The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 2 การพัฒนาตนเองและการเห็นคุณค่าแ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ku_Noot_PHRCC, 2022-01-25 01:38:44

หน่วยที่ 2 การพัฒนาตนเองและการเห็นคุณค่าแ

หน่วยที่ 2 การพัฒนาตนเองและการเห็นคุณค่าแ

1

หน่วยท่ี 2

การพัฒนาตนเองและการเห็นคุณคา่ แหง่ ตน

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ คา่ แหง่ ตน

2

หนว่ ยที่ 2
การพฒั นาตนเองและการเหน็ คุณค่าแหง่ ตน

สาระสำคญั
นักจิตวิทยาทงั้ หลายต่างเช่ือว่า มนุษยเ์ ป็นสัตว์สังคมที่สามารถพฒั นาตนเองให้เต็ม ศกั ยภาพ

ในทกุ ๆ ดา้ น ซง่ึ การพฒั นาตนเองนัน้ มนษุ ยจ์ ำเป็นตอ้ งเข้าใจตนเองเป็นอย่างดี โดยอาศยั พนื้ ฐาน
ทางดา้ นการศกึ ษาตนเองและการประเมนิ ตนเอง ซึ่งเปน็ กระบวนการประเมนิ หรอื ตดั สินใจว่าตนเอง
สามารถปฏบิ ตั ิได้ตามเกณฑ์และมาตรฐานที่กำหนดไวต้ ้องใช้กระบวนการพัฒนาตนเอง เป็น
การเปลี่ยนแปลงตวั เองให้เหมาะสมเพือ่ สนองความต้องการและเปา้ หมายของตนเอง หรอื เพ่ือให้
สอดคล้องกับสิง่ ท่สี งั คมคาดหวงั จะเป็นมนษุ ย์ที่สมบูรณ์ต่อตนเองและผ้อู ่นื ต้อง ใช้ หลกั การพฒั นาตน
ในการพัฒนาพฤตกิ รรมการแสดงออกดา้ นคุณค่าของตนเองได้อย่างเหมาะสม (Developing
Assertiveness) ในขณะท่ีอยู่รว่ มกัน จนกระท่ังเกิดความนิยมชมชอบ ไวว้ างใจ มีเจตคติท่ีดีต่อกนั
เกดิ เคารพนบั ถือ เลือ่ มใสและศรทั ธาตามมาในทส่ี ดุ การพัฒนาตวั เองจะชว่ ยให้เราก้าวข้ามผา่ นจดุ
ดอ้ ยของตัวเอง เมอื่ เวลาทเ่ี ราตอ้ งเผชิญปัญหาในอนาคตเราจะได้เตรียมตวั เพื่อรบั มือปัญหาพวกน้ันได้
การเลือกที่จะไม่พฒั นาตัวเองคือการวิง่ หนีปญั หาท่ีพรอ้ มท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตไดท้ ุกเม่ือ เราสามารถ
เริม่ พฒั นาตวั เองได้จากการทำความเข้าใจและรับรูเ้ รื่องของตวั เอง คอยสังเกตความคิด อารมณ์ และ
การตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆ ของตัวเรา เพื่อท่ีจะทำความเข้าใจวา่ มสี ว่ นไหนท่จี ะพัฒนาชีวติ เรา
ให้ดีขึน้ เราควรจะพัฒนาตวั เองในทุกๆ ช่วงของชวี ติ และพยายามทำใหต้ ัวเองเป็นคนที่ดกี วา่ เมื่อวาน
ทุกวนั

สาระการเรียนรู้
1. ความหมายและความสำคัญในการตระหนักรใู้ นตนเอง
2. การสรา้ งความเชอื่ มนั่ ในตนเอง
3. การแสดงพฤตกิ รรมทร่ี บั ผิดชอบต่อสงั คม
4. การฝึกพฤติกรรมกลา้ แสดงออกทีเ่ หมาะสม
5. กระบวนการพฒั นาและการตระหนกั รใู้ นตนเอง
6. พฤติกรรมการแสดงออกคุณค่าแหง่ ตน

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ คา่ แหง่ ตน

3

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายและความสำคัญในการตระหนกั รใู้ นตนเองได้
2. บอกวิธกี ารสร้างความเชื่อมนั่ ในตนเองได้
3. บอกพฤติกรรมการแสดงออกในการรบั ผิดชอบต่อสงั คมได้
4. บอกวธิ กี ารฝกึ พฤตกิ รรมกล้าแสดงออกท่ีเหมาะสมได้
5. บอกกระบวนการพัฒนาและการตระหนกั รใู้ นตนเองได้
6. อธบิ ายถงึ พฤติกรรมท่แี สดงออกถึงคณุ คา่ แห่งตนได้

กิจกรรมการเรยี นการสอน
1. แนะนำช้แี จงเกี่ยวกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ และสาระการเรียนในหนว่ ยท่ี 2
2. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน ตามแผนจดั การเรยี นรหู้ น่วยท่ี 2
3. ทำกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใชเ้ อกสารประกอบการสอนหน่วยท่ี 2
4. ทำกจิ กรรม 2.1, 2.2 และ 2.3 โดยใชเ้ อกสารประกอบการสอนหนว่ ยท่ี 2
5. ทำแบบทดสอบหลงั การเรยี นรู้ ตามแผนจัดการเรยี นรหู้ น่วยท่ี 2

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ คา่ แห่งตน

4

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คุณค่า

จดุ ประสงค์ เพอ่ื ทดสอบพ้ืนฐานความรขู้ องผเู้ รียน
คำช้ีแจง แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก มีจำนวน 10 ขอ้ ๆ ละ 1 คะแนน
คำสง่ั จงกาเคร่อื งหมายกากบาท () ข้อท่ีถูกตอ้ งทีส่ ดุ ลงในกระดาษคำตอบทก่ี ำหนดให้
*****************************************************************************************
1. การรู้จกั ตน (Self Awareness) หมายถงึ ขอ้ ใด

ก. การเข้าใจความรสู้ ึกของตนเอง และมจี ดุ มุ่งหมายของชีวติ
ข. การยอมรับนับถอื ตนเองโดยการประเมนิ ตนเอง
ค. ความสามารถในการรับรู้อารมณ์ของผู้อื่น
ง. การรบั ร้แู ละตัดสินใจเกี่ยวกับตวั เอง

2. ข้อใดต่อไปน้ีจดั เปน็ เอกลักษณ์เฉพาะของคนภาคเหนือ
ก. สผี ิว
ข. อาหาร
ค. ภาษาพูด
ง. ลักษณะนสิ ยั

3. การคดิ ถึงความสามารถ (Strength) ของตนเอง จดั อยูใ่ นการสร้างความเชื่อม่นั ในตนเองขน้ั ใด
ก. ข้ันเรง่ เขา้ ส่จู ดุ หมายความสำเรจ็
ข. ขน้ั เตรียมตวั เดินทาง
ค. ขั้นพัฒนาตนเอง
ง. ข้นั ออกเดนิ ทาง

4. พฤตกิ รรมการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ยกเว้นข้อใด
ก. การชำระภาษรี ายได้
ข. การรักษาความสะอาดในชุมชน
ค. การปฏบิ ัตติ ามกฎหมายจราจร
ง. การจา้ งแรงงานต่างชาติท่ีไมม่ ีใบอนญุ าตเข้าเมือง

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ คา่ แหง่ ตน

5

5. ข้อใดต่อไปนจ้ี ัดเป็นความสำคญั ของการพฒั นาตนเอง
ก. การวางแนวทางให้ตนเองพัฒนาไปสู่เปา้ หมายในชีวติ ได้อยา่ งมน่ั ใจ
ข. การเตรียมความพรอ้ มเพื่อรับกบั สถานการณ์ไดด้ ว้ ยความรู้สกึ ที่ดตี ่อตนเอง
ค. การปรบั ปรงุ พฤติกรรมที่บกพร่องของตนเองเพอ่ื เสริมสร้างคุณลักษณะทส่ี งั คมตอ้ งการ
ง. ถกู ทกุ ข้อ

6. เทคนคิ ทีช่ ่วยในการพัฒนาตนเองและผ้อู นื่ มกี ารเปลย่ี นแปลงเกิดข้นึ คือข้อใด
ก. การกัดรมิ ฝีปากตวั เองเพ่ือแสดงให้เหน็ วา่ ไม่ได้ด่ังใจเพ่ือใหเ้ ขาปรับปรุง
ข. การตง้ั นาฬิกาปลกุ เพอื่ ช่วยใหต้ ื่นทนั เวลาเพื่อไมใ่ ห้ไปทำงานสาย
ค. การโต้ตอบทนั ทีเมื่อคนขา้ งเคียงกระทำไม่ถกู ใจเพ่ือระบายความเครียด
ง. การแสดงความรักให้ทกุ คนรกั ตนเอง

7. “การฝึกสรา้ งความรสู้ ึกท่ดี ีตอ่ ผ้อู ่ืน” เป็นการชว่ ยสรา้ งและพฒั นาอารมณต์ นเองในวิธใี ด
ก. การร้จู กั อารมณ์ตนเอง
ข. การตงั้ เปา้ หมายให้ชดั เจน
ค. การสร้างแรงจงู ใจให้กบั อารมณ์ตนเอง
ง. รกั ษาสมั พันธภาพท่ีดตี อ่ กัน

8. ขอ้ ใดเปน็ ขนั้ ตอนแรกของกระบวนการปรับเปลย่ี นพฤติกรรมของตนเอง
ก. กำหนดพฤติกรรมเปา้ หมาย
ข. รวบรวมข้อมลู พน้ื ฐาน
ค. ควบคมุ พฤตกิ รรมตนเอง
ง. ประเมินพฤตกิ รรมตนเอง

9. พฤติกรรมการแสดงออกที่ยึดตนเองเปน็ ศนู ยก์ ลางโดยละเมิดสทิ ธขิ องผู้อื่น จดั เปน็ การแสดงออก
พฤติกรรมของมนุษย์ในข้อใด

ก. Assertion
ข. Passive
ค. Aggression
ง. Awareness

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ ค่าแหง่ ตน

6

10. พฤตกิ รรมในข้อใดคือการแสดงออกคุณค่าแห่งตนที่ไม่เหมาะสม
ก. สมพงษ์เวลาพดู คุยกบั ผู้อ่ืนไมก่ ลา้ สบตากบั ผสู้ นทนา
ข. สมศรีใชภ้ าษาราชการในการประชมุ คณะทำงานทุกคร้ัง
ค. สมบตั พิ ูดใหก้ ำลังใจเพ่ือนรว่ มงานที่ปว่ ยด้วยโรคเร้อื รงั มานาน
ง. สมศกั ดทิ์ ำงานทวี่ า่ การอำเภอและมาปฏิบตั ิราชการก่อน 8.00 น. ทุกวนั

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ คา่ แหง่ ตน

7

เรือ่ งท่ี 2.1 ความหมายและความสำคญั ของการตระหนักรู้ในตนเอง
การร้จู กั ตน (Self Awareness) คือ การเขา้ ใจความร้สู ึกของตนเอง และจดุ ม่งุ หมายของชีวติ

