และบคุ ลิกภาพ

๔. สาระการเร�ยนรูŒ

๑. มารยาทไทย
๑.๓ การแตงกาย

๕. สมรรถนะสาํ คัญของผูเŒ ร�ยน

๑. ความสามารถในการคิด
๒. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ

๖. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค

๑. มวี ินยั
๒. ใฝเรียนรู
๓. รกั ความเปนไทย
๔. มีจติ สาธารณะ

42 ¤Á‹Ù Í× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพ่ิมเติม หนา ท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒

๗. ชิน� งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การสรปุ สาระสำคญั เกย่ี วกับการแตงกาย
– การทำกิจกรรม/ใบงาน

๘. การวดั และประเมนิ ผลการเร�ยนรŒู

ดŒานความรŒู (K) ดาŒ นคุณธรรม จริยธรรม ดŒานทกั ษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซักถามความรูเรอ่ื ง และคา‹ นิยม (A) • ประเมนิ พฤติกรรมในการ

การแตงกาย • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ ทำงานเปน รายบุคคลและ
๒. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ทำงานเปนรายบุคคลในดาน เปน กลุมในดา นการสอื่ สาร
ความมวี นิ ยั ความใฝเ รียนรู การคดิ การแกป ญ หา ฯลฯ
เปนรายบุคคลและเปน กลมุ ฯลฯ

๙. กจิ กรรมการเรย� นรูŒ

ขั้นนำเขŒาสบู‹ ทเรียน
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดน่ังเรียนแบบรูปตัว U น่ังเรียนเปนกลุม นำนักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หอ งโสตทศั นศึกษา สนามหญาใตร มไม
๒. ครแู จง ผลการเรยี นรใู หน ักเรียนทราบ
๓. ครูนำภาพบุคคลท่ีแตงกายแตกตางกัน คือ แบบสุภาพเรียบรอยและแบบไมสุภาพเรียบรอย
ใหนกั เรียนดู แลว ซักถามนกั เรยี นวา บุคคลในภาพคนใดแตง กายไดเ หมาะสมกบั ความเปนไทยมากกวา
เพราะเหตใุ ด ครูเฉลยคำตอบพรอ มกลาวชื่นชมนกั เรียน
๔. ครสู รปุ ความรแู ลวเชือ่ มโยงไปสูเนือ้ หาทจี่ ะเรยี น
ข้ันจดั กิจกรรมการเรียนรŒู
๕. ครใู หนกั เรยี นอา นเน้อื หาเกีย่ วกับมารยาทไทยเรื่อง การแตงกาย ในหนงั สอื เรียน รายวชิ าเพมิ่
เตมิ หนา ที่พลเมือง ๓–๔ ม. ๒ ของ วพ. แลวใหน ักเรียนสรปุ สาระสำคญั ลงในสมุด
๖. ครใู หน กั เรยี นทำกจิ กรรม/ใบงานท่ี ๓ เรอื่ ง การแตงกายตามความเหมาะสม
๗. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครสู งั เกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอผล
งานของนักเรียนตามแบบประเมินพฤตกิ รรมในการทำงานเปนรายบคุ คล
ขัน้ ขยายความรูŒ
๘. ครูใหนักเรียนวาดภาพออกแบบการแตงกายท่ีสวยงามตามสมัยนิยมและมีความสุภาพ
เหมาะสมกับความเปนไทย

¤Ù‹ÁÍ× ¤ÃÙ แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพ่ิมเติม หนาท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 43
ขัน้ ประเมนิ
๙. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเรื่องอะไรบางท่ียัง
ไมเ ขา ใจหรือมขี อ สงสัย ถามีครชู วยอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ใหนักเรียนเขา ใจ
๑๐. นักเรียนรวมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมวามีปญหาหรืออุปสรรคใด และไดมีการแกไข
อยางไรบาง
๑๑. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชนท่ีไดรับจากการเรียนหัวขอน้ีและ
การปฏิบตั กิ จิ กรรม
๑๒. ครูทดสอบความเขา ใจของนกั เรยี นโดยการใหต อบคำถาม เชน

๑) เพราะเหตุใดการแตงกายจงึ เปนส่งิ ทบ่ี งบอกความเปน ตวั เรา
๒) หากเราไมคำนึงถึงความเหมาะสมในการแตง กายจะทำใหเ กดิ อะไรข้ึน
ขน้ั สรุปและนำไปใชŒ
๑๓. ครแู ละนกั เรยี นรวมกนั สรปุ ความรูเ ก่ียวกบั มารยาทไทยเร่อื ง การแตงกาย โดยบนั ทึกขอ สรุป
เปน ความเรียง แผนทค่ี วามคิดหรือผงั มโนทัศนลงในสมดุ พรอ มตกแตงใหส วยงาม
๑๔. ครูใหนักเรียนนำความรูที่ไดเรียนมาไปประยุกตใชในชีวิตประจำวันหรือประพฤติปฏิบัติให
เหมาะสมและสอดคลองกับสถานการณในชวี ติ ประจำวัน รวมทั้งนำไปเผยแพรใหบ ุคคลอ่นื เชน คนใน
ครอบครัว เพื่อนบาน ไดร แู ละเขาใจ

๑๐. สือ่ การเรย� นรแูŒ ละแหล‹งการเรย� นรŒู

๑. ภาพบุคคลท่ีแตงกายสภุ าพเรยี บรอยและภาพบุคคลที่แตงกายไมสภุ าพเรยี บรอ ย
๒. กจิ กรรม/ใบงานที่ ๓ เรอื่ ง การแตง กายตามความเหมาะสม
๓. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทำงานเปน รายบคุ คล
๔. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ บรษิ ทั สำนกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จำกดั

๑๑. บันทึกหลงั การจดั การเร�ยนรŒู

๑. ความสำเร็จในการจดั การเรียนรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญ หา/อุปสรรคในการจดั การเรียนรู
แนวทางแกไ ข

๓. สิ่งท่ีไมไ ดปฏิบัติตามแผน
เหตผุ ล

๔. การปรบั ปรุงแผนการจัดการเรยี นรู

ลงช่อื ผูสŒ อน
//

44 ¤Á‹Ù ×ͤÃÙ แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หนา ทพ่ี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒

แผนการจัดการเรย� นรŒทู ่ี ๕

การมสี ัมมาคารวะ

กลม‹ุ สาระการเรยี นรูŒสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี ๒
หนว‹ ยการเรียนรทูŒ ่ี ๑ ความเปนไทย เวลา ๑ ชวั่ โมง

๑. จดุ เนนŒ

จดุ เนŒนท่ี ๑ ความเปน ไทย
๑.๑ ลกั ษณะท่ดี ีของคนไทย (มารยาทไทย กตัญกู ตเวที เออื้ เฟอเผ่ือแผ เสยี สละ)

จดุ เนนŒ ท่ี ๕ ความมวี ินัยในตนเอง
การใฝหาความรู การตัง้ ใจปฏิบัติหนาท่ี การยอมรบั ผลทีเ่ กิดจากการกระทำของตนเอง

๒. ผลการเร�ยนรูŒ

๑. มีสว นรว มและแนะนำผูอ่ืนใหอนรุ กั ษม ารยาทไทย
๑๐. ปฏิบัตติ นเปนผูมีวนิ ัยในตนเอง

๓. สาระสาํ คัญ/ความคิดรวบยอด

การมีสัมมาคารวะเปนการแสดงออกถึงความเปนคนมีมารยาท เน่ืองจากเราตองอยูรวมกับคน
หมมู าก การมสี ัมมาคารวะจะทำใหเราดนู าคบหาสมาคม เน่ืองจากเรามีกิริยาทแี่ สดงความนบั ถอื ตอ ผูอ่นื
ไมล ว งเกินผอู น่ื และใหค วามเคารพผอู ืน่

๔. สาระการเร�ยนรŒู

๑. มารยาทไทย
๑.๔ การมีสัมมาคารวะ

๕. สมรรถนะสําคญั ของผŒเู ร�ยน

๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

๖. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

๑. มีวนิ ยั
๒. ใฝเ รียนรู
๓. รักความเปนไทย
๔. มจี ติ สาธารณะ

¤‹ÁÙ Í× ¤ÃÙ แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนา ที่พลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 45

๗. ชิน� งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การระดมสมองและนำเสนอผลงาน
– การทำกจิ กรรม/ใบงาน

๘. การวัดและประเมนิ ผล

ดŒานความรŒู (K) ดาŒ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดŒานทักษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซักถามความรูเ ร่อื ง และค‹านิยม (A) • ประเมนิ พฤติกรรมในการ

มารยาทไทย: • ประเมินพฤตกิ รรมในการ ทำงานเปนรายบคุ คลและ
การมีสมั มาคารวะ ทำงานเปนรายบคุ คลในดาน เปน กลุมในดา นการสอื่ สาร
๒. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม ความมีวนิ ยั ความใฝเรียนรู การคิด การแกปญหา ฯลฯ
เปนรายบุคคลและเปนกลุม ฯลฯ