ทงั้ ระยะส้นั และระยะยาว ตลอดจน การรู้จกั จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ยของตนเองอยา่ งไม่ลำเอยี งเข้าข้างตนเอง
การร้จู ักตน (อัตตญั ญุตา) หมายถงึ การพิจารณาเขา้ ใจตนเอง ได้แก่ การรจู้ ักฐานะที่ตนเองเปน็ อยู่
การประพฤตติ นให้เหมาะสมกับฐานะของตน การปฏบิ ตั ิหน้าที่เหมาะสมกบั ตำแหน่งของตนไม่ก้าว
ก่ายสิทธิและหนา้ ทขี่ องผอู้ ่นื

การท่ีเราเปิดเผยตัวเองมากเท่าไหร่ ก็จะย่ิงใหเ้ ราเรยี นร้ทู ่ีจะเข้าใจตนเอง ยอมรับสภาพความ
เป็นจรงิ ทีเ่ กิดขึ้น การร้จู กั ตนเอง (Self Awareness) รวมไปถึงการรับรแู้ ละร้จู กั ความสามารถของตวั
เราเอง จะต้องรวู้ า่ เราเป็นคนอย่างไร ชอบอะไร ไม่ชอบอะไร เก่งอะไร ไม่เกง่ อะไร และทส่ี ำคญั เรา
ต้องรู้อารมณ์ของตนเองด้วย วา่ ขณะน้เี รามอี ารมณ์เปน็ อย่างไร การรู้จักอารมณต์ นเองจะนำไปสู่การ
ควบคมุ อารมณ์และการแสดงออกท่ีเหมาะสมต่อไป ซงึ่ การท่จี ะรู้จกั ตนเอง รู้อารมณ์ของตนเองได้
ตอ้ งเรม่ิ จากการรู้ตัว หรอื การมสี ติ การรู้จักตนเองเปน็ รากฐานของการสร้างความเชื่อมัน่ ในตนเอง
เพราะการร้จู กั ตนเองหมายรวมถึง ขดี ความสามารถของตัวเรา รู้ขอ้ จำกดั ของตัวเองเรา อะไรท่ีทำได้
อะไรที่เกนิ ฝนั การร้จู ักตนทำใหเ้ ราเขา้ ใจผู้อืน่ ได้มากข้นึ เราจะพบว่ามบี างเรอื่ งท่ีเราคลา้ ยคนอนื่ และ
มอี ีกหลายเรื่องที่แตกต่างกัน เชน่ เจตคติ ความคิด ความเชอ่ื ประสบการณ์ ฯลฯ ซงึ่ สิ่งเหล่านเี้ องท่ี
ผลักดนั ใหเ้ รามีพฤติกรรมหรือการแสดงออกตา่ งกัน เม่ือเราไดเ้ ขา้ ใจปจั จยั ตา่ งๆ เหลา่ น้ี กจ็ ะทำให้
เกิดการยอมรบั และเขา้ ใจผู้อ่ืนในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ

การเข้าใจผู้อ่นื (Empathy) หมายรวมถึง ความสามารถรบั รู้อารมณผ์ ู้อ่ืน เข้าใจถงึ มุมมองของ
คนเหล่านัน้ เปน็ ความรูส้ ึกแบบเอาใจเขามาใสใ่ จเรา และให้ความสนใจตอ่ ความกังวลใจของคน
ดังกลา่ ว การที่จะเข้าใจคนอ่นื ไดด้ ีต้องเปดิ ใจตนเองรับรู้กรอบสัญญานทางอารมณ์ได้อย่างกวา้ งขวาง
จงึ ไวในการรับรถู้ ึงความรสู้ กึ ทางอารมณข์ องผู้อื่นโดยไมต่ ้องพูด เป็นผรู้ ับฟังอยา่ งต้ังใจและสามารถจับ
ประเดน็ ทเ่ี ป็นมมุ มองของผู้อ่ืนได้ดี ดว้ ยทกั ษะในการเข้าใจความรูส้ กึ ผอู้ ่ืน เราจะเขา้ กับบุคคลต่างๆ
ท่มี าจากความหลากหลายทางภมู หิ ลัง และวฒั นธรรมได้ การทจี่ ะรักษาสัมพนั ธภาพทีด่ ี และยาวนาน
น้นั เราตอ้ งทำใหเ้ ขารสู้ ึกวา่ เรา

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ คา่ แห่งตน

8

การตระหนักรู้ในตนเอง คือ การท่ีมนุษย์ร้ตู วั เองวา่ เป็นอย่างไรและมคี วามรสู้ ึกอะไรเกิดข้ึนใน
ขณะน้ีและเด๋ยี วนี้ ทราบถึงลักษณะเฉพาะของตนเอง และการรสู้ ึกของตนเองท่ีมีตอ่ ตนเอง ตอ่ คนอืน่
และต่อสถานการณต์ ่างๆ การแสดงออกของพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อตนเองและคนอ่ืน ตลอดจน
ความต้องการและความปรารถนาดีของตนเอง ซงึ่ การร้จู ักและเข้าใจตนเองประกอบดว้ ยมโนมติสำคญั
8 ประการ ดังน้ี

1. อัตตา (Self) หรอื ตวั ตนของตนเอง หมายถึง ส่วนรวมทัง้ หมดของบคุ คล ซง่ึ ประกอบด้วย
ร่างกาย จิตใจ สงั คม พฤติกรรม คา่ นิยม ความรู้สึกนกึ คิดเกย่ี วกับตนเองตามความเป็นจรงิ ซง่ึ การรับรู้
ตนเองของบุคคลจะรบั รู้อย่ใู นระดบั จติ สำนึก การพฒั นาของอตั ตา (Self Development) การรบั รู้
ของตนเองทีม่ ีมาต้งั แต่เกดิ และพัฒนามาตลอดจนถงึ วัยสงู อายุ โดยไดร้ บั อิทธพิ ลจากการอบรมเล้ยี งดู
การมปี ฏิสมั พันธ์กับบุคลในครอบครัว สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม แสดงออกโดยการรบั รูล้ ักษณะรปู ร่าง
หน้าตา สมรรถภาพความแขง็ แรงลกั ษณะนสิ ัย จดุ อ่อนและจดุ แขง็

2. อตั มโนทศั น์ (Self Concept) เป็นการรบั รแู้ ละตัดสินใจเก่ยี วกบั ตนเองในดา้ นต่างๆ เช่น
ลักษณะนิสัย บคุ ลกิ ภาพ ความสามารถ ความภาคภูมใิ จ คุณค่าศักด์ิศรีแหง่ ตน ความเชื่อ คา่ นยิ ม
จริยธรรม อตั มโนทัศน์เปน็ การผสมผสานระหวา่ งอตั ตา ภาพลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์เฉพาะตน และคณุ ค่า
ศกั ดิศ์ รีแหต่ นที่ไดร้ ับประสบการณจ์ ากการปฏสิ ัมพันธก์ ับสัดมและส่งิ แวดล้อม ซึ่งการรบั รู้อาจจะ
เป็นจรงิ หรอื คลาดเคลือ่ นไปจกความจรงิ ก็ได้ แบรร่ี ีย์ ได้กล่าวถงึ สัมพนั ธภาพเพื่อการบำบัดวา่ เป็น
การช่วยใหผ้ ู้รบั บริกรตระหนกั ถึงความต้องการความชว่ ยเหลือของตนเองเปน็ กระบวนการสรา้ ง
สัมพันธภาพเพ่ือชว่ ยให้ผู้รบั บรกิ ารจักภาวะจิตสังคมของตนเอง และปรารถนาทจี่ ะคล่คี ลายด้วย
ตนเอง

3. อุดมคตแิ หง่ ตน (Self Idea/mage) เปน็ อุดมคติ ความหวัง ภาพในอนาคตหรอื ความ
ปรารถนาทตี่ นเองอยากเปน็ โดยคาดหวงั ว่าตนเองควรสมบูรณ์เพยี บพรอ้ มในทุกๆ ด้าน ซง่ึ ความ
ปรารถนาจะเปน็ แรงผลักดนั ในจติ ใจให้บุคคลปฏิบตั ิและพัฒนาตนเองไปสู่เป้าที่คาดหวังไว้

4. ภาพลักษณ์ทางกายแห่งตน (Body mage) เป็นการรับรเู้ กยี่ วกบั รา่ งกายของตน เช่น
นำ้ หนกั ส่วนสงู ความพิการ การเจ็บปวยทางกายและจติ ใจ การพัฒนาการรับรู้ภาพลักษณท์ างกาย
แหต่ นได้รบั อทิ ธพิ ลจากลงั คมและสิ่งแวดล้อม

5. มโนธรรมแหง่ ตน (Moral mage) เปน็ ความคดิ ความเชื่อ การตดั สนิ โจเกย่ี วกับการ
แสดงพฤติกรรมต่างๆ ของตน ว่ามีความถูกต้อง รรู ับผิดชอบชั่วดี มจี ริยธรรม ค่านยิ ม ความเชือ่
สอดคลอ้ งกบั กฎเกณฑ์ ระเบียบประเพณี วฒั นธรรม ในสงั คมทต่ี นเองอาศัยอยู่

6. ศักดิศ์ รแี ห่งตน (Self esteem) เป็นการยอมรับนบั ถือตนเอง ประเมินตนเองในดา้ นบวก
และลบ เช่น ความมคี ุณค่า ความละอาย ความรกั ความเกลยี ด ความเคารพ การนับถือตนเอง ซ่ึงเกดิ
จากการผสมผสานการรบั ระหวา่ งอัตมโนทัศน์ ภาพลกั ษณ์ มโนธรรมแห่ตน ซง่ึ ได้รับประสบการณ์

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ ค่าแห่งตน

9

จากการปฏิบัติสมั พันธก์ ับสงั คม และส่งิ แวดลอ้ มมาตั้งแต่วยั เด็ก
การพัฒนาคุณค่าศกั ดศ์ิ รแี หง่ ตน เริม่ จากการไดร้ ับความรักและการยอมรับจากบุคคลอ่ืน

และพัฒนาตนเองไปส่เู ป้าหมายไดส้ ำเรจ็ คนทม่ี ีความภาคภูมิใจตำ่ เกดิ จกการสญู เสยี ความรกั หรอื ไม่
เคยได้รับความรกั และการยอมรบั และการยกย่องจากบุคคลอ่ืน ไมส่ ามารถพัฒนาตนเองไปสู่เปา้ หมาย
ได้สำเร็จ

คนทีม่ ีความภาคภมู ใิ จสงู มักเกิดจากความสามารถในการพัฒนาตนเองไปสู่เป้าหมายได้
สำเร็จและไดร้ บั ความรกั การยอมรบั และการยกย่องจากบุคคลอน่ื เสมอ ซึง่ ตนเองจะสะสมการรับรู้
และพฒั นาคณุ คำศักดศิ์ รแี ห่งตนมาจากวัยเดก็

บคุ คลที่ขาดความภาคภูมิใจหรอื สูญเสยี ศกั ด์ิศรีในตนเอง (Low Self esteem) มลี ักษณะ
ดงั น้ี

6.1 มคี วามบกพรอ่ งในการปรบั ตัว (Dysfunctional coping)
6.2 รสู้ ึกวา่ ตนเองไร้ค่า (Worthlessness)
6.3 ขาดคนดแู ลชว่ ยเหลอื (Helplessness)
6.4 ขาดความหวงั (Hopelessness)
6.5 ขาดพลังหรือกำลงั ใจ (Empowerlessness)
6.6 มองตนเองและบุคคลอ่นื ในแง่รายหรือระแวง (Paranoid)
6.7 พยายามจะรักษาสัมพนั ธภาพกบั บุคคลอืน่ (Maintain Positive Relationship)
6.8 พยายามฝนื แสดงพฤติกรรมแบบเดมิ ๆ (Act in Their own behave) เพ่ือปิดบัง
ความร้สู กึ ท่เี กดิ ภายในบคุ คลที่มคี วามภาคภมู ิใจและมศี ักดิ์ศรีในตนเอง จะมีความเชอื่ ม่นั ในตนเอง
กลแ้ สดงความคิดเห็น มองตนเองและบุคลอื่นในทางบวก มีความหวัง กำลังใจ มีการปรบั ตวั ดี มี
สมั พันธภาพทีด่ ีกบั บุคคลอืน่
7. เอกลักษณเ์ ฉพาะตน (Self of identity)เป็นส่วนประกอบท่ีสำคัญของความเป็นตวั ของ
ตนของบุคคลมีความแตกต่างเฉพาะคน ซึ่งประกอบดว้ ยบคุ ลกิ ภาพ ลักษณะนิสัย เพศ อายุ เชอ้ื ชาติ
ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สงั คม เอกลักษณ์เฉพาะตนบทบาท ความรสู้ กึ ประสบ
ความสำเรจ็ ในบทบาท การศึกษา การประกอบอาชพี และการมีปฏสิ มั พันธ์กับสังคม การพัฒนา
เอกลกั ษณ์เฉพาะตนจะเร่มิ ตง้ั แต่ วยั ทารก และจะพัฒนาสบรู ณ์และมัน่ คงเม่ือเขา้ สวู่ ัยผู้ใหญ่
8. การตระหนกั รแู้ ละเขา้ ใจตนเอง (Self awareness and Self understanding) ประกอบ
ดว้ ยการรบั ร้แู ละการเข้าใจตนเองในดา้ นต่างๆ ดังนี้
- พฤติกรรมการแสดงออก ปฏกิ ิริยาตอบโต้กับบุคคลอ่ืน
- ความคิดความรู้สึกทม่ี ตี ่อตนเองตอ่ บุคคลอ่นื และต่อสถานการณ์

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ คา่ แหง่ ตน

10

- ปัจจยั ที่มอี ิทธพิ ลต่อการรับรู้ การคดิ ความจำอารมณ์ ความร้สู กึ คำนิยม ความเช่ือ
เจตคติ พฤตกิ รรม ประสบการณ์ และการมสี ัมพนั ธภาพกับบคุ คลอน่ื

- ศกั ยภาพ ความสมารถ กำลงั กายและใจทีจ่ ะต้องใชเ้ พื่อไปใหถ้ ึงเป้าหมายหรือความ
ปรารถนาหรือปรัชญาชีวิตทีก่ ำหนดไว้

- การมีปฏสิ ัมพนั ธแ์ ละการสังคมกับบุคคลอ่ืน ในสถานการณท์ ี่แตกต่างกันไป
CberylForcbuk and Mary Ann Boyd กล่าวว การตระหนักรู้ในตนเอง เป็นกระบวนการของความ
เขา้ ใจในความเชอื่ ความคดิ แรงขับเคลอื่ น อคติ และขีดจำกัดของตนเอง และขอ้ จดจำไดว้ า่ จะมี
อทิ ธพิ ลต่อผูอ้ ื่นอย่างไร

ประโยชน์ในการตระหนกั รู้ในตนเองและการเขา้ ใจตนเอง
1. บคุ คลสามารถเข้าใจตนเองในทุกๆ ด้าน ท้ังความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรม รู้จดุ ดี จุด

เดน่ รู้ จดุ ด้อยของตน รคู้ วามตอ้ งการ รู้เป้าหมายในชีวติ รคู้ วามคาดหวัง รศู้ ักยภาพ ความสามารถ
ของตน

2. บุคคลสามารถนาํ ข้อมูลท่ีได้จากการรบั ฟัง ความคิดเหน็ จากผอู้ ื่น จากการทีผ่ ู้อ่ืนประเมิน
มาเปน็ แนวทางในการปรับปรุงพัฒนาจดุ ด้อยของตนและพัฒนาจดุ เดน่ ให้แขง็ แรง ดงี าม และใช้
ประโยชน์ให้ได้มากยิง่ ขนึ้

3. บคุ คลสามารถใชป้ ระสบการณ์ท่เี รียนรแู้ ละเชา้ ใจตนเองเป็นพ้ืนฐาน ในการเรียนร้แู ละทาํ
ความเขา้ ใจบุคคลอน่ื

4. การมสี ตริ ะลึกเทา่ ทนั ความคิดอารมณค์ วามรู้สกึ ของตน จะช่วยใหเ้ ราสามารถควบคมุ
ตนเองและแสดงพฤติกรรมออกมาอย่างเหมาะสมหรือเรียกวา่ มีสติปญั ญาทางอารมณ์ (Emotional
Intelligence) สามารถติดต่อสมั พนั ธก์ ับบคุ คลอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ คา่ แหง่ ตน

11

เรื่องที่ 2.2 การสร้างความเช่อื มน่ั ในตนเอง

ความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง (Self Confidence) หมายถึง การกล้าตดั สินใจในการทำส่งิ ใดสง่ิ หนึง่
ด้วยความม่ันใจ กลา้ แสดงออก สามารถทำสิ่งตา่ งๆ ได้ดว้ ยตนเอง พึ่งพาตนเอง และสามารถปรบั ตวั
ให้เขา้ กบั สถานการณ์ใหม่ๆ เพื่อให้อย่ใู นสงั คมได้อย่างมีความสขุ การสร้างความเช่ือมั่นให้เกดิ ขนึ้ กับ
ตนเองเป็นเรื่องทเ่ี รยี นรู้และสร้างใหเ้ กิดขึ้นได้ และท่สี ำคัญ การสรา้ งความเช่ือม่ันใหเ้ กิดขึ้นไมว่ า่ จะแก่
ตนเองหรือแกผ่ ู้อ่นื แม้จะยากแตก่ ค็ ุ้มค่าต่อความพยายาม

สิ่งทีส่ ร้างให้เกิดความเชื่อม่นั ในตนเอง
1. มีความรคู้ วามสามารถ (Self-Efficacy) คนเราจะมีความเชอ่ื มัน่ ในความรูค้ วามสามารถที่

มีเมอื่ เห็นว่าผ้ทู ่ีมคี วามรู้ความสามารถเช่นเดียวกับตนสามารถใช้ความรนู้ นั้ ทำสิ่งทเ่ี ปน็ เป้าหมายได้
สำเร็จ ทำให้กล้าทจี่ ะยอมรบั ความทา้ ทายและไมท่ ้อถอยต่อปัญหาท่ีอย่ตู รงหน้า

2. มีความเคารพในตนเอง (Self-Esteem) การมคี วามรคู้ วามสามารถเพียงพอทจ่ี ะทำ
ภารกิจน้ันๆ ได้ อาจยังไม่เพยี งพอทีจ่ ะช่วยให้บุคคลน้ันทำงานไดต้ ลอดรอดฝ่งั ยังมปี ญั หาและ
อุปสรรคอีกมากท่นี ึกไม่ถงึ รวมท้งั ความล้มเหลวโดยเฉพาะในระยะเร่มิ ตน้ ทบี่ ่ันทอนความเชือ่ ม่นั ใน
ความรู้ความสามารถของตน ส่ิงท่ีบคุ คลต้องการเพิ่มขึ้นไปกว่าความรคู้ วามสามารถ คือ การความ
เคารพและเหน็ คุณค่าในตนเองซง่ึ เป็นหัวใจสำคัญของความเชือ่ มั่นในตนเอง

การเคารพในตนเองเปน็ หวั ใจของความเช่ือมั่น บางคนจงึ อาจคิดวา่ เพียงมีความมุ่งมน่ั และ
คิดเชิงบวก เชื่อในคุณคา่ ของตน เพยี งแค่น้ีก็จะเกดิ ความเชื่อม่ันในตนเองขึ้นมาได้แลว้ ท่ีวา่ มาน้ีกม็ ี
ส่วนถกู อยู่ แต่ความเชอื่ เช่นน้ันเปน็ ความเชอ่ื ที่ไม่มีสิง่ ใดรบั รองไดว้ ่าจะประสบความสำเร็จ เราจึง
ตอ้ งการท้ังความรคู้ วามสามารถและการเคารพในคุณค่าของตนประกอบกนั เขา้ เป็นความเช่อื มัน่ ใน
ตนเอง

ขั้นตอนสำคัญของการสรา้ งความเชอ่ื มน่ั ในตนเองอยทู่ ่ีการกำหนดเป้าหมายท่ีตอ้ งการทำให้
สำเรจ็ แลว้ สรา้ งเสรมิ ความสามารถเพ่ือทำสิง่ นั้นใหส้ ำเร็จได้จรงิ หากเรายังไมม่ คี วามสามารถพอทจี่ ะ
ทำสงิ่ น้นั ใหส้ ำเร็จได้ แม้จะสร้างความเช่ือม่นั ให้เกดิ ข้ึนได้ ก็คงเปน็ เพียงความเชื่อมนั่ ท่ีเกินความเปน็
จริง หรือกล้าทำในสิง่ ท่เี ป็นไปไมไ่ ดเ้ ท่านัน้

ความเชื่อม่ันในตนเอง จึงเป็นเร่อื งของความเช่อื ม่นั ในความสามารถของตนเองทมี่ ีอยู่จรงิ
(Self-confidence = Confidence + Competencies) การข้นึ พดู ในท่ชี มุ นมุ ชน ต่อใหเ้ ราปลุก
ปลอบความรสู้ ึกจนควบคุมตนเองได้ แต่หากเราไม่มีความรูห้ รอื ทกั ษะในเร่อื งที่จะพูด ความสำเร็จกค็ ง
เกิดขึ้นไมไ่ ด้

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ ค่าแหง่ ตน

12

การสรา้ งความเช่อื มน่ั ในตนเอง
แมจ้ ะไมม่ สี ตู รสำเร็จหรือทางลดั ในการสร้างความเช่ือมัน่ ในตนเอง แต่การสร้างความเช่ือม่ัน

ในตนเองกเ็ ป็นสิง่ ที่สร้างใหเ้ กิดข้นึ ได้ตราบใดทเ่ี ราไมล่ ะความพยายามไปเสยี กอ่ น และจากนิยามของ
ความเชอื่ มน่ั ในตนเองทีต่ ้องมีท้ังความศรัทธาและความสามารถ การสร้างความเชอ่ื มนั่ ในตนเองจงึ เปน็
การพฒั นาความรูแ้ ละสติปัญญาของตนเองโดยมีขนั้ ตอนท่ีสำคัญ 3 ขน้ั ได้แก่