๙. กิจกรรมการเร�ยนรŒู

ขัน้ นำเขŒาสู‹บทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดน่ังเรียนแบบรูปตัว U น่ังเรียนเปนกลุม นำนักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หอ งโสตทัศนศกึ ษา สนามหญาใตร ม ไม
๒. ครแู จง ผลการเรยี นรใู หน กั เรียนทราบ
๓. ครใู หน กั เรยี นดภู าพเดก็ เดนิ นอ มตวั ลงผา นผใู หญ แลว ซกั ถามนกั เรยี นวา “เดก็ ในภาพเปน เดก็
มีทีส่ ัมมาคารวะหรือไม เพราะอะไร และนกั เรียนเคยกระทำเชนน้กี ับผูใหญห รือไม” ใหน ักเรียนชว ยกัน
ตอบ ครูเฉลยคำตอบพรอมทัง้ กลา วชมเชยนักเรยี น
๔. ครูสรุปความรแู ลวเช่ือมโยงไปสูเนือ้ หาทีจ่ ะเรยี น
ข้นั จดั กจิ กรรมการเรยี นรูŒ
๕. ครูใหนักเรียนอานเนื้อหาเก่ียวกับมารยาทไทยเร่ือง การมีสัมมาคารวะ ในหนังสือเรียน
รายวชิ าเพิม่ เตมิ หนาทพ่ี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ ของ วพ. จากนน้ั ซกั ถามนกั เรียนเก่ียวกับเรอื่ งทีอ่ านใน
ประเด็นตา ง ๆ
๖. ครใู หน กั เรียนแบง กลมุ กลมุ ละ ๔–๖ คน รวมกันระดมสมองในหวั ขอ ผูมที ีม่ ีสมั มาคารวะ
ตอ งมีคณุ ลักษณะอยา งไรบา ง จากนัน้ บันทกึ ผลการระดมสมองแลว เรยี บเรยี งเพอ่ื นำเสนอหนาชน้ั เรียน
๗. ครูใหนักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอผลงานหนาชั้นเรียน จากนั้นครูกลาวชมเชยนักเรียน
พรอมทง้ั สรุปการนำเสนอผลงานของนกั เรียน
๘. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอ
ผลงานของนักเรยี นตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทำงานเปน รายบุคคลและเปนกลมุ

46 ¤‹ÁÙ ×ͤÃÙ แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพ่ิมเติม หนา ทพี่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒
ข้นั ขยายความรูŒ
๙. ครูใหนกั เรียนทำกจิ กรรม/ใบงานที่ ๔ เรอ่ื ง เราเปนคนดมี สี มั มาคารวะ
ขัน้ ประเมิน
๑๐. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเรื่องอะไรบางที่ยัง

ไมเ ขา ใจหรือมีขอสงสยั ถา มคี รูชวยอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ใหน กั เรียนเขาใจ
๑๑. นกั เรยี นรว มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมวา มปี ญ หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม กี ารแกไ ขอยา งไรบา ง
๑๒. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชนท่ีไดรับจากการเรียนหัวขอนี้และ

การปฏิบตั ิกจิ กรรม
๑๓. ครทู ดสอบความเขาใจของนักเรียนโดยการใหต อบคำถาม เชน
๑) การมีสมั มาคารวะสามารถแสดงออกไดอยา งไรบาง
๒) เมื่อเราตองรวมวงสนทนากับผูใหญ เราควรปฏิบัติตนอยางไรจึงจะไดชื่อวาเปนผูมี

สัมมาคารวะ
ขนั้ สรปุ และนำไปใชŒ
๑๔. ครแู ละนกั เรียนรว มกนั สรุปความรูเรอ่ื ง การมสี ัมมาคารวะ โดยใหน ักเรียนบันทึกขอ สรปุ เปน

ความเรยี ง แผนทค่ี วามคิดหรอื ผังมโนทศั นลงในสมุด พรอ มตกแตง ใหสวยงาม
๑๕. ครูใหนักเรียนนำความรูที่ไดเรียนมาไปประพฤติปฏิบัติใหเหมาะสมและสอดคลองกับ

สถานการณในชีวติ ประจำวนั

๑๐. สอ่ื การเร�ยนรูŒและแหลง‹ การเรย� นรŒู

๑. ภาพเด็กเดนิ นอมตัวลงผานผูใหญ
๒. กิจกรรม/ใบงานท่ี ๔ เรอ่ื ง เราเปนคนดีมีสมั มาคารวะ
๓. แบบประเมินพฤตกิ รรมในการทำงานเปนรายบุคคลหรือกลุม
๔. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ บรษิ ทั สำนกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จำกดั

๑๑. บันทกึ หลังการจัดการเรย� นรูŒ

๑. ความสำเร็จในการจดั การเรียนรู
แนวทางการพฒั นา

๒. ปญ หา/อปุ สรรคในการจัดการเรยี นรู
แนวทางแกไ ข

๓. สง่ิ ท่ไี มไ ดปฏบิ ัตติ ามแผน
เหตผุ ล

๔. การปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู

ลงชื่อ ผŒสู อน
//

¤ÁÙ‹ Í× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนาทีพ่ ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ 47

แผนการจัดการเร�ยนรูทŒ ่ี ๖

ความเอ้ือเฟœ„อเผ่ือแผ‹และความเสียสละต‹อสงั คม

กล‹มุ สาระการเรยี นรสŒู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี ๒
หน‹วยการเรยี นรทŒู ี่ ๑ ความเปนไทย เวลา ๑ ช่วั โมง

๑. จดุ เนนŒ

จดุ เนนŒ ท่ี ๑ ความเปนไทย
๑.๑ ลกั ษณะทดี่ ีของคนไทย (มารยาทไทย กตญั ูกตเวที เอ้ือเฟอ เผอื่ แผ เสียสละ)

จดุ เนนŒ ท่ี ๕ ความมีวินัยในตนเอง
การใฝหาความรู การต้งั ใจปฏิบตั หิ นาท่ี การยอมรับผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง

๒. ผลการเรย� นรŒู

๒. แสดงออกและแนะนำผอู นื่ ใหมคี วามเอ้ือเฟอ เผอ่ื แผแ ละเสยี สละตอสังคม
๑๐. ปฏิบตั ติ นเปนผมู ีวนิ ัยในตนเอง

๓. สาระสาํ คัญ/ความคิดรวบยอด

ความเออ้ื เฟอ เผอ่ื แผแ ละความเสยี สละตอ สงั คมเปน พน้ื ฐานสำคญั ประการหนง่ึ ทจ่ี ะทำใหค นในสงั คม
สามารถอยรู ว มกนั ไดอ ยา งสงบสขุ เนอ่ื งจากคนเราเกดิ มามพี น้ื ฐานทางชวี ติ ไมเ ทา กนั ผทู ม่ี มี ากกวา แบง ปน
ใหแกผูท่ีมีนอยกวาถือเปนการแสดงความเอื้อเฟอเผื่อแผ ทำใหเกิดมิตรภาพระหวางกัน สังคมจะมีแต
ความสงบและสนั ติ

๔. สาระการเร�ยนรŒู

๒. การเออ้ื เฟอ เผ่อื แผและความเสียสละตอ สังคม

๕. สมรรถนะสาํ คัญของผŒเู รย� น

๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ
๔. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค

๑. มวี นิ ัย
๒. รักความเปน ไทย
๓. มีจิตสาธารณะ

48 ¤Ù‹ÁÍ× ¤ÃÙ แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนาท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒

๗. ชน�ิ งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การนำเสนอผลงานโดยใชโ ปรแกรม Powerpoint
– การทำกิจกรรม/ใบงาน

๘. การวัดและประเมนิ ผล

ดŒานความรูŒ (K) ดŒานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดŒานทกั ษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซักถามความรเู รือ่ ง และค‹านยิ ม (A) • ประเมินพฤติกรรมในการ

ความเอื้อเฟอ เผื่อแผ • ประเมินพฤติกรรมในการ ทำงานเปนรายบคุ คลและ
และความเสยี สละตอ สงั คม ทำงานเปน รายบุคคลในดาน เปน กลมุ ในดา นการสือ่ สาร
๒. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม ความมวี นิ ยั ความใฝเรยี นรู การคิด การแกป ญหา ฯลฯ
เปนรายบคุ คลและเปนกลุม ฯลฯ