ข้นั ท่หี นง่ึ : เตรียมตวั เดินทาง
การสรา้ งความเชื่อมน่ั ในตนเองเปน็ ภารกิจทต่ี ้องมเี ปา้ หมาย ขัน้ แรกของการสร้างความ
เชอ่ื มั่นในตนเองจงึ เปรยี บเหมือนการเตรียมตวั ให้พร้อมทจ่ี ะเดนิ ทางเขา้ สู่จุดหมาย เตรยี มเสบียงให้
สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายของการเดินทาง ทำจิตใจใหร้ ับกับการเดนิ ทาง และตั้งใจใหม้ น่ั ว่าจะไม่เลิกลม้
การเดินทางจนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมาย ในการเตรียมตัวดังกล่าว มี 5 สิง่ ทีต่ ้องทำเพือ่ ปรับทศั นคติ
ของตน ดังน้ี
1) มองสิ่งท่เี คยทำสำเรจ็ มาแล้ว

ลองเขยี นส่ิงทเี่ ราเคยทำได้ดที สี่ ดุ ในชวี ิตมาให้มากทสี่ ุด เชน่ เคยทำคะแนนสอบไดด้ ี เป็น
ตัวเกง่ ในทมี งานหรือทมี กีฬา ขายสนิ คา้ ทำยอดได้ดใี นช่วงเวลาหนงึ่ ทำบางอยา่ งที่เด่นกวา่ คนอน่ื ๆ
หรือทำโครงการทม่ี ีความหมายเป็นอย่างมากต่อธรุ กิจของตนหรอื ขององคก์ ร เขยี นความสำเร็จเหล่าน้ี
ไวใ้ นทๆี่ สามารถมองเหน็ ได้บอ่ ยๆ แล้วใชเ้ วลาสัปดาหล์ ะสองสามนาทีช่นื ชมความสำเร็จที่เคยทำได้
นน้ั

2) คดิ ถึงความสามารถ (Strength) ของตนเอง
ใชเ้ ทคนคิ เชน่ SWOT เพ่ือดวู า่ เรามจี ุดอ่อนจุดแขง็ อะไรบา้ ง เปรยี บเทียบความสำเร็จท่ี

ผา่ นมากบั ชวี ิตที่เป็นอยใู่ นปัจจุบนั คณุ สมบตั ิอะไรบ้างทน่ี ่าจะเปน็ จดุ อ่อนหรือจุดแขง็ ในสายตาของ
เพอ่ื นร่วมงาน และพจิ ารณาว่าอะไรคือโอกาสหรืออปุ สรรคท่เี รามหี รือเผชญิ อยใู่ นปัจจบุ ัน

3) คิดถึงสิง่ ทีม่ ีความสำคัญสำหรบั เราและเป้าหมายท่ตี ้องการทำให้สำเรจ็
การกำหนดเปา้ หมายเปน็ กระบวนการที่ใช้ในการกำหนดจุดมงุ่ หมายของตนเองและใช้วัด

ความสำเร็จวา่ ไดต้ ามทีม่ ุง่ หมายไว้หรอื ไม่ นำเปา้ หมายทกี่ ำหนดมาแตกออกตามหลักการวิเคราะห์
SWOT โดยอาศยั จดุ แขง็ ของตน ลดสงิ่ ทเี่ ปน็ จุดอ่อน หาว่าอะไรเปน็ โอกาสและควบคมุ ภัยคกุ คามท่ีมี
อยู่ จากน้ันให้กำหนดกา้ วแรกของการดำเนนิ การตามผลการวิเคราะห์ ก้าวแรกนน้ั ควรเป็นก้าวเลก็ ๆ
ทีส่ ามารถทำใหส้ ำเร็จได้ภายในเวลาส้ันๆ /span>

4) จดั การกับใจของตนเอง
ทบทวนวา่ มเี สียงอะไรท่ีก้องอยู่ในหัวซึ่งเป็นตัวบัน่ ทอนความเชื่อมัน่ ของเราบ้าง คดิ ให้ลกึ

ลงไปว่า ส่งิ ทหี่ ลอกหลอนเราอยู่นั้นมเี หตุมีผลเพียงพอและมคี วามเป็นจรงิ ได้มากน้อยเพียงใด ในกรณี

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ คา่ แห่งตน

13

ท่ีภารกิจคือการกล่าวปาฐกถาในหอ้ งประชุมใหญ่ ก็ควรคิดว่าเราไมใ่ ชค่ นๆ แรกในโลกท่ีต้องทำ
เช่นนน้ั และยังมอี ีกหลายคนทถ่ี งึ จะมคี วามรู้ความสามารถนอ้ ยกวา่ เรา กย็ ังทำได้

5) ต้งั ใจใหม้ ัน่ ว่าเราทำได้
สิง่ สุดทา้ ยที่ตอ้ งทำในขัน้ การเตรียมตวั เดนิ ทาง คือการทำสัญญาท่ีชัดเจนวา่ ไมว่ ่าจะมี

อปุ สรรคปญั หาอะไรก็ตาม เราก็จะไมห่ ยดุ การเดนิ ทางสู่เปา้ หมายท่ีตง้ั ไว้และจะใช้ความรู้
ความสามารถท้ังหมดที่มีเพื่อทำให้สำเร็จให้ได้ หากในขณะนั้นมคี วามลงั เลสงสัยใดๆ ผุดขึ้นมาในใจ
จดบนั ทึกมันไวแ้ ล้วใชส้ ตใิ คร่ครวญว่ามันมเี หตผุ ลเพียงพอท่ีจะมาทำให้เราต้องเปลี่ยนความต้งั ใจ
หรือไม่ หากสะสางเรื่องรกสมองนน้ั ไปได้ จะเปน็ การเรม่ิ ตน้ เดินทางทว่ี ิเศษสุด แต่หากคดิ ไปคดิ วา่ กย็ ัง
รบั รูไ้ ด้ถงึ ความเส่ียงท่ีอาจเกิดขนึ้ ขอให้กำหนดเป้าหมายสำรองไวใ้ ช้จดั การกบั ความเสี่ยงนั้น

ที่กล่าวมาท้ังหมดจนถึงตอนนี้ ไมใ่ ช่คำแนะนำให้พยายามหลอกตัวเองว่าอะไรกท็ ำได้ ความ
เช่อื มน่ั ในตนเองนน้ั มีสองขั้ว คือไม่มีความเชือ่ มัน่ เอาเสียเลยกับมคี วามเชื่อมน่ั มากเกนิ ไปโดยไม่
ประมาณตนว่ามคี วามรู้ความสามารถทีแ่ ท้จริงอย่เู พยี งใด การสรา้ งความเชื่อมน่ั ในตนเองทถ่ี ูกต้องจึง
ตอ้ งเร่มิ ด้วยการประเมินจุดอ่อน จุดแขง็ ของตนเอง และพยายามเพ่ิมทกั ษะหรือความรู้ความสามารถ
เพ่ือเพิ่มความเชอื่ มน่ั ใหส้ ูงขึ้น ในทางตรงกันขา้ มก็ลดความเสย่ี งอันเกดิ จากการประเมินตัวสูงเกินไป
เพื่อให้เข้าสูภ่ าวะความเช่อื ม่นั ท่ีสมดลุ ไม่เสยี่ งจนเกิดความเสียหายแต่กไ็ มก่ ลัวเสียจนไม่ไดใ้ ช้
ความสามารถทมี่ ีอยู่

ข้ันท่สี อง : ออกเดินทาง
การเดินทางทถี่ ูกตอ้ งไม่ได้อยู่ท่คี วามเร็วในการออกตวั แต่อยู่ที่การออกเดินทางตามเสน้ ทางท่ี
ม่งุ ส่คู วามสำเร็จและเกบ็ เกย่ี วความเช่อื ม่นั ในตนเองไปตลอดเสน้ ทางน้ัน เรอื่ งทีต่ ้องเกบ็ เก่ียวมดี งั น้ี
1) เรียนรูส้ ่งิ ที่จำเป็นตอ้ งใชเ้ พอ่ื ความสำเรจ็

มองเป้าหมายแลว้ แยกแยะทกั ษะท่ีจำเป็นต้องใชเ้ พื่อความสำเรจ็ ไตรต่ รองวา่ จะได้ทักษะ
นั้นมาได้อย่างไร วธิ ีการที่ว่านั้นไมใ่ ช่สักแต่เป็นเพยี งเรือ่ งทีร่ ับรู้กันโดยท่วั ไป แตต่ ้องเปน็ โครงการหรือ
หลกั สตู รทีส่ ามารถทำให้คุณไดส้ งิ่ ท่ตี อ้ งการและเสรมิ สร้างคุณสมบัตทิ ี่คณุ ต้องการได้อย่างสมใจ

2) ไม่ต้องเลอเลิศเพอรเ์ ฟค็
ในการเร่มิ ออกเดนิ ทางสู่ความสำเรจ็ ไมต่ อ้ งทำอะไรทห่ี รูหราประณีตหรือครบถว้ น

สมบูรณแ์ บบอะไร เพยี งแตท่ ำเร่ืองทงี่ ่ายๆ พน้ื ๆ ใหส้ ำเร็จ ก็เป็นการเรม่ิ ตน้ ทดี่ ีพอแล้ว
3) แตกเป้าหมายใหญ่ใหเ้ ปน็ เปา้ หมายเล็กๆ และพยายามทำเป้าหมายเหลา่ นัน้ ให้สำเร็จ
กำหนดเปา้ หมายท่ไี มใ่ หญ่โตแล้วแยกแยะทักษะท่ีจำเป็นตอ้ งใช้เพือ่ ความสำเร็จอยา่ งที่

กลา่ วมาแล้ว หลังจากนั้นพยายามใหก้ ารกำหนดเปา้ หมาย การบรรลุเปา้ หมาย และการชน่ื ชมยินดีใน
ความสำเร็จทลี ะกา้ วเล็กๆ นั้นกลายเป็นกจิ วตั ร สะสมพอกพูนความสำเรจ็ นน้ั ไปทีละเล็กทีละน้อย

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ ค่าแหง่ ตน

14

4) ควบคมุ จิตใจของตนเอง
คิดเชงิ บวกไว้ ชนื่ ชมความสำเรจ็ กบั เป้าหมายเล็กๆ ท้ังหลายและสรา้ งภาพความสำเรจ็

น้ันให้เกดิ ขน้ึ ในจติ ใจ ขณะเดียวกนั กเ็ รยี นรู้ทีจ่ ะยอมรับความล้มเหลววา่ เปน็ บทเรียน เป็น
ประสบการณ์ของการเรยี นรู้ ถา้ ทำได้ ความลม้ เหลวเหลา่ นั้นแทนท่ีจะเปน็ ตัวทำลายแต่จะกลบั เปน็ สิง่
ทท่ี ำใหค้ ุณแกรง่ ข้ึน