๙. กจิ กรรมการเรย� นรูŒ

ขนั้ นำเขŒาส‹บู ทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดนั่งเรียนแบบรูปตัว U น่ังเรียนเปนกลุม นำนักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หอ งโสตทศั นศกึ ษา สนามหญาใตร มไม
๒. ครแู จง ผลการเรียนรใู หนกั เรียนทราบ
๓. ครใู หน กั เรยี นดภู าพการบำเพญ็ ประโยชนต า ง ๆ ในสงั คม แลว ซกั ถามนกั เรยี นวา “การกระทำ
ในภาพแสดงใหเหน็ ถึงคุณธรรมในดานใด” ใหนักเรยี นชว ยกนั แสดงความคิดเห็น
๔. ครสู รุปความรูแลวเช่อื มโยงไปสูเน้ือหาทจ่ี ะเรยี น
ข้ันจดั กจิ กรรมการเรยี นรูŒ
๕. ครใู หน กั เรยี นอา นเนอื้ หาเรอ่ื ง ความเออ้ื เฟอ เผอ่ื แผแ ละความเสยี สละตอ สงั คม ในหนงั สอื เรยี น
รายวิชาเพิ่มเติม หนาท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒ ของ วพ. จากน้ันซักถามนักเรียนเก่ียวกับเร่ืองที่อาน
ในประเด็นตาง ๆ
๖. ครใู หน กั เรยี นแบง กลมุ กลมุ ละ ๔–๖ คน รว มกนั ออกแบบการนำเสนอเนอื้ หาเรอ่ื ง การเออ้ื เฟอ
เผื่อแผและความเสียสละตอ สงั คม โดยใชโปรแกรม Powerpoint
๗. ครใู หน ักเรียนแตล ะกลมุ ออกมานำเสนอผลงานหนาช้ันเรยี น
๘. ครูกลาวชมเชยนกั เรยี น พรอมท้ังสรปุ การนำเสนอผลงานของนักเรียน
๙. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอผล
งานของนักเรยี นตามแบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทำงานเปนรายบุคคลและเปนกลุม
ขน้ั ขยายความรŒู
๑๐. ครใู หนักเรียนทำกจิ กรรม/ใบงานท่ี ๕ เรอื่ ง การเสียสละเพอ่ื สังคม

¤Ù‹ÁÍ× ¤ÃÙ แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพ่ิมเตมิ หนา ทพ่ี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 49
ขัน้ ประเมนิ
๑๑. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเร่ืองอะไรบางท่ียังไม
เขาใจหรอื มีขอสงสัย ถา มคี รูชว ยอธิบายเพิ่มเตมิ ใหนกั เรียนเขาใจ
๑๒. นักเรียนรวมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมวามีปญหาหรืออุปสรรคใด และไดมีการแกไข
อยา งไรบาง
๑๓. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนท่ีไดรับจากการเรียนหัวขอน้ีและ
การปฏบิ ตั ิกจิ กรรม
๑๔. ครูทดสอบความเขาใจของนักเรียนโดยการใหต อบคำถาม เชน

๑) เราสามารถแสดงความเอื้อเฟอ เผ่ือแผแกค นรอบขางไดอยา งไรบา ง
๒) ถา เราไมม ีความเอื้อเฟอเผื่อแผตอผอู นื่ จะสง ผลเสียแกตัวเราอยางไร
ขน้ั สรปุ และนำไปใชŒ
๑๕. ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั สรปุ ความรเู รอ่ื ง ความเออ้ื เฟอ เผอ่ื แผแ ละความเสยี สละตอ สงั คม โดยให
นกั เรยี นบนั ทกึ ขอ สรปุ เปน ความเรยี ง แผนทคี่ วามคดิ หรอื ผงั มโนทศั นล งในสมดุ พรอ มตกแตง ใหส วยงาม
๑๖. ครูใหนักเรียนนำความรูที่ไดเรียนมาไปประพฤติปฏิบัติใหเหมาะสมและสอดคลองกับ
สถานการณใ นชวี ติ ประจำวนั รวมทงั้ เผยแพรใ หบ คุ คลอน่ื เชน คนในครอบครวั เพอ่ื นบา น ไดร แู ละเขา ใจ

๑๐. สือ่ การเร�ยนรแŒู ละแหลง‹ การเร�ยนรŒู

๑. ภาพการบำเพ็ญประโยชนต าง ๆ ในสังคม
๒. กิจกรรม/ใบงานท่ี ๕ เร่อื ง การเสียสละเพือ่ สังคม
๒. แบบประเมินพฤตกิ รรมในการทำงานเปน รายบุคคลและเปนกลุม
๓. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ บรษิ ทั สำนกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จำกดั

๑๑. บนั ทึกหลังการจดั การเรย� นรŒู

๑. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนรู
แนวทางการพฒั นา

๒. ปญ หา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นรู
แนวทางแกไ ข

๓. สง่ิ ท่ไี มไดปฏิบตั ติ ามแผน
เหตุผล

๔. การปรบั ปรงุ แผนการจดั การเรยี นรู

ลงชอ่ื ผูสŒ อน
//

50 ¤Ù‹Á×ͤÃÙ แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทีพ่ ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๒
เวลา ๑ ช่วั โมง
แผนการจัดการเร�ยนรทูŒ ี่ ๗

ความมีวน� ัยในตนเอง (๑)

กลมุ‹ สาระการเรียนรŒูสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
หน‹วยการเรยี นรŒูที่ ๑ ความเปนไทย

๑. จดุ เนŒน

จุดเนนŒ ท่ี ๑ ความเปนไทย
๑.๑ ลกั ษณะทีด่ ีของคนไทย (มารยาทไทย กตญั กู ตเวที เอ้อื เฟอ เผอื่ แผ เสยี สละ)

จุดเนนŒ ท่ี ๕ ความมวี นิ ัยในตนเอง
ความซ่ือสตั ยส ุจรติ ความขยนั หม่ันเพยี ร ความอดทน

๒. ผลการเรย� นรŒู

๑๐. ปฏบิ ตั ติ นเปนผูมีวนิ ยั ในตนเอง

๓. สาระสาํ คัญ/ความคดิ รวบยอด

ความมีวนิ ยั ในตนเอง คอื การท่บี ุคคลสามารถควบคุมตนเองใหปฏิบัตใิ นสง่ิ ที่พงึ ปรารถนา ตาม
ระเบยี บและกฎเกณฑที่กำหนด เชน ระเบยี บของครอบครัว ของโรงเรยี น ของชุมชน ของประเทศชาติ
ตามหลักศลี ธรรม ซ่ึงเปนการปฏบิ ตั ิทเ่ี กิดขนึ้ มาจากตนเอง ไมใ ชถ กู บคุ คลอื่นควบคมุ หรือบังคบั

ความซอื่ สตั ยส จุ รติ หมายถงึ ความประพฤตดิ ี ความประพฤตชิ อบ ประพฤตติ รง จรงิ ใจ ไมค ดโกง
และไมหลอกลวง เปนการประพฤติตามความเปนจริงและความถูกตองตอตนเอง ผูอ่ืน ประเทศชาติ
ท้งั ทางกาย วาจา และใจ จึงเปน คณุ ธรรมทค่ี วรปลูกฝง และอบรมใหม ใี นตน

ความขยนั หมนั่ เพยี รและอดทน หมายถงึ การทำหนา ทก่ี ารงานดว ยความพยายาม เขม แขง็ อดทน
ไมทอ ถอย เปนคณุ ธรรมจริยธรรมที่นำไปสคู วามสำเร็จ

๔. สาระการเร�ยนรŒู

๓. ความมวี นิ ยั ในตนเอง
๓.๑ ความซ่อื สัตยสจุ รติ
๓.๒ ความขยันหมนั่ เพยี รและอดทน

๕. สมรรถนะสําคัญของผูเŒ ร�ยน

๑. ความสามารถในการแกปญ หา
๒. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ

๖. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค

๑. มีวนิ ัย
๒. ซื่อสัตยสจุ ริต
๓. มงุ มัน่ ในการทำงาน
๔. มีจติ สาธารณะ

¤‹ÁÙ ×ͤÃÙ แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพ่มิ เติม หนาทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ 51

๗. ชนิ� งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การเขียนเรียงความเกี่ยวกับความมีวินัยในตนเองเร่ือง ความซ่ือสัตยสุจริต ความขยันหมั่น
เพียรและอดทน
– การทำกิจกรรม/ใบงาน

๘. การวดั และประเมนิ ผล

ดŒานความรูŒ (K) ดาŒ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดŒานทักษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซกั ถามความรเู รื่อง และคา‹ นิยม (A) • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ

การมีวินัยในตนเอง • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ ทำงานเปนรายบุคคลและ
๒. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ทำงานเปนรายบุคคลในดา น เปนกลมุ ในดานการสอื่ สาร
ความมีวนิ ยั ความใฝเรยี นรู การคิด การแกปญหา ฯลฯ
เปนรายบคุ คลและเปนกลุม ฯลฯ