ข้นั ที่สาม : เร่งเขา้ สูจ่ ุดหมายความสำเร็จ
มาถงึ ข้นั น้ีคณุ อาจรสู้ ึกได้แล้ววา่ คุณมคี วามมั่นใจในตนเองเพิ่มมากข้นึ กว่าแต่ก่อน มเี ร่ืองท่ี
เรยี นรู้เพ่มิ มากข้ึนและมีความสำเรจ็ ในเป้าหมายท่ีแตกออกเปน็ สว่ นเล็กๆ หลายเร่ืองท่ีทำไดส้ ำเร็จ จงึ
ถึงเวลาแล้วทจ่ี ะต้องเพิม่ ความต้ังใจ กำหนดเป้าหมายให้ย่งิ ใหญข่ นึ้ ทา้ ทายข้นึ เพ่ิมความมุ่งม่ันใหม้ าก
ขน้ึ แล้วใช้ทกั ษะท่ีมากขึ้นของคุณพุ่งเข้าสเู่ ปา้ หมายทว่ี า่ นั้น
สิ่งสำคัญทต่ี ้องคอยเตือนตนอย่เู สมอก็คือ ความสำเร็จที่ควรคา่ แก่การภาคภูมใิ จ ส่วนการจะ
ใช้ความเชื่อมัน่ ในตนเองไปสานตอ่ ให้เกิดความสำเร็จในเรื่องอื่น เช่น การเป็นผูน้ ำ ก็จะเป็นเร่อื งทตี่ ้อง
ศึกษาหาความร้แู ละฝกึ ฝนทักษะในเรื่องนั้นเป็นการเพ่ิมเติมตอ่ ไป

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ คา่ แหง่ ตน

15

กิจกรรม 2.1 การตระหนกั รู้และการสร้างความเชื่อม่ันในตนเอง

คำชี้แจง
1. ใหน้ ักศกึ ษาอา่ นสาระโดยละเอยี ดในเอกสารประกอบการสอน หน่วยท่ี 2 เรือ่ งท่ี 2.1

และ เรื่องที่ 2.2
2. ตอบคำถามต่อไปน้ีให้ถูกต้อง

คำถาม
1. การตระหนกั รู้ คืออะไร
2. การตระหนกั รูแ้ ละเข้าใจตนเอง ประกอบด้วยการรบั รแู้ ละการเข้าใจตนเองในดา้ นต่างๆ

ประกอบด้วยอะไรบา้ ง อธบิ ายมาพอเข้าใจ
3. จงบอกประโยชนก์ ารตระหนักร้ใู นตนเองและการเขา้ ใจตนเองมาเป็นข้อๆ
4. จงอธบิ ายวิธีการสร้างความเชอื่ ม่นั ในตนเอง มาพอสงั เขป

บนั ทึกการตอบกจิ กรรม 2.1
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................................... .................
................................................................................................................. ...............................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................................................................................... ......
............................................................................................................................ ....................................
............................................................................................................................. ...................................

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ ค่าแหง่ ตน

16

เรื่องท่ี 2.3 การแสดงพฤติกรรมทร่ี ับผิดชอบต่อสังคม

ความรบั ผิดชอบต่อสงั คม หมายถงึ การท่นี ักศึกษามีสว่ นร่วมในกจิ กรรมตา่ งๆ ของชมุ ชน
และสังคม บำเพญ็ ประโยชน์ และสรา้ งสรรคค์ วามเจริญให้ชุมชนและสงั คมอยา่ งเต็มความสามารถ
ชว่ ยสอดสอ่ งพฤตกิ รรมของบุคคลทจ่ี ะเปน็ ภัยต่อสังคม ให้ความรู้สึกสนุกเพลดิ เพลินแก่ประชาชนตาม
ความสามารถของตน ช่วยคิดและแก้ไขปัญหาตา่ งๆของสงั คม เชน่ ความสกปรก การรกั ษาสาธารณ
สมบตั ิ ไม่เปน็ ผูค้ ิดรา้ ยตอ่ ประเทศ การจราจร การเสยี ภาษี และการรบั บรจิ าคสถานบริการตา่ งๆ ของ
รัฐบาล

สังคม คอื กลุ่มชมุ ชนอย่รู วมกนั ณ ที่ใดทห่ี น่ึงมคี วามสมั พนั ธต์ ่อกนั มีความเป็นอนั หนึง่ อัน
เดยี วกัน มีวิถชี ีวติ หรอื วฒั นธรรมเปน็ อย่างเดียวกนั สงั คม มีได้ตงั้ แต่ขนาดเล็กจนถงึ ขนาดใหญ่ สังคมที่
เล็กที่สุดคือครอบครวั ทใ่ี หญ่กค็ อื หมูบ่ ้าน ตำบล อำเภอ จงั หวดั และประเทศ สังคมขนาดใหญท่ ี่สุด
คือโลก ซ่ึงประกอบด้วยประเทศต่างๆ

ความรับผดิ ชอบต่อสงั คมคือความรสู้ กึ รับผดิ ชอบตอ่ ส่วนรวมแล้วกระทำหรือละเวน้ การ
กระทำใดๆในทางทจี่ ะไม่ทำใดๆให้เกดิ ผลเสยี หายแกส่ ่วนรวม แต่ให้เกดิ ผลดแี ทนที่

ประโยชน์ของการมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สังคม สมาชกิ จะมีความสำนึกในการท่ีจะชว่ ยสงั คม
หรือสว่ นรวมอยู่เยน็ เปน็ สุข จะไม่ทำการใดๆให้สังคมลำบากเดือดร้อน

การวเิ คราะห์พฤติกรรมด้านความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมของเพื่อนนักศึกษา ถือไดว้ ่าเปน็ การ
สำรวจพฤติกรรมของเพื่อนๆ นักนักศึกษาท่ีเกย่ี วกบั ความรับผดิ ชอบต่อสังคมโดยที่ในสังคมท่เี ราอย่นู ี้
นอกจากตวั เราจะมีความรับผิดชอบมวี นิ ัยท่ดี แี ลว้ ในบรรดาเพือ่ นๆ ก็มีผลทีจ่ ะทำใหส้ งั คมมสี ภาพ
ความเป็นอยู่ท่ีดขี ้ึน หรือเลวลงได้ ดังนั้นการไดส้ งั เกตการณ์ได้วิเคราะห์ท้งั พฤติกรรมของตนเองและ
ของเพือ่ นจะมีสว่ นชว่ ยจรรโลงสังคมใหด้ ีขนึ้ การวิเคราะหม์ ีแนวปฏิบตั ิดงั น้ี

1) สำรวจพฤติกรรมของเพ่ือนนักศึกษาที่เกีย่ วกบั ความรับผิดชอบต่อสงั คม
2) บอกความร้สู ึกที่มีต่อพฤติกรรมของตนท่เี พ่ือนๆสำรวจ
3) ยอมรบั การกระทำของตน และยอมรับฟงั คำวจิ ารณเ์ กยี่ วกับตนเองจากเพื่อนคนอื่นๆ
4) จัดลำดบั ความสำคัญของพฤติกรรมท่ีกำหนด
5) บอกเหตุผลในการจดั ลำดับความสำคญั ของพฤติกรรมท่ีกำหนดให้ได้
6) เลอื กแนวปฏิบตั ิสำหรับพฤติกรรมตนใหม้ คี วามรบั ผดิ ชอบต่อสังคม

นกั ศกึ ษาแต่ละคนย่อมมีความคิดเหน็ และการแสดงออกทีแ่ ตกต่างกนั ไปโดยขน้ึ อยู่กับเหตุผล
ของแต่ละคนแม้เขาจะมีพฤติกรรมท่เี ราไมช่ อบ แตข่ ณะเดียวกนั ถ้าเราคดิ ทบทวนและวเิ คราะหด์ ู เขา
อาจมีพฤติกรรมบางอยา่ งทเี่ ราชอบด้วย

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ คา่ แหง่ ตน

17

เรอ่ื งที่ 2.4 การฝึกพฤติกรรมกลา้ แสดงออกทเี่ หมาะสม

บคุ คลท่มี ีพฤติกรรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมนนั้ สามารถแสดงออกทางความคดิ เหน็
ความสนใจ ความต้องการ ความเช่อื ความรู้สกึ และอารมณ์ของตนเองทง้ั ด้านทีร่ สู้ ึกพึงพอใจและไม่พงึ
พอใจตได้อย่างเปดิ เผย ตรงไปตรงมาตามสิทธแิ ละเสรภี าพของตนเองโดยไมล่ ะเมดิ ผุ้อื่น ถกู ต้องตาม
กาละเทศะและปราศจากความวติ กกงั วลใดๆ ท้ังสิ้น

Bower & Bower ได้อธิบายลกั ษณะของการกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสมออกเป็น 12
ลกั ษณะ ดงั นี้

1. การพูดแสดงความรสู้ กึ (Use Feeling Talk) บคุ คลสามารถแสดงความชอบและความ
สนใจออกมาไดว้ ่าตนรสู้ ึกอย่างไร มีความคดิ เช่นไร โดยสามารถแสดงความรู้สึกท่แี ท้จริงออกมาได้
อย่างตรงไปตรงมาได้อย่างเหมาะสม

2. การพูดเก่ยี วกับตนเอง (Talking about Yourself) เมือ่ บุคคลแสดงพฤติกรรมหรือกระทำ
สิง่ ที่มีคณุ ค่า บุคคลจะสามารถบอกเลา่ เรอื่ งราวของตนเองกับคนรอบขา้ ง โดยไม่ผกู ขาดการสนทนาไว้
แต่เพยี งผเู้ ดียว ไมพ่ ูดจาโอ้อวดและสามารถพูดถงึ ความสำเรจ็ ของตนไดอ้ ย่างเหมาะสม

3. การพูดจาทักทายปราศรยั (Make Greeting Talk) บุคคลสามารถแสดงความเป็นมิตร
และสร้างสมั พันธภาพทีด่ ีกบั บุคคลทตี่ ้องการทำความรจู้ ักได้ ยม้ิ แยม้ แจ่มใสและการกลา่ วแสดงความ
ยนิ ดที ไี่ ด้พบด้วยน้ำเสียงทแี่ สดงความยินดี สามารถสร้างการสนทนาทด่ี ตี อ่ ไปได้

4. การยอมรบั คำชมเชย (Accept Compliments) บุคคลสามารถยอมรบั คำชมเชยได้อยา่ ง
จริงใจ และไมป่ ฏเิ สธคำชมเชยทีไ่ ด้รบั

5. การแสดงสหี น้าอยา่ งเหมาะสม (Use Appropriate facial Talk) บคุ คลจะสามารถ
แสดงออกทางสีหนา้ และน้ำเสียไงดตรงตามความรสู้ ึกท่ีแท้จริง สามารถสบตาคู่สนทนาได้อย่าง
เหมาะสม

6. การแสดงความไม่เหน็ ด้วยอย่างสุภาพ (Disagree mildly) บคุ คลจะสามารถแสดงออกได้
อยา่ งสุภาพโดยไม่เสแสรง้ เม่ือมคี วามรสู้ ึกว่าไมเ่ หน็ ด้วยกบั ขอ้ ความในการสนทนานน้ั ซงึ่ อาจ
แสดงออกดว้ ยการเลิกค้วิ หร่ีตา ส่ายศีรษะ หรือทำการเปล่ียนหวั ขอ้ ในการสนทนา โดยสามารถแสดง
ออกมาได้อย่างเหมาะสมและสุภาพ