๙. กิจกรรมการเร�ยนรŒู

ขัน้ นำเขาŒ สบ‹ู ทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดน่ังเรียนแบบรูปตัว U น่ังเรียนเปนกลุม นำนักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หอ งโสตทศั นศึกษา สนามหญา ใตร ม ไม
๒. ครูแจง ผลการเรียนรูใหน กั เรียนทราบ
๓. ครูซักถามนักเรียนวา “เพราะเหตุใดเราจึงตองมีความซื่อสัตยสุจริตเม่ืออยูรวมกันในสังคม”
ใหนกั เรียนชว ยกันแสดงความคิดเห็น
๔. ครูสรุปความรูแ ลว เชื่อมโยงไปสูเ นอื้ หาที่จะเรียน
ขน้ั จดั กิจกรรมการเรียนรŒู
๕. ครูใหนักเรียนอานเนื้อหาเก่ียวกับความมีวินัยในตนเองเร่ือง ความซื่อสัตยสุจริต ความขยัน
หมั่นเพยี รและอดทน ในหนังสอื เรยี น รายวิชาเพ่ิมเติม หนา ทีพ่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ ของ วพ. จากน้นั
ซักถามนกั เรียนเกีย่ วกบั เรื่องทอ่ี า นในประเดน็ ตาง ๆ
๖. ครูใหนักเรียนเขียนเรียงความเรื่อง “คุณลักษณะของผูมีความซ่ือสัตยสุจริต ผูมีความขยัน
หมั่นเพยี ร และผูมคี วามอดทนในมมุ มองของขาพเจา”
๗. ครูสุมเลือกนักเรียนออกมานำเสนอผลงานของตนเอง
๘. ครูกลา วชมเชยนักเรียน พรอ มทงั้ สรุปการนำเสนอผลงานของนกั เรียน
๙. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอ
ผลงานของนกั เรยี นตามแบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทำงานเปนรายบคุ คล
ขน้ั ขยายความรูŒ
๑๐. ครูใหน ักเรียนทำกิจกรรม/ใบงานท่ี ๖ เร่ือง เราเปน คนดีมีวินยั ในตนเอง

52 ¤ÙÁ‹ ×ͤÃÙ แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพิ่มเตมิ หนาทีพ่ ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒
ขนั้ ประเมิน
๑๑. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอท่ีเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเรื่องอะไรบางท่ียัง

ไมเ ขา ใจหรอื มีขอสงสยั ถามคี รูชว ยอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ใหนักเรยี นเขา ใจ
๑๒. นักเรียนรวมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมวามีปญหาหรืออุปสรรคใด และไดมีการแกไข

อยา งไรบาง
๑๓. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนที่ไดรับจากการเรียนหัวขอนี้และ

การปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
๑๔. ครูทดสอบความเขาใจของนักเรยี นโดยการใหตอบคำถาม เชน
๑) ถา คนในสังคมขาดความซื่อสตั ยส จุ รติ จะเปนอยางไร
๒) เราสามารถฝกตนเองใหเ ปน ผูมคี วามขยนั หม่ันเพียรไดอยางไร
ขน้ั สรปุ และนำไปใชŒ
๑๕. ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั สรปุ ความรเู กย่ี วกบั ความมวี นิ ยั ในตนเองเรอื่ ง ความซอื่ สตั ยส จุ รติ ความ

ขยันหมั่นเพยี ร และอดทน โดยใหนกั เรยี นบนั ทกึ ขอสรุปเปนความเรยี ง แผนที่ความคดิ หรือผังมโนทศั น
ลงในสมดุ พรอ มตกแตง ใหส วยงาม

๑๖. ครูใหนักเรียนนำความรูที่ไดเรียนมาไปประพฤติปฏิบัติใหเหมาะสมและสอดคลองกับ
สถานการณในชวี ิตประจำวัน

๑๐. สอ่ื การเร�ยนรแูŒ ละแหล‹งการเรย� นรŒู

๑. กิจกรรม/ใบงานที่ ๖ เรอ่ื ง เราเปนคนดมี ีวนิ ยั ในตนเอง
๒. แบบประเมินพฤตกิ รรมในการทำงานเปน รายบุคคล
๓. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ บรษิ ทั สำนกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จำกดั

๑๑. บันทึกหลงั การจดั การเร�ยนรŒู

๑. ความสำเร็จในการจดั การเรยี นรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญ หา/อุปสรรคในการจดั การเรยี นรู
แนวทางแกไข

๓. ส่งิ ทีไ่ มไดปฏิบัตติ ามแผน
เหตุผล

๔. การปรับปรงุ แผนการจดั การเรยี นรู

ลงชอ่ื ผูสŒ อน
//

¤Ù‹ÁÍ× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนา ท่ีพลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ 53

แผนการจดั การเรย� นรŒูท่ี ๘

ความมีว�นัยในตนเอง (๒)

กลมุ‹ สาระการเรียนรสŒู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๒
หน‹วยการเรียนรŒูที่ ๑ ความเปนไทย เวลา ๑ ชว่ั โมง

๑. จุดเนนŒ

จดุ เนŒนท่ี ๑ ความเปนไทย
๑.๑ ลักษณะท่ีดขี องคนไทย (มารยาทไทย กตัญูกตเวที เอือ้ เฟอ เผอ่ื แผ เสยี สละ)

จุดเนนŒ ที่ ๕ ความมีวนิ ยั ในตนเอง
การใฝหาความรู การตง้ั ใจปฏิบตั หิ นา ท่ี การยอมรบั ผลท่เี กิดจากการกระทำของตนเอง

๒. ผลการเร�ยนรูŒ

๑๐. ปฏิบตั ติ นเปนผูมีวินัยในตนเอง

๓. สาระสาํ คญั /ความคิดรวบยอด

การมีวินัยในตนเอง นอกจากจะตองมีความซ่ือสัตยสุจริต ความขยันหมั่นเพียรและอดทนแลว
ยังตอ งมคี ณุ ลกั ษณะสำคญั อน่ื ๆ ท่ที ำใหเปนผมู วี ินัยอยา งแทจรงิ ไดแก

การใฝหาความรู หมายถึง การที่บุคคลตองการท่ีจะแสวงหาความรูจากแหลงการเรียนรูตาง ๆ
ดว ยตนเองและมคี วามตอ งการทจ่ี ะเรยี นรเู พม่ิ เตมิ ตลอดเวลา ไมค อยแตจ ะรอรบั ความรใู นชน้ั เรยี นเพยี ง
อยา งเดยี ว ไมค ดิ วา ตนเองมคี วามรเู พียงพอแลว และเปนคนทีฝ่ ก ใฝท ี่จะเรยี นรูสง่ิ ใหม ๆ ไปตลอดชวี ติ

การตั้งใจปฏิบตั ิหนา ที่ หมายถึง การเอาใจใส มงุ มน่ั ในการทำหนา ทขี่ องตนใหเ กดิ ผลสำเร็จ และ
ผลดีตอ ตนเอง สังคม และประเทศชาติ

การยอมรับผลทเี่ กดิ จากการกระทำของตนเอง หมายถงึ ความรบั ผดิ ชอบในผลที่เกิดข้ึนจากการ
กระทำของตน เมอ่ื เกดิ ผลเสยี หายกไ็ มโ ยนความผดิ ใหแ กผ อู นื่ นอ มรบั ความผดิ พลาด แลว นำมาพจิ ารณา
ไตรต รอง เพ่ือปรบั ปรุงแกไขมใิ หเ กิดความเสยี หาย หรอื เกิดความผดิ พลาดข้นึ อีก

๔. สาระการเรย� นรูŒ

๓. ความมวี นิ ัยในตนเอง
๓.๓ การใฝห าความรู
๓.๔ การต้ังใจปฏบิ ัติหนาที่
๓.๕ การยอมรบั ผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง

54 ¤ÁÙ‹ ×ͤÃÙ แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพม่ิ เติม หนา ท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒

๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผเŒู รย� น

๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกป ญ หา
๔. ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

๖. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค

๑. มวี นิ ัย
๒. ใฝเ รียนรู
๓. มงุ มนั่ ในการทำงาน
๔. มีจิตสาธารณะ

๗. ชนิ� งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การทำ infographic เกี่ยวกบั ความมวี นิ ัยในตนเอง
– การทำกิจกรรม/ใบงาน

๘. การวดั และประเมนิ ผล

ดาŒ นความรŒู (K) ดาŒ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดาŒ นทักษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซักถามความรูเรื่อง และคา‹ นยิ ม (A) • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ

ความมวี ินยั ในตนเอง: • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ ทำงานเปนรายบคุ คลและ
การใฝหาความรู การต้งั ใจ ทำงานเปนรายบคุ คลในดา น เปนกลมุ ในดา นการส่ือสาร
ปฏิบตั ิหนา ที่ และ ความมีวนิ ยั ความใฝเรียนรู การคดิ การแกปญ หา ฯลฯ
การยอมรับผลท่ีเกิดจาก ฯลฯ
การกระทำของตนเอง
๒. ตรวจผลงาน/กิจกรรม
เปน รายบุคคลและเปน กลุม

๙. กจิ กรรมการเร�ยนรŒู

ข้นั นำเขŒาสบู‹ ทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดน่ังเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเปนกลุม นำนักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หอ งโสตทศั นศกึ ษา สนามหญา ใตรมไม

¤ÙÁ‹ Í× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพิ่มเติม หนาท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 55