7. การขอใหแ้ สดงความกระจ่ายชัด (Ask for Clarification) เมือ่ มีผู้ใหค้ ำแนะนำ คำสง่ั สอน
หรอื คำอธิบายทีก่ ำกวมไมช่ ดั เจน บคุ คลสามารถซักถามเพ่ือใหเ้ ขา้ ใจในความหมายของคำแนะนำสัง่
สอนได้อย่างชัดเจน หรอื ขอร้องให้การอธิบายใหมใ่ ห้ชดั เจนย่ิงขนึ้ ได้

8. การถามเหตุผล (Ask Why) เมื่อมีผู้มาขอร้องใหท้ ำส่งิ ที่ไมส่ มเหตสุ มผล บุคคลสามารถ
ถามเหตผุ ลทชี่ ดั เจนของส่งิ ท่ีจะทำได้อยา่ งตรงไปตรงมา เช่น อาจถามว่า ทำไมถึงต้องทำสิ่งนน้ั ด้วย

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ ค่าแห่งตน

18

9. การแสดงออกซ่ึงความไมเ่ ห็นดว้ ยอยา่ งชดั เจน (Express Active Disagreement) เมื่อ
บคุ คลเกดิ ความคดิ เห็นทีไ่ ม่ตรงกบั ผู้อื่น บคุ คลสามารถแสดงความไม่เห็นด้วยโดยสามารถแสดงความ
คิดเหน็ ท่ีแตกตา่ งออกไป สามารถบอกความคดิ และความรู้สึกของตนเองได้

10. การพดู เพือ่ รักษาสิทธขิ องตนเอง (Speak up for You Rights) บคุ คลสามารถเรยี กรอ้ ง
สทิ ธิของตนเองได้เมื่อร้สู กึ วา่ ไม่ได้รับความเปน็ ธรรม จะไมย่ อมให้ใครเอามาเปรียบตนเองเมอ่ื รู้สกึ วา่
ตนถูกเอารัดเอาเปรียบในการทำงานก็สามารถปฏเิ สธได้โดยไมเ่ ก็บมาคดิ ว่าเปน็ ความผิดของตน
สามารถเรยี กร้องสิทธิอันชอบธรรมของตนและขอร้องใหผ้ ้อู ื่นแสดงตอ่ ตนเองอยา่ งยตุ ธิ รรมดว้ ย

11. การยืนกราน (Be Persist) เมือ่ ร้สู กึ ว่าตนไม่ได้รบั ความเป็นธรรม บุคคลสามารถทำการ
ร้องทุกข์และยนื หยัดในวัตถปุ ระสงค์ของตนเอง จนกวา่ จะได้รบั ความพอใจ แมม้ ผี ู้ใดคัดค้านกจ็ ะไม่
เลกิ ลม้ ความต้งั ใจน้นั

12. การเล่ียงการให้คำอธบิ ายกบั ทกุ ๆ ความคดิ เห็น (Avoid Justifying Every Opinion)
บคุ คลสามารถยุติการโต้เถียงในการสนทนา โดยการยุติการวิจารณ์ เช่น เม่ือมบี ุคคลหนึง่ ถามเหตุผลว่า
ทำไมๆ ตลอดเวลา บคุ คลจะสามารถหยุดคำถามโดยการปฏิเสธทจ่ี ะใหค้ วามเหน็ ใดๆ เพม่ิ เติมหรือ
การถามคำถามนั้นกลัยไปแก่ผูถ้ าม โดยบคุ คลอาจมีเหตุผลของตนเองโดยไมจ่ ำเป็นต้องบอกวา่ ตนมี
ความคดิ เห้นต่อเรอื่ งนน้ั อย่างไร

การแสดงพฤติกรรมท่ีกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมนนั้ มลี ักษณะเป็นทักษะทเี่ กดิ จากการ
เรยี นรูท้ างสงั คม มีการใชส้ รรพนามแทนตนเอง มีความสุภาพ เคารพสิทธิของตนเองและผอู้ ืน่ ในการ
แสดงความคดิ เห็น สหี นา้ ท่าทาง ความรู้สึกทงั้ พอใจและไม่พอใจ การกล่าวและการยอมรับคำติชม
การถามหรือการขอร้อง การปฏเิ สธ โดยรักษาสิทธิของตนเองไว้ไดแ้ ละไม่ละเมิดสทิ ธขิ องผอู้ ่นื มคี วาม
มนั่ ใจ ชดั เจน และตรงไปตรงมา

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ คา่ แห่งตน

19

กจิ กรรม 2.2 การรับผดิ ชอบตอ่ สงั คมและการแสดงออกท่ีเหมาะสม

คำช้แี จง
1. ให้นกั ศึกษาอา่ นสาระโดยละเอยี ดในเอกสารประกอบการสอน หนว่ ยที่ 2 เรือ่ งที่ 2.2

และ เร่ืองที่ 2.3
2. ตอบคำถามตอ่ ไปนี้ให้ถกู ต้อง

คำถาม
1. จงบอกความหมายของความรับผิดชอบต่อสงั คม พร้อมอธิบายยกตัวอย่างประกอบ
2. จงบอกแนวทางการวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมแสดงออกถึงการรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม มาเปน็ ข้อๆ
3. ลกั ษณะของการกล้าแสดงออกท่เี หมาะสมของ Bower & Bower มีอะไรบ้าง

บันทึกการตอบกิจกรรม 2.2
.......................................................................................... ......................................................................
............................................................................................................................. ...................................
..................................................................................................................................................... ...........
....................................................................................................................... .........................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................................................................................... ......

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ ค่าแหง่ ตน

20

เรอ่ื งที่ 2.5 กระบวนการพัฒนาและการตระหนกั ร้ใู นตนเอง

แนวคดิ และความหมายของการพัฒนาตนเอง
การพัฒนาตนเอง (Self Development) แต่ยังมคี ำทม่ี ีความหมายใกล้เคียง กบั คำวา่ การ

พัฒนาตน และมกั ใช้แทนกันบ่อยๆ ได้แก่ การปรบั ปรุงตน (Self Improvement) การบรหิ ารตน
(Self-management) และการปรบั ตน (Self Modification) หมายถึง การเปลีย่ นแปลง ตัวเองให้
เหมาะสมเพือ่ สนองความตอ้ งการและเปา้ หมายของตนเอง หรือเพื่อให้สอดคล้องกับสิ่งท่ี สังคม
คาดหวงั

การพัฒนาตนเอง คือ การทบ่ี ุคคลพยายามที่จะปรบั ปรงุ เปล่ยี นแปลง ตนดว้ ยตนเองให้ดีขึน้
กว่าเดมิ เหมาะสมกวา่ เดิม ทำใหส้ ามารถดำเนินกจิ กรรม แสดงพฤติกรรม เพ่ือสนองความตอ้ งการ
แรงจูงใจ หรอื เปา้ หมายที่ตนต้ังไว้

การพฒั นาตน คือ การพัฒนาศักยภาพของตนดว้ ยตนเองให้ดขี ึ้นทั้ง รา่ งกาย จิตใจ อารมณ์
และสงั คม เพือ่ ให้ตนเป็นสมาชิกท่ีมีประสิทธิภาพของสังคม เปน็ ประโยชน์ ตอ่ ผอู้ น่ื ตลอดจนเพ่อื การ
ดำรงชวี ติ อย่างสันตสิ ขุ ของตน

แนวคดิ พื้นฐานในการพัฒนาตน บุคคลที่จะพฒั นาตนเองได้ จะต้องเปน็ ผูม้ งุ่ ม่นั ทจี่ ะ
เปลย่ี นแปลงหรอื ปรับปรงุ ตัวเอง โดยมีความเช่ือหรอื แนวคิดพนื้ ฐานในการพัฒนาตนท่ถี ูกต้อง ซึ่งจะ
เปน็ สง่ิ ที่ชว่ ยส่งเสริมใหก้ ารพัฒนาตนเองประสบความสำเร็จ แนวคดิ ที่สำคัญมีดังน้ี

1) มนษุ ย์ทุกคนมีศักยภาพท่ีมคี ุณคา่ อยู่ในตวั เอง ทำใหส้ ามารถฝกึ หัดและพัฒนาตนได้ใน
เกือบทกุ เรื่อง

2) ไม่มบี ุคคลใดที่มีความสมบูรณ์พร้อมทุกด้าน จนไมจ่ ำเป็นต้องพฒั นาในเร่ืองใดๆ อีก
3) แมบ้ คุ คลจะเป็นผู้ท่รี จู้ ักตนเองไดด้ ที ีส่ ดุ แต่กไ็ มส่ ามารถปรับเปลยี่ นตนเองได้ ในบางเร่ือง
ยังต้องอาศยั ความช่วยเหลอื จากผู้อ่นื ในการพฒั นาตน การควบคุมความคิด ความรู้สึก และการกระทำ
ของตนเอง มีความสำคญั เท่ากับการควบคมุ สิ่งแวดลอ้ มภายนอก
4) อุปสรรคสำคัญของการปรับปรงุ และพฒั นาตนเอง คือ การที่บคุ คลมีความคิด ตดิ ยึด ไม่
ยอมปรบั เปล่ียนวธิ คี ดิ และการกระทำจึงไม่ยอมสร้างนสิ ยั ใหม่ หรอื ฝกึ ทักษะใหมๆ่ ทจ่ี ำเป็นต่อตนเอง
5) การปรบั ปรงุ และพัฒนาตนเองสามารถดำเนินการได้ทุกเวลาและอยา่ ง ต่อเน่ือง เม่ือพบ
ปญั หาหรอื ข้อบกพร่องเก่ยี วกับตนเอง

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ ค่าแหง่ ตน

21

ความสำคัญของการพัฒนาตนเอง
บคุ คลล้วนต้องการเปน็ มนุษย์ทีส่ มบูรณ์ หรืออยา่ งน้อยกต็ ้องการมชี ีวิตทีเ่ ป็นสุขใน สงั คม

ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายและความต้องการของตนเอง พฒั นาตนเองได้ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงท่เี กิดขึน้ ในสังคมโลก การพัฒนาตนจงึ มีความสำคญั ดังน้ี

1. ความสำคัญต่อตนเอง จำแนกได้ดังน้ี
1.1 เป็นการเตรียมตนให้พรอ้ มในด้านต่างๆ เพ่อื รบั กบั สถานการณ์ท้ังหลาย ได้ดว้ ย

ความร้สู กึ ทีด่ ตี ่อตนเอง
1.2 เปน็ การปรับปรงุ สิง่ ที่บกพร่อง และพฒั นาพฤติกรรมใหเ้ หมาะสมขจัด คุณลกั ษณะทไี่ ม่

ต้องการออกจากตัวเอง และเสรมิ สร้างคณุ ลกั ษณะทส่ี งั คมตอ้ งการ
1.3 เปน็ การวางแนวทางให้ตนเองสามารถพัฒนาไปสู่เป้าหมายในชวี ิตได้ อย่างม่นั ใจ
1.4 สง่ เสรมิ ความรสู้ ึกในคุณคา่ แห่งตนสงู ให้ขึน้ มีความเขา้ ใจตนเอง สามารถทำหนา้ ที่ตาม

บทบาทของตนได้เต็มศักยภาพ
2. ความสำคัญต่อบุคคลอ่ืน เนอื่ งจากบุคคลย่อมต้องเก่ียวขอ้ งสมั พนั ธก์ นั การพฒั นาในบุคคล