๒. ครแู จง ผลการเรียนรูใหน ักเรยี นทราบ
๓. ครูใหทบทวนความรูเกี่ยวกับความมีวินัยในตนเองเรื่อง ความซื่อสัตยสุจริต ความขยัน
หม่ันเพียรและอดทน แลวซักถามนักเรียนวา นอกจากวินัยทั้งสองนี้แลว เราควรจะมีวินัยในตนเอง
ในเรอื่ งอะไรอีกบาง
๔. ครใู หน กั เรียนชวยกันตอบ จากนนั้ ครูเฉลยคำตอบแลวกลา วชมเชยนกั เรยี น
๕. ครูสรปุ ความรแู ลวเชอื่ มโยงไปสเู นอ้ื หาที่จะเรยี น
ขน้ั จัดกิจกรรมการเรยี นรูŒ
๖. ครูใหนักเรียนอานเน้ือหาเกี่ยวกับความมีวินัยในตนเองเร่ือง การใฝหาความรู การต้ังใจ
ปฏิบัติหนาท่ี และการยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง ในหนังสือเรียน รายวิชาเพ่ิมเติม
หนาท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒ ของ วพ. จากนนั้ ซักถามนักเรยี นเกีย่ วกับเร่อื งท่ีอา นในประเดน็ ตา ง ๆ
๗. ครใู หนักเรยี นแบง กลมุ ออกเปน ๓ กลมุ สืบคนขอ มูลเพอ่ื ทำ Infographic กลุมละ ๑ หวั ขอ
ดังตอ ไปน้ี
กลุ‹มที่ ๑ การใฝหาความรูในชีวิตประจำวัน
กลุม‹ ที่ ๒ คุณลกั ษณะของผูท่ตี ัง้ ใจปฏบิ ัตหิ นาที่
กลม‹ุ ที่ ๓ การยอมรบั ผลทเี่ กิดจากการกระทำของตนเอง
๘. แตละกลมุ ออกมานำเสนอผลงานหนา ช้นั เรยี น ครกู ลาวชมเชยนกั เรยี น พรอมท้ังสรุปการนำ
เสนอผลงานของนกั เรยี น จากนัน้ ใหน กั เรยี นทำกจิ กรรม/ใบงานท่ี ๗ เร่ือง ความมวี นิ ัยในตนเอง
๙. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอ
ผลงานของนกั เรยี นตามแบบประเมินพฤติกรรมในการทำงานเปน รายบุคคลและเปนกลมุ
ขัน้ ขยายความรŒู
๑๐. ครูใหนักเรียนสำรวจตนเองวาเราเปนคนดีมีวินัยในเร่ืองใดบางลงในแบบบันทึกผลการสำรวจ
ตนเองเรอ่ื ง “วนิ ัยในตวั เรา”
ขน้ั ประเมนิ
๑๑. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเรื่องอะไรบางที่ยัง
ไมเ ขา ใจหรอื มีขอ สงสยั ถา มคี รูชว ยอธบิ ายเพม่ิ เติมใหนกั เรียนเขาใจ
๑๒. นกั เรยี นรว มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ วา มปี ญ หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม กี ารแกไ ข
อยางไรบาง
๑๓. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนท่ีไดรับจากการเรียนหัวขอน้ีและ
การปฏิบตั ิกิจกรรม
๑๔. ครทู ดสอบความเขา ใจของนกั เรยี นโดยการใหตอบคำถาม เชน

๑) เราสามารถปฏิบัติตนเปนผทู ี่รจู กั ใฝหาความรไู ดอ ยา งไร
๒) การรูจักยอมรับผลทเ่ี กิดจากการกระทำของตนเองจะสงผลดีอยา งไร

56 ¤‹ÙÁ×ͤÃÙ แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หนาทีพ่ ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒
ขนั้ สรปุ และนำไปใชŒ
๑๕. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเก่ียวกับความมีวินัยในตนเองเร่ือง การใฝหาความรู

การตั้งใจปฏบิ ตั ิหนาท่ี และการยอมรับผลท่ีเกดิ จากการกระทำของตนเอง โดยใหนกั เรียนบันทกึ ขอ สรปุ
เปน ความเรียง แผนทคี่ วามคิดหรอื ผังมโนทศั นลงในสมุด พรอมตกแตงใหสวยงาม

๑๖. ครูใหนักเรียนนำความรูที่ไดเรียนมาไปประพฤติปฏิบัติใหเหมาะสมและสอดคลองกับ
สถานการณในชีวิตประจำวัน รวมท้ังนำไปเผยแพรใหบุคคลอ่ืน เชน คนในครอบครัว เพ่ือนบาน
ไดรูและเขา ใจ

๑๐. สื่อการเรย� นรูแŒ ละแหล‹งการเรย� นรูŒ

๑. กิจกรรม/ใบงานท่ี ๗ เร่อื ง ความมวี ินัยในตนเอง
๒. แบบบนั ทกึ ผลการสำรวจตนเองเรอื่ ง “วินัยในตัวเรา”
๓. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทำงานเปนรายบุคคลและเปน กลุม
๔. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ บรษิ ทั สำนกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จำกดั

๑๑. บันทึกหลงั การจัดการเรย� นรŒู

๑. ความสำเรจ็ ในการจัดการเรยี นรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญหา/อปุ สรรคในการจัดการเรยี นรู
แนวทางแกไข

๓. ส่ิงทไ่ี มไดป ฏิบตั ิตามแผน
เหตุผล

๔. การปรับปรงุ แผนการจัดการเรียนรู

ลงช่ือ ผสูŒ อน
//

¤Ù‹ÁÍ× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนาท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 57

แผนการจดั การเรย� นรŒูท่ี ๙

ขนบธรรมเนย� ม ประเพณ� และศลิ ปวฒั นธรรม

กล‹ุมสาระการเรียนรูŒสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี ๒
หนว‹ ยการเรยี นรูŒท่ี ๑ ความเปน ไทย เวลา ๑ ชั่วโมง

๑. จุดเนนŒ

จดุ เนŒนท่ี ๑ ความเปนไทย
๑.๒ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และประเพณีไทย (การแตงกาย ภาษา ภูมิปญญา

ประเพณี)
จดุ เนŒนท่ี ๕ ความมีวนิ ัยในตนเอง
การใฝหาความรู การตงั้ ใจปฏิบัตหิ นาที่ การยอมรับผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง

๒. ผลการเร�ยนรูŒ

๓. เหน็ คณุ คา อนรุ กั ษ และสบื สานขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ปิ ญ ญาไทย
๑๐. ปฏบิ ตั ติ นเปนผมู ีวนิ ัยในตนเอง

๓. สาระสาํ คญั /ความคิดรวบยอด

สงั คมไทยมขี นบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมปิ ญญาไทยเปน ของตนเอง โดย
เปนเอกลักษณไทยท้ังดานวิถีชีวิต เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครอง แตสังคมไทยยังมีการเปดรับ
ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ิปญ ญาจากตางสังคมมาประยุกตใ หเขา กบั วถิ ีชวี ิตและ
สภาพแวดลอ มของตนเอง ทำใหม คี วามโดดเดน และกอ ใหเ กดิ ประโยชนใ นการดำเนนิ ชวี ติ ของคนในสงั คม

๔. สาระการเรย� นรูŒ

๔. ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศิลปวฒั นธรรม และภูมปิ ญญาไทย
๔.๑ ขนบธรรมเนียมประเพณี
๔.๒ ศิลปวฒั นธรรม

๕. สมรรถนะสาํ คัญของผŒูเรย� น

๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ิต
๓. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

58 ¤ÙÁ‹ Í× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนาทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒

๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค

๑. ใฝเ รียนรู
๒. รักความเปน ไทย
๓. มจี ติ สาธารณะ

๗. ชน�ิ งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การสบื คน ขอ มูลและนำเสนอผลงานเกย่ี วกบั ขนบธรรมเนยี มประเพณีและศลิ ปวัฒนธรรม
– การทำกจิ กรรม/ใบงาน

๘. การวดั และประเมินผลการเร�ยนรŒู

ดาŒ นความรูŒ (K) ดŒานคุณธรรม จริยธรรม ดŒานทักษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซักถามความรเู รือ่ ง และคา‹ นยิ ม (A) • ประเมินพฤติกรรมในการ

ขนบธรรมเนียม ประเพณี • ประเมนิ พฤติกรรมในการ ทำงานเปน รายบุคคลและ
และศิลปวฒั นธรรม ทำงานเปน รายบคุ คลในดา น เปน กลมุ ในดา นการส่ือสาร
๒. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม ความมีวนิ ัย ความใฝเรยี นรู การคดิ การแกปญหา ฯลฯ
เปนรายบุคคลและเปนกลมุ ฯลฯ

๙. กจิ กรรมการเรย� นรŒู

ขั้นนำเขŒาสูบ‹ ทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดน่ังเรียนแบบรูปตัว U น่ังเรียนเปนกลุม นำนักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หอ งโสตทัศนศึกษา สนามหญา ใตร ม ไม
๒. ครูแจงผลการเรยี นรูใ หนักเรยี นทราบ
๓. ครูใหน กั เรียนดูภาพศลิ ปะไทย เชน วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เจดยี ภเู ขาทอง แลว ซกั ถาม
นักเรยี นวา ศิลปะไทยมคี ณุ คา ตอประเทศชาตอิ ยางไร ใหนกั เรยี นชวยกันตอบ
๔. ครสู รุปความรูแลว เชือ่ มโยงไปสูเ นอ้ื หาทจี่ ะเรยี น
ข้นั จัดกิจกรรมการเรียนรูŒ
๕. ครูใหนกั เรยี นอา นเนือ้ หาเรือ่ ง ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และศลิ ปวฒั นธรรม ในหนังสือเรียน
รายวิชาเพ่ิมเติม หนาท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒ ของ วพ. จากนั้นซักถามนักเรียนเก่ียวกับเร่ืองท่ีอาน
ในประเด็นตา ง ๆ