หน่งึ ย่อมสง่ ผลตอ่ บคุ คลอน่ื ดว้ ย การปรับปรงุ และพัฒนาตนเองจงึ เปน็ การเตรยี ม ตนให้เป็น
ส่งิ แวดล้อมทด่ี ีของผู้อน่ื ทั้งบุคคลในครอบครัวและเพ่ือนในที่ทำงาน เป็นประโยชนร์ ว่ มกันทั้งชวี ิต
สว่ นตัวและการทำงานและการอย่รู ว่ มกนั อยา่ งเป็นสขุ ในชุมชนความเข้มแข็งและ พฒั นาอยา่ งต่อเน่อื ง

3. ความสำคญั ต่อสงั คมโดยรวม การทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านแต่ละคนได้พฒั นาและ ปรบั ปรุงตนเองให้
ทนั ตอ่ พัฒนาการของรูปแบบการทำงานหรือเทคโนโลยี การพฒั นาเทคนิควิธี หรอื วิธคี ดิ และทกั ษะ
ใหมๆ่ ท่จี ำเปน็ ต่อการเพ่ิมประสทิ ธิภาพการทำงานและคุณภาพของผลผลติ ทำใหห้ น่วยงานน้นั
สามารถแข่งขันในเชิงคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพกับสงั คมอืน่ ไดส้ ูงขึ้น ส่งผลใหเ้ กดิ ความม่นั คงทาง
เศรษฐกิจของประเทศโดยรวมได้

หลกั การพฒั นาตน
การพัฒนาตนเองเพ่ือสรา้ งความงอกงามและเพิ่มความสมบูรณใ์ นชวี ติ ของบุคคลมี หลาย

แนวทางและหลายแนวคดิ ซึ่งสรุปหลักการทีส่ ำคญั อยูใ่ น 3 แนวทางคือ การพฒั นาตนเอง เชงิ
การแพทย์ การพัฒนาตนเองเชิงจติ วิทยา และการพัฒนาตนเชิงพทุ ธศาสตร์

1. หลักการพัฒนาตนเชงิ การแพทย์ เนน้ ความสำคญั ของการรกั ษาสภาวะแวดลอ้ มภายใน
รา่ งกายใหส้ มดุลหรือ มีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งเหมาะสม กับการทำหนา้ ที่ต่างๆ ของร่างกาย เพราะ
ร่างกายประกอบด้วย ระบบอวยั วะต่างๆ ท่ีทำงานประสานกนั ถา้ ทุกระบบทำงานตามปกติจะเป็น
สภาวะการเจรญิ เติบโต และดำรงชวี ติ ตามปกติ แต่ถ้าหากระบบใดระบบหนง่ึ ไม่สามารถทำงานตาม
หนา้ ที่ได้อยา่ งสมบรู ณ์ ยอ่ มเป็นอุปสรรคต่อการดำรงชีวติ ต่อการเจริญเตบิ โตและการพัฒนา ทำให้

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ คา่ แห่งตน

22

เกิดปญั หา ซึ่งสง่ ผลใหเ้ กดิ ปญั หาตอ่ การเรียนรู้ กระบวนการคิด อารมณ์ การทำงาน และพฤติกรรม
ตา่ งๆ ได้ เทคนิคการพัฒนาตนเองเชงิ การแพทยท์ ส่ี ำคัญ ไดแ้ ก่

1) ตรวจรา่ งกายโดยทั่วไปทงั้ ระบบภายในและภายนอก ด้วยการสังเกตตนเอง อย่าง
สม่ำเสมอ และรบั การตรวจจากแพทยอ์ ย่างน้อยปลี ะครัง้

2) ปรึกษาผู้ชำนาญการเพื่อสร้างภูมคิ มุ้ กนั ตนเองจากโรคภยั ตา่ งๆ ตามทส่ี มควร
เหมาะสมกบั เพศและวยั

3) ส่งเสรมิ ความสมบูรณข์ องรา่ งกายและจติ ใจด้วยวิธีการต่างๆ เชน่ ฝึกนสิ ยั การกนิ ท่ีดี
รักษาสุขภาพให้แข็งแรงโดยวธิ ีธรรมชาติ ไมร่ อพ่ึงยาเฉพาะเมื่อเวลาเจบ็ ป่วยเท่านน้ั

4) หมน่ั ออกกำลังกายในที่อากาศบริสุทธิเ์ พื่อบริหารทุกสว่ นของร่างกายอย่าง สม่ำเสมอ
2. หลกั การพฒั นาตนเองเชงิ จิตวิทยา

1) หลกั การจิตวทิ ยาพฤติกรรมนิยม พฤติกรรมของมนุษย์ไมว่ ่าพฤติกรรมที่เปน็ ปัญหา
หรือพฤตกิ รรมทีต่ อ้ งการพัฒนา ล้วนเกิดจากการเรียนรู้ คือเป็นผลของการท่ีมนุษย์มปี ฏสิ มั พนั ธ์กับ
ส่งิ แวดล้อม พฤตกิ รรมท่ไี มป่ กติของ เป็นพฤตกิ รรมซงึ่ เกดิ จากการเรียนรู้ท่ีไม่ถูกต้อง ถา้ จะปรบั ปรงุ
หรอื แก้ไขกท็ ำไดโ้ ดยให้การเรียนรู้เสยี ใหม่ การพัฒนาตนเองจงึ จำเปน็ ต้องเข้าใจหลักการสำคญั ของ
การเรียนรู้ เพื่อปรบั พฤติกรรม โดยการควบคมุ ตนเอง

2) หลกั การจิตวิทยาปญั ญานิยม มีแนวความเชื่อวา่ พฤติกรรมของมนุษยไ์ มไ่ ดเ้ กดิ ขึ้น
และเปล่ียนแปลงไป เนือ่ งจากปัจจยั ทางสภาพแวดล้อม แต่เพียงอย่างเดียว แต่จะเกีย่ วข้อง
กบั 3 ปจั จัยสำคัญ ได้แก่

- ปัจจยั ส่วนบคุ คล ซึ่งไดแ้ ก่ สติปัญญา ลักษณะทางชีวภาพ และกระบวนการอืน่ ๆ
ภายในรา่ งกาย

- ปจั จัยดา้ นสภาพแวดลอ้ ม
- ปัจจยั ดา้ นพฤติกรรม ได้แก่กระทำตา่ งๆ ปัจจัยท้ังสามนท้ี ำหน้าท่ีกำหนดซ่งึ กันและ
กนั
3. หลกั การพัฒนาตนเองเชงิ พทุ ธศาสตร์ เป็นการพฒั นาตนโดยการเรยี นรู้และการปฏบิ ตั ิ
เพอื่ ไปสู่ความพอดหี รือการมีดุลยภาพของชวี ติ มคี วามสมั พันธ์อันกลมกลนื ระหวา่ งการดำเนินชวี ิตของ
บคุ คลกับสภาพแวดลอ้ มและมุ่งการกระทำตนให้มีความสุขด้วยตนเอง รูเ้ ท่าทนั ตนเอง เข้าใจตนเอง
มากกว่าการพึ่งพาอาศัยวตั ถุ จงึ เป็นแนวทางการพฒั นาชวี ติ ท่ีย่ังยนื หลักการพฒั นาตนตามแนวพุทธ
ศาสตร์ประกอบด้วยสาระสำคญั 3 ประการ คือ ทมะ สกิ ขา และภาวนา

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ ค่าแหง่ ตน

23

แนวทางการพัฒนาการตระหนกั รู้และเข้าใจตนเอง
การพฒั นาการตระหนักและเข้าใจในตนเองเปน็ กระบวนการทม่ี ีการพัฒนามาจากการ

ผสมผสนระหว่าง อัตตา ภาพลักษณ์ พฤตกิ รรม อารมณ์ ความรู้สึก ความคดิ เจตคติ ความเช่อื
ค่านยิ ม จริยธรรม คณุ ค่าศกั ด์ิศรี และเอกลกั ษณ์ฉพาะตน ซ่ึงไดร้ บั ประสบการณแ์ ละจากการมี
ปฏิสมั พันธ์กบั สงั คมและสงิ่ แวดล้อม โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในชีวิต คนในครอบครวั เพื่อน เพ่ือน
ร่วมงานที่มปี ฏกิ ริ ยิ าโตต้ อบมา บุคคลท่ีต้องการพัฒนาตนเองจะต้องเปิดใจให้กว้างท่ีจะรับฟังความเห็น
จากผูอ้ น่ื แสวงหข้อมูลทั้งด้านบวกและลบ จุดดี จดุ อ่อนหรอื จุดด้อยของตนจากวิธีตา่ งๆ แลว้
พจิ ารณาดว้ ยหตผุ ลอยา่ งเป็นกลางตามความจริงเพอ่ื นำมาเปน็ แนวทางในการปรบั ปรุงและพัฒนา
ตนเองตามเป้าหมาย แล้วจะทำให้ขอบเขตการรบั รขู้ องตนเองขยายกว้างออก ดงั นี้

- การเปดิ ใจใหก้ วา้ ง รู้ฟังความคิดเหน็ จากผู้อื่นเพ่อื เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง
- การประเมินตนเองตามความเปน็ จริง ไม่อคติ มองหรือคิดเขา้ ข้างตนเองเปน็ กระบวนการ
ของความเข้าใจในความเชื่อ
- การพฒั นาจิตใจโดยการศึกษาธรรมะประพฤตปิ ฏิบตั ติ ามหลกั ศาสนาและคณุ ธรรมที่ได้
กำหนดไว้ กจ็ ะทำให้ตนเองมีคุณลกั ษณะและมีบคุ ลกิ ภาพท่พี งึ ประสงค์และพฒั นาตนเองไปถึง
เป้าหมายได้
Abraham Maslow ได้สรุปลกั ษณะของบุคคลทมี่ ีความเข้าใจต่อตนเองและโลกอยา่ งถอ่ งแท้
(Self actualization) ประกอบด้วยลักษณะท่ีจะชว่ ยใหด้ ำเนนิ ชีวิตไปอยา่ งมีความสขุ ดงั น้ี
1. สามารถเข้าใจสภาพความเป็นจรงิ โดยถ่องแท้ สามารถตัดสินใจในเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ได้
ถกู ต้องรวดเรว็ ปรบั ตวั ได้ทนั ต่อเหตกุ ารณ์เปลย่ี นแปลงของสังคม
2. ยอมรับตนเองและผู้อื่น รวมทงั้ โลกทต่ี นอยตู่ ามสภาพความเปน็ จริง
3. มีความเปน็ ธรรมชาติปราศจากการแสร้ง จริงใจท้ังทำทาง การพดู แตไ่ ม่ใช่กา้ วร้าว
4. วเิ คราะหป์ ญั หาได้และแก้ไขได้ตรงจุด โดยไม่เข้าข้างตนเอง หรอื เอาแต่ใจตนเอง
ปราศจากอคตเิ ม่อื ปัญหาเกดิ ข้นึ กับตนเองสามารถวิเคราะห์สาเหตุและแก้ไขปัญหาด้วยเหตุผล ไม่ใช้
เหตผุ ลท่เี ขา้ ข้างตนเองมาตดั สิน
5. มีความสามารถอยไู่ ด้โดยลำพังอย่างมีความสุข โดยจักพึ่งพาผู้อ่นื บ้างตามสมควร
สามารถทำงานทุกอย่างได้ดว้ ยความม่นั ใจมหี ลักการ เหตุผล สามารถคิดหรือกระทำสง่ิ ต่างๆ ดว้ ย
ตนเอง พร้อมกบั รบั ฟังข้อคดิ เหน็ จากผอู้ น่ื
6. มีอิสระเสรี มคี วามเปน็ ตัวของตัวเอง พ่ึงตนเองและอยู่อยา่ งสงบสขุ ได้ ทำสิง่ ต่างๆ ตาม
บทบาทหน้ทแ่ี ละสิทธิขอบงตนเองอย่างถูกต้อง เปน็ ที่ยอมรบั ของสังคม