¤ÙÁ‹ ×ͤÃÙ แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพม่ิ เติม หนา ทพี่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 59
๖. ครใู หนักเรียนแบงกลุม ออกเปน ๓ กลมุ แตล ะกลุมสบื คน ขอ มลู ตามหัวขอ ตอ ไปนี้

กลมุ‹ ที่ ๑ ขนบธรรมเนยี มประเพณีไทย
กลมุ‹ ท่ี ๒ ศลิ ปะไทย
กลุ‹มที่ ๓ วัฒนธรรมไทย
แตละกลุมนำขอมลู ที่ไดมาเรียบเรียงแลว นำเสนอผลงานหนาชัน้ เรียน จากนน้ั ครูกลาวชมเชย
นักเรียนและสรปุ การนำเสนอ
๗. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอผล
งานของนักเรียนตามแบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทำงานเปนรายบุคคลและเปน กลมุ
ขั้นขยายความรูŒ
๘. ครใู หน ักเรียนรว มกนั จดั ปา ยนิเทศเก่ียวกับศิลปวฒั นธรรมไทย
ขั้นประเมนิ
๑๐. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเรื่องอะไรบางที่ยัง
ไมเ ขา ใจหรือมขี อ สงสัย ถา มคี รูชวยอธบิ ายเพิม่ เตมิ ใหน ักเรยี นเขา ใจ
๑๑. นกั เรยี นรว มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ วา มปี ญ หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม กี ารแกไ ข
อยา งไรบาง
๑๒. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชนที่ไดรับจากการเรียนหัวขอน้ีและ
การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม
๑๓. ครทู ดสอบความเขา ใจของนักเรียนโดยการใหตอบคำถาม เชน
๑) ขนบธรรมเนียม ประเพณี และศิลปวฒั นธรรมมคี ณุ คา ในสังคมไทยอยางไร
๒) นักเรยี นเคยมีสวนรวมในการสบื สานขนบธรรมเนยี มประเพณีไทยอยางไรบาง
๑๔. ครูใหนักเรียนทำกจิ กรรม/ใบงานท่ี ๘ เร่อื ง ขนบธรรมเนยี มประเพณีและศลิ ปวัฒนธรรมไทย
ขัน้ สรุปและนำไปใชŒ
๑๕. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่อง ขนบธรรมเนียม ประเพณี และศิลปวัฒนธรรม
โดยใหนักเรียนบันทึกขอสรุปลงในแบบบันทึกความรู หรือสรุปเปนความเรียง แผนท่ีความคิดหรือ
ผงั มโนทศั นลงในสมดุ พรอ มตกแตงใหสวยงาม
๑๖. ครูใหนักเรียนนำความรูที่ไดเรียนมาไปประพฤติปฏิบัติใหเหมาะสมและสอดคลองกับ
สถานการณใ นชวี ติ ประจำวนั รวมทง้ั เผยแพรใ หบ คุ คลอนื่ เชน คนในครอบครวั เพอื่ นบา น ไดร แู ละเขา ใจ

๑๐. ส่ือการเร�ยนรูŒและแหลง‹ การเรย� นรูŒ

๑. ภาพศิลปะไทย เชน วดั พระศรีรัตนศาสดาราม เจดียภูเขาทอง
๒. กิจกรรม/ใบงานท่ี ๘ เร่ือง ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละศิลปวัฒนธรรมไทย
๓. แบบประเมนิ พฤติกรรมในการทำงานเปน รายบคุ คลและเปนกลุม
๔. แบบบนั ทึกความรู
๕. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ บรษิ ทั สำนกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จำกดั

60 ¤Á‹Ù Í× ¤ÃÙ แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพม่ิ เติม หนาท่พี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ / ผูสŒ อน

๑๑. บันทกึ หลังการจดั การเร�ยนรูŒ

๑. ความสำเร็จในการจดั การเรยี นรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญ หา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นรู
แนวทางแกไข

๓. สงิ่ ท่ีไมไดปฏบิ ัติตามแผน
เหตุผล

๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรยี นรู

ลงชื่อ
/

¤ÙÁ‹ Í× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพ่มิ เตมิ หนาท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 61

แผนการจัดการเร�ยนรูŒที่ ๑๐

ภูมปิ ญ˜ ญาไทย

กลุม‹ สาระการเรียนรŒูสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ ๒
หนว‹ ยการเรยี นรŒทู ่ี ๑ ความเปน ไทย เวลา ๑ ชว่ั โมง

๑. จุดเนนŒ

จุดเนŒนที่ ๑ ความเปนไทย
๑.๒ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และประเพณีไทย (การแตงกาย ภาษา ภูมิปญญา

ประเพณี)
จุดเนนŒ ท่ี ๕ ความมวี นิ ยั ในตนเอง
การใฝหาความรู การต้งั ใจปฏิบัติหนา ที่ การยอมรับผลทเ่ี กิดจากการกระทำของตนเอง

๒. ผลการเร�ยนรูŒ

๓. เหน็ คณุ คา อนรุ กั ษ และสบื สานขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ปิ ญ ญาไทย
๑๐. ปฏบิ ตั ติ นเปน ผมู ีวนิ ยั ในตนเอง

๓. สาระสาํ คัญ/ความคดิ รวบยอด

ภมู ปิ ญ ญาไทยเปน มรดกทางวฒั นธรรมทเี่ กดิ จากการสงั่ สมความรดู งั้ เดมิ ทสี่ ะสมจากประสบการณ
ชีวิตของชาวบานเอง หรอื จากการไดรับถา ยทอดมาจากบรรพบรุ ษุ ซึ่งภูมิปญญาแตละดา นน้ันไดร บั การ
เรยี นรูมาเปน ระยะเวลายาวนาน ผานการสงั เกต ทดลองใช ปรับเปลี่ยน แกไขปญหาตา ง ๆ ทเี่ กดิ ข้นึ ใน
การดำรงชวี ติ ดว ยสตปิ ญ ญา ความสามารถ และความเชอ่ื เพอื่ ใหเ หมาะสมกบั สงั คมของตนเอง ภมู ปิ ญ ญา
เดมิ บางอยา งอาจมีการปรบั ปรงุ ใหม บางอยางสรา งขึ้นใหมเพ่อื ใหส อดคลอ งกับยคุ สมัยและความจำเปน
ในขณะนั้น ในขณะท่ีภูมิปญญาบางอยางรับอิทธิพลมาจากตางชาติ โดยอาจนำมาใชเลยหรือนำมา
ผสมผสานกับวัฒนธรรมไทยจนเกดิ เปนภูมิปญ ญาไทย ท้ังนกี้ เ็ พื่อปรบั เปลย่ี นใหเหมาะสมกบั สงั คมไทย

๔. สาระการเร�ยนรูŒ

๔. ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภมู ปิ ญ ญาไทย
๔.๓ ภูมปิ ญ ญาไทย

๕. สมรรถนะสําคญั ของผูเŒ รย� น

๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
๒. ความสามารถในการคิด

62 ¤ÙÁ‹ Í× ¤ÃÙ แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนาทพี่ ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒

๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค

๑. รักความเปนไทย
๒. มีจิตสาธารณะ

๗. ช�นิ งาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การสรุปสาระสำคญั เก่ยี วกบั ภูมิปญญาไทย
– การทำกิจกรรม/ใบงาน

๘. การวัดและประเมนิ ผลการเรย� นรŒู

ดาŒ นความรูŒ (K) ดาŒ นคุณธรรม จริยธรรม ดŒานทักษะ/กระบวนการ (P)
๑. ซกั ถามความรูเ รอ่ื ง และคา‹ นิยม (A) • ประเมินพฤตกิ รรมในการ

ภูมปิ ญญาไทย • ประเมนิ พฤติกรรมในการ ทำงานเปนรายบคุ คลและ
๒. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ทำงานเปนรายบุคคลในดาน เปนกลุมในดานการส่อื สาร
ความมีวนิ ัย ความใฝเรยี นรู การคดิ การแกปญหา ฯลฯ
เปนรายบคุ คลและเปน กลุม ฯลฯ

๙. กจิ กรรมการเรย� นรูŒ

ข้นั นำเขาŒ ส‹บู ทเรยี น
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดน่ังเรียนแบบรูปตัว U น่ังเรียนเปนกลุม นำนักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หองโสตทัศนศกึ ษา สนามหญา ใตรมไม
๒. ครแู จง ผลการเรียนรูใหนักเรยี นทราบ
๓. ครใู หน กั เรยี นดวู ดี ทิ ศั นเ กยี่ วกบั ภมู ปิ ญ ญาไทย แลว อธบิ ายความหมายเกย่ี วกบั ภมู ปิ ญ ญาไทย
สน้ั ๆ
๔. ครสู รุปความรูแลว เช่ือมโยงไปสูเ นื้อหาท่จี ะเรียน
ขั้นจดั กจิ กรรมการเรียนรูŒ
๕. ครูใหนกั เรยี นอานเนอื้ หาเร่ือง ภมู ปิ ญ ญาไทย ในหนังสือเรยี น รายวิชาเพิ่มเตมิ หนาท่พี ลเมือง
๓–๔ ม. ๒ ของ วพ. จากน้ันซักถามนักเรียนเก่ียวกับเร่ืองท่ีอานในประเด็นตาง ๆ แลว ใหน กั เรยี น
สรปุ สาระสำคญั ลงในแบบบนั ทกึ ความรู
๖. ครใู หน กั เรยี นทำกจิ กรรม/ใบงานท่ี ๙ เรอ่ื ง ภมู ปิ ญ ญาไทยทฉ่ี นั รจู กั
๗. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอ
ผลงานของนักเรยี นตามแบบประเมินพฤตกิ รรมในการทำงานเปนรายบุคคล
ขน้ั ขยายความรูŒ
๘. ครูใหนักเรียนเขียนเรียงความเร่ือง “เราจะสืบสานภูมิปญญาไทยในทองถ่ินใหยังคงอยูสืบไป
ไดอยางไร” แลวสงครเู พือ่ คัดเลอื กผลงานท่ดี ีและเหมาะสมเผยแพรใ นโรงเรียน

¤ÁÙ‹ Í× ¤ÃÙ แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพิ่มเติม หนาท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 63
ขั้นประเมนิ
๙. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเร่ืองอะไรบางท่ียัง
ไมเขา ใจหรอื มขี อสงสัย ถา มีครชู วยอธบิ ายเพ่มิ เติมใหน ักเรียนเขา ใจ
๑๐. นักเรียนรวมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมวามีปญหาหรืออุปสรรคใด และไดมีการแกไข
อยางไรบาง
๑๑. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนท่ีไดรับจากการเรียนหัวขอนี้และ
การปฏิบัติกจิ กรรม
๑๒. ครูทดสอบความเขา ใจของนกั เรยี นโดยการใหตอบคำถาม เชน

๑) ภมู ปิ ญญาในทองถิน่ เกิดข้ึนจากอะไร
๒) ภูมปิ ญญาไทยในทองถ่ินของนักเรยี นมอี ะไรบาง ยกตัวอยา ง
ขั้นสรปุ และนำไปใชŒ
๑๓. ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั สรปุ ความรเู รอื่ ง ภมู ปิ ญ ญาไทย โดยใหน กั เรยี นบนั ทกึ ขอ สรปุ เปน ความ
เรยี ง แผนทคี่ วามคดิ หรอื ผงั มโนทศั นล งในสมดุ พรอมตกแตงใหสวยงาม
๑๔. ครูใหนักเรียนนำความรูที่ไดเรียนมาไปประพฤติปฏิบัติใหเหมาะสมและสอดคลองกับ
สถานการณในชีวิตประจำวัน รวมท้ังนำไปเผยแพรใหบุคคลอื่น เชน คนในครอบครัว เพ่ือนบาน
ไดร ูและเขาใจ

๑๐. สื่อการเร�ยนรŒูและแหลง‹ การเร�ยนรูŒ

๑. วดี ิทัศนเกี่ยวกับ ภมู ปิ ญ ญาไทย
๒. กจิ กรรม/ใบงานที่ ๙ เร่ือง ภูมิปญญาไทยท่ฉี ันรจู ัก
๓. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทำงานเปน รายบคุ คล
๔. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ บรษิ ทั สำนกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จำกดั

๑๑. บันทึกหลงั การจดั การเรย� นรูŒ

๑. ความสำเรจ็ ในการจัดการเรยี นรู
แนวทางการพัฒนา

๒. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู
แนวทางแกไ ข

๓. ส่ิงทไ่ี มไดป ฏบิ ตั ิตามแผน
เหตุผล

๔. การปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู

ลงชื่อ ผูสŒ อน
//

64 ¤‹ÙÁ×ͤÃÙ แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนาท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒

แผนการจดั การเร�ยนรŒูท่ี ๑๑

กจิ กรรมบูรณาการ ทบทวน โครงงาน และทดสอบกลางภาค

กลุ‹มสาระการเรยี นรสูŒ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๒
หน‹วยการเรยี นรูŒที่ ๑ ความเปนไทย เวลา ๑ ช่ัวโมง

๑. จดุ เนŒน

จดุ เนนŒ ที่ ๑ ความเปน ไทย
๑.๑ ลกั ษณะท่ดี ขี องคนไทย (มารยาทไทย กตญั ูกตเวที เออ้ื เฟอเผ่ือแผ เสยี สละ)
๑.๒ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และประเพณีไทย (การแตงกาย ภาษา ภูมิปญญา

ประเพณ)ี
จุดเนนŒ ท่ี ๕ ความมวี ินยั ในตนเอง
ความซอ่ื สตั ยส จุ รติ ความขยนั หมน่ั เพยี ร ความอดทน การใฝห าความรู การตงั้ ใจปฏบิ ตั หิ นา ที่

การยอมรบั ผลทเี่ กิดจากการกระทำของตนเอง

๒. ผลการเรย� นรูŒ

๑. มีสวนรว มและแนะนำผอู ื่นใหอนุรักษม ารยาทไทย
๒. แสดงออกและแนะนำผูอื่นใหมีความเออื้ เฟอเผอื่ แผ และเสยี สละตอสังคม
๓. เหน็ คณุ คา อนรุ กั ษ และสบื สานขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ปิ ญ ญาไทย
๑๐. ปฏิบตั ติ นเปนผมู ีวินัยในตนเอง

๓. สาระสําคญั /ความคิดรวบยอด

เอกลักษณค วามเปนไทยแสดงออกไดจ ากมารยาทไทยในดานตา ง ๆ ไมวาจะเปนการแสดงความ
เคารพ การสนทนา การแตงกาย การมีสมั มาคารวะ ความเอือ้ เฟอเผ่ือแผแ ละเสยี สละ ซงึ่ เปนลกั ษณะ
นสิ ัยทด่ี ขี องคนไทย

นอกจากการมีมารยาทไทยท่ีงดงามแลว เราในฐานะท่ีเปนคนไทยตองรูจักท่ีจะประพฤติตนใหมี
วินยั ในเรอ่ื ง ความซ่ือสตั ยสุจรติ ความขยันหม่ันเพียร ความอดทน การใฝรูใ ฝเ รยี น การตง้ั ใจปฏบิ ัติ
หนาท่ี และการยอมรับผลทีเ่ กดิ จากการกระทำของตนเอง

ความเปน ไทยสามารถแสดงออกไดอ กี แงม มุ หนงึ่ ผา นทางขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม
และภูมิปญญาไทย ซ่ึงเปนศาสตรที่แสดงออกถึงเอกลักษณและความเปนชาติอารยะ เราตองเรียนรู
ท่ีจะอนุรักษ สืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาไทยเหลาน้ีใหคงอยูคู
สังคมไทย

¤ÙÁ‹ Í× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนา ทีพ่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 65
กจิ กรรมเสนอแนะ เปน กจิ กรรมบรู ณาการทรี่ วบรวมหลกั การและความคดิ รวบยอดในเรอ่ื งตา ง ๆ
ท่นี ักเรยี นไดเรียนรูไปแลวมาประยกุ ตใ ชใ นการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม เชน การศกึ ษาคน ควาและทำรายงาน
นักเรยี นจะตอ งมีความรูเ ร่อื ง การวางแผน ทกั ษะการทำงานกลมุ ทกั ษะการสืบคนขอมูล
โครงงาน เปน การกำหนดใหนกั เรยี นปฏิบัติโครงงาน โดยเสนอแนะหวั ขอ แนวทางปฏิบัติ หรอื
อาจเลอื กทำโครงงานอืน่ ตามความสนใจ โดยใหเ กย่ี วของกบั เนื้อหาในบทเรียน
การประยกุ ตใชใ นชวี ติ ประจำวนั เปนตัวอยางสถานการณ กิจกรรม หรอื คำถามเพอ่ื ใหน กั เรยี น
เหน็ แนวทางในการนำเนื้อหาความรูใ นหนว ยการเรียนรนู นั้ ๆ ไปประยุกตใ ชใ นชีวติ ประจำวัน
คำถามทบทวน เปน คำถามแบบอตั นัยเพอ่ื ทบทวนผลการเรียนรขู องนกั เรียน

๔. สาระการเร�ยนรŒู

๑. มารยาทไทย
๑.๑ การแสดงความเคารพ
๑.๒ การสนทนา
๑.๓ การแตง กาย
๑.๔ การมีสัมมาคารวะ

๒. ความเอือ้ เฟอเผือ่ แผแ ละเสียสละตอ สงั คม
๓. ความมวี นิ ัยในตนเอง

๓.๑ ความซอื่ สัตยส ุจริต
๓.๒ ความขยนั หมน่ั เพียรและอดทน
๓.๓ การใฝหาความรู
๓.๔ การตงั้ ใจปฏิบตั หิ นาท่ี
๓.๕ การยอมรับผลทีเ่ กดิ จากการกระทำของตนเอง
๔. ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ิปญ ญาไทย
๔.๑ ขนบธรรมเนียมประเพณี
๔.๒ ศลิ ปวัฒนธรรม
๔.๓ ภมู ปิ ญ ญาไทย
๕. กิจกรรมเสนอแนะ
๖. โครงงาน
๗. การประยกุ ตใ ชในชีวิตประจำวนั
๘. คำถามทบทวน

๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผเูŒ รย� น

๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกป ญ หา

66 ¤Á‹Ù Í× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพ่ิมเติม หนาท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒
๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ
๕. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

๖. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค

๑. ซ่อื สตั ยสจุ ริต
๒. มวี ินัย
๓. ใฝเ รียนรู
๔. อยอู ยา งพอเพยี ง
๕. มงุ ม่นั ในการทำงาน
๖. รักความเปนไทย
๗. มีจติ สาธารณะ

๗. ช�ินงาน/ภาระงาน

ภาระงานรวบยอด
– การแสดงละครเวที
– โครงงานเรอ่ื ง การเปน คนไทยที่ดมี ีมารยาทและมีวนิ ัยในตนเอง
– การเผยแพรค วามรใู นหัวขอการประยุกตใชใ นชีวิตประจำวัน
– การตอบคำถามทบทวน
– การทำกจิ กรรม/ใบงาน
– การทำแบบทดสอบหลงั เรียน

๘. การวัดและประเมนิ ผลการเร�ยนรูŒ

ดŒานความรูŒ (K) ดาŒ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดาŒ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
๑. ทดสอบหลังเรยี น และคา‹ นยิ ม (A) • ประเมนิ พฤติกรรมในการ
๒. ซักถามความรูเรอื่ ง
• ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ ทำงานเปน รายบุคคลและ
ความเปน ไทย ทำงานเปนรายบุคคลในดา น เปนกลมุ ในดา นการสอ่ื สาร
๓. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม ความมีวนิ ยั ความใฝเรยี นรู การคดิ การแกปญ หา ฯลฯ
ฯลฯ
เปน รายบุคคลและเปน กลุม

๙. กจิ กรรมการเรย� นรูŒ

ขั้นนำเขาŒ ส‹บู ทเรียน
๑. ครสู รา งบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ มในการเรยี นรทู เ่ี หมาะสมเพอ่ื กระตนุ ใหน กั เรยี นอยากเรยี นรู
เชน จัดน่ังเรียนแบบรูปตัว U นั่งเรียนเปนกลุม นำนักเรียนศึกษานอกหองเรียน เชน หองประชุม
หองโสตทศั นศกึ ษา สนามหญา ใตรม ไม

¤‹ÙÁ×ͤÃÙ แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพิม่ เตมิ หนา ทีพ่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 67

๒. ครแู จงผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
๓. ครสู มุ เลอื กนกั เรยี นออกมาหนา ชน้ั เรยี น ๔ คน แลว ใหแ ตล ะคนพดู ประเดน็ ตามหวั ขอ ในหนงั สอื
เรยี นคนละ ๑ ประเด็น จากนัน้ ครอู ธบิ ายเสริมพรอ มกลา วชมเชยนกั เรยี น
๔. ครูสรปุ ความรแู ลว เช่อื มโยงไปสกู จิ กรรมท่ีจะปฏบิ ัติ
ข้นั จัดกิจกรรมการเรียนรŒู
๕. ครูทบทวนความรูเรื่อง มารยาทไทย จากนั้นใหนักเรียนอานเนื้อหาเกี่ยวกับความเปนไทย
เรือ่ ง ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ิปญญาไทย ในหนังสอื เรียน รายวิชาเพิม่ เตมิ
หนา ทพ่ี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ ของ วพ. และใหน กั เรียนทำกจิ กรรมเสนอแนะ โดยใหน ักเรยี นรวมกันจัด
แสดงละครเวทีทีแ่ สดงออกถงึ การอนุรกั ษมารยาทไทย รวมถงึ ขนบธรรมเนยี มทด่ี ีงามของไทย
๖. ในขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ใหครูสังเกตพฤติกรรมในการทำงานและการนำเสนอ
ผลงานของนักเรยี นตามแบบประเมินพฤตกิ รรมในการทำงานเปนรายบุคคลและเปนกลมุ
๗. ครูมอบหมายใหนักเรียนทำโครงงานเร่ือง การเปนคนไทยท่ีดีมีมารยาทและมีวินัยในตนเอง
หรืออาจเลือกทำโครงงานอ่ืนตามความสนใจ โดยใหเกี่ยวขอ งกบั เน้ือหาในบทเรยี น และใหน ักเรยี นเสนอ
ชื่อโครงงานใหครพู ิจารณากอน
๘. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็นท่ีกำหนดใหในหัวขอ การประยุกตใชใน
ชวี ติ ประจำวนั

– นักเรียนจะนำความรูเก่ียวกับความเอ้ือเฟอเผื่อแผและความเสียสละตอสังคมไปประพฤติ
และแนะนำผอู ื่นในชุมชนใหป ฏบิ ตั ไิ ดโดยวธิ กี ารใดบาง

จากน้ันครแู นะนำใหนกั เรยี นนำความรทู ี่ไดไ ปประยุกตใชในชีวติ ประจำวันใหเ หมาะสม
๙. ครมู อบหมายใหนักเรียนตอบคำถามในหัวขอ คำถามทบทวน เปนการบา น
ข้ันขยายความรูŒ
๑๐. ครูใหน กั เรียนแบงกลุมออกเปน ๔ กลมุ แตละกลมุ เลอื กจัดปา ยนิเทศ ๑ หัวขอ ไมซ ้ำกันตาม
เนือ้ หาในหนงั สือเรียน
ขนั้ ประเมิน
๑๑. ครูใหนักเรียนพิจารณาวา จากหัวขอท่ีเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเร่ืองอะไรบางท่ียัง
ไมเขาใจหรือมีขอสงสยั ถามีครชู วยอธิบายเพม่ิ เตมิ ใหนกั เรียนเขาใจ
๑๒. นกั เรยี นรว มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ วา มปี ญ หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม กี ารแกไ ข
อยางไรบา ง
๑๓. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชนที่ไดรับจากการเรียนหนวยนี้และ
การปฏิบตั กิ จิ กรรม
๑๔. ครูใหนักเรียนทำกิจกรรม/ใบงานท่ี ๑๐ เร่ือง ทบทวนความรู เพ่ือทดสอบความเขาใจของ
นักเรยี น

68 ¤ÙÁ‹ Í× ¤ÃÙ แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หนา ท่พี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒
ขน้ั สรปุ และนำไปใชŒ
๑๕. ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั สรปุ ความรเู รอื่ ง ความเปน ไทย โดยใหน กั เรยี นบนั ทกึ ขอ สรปุ ลงในแบบ

บนั ทกึ ความรู หรอื สรปุ เปน ความเรยี ง แผนทคี่ วามคดิ หรอื ผงั มโนทศั นล งในสมดุ พรอ มตกแตง ใหส วยงาม
๑๖. ครใู หน กั เรยี นนำความรทู ไ่ี ดเ รยี นมาไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ปิ ระยกุ ตใ ชใ นชวี ติ ประจำวนั ใหเ หมาะสม

และสอดคลอ งกบั สถานการณใ นชวี ติ ประจำวัน รวมทัง้ นำไปเผยแพรใ หบุคคลอืน่ เชน คนในครอบครัว
เพ่ือนบา น ไดร แู ละเขาใจ

๑๗. ครใู หน กั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น โดยแจกแบบทดสอบใหน กั เรยี นทกุ คน แลว ใหน กั เรยี น
ทำแบบทดสอบ โดยเขยี นเคร่ืองหมาย  ทับตวั อกั ษร (ก–ง) หนาคำตอบที่ถกู ตอ งทสี่ ดุ เพียงคำตอบ
เดียว จากนน้ั ตรวจใหค ะแนน พรอมเฉลยคำตอบของแบบทดสอบกอ นเรยี นและหลงั เรยี น เพอื่ ประเมิน
ผลการเรียนรูของนกั เรียน

๑๘. ครูใหนกั เรยี นทำแบบทดสอบกลางภาค

๑๐. ส่อื การเร�ยนรแูŒ ละแหล‹งการเรย� นรŒู

๑. กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๑๐ เร่อื ง ทบทวนความรู
๒. แบบประเมนิ พฤติกรรมในการทำงานเปนรายบคุ คลและเปน กลุม
๓. แบบบันทึกความรู
๔. แบบทดสอบหลังเรียน
๕. แบบทดสอบกลางภาค
๖. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ บรษิ ทั สำนกั พมิ พว ฒั นาพานชิ จำกดั

๑๑. บนั ทกึ หลังการจัดการเร�ยนรŒู

๑. ความสำเร็จในการจดั การเรียนรู
แนวทางการพฒั นา

๒. ปญ หา/อปุ สรรคในการจดั การเรยี นรู
แนวทางแกไข

๓. ส่ิงท่ีไมไดปฏบิ ัตติ ามแผน
เหตผุ ล

๔. การปรบั ปรงุ แผนการจดั การเรยี นรู

ลงช่อื ผสูŒ อน
//


Click to View FlipBook Version