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ ค่าแห่งตน

24

7. มองโลกและคนรอบขา้ งในแงด่ ี มองปญั หาในเชิงบวก หรือเรียนรจู้ ากปัญหา ปรับปัญหา
ให้เปน็ โอกาส พร้อมทจี่ ะเผชิญประสบการณ์ใหม่ๆ ในชีวติ มกี ารเตรียมตวั เตรยี มใจให้พร้อมทจ่ี ะ
เผชญิ ปัญหามีการปรับตัวให้เขา้ กับสถานการณ์และสงิ่ แวดล้อมได้

8. มกี ารตืน่ ตัวอย่างมสี ติ และรู้สกึ ซาบซ้ึงในธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมที่สวยงาม
9. สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อ่นื ได้อย่างดี เปน็ ตวั อย่างทดี่ ีพร้อมท่จี ะชว่ ยเหลือผูอ้ ่นื
10. จักคบเพื่อนท่ีมีทัศนคตติ รงกับการประพฤตปิ ฏบิ ัติในทางท่ดี ี เสียสละต่อกัน แบง่ เวลาคบ
เพอื่ นได้ถูกต้อง ตอ้ งคบคนไม่เลอื กชัน้ วรรณะ
11. ยดึ ถอื คำนิยมท่ีถูกต้อง เปน็ ประชาธปิ ไตย ร้สู ทิ ธิ เสรภี าพ หนา้ ทข่ี องตน สิทธิมนุษยชน
ไมล่ ่วงละเมดิ ก้าวก่ายสิทธขิ องผู้อื่น
12. ยดึ ม่นั ในหลักศีลธรรม จรรยา มธี รรมประจำใจ ร้คู วามถกู ต้องดงี าม
13. มคี วามสามารถในการสร้างสรรค์สง่ิ ใหม่ๆ ให้แกช่ ีวติ ตนื่ ตัวตลอดเวลา มีอารมณ์ขัน
อย่างมสี ติ

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ คา่ แหง่ ตน

25

เรอ่ื งที่ 2.6 พฤติกรรมการแสดงออกคณุ ค่าแห่งตน

ความหมายของพฤติกรรมการแสดงออกคณุ คา่ แหง่ ตน
ใหค้ วามหมายว่า เป็นพฤติกรรมที่บคุ คลสามารถแสดงออกได้อย่างเปน็ ธรรมชาติมากท่ีสุด

ตามสภาพการณ์ทเี่ ป็นอยู่ของตนเอง และสามารถจัดการกับปญั หาตา่ งๆ ได้ดว้ ยวิธีการ ทางบวก โดย
ปราศจากความวติ กกังวล น่นั คอื บคุ คลสามารถแสดงออกซึ่งความตอ้ งการหรือ ความรู้สึกได้อยา่ งตรง
มาและจรงิ ใจ อย่างไรก็ตามพฤตกิ รรมการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มิใชก่ ระทำเพอื่ ท่ีจะใหไ้ ด้สง่ิ ท่ี
ตอ้ งการ เป้าหมายของการกระทำพฤติกรรมกลา้ แสดงออกนัน้ คือ การส่ือสารอย่างชดั เจนและ
ตรงไปตรงมา ไม่โจมตีความต้องการหรือการคิดเห็นขอบบุคคลอ่ืน ซงึ่ การทำเชน่ น้ันจะทำใหม้ โี อกาส
บรรลเุ ป้าหมายท่ีต้องการโดยไมป่ ฏิเสธสทิ ธิของผู้อน่ื

รปู แบบการแสดงออกพฤติกรรมของมนุษย์
1. การตอบสนองอยา่ งเหมาะสม (Assertion) พฤตกิ รรมกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม เปน็

พฤติกรรมที่แสดงถงึ ความกล้าพดู กล้าคิด กล้ากระทำในส่งิ ที่ถูกต้อง และกล้าแสดงออกตาม
ความรู้สึกทแ่ี ทจ้ ริงของตน โดยไมล่ ะเมิดสิทธิของผู้อน่ื และเม่ือแสดงพฤตกิ รรมไปแลว้ จะไมม่ ี ความ
วติ กกังวลใจ ซงึ่ แสดงถงึ การยอมรับในสิทธขิ องบุคคล เม่ือพิจารณาในรปู ของการมีความสัมพันธก์ ับ
บคุ คลอ่ืน จะเปน็ บุคคลที่สือ่ สารด้วยความจรงิ ใจ เปิดเผยและตรงตามความต้องการหรือความรูส้ กึ ของ
ตนเอง โดยมีวธิ กี ารท่ีเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ซึง่ แสดง ถึงการมีความเคารพนบั ถือ
ยอมรบั และเห็นคุณค่าของบุคคลอื่นและของตนเองด้วย

2. การตอบสนองอย่างไม่กลา้ แสดงออก (Passive) พฤติกรรมไม่กลา้ แสดงออก หรือ การ
ยอมตาม เป็นความขลาดกลวั ท่ีไม่กล้าแสดงออกถงึ ความรสู้ ึก ความต้องการท่ีแทจ้ ริงของตน รวมทงั้ ไม่
สามารถจะรักษาสิทธิของตนเองได้ เปน็ บุคคลที่มคี วามอาย ไม่กล้าแสดงออกถงึ ความไม่ สบายใจหรอื
ความไม่เห็นด้วยกบั บคุ คลอ่นื ไมก่ ลา้ ปฏิเสธ มคี วามเช่ือฟัง สอนง่าย มักจะเก็บ ความรู้สึกขนุ่ มัวเอาไว้
หากถูกเอาเปรียบกม็ ักจะถอยหนีหรอื หลบตัว มกั จะมคี วามรสู้ กึ เหน็ คุณค่า ในตนเองต่ำหากต้องการ
แสดงออกถึงความต้องการของตน กม็ ักจะมีความวิตกกังวลหรือความไม่ สบายใจ จงึ มีท่าทางที่
ระมัดระวงั และกล่าวคำขอโทษอยเู่ สมอ พร้อมกบั มีภาษาท่าทางที่ไมเ่ หมาะสม เช่น การไม่กล้าสบตา
ผสู้ นทนา พดู เสยี งเบา พูดเรว็ เกนิ ไป เป็นต้น

3. การตอบสนองด้วยความก้าวร้าว (Aggression) พฤติกรรมกา้ วร้าวเปน็ การแสดงออกถงึ
การยึดตนเองเป็นศนู ย์กลางเรียกรอ้ งถงึ สิทธิของตนโดยไมส่ นใจว่าจะไปละเมิดสิทธิ ของผู้อืน่ หรือไม่
ไมเ่ หน็ ความสำคญั ของปฏกิ ิริยาความรสู้ ึก และความคิดเห็นที่บคุ คลอนื่ ได้แสดง ออกมา

รวมทงั้ ไม่มคี วามเคารพนบั ถือบคุ คลอนื่ ดว้ ย บคุ คลท่ีมีพฤติกรรมกา้ วรา้ วจึงมักแสดงออก ถงึ
ความรู้สกึ ความต้องการ และความคิดเห็นท่ีตนมใี นลกั ษณะของการขม่ ขู่ บังคบั เรียกร้อง พูด โตเ้ ถยี ง

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ ค่าแห่งตน

26

ให้ชนะ พูดกล่าวโทษผู้อ่นื พูดเสยี งดงั พดู จาเสยี ดสี พูดเหยียดหยาม ข่มขู่หรือพดู ในสิง่ ท่ี แสดงถึง
ความมอี ำนาจของตน หรอื ทำให้ตนเองมคี วามสำคัญมากขึ้น และอาจแสดงความหยาบคายต่อบคุ คล
อ่นื มักจะทำใหบ้ ุคคลอนื่ ไมส่ บายใจหรอื ขัดใจ หรือโกรธอยู่เสมอ ซ่งึ มีผลทำให้ สมั พันธภาพระหวา่ ง
บคุ คลเปลย่ี นแปลงไป ถึงแม้ผมู้ ีพฤติกรรมก้าวร้าวจะมีความรู้สกึ ผดิ แต่บรรลเุ ป้าหมายทต่ี นต้องการก็
เหมือนได้รับการเสรมิ แรงต่อพฤติกรรมกา้ วรา้ วนั้น จงึ มแี นวโนม้ การกระทำกา้ วร้าวต่อไปอีก

พฤติกรรมการกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสมของตนเองจะชว่ ยให้ผ้นู ้นั เป็นท่ียอมรับและ
สามารถแสดงสทิ ธขิ องตนโดยไม่กระทบสิทธขิ องผู้อ่นื อนั นำไปสสู่ มั พนั ธ์ที่พัฒนาและดีงาม ได้แก่

1. การยนื หยัดเพ่ือตัวเอง และการทำใหค้ นอืน่ รู้จักตัวของเราน้ันเป็นการเคารพตนเอง และ
เป็นการทีจ่ ะไดร้ บั การเคารพจากผูอ้ ื่น

2. การพยามยามใชช้ ีวติ ของเราอยใู่ นแนวทางทีจ่ ะไม่ทำให้ผู้อ่ืนเจบ็ ปวดเลย ไม่ว่าจะอยู่
ภายใตเ้ งอ่ื นไขใดๆ ก็ตาม มกั จะจบลงด้วยการทำให้ผอู้ นื่ และตวั เองเจ็บปวดดว้ ย (เปน็ วงจรของ
พฤติกรรมการไม่กลา้ แสดงออ) เผยและตรงไปตรงมา

การพฒั นาพฤติกรรมกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม (Developing Assertiveness) มหี ลัก
สำคญั การฝกึ 3 ประการ ดังนี้

1. การตระหนกั รตู้ นเอง (Self–awareness) เป็นการสำรวจตรวจสอบพฤติกรรมการ
แสดงออกของตนเอง พจิ ารณาผลทีเ่ กิดขึน้ อาจขอรบั ข้อมูลยอ้ นกลับจากผู้อ่นื หรือการสำรวจ ดว้ ย
ตนเอง

2. การฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออก เป็นกระบวนการฝกึ ทกั ษะการกลา้ แสดงออก ท้ัง
ความรสู้ กึ ความคิด และการตดิ ต่อสอื่ สาร เชน่ ทักษะการแสดงการเหน็ ด้วยกบั สาระสำคญั ที่ ไดร้ บั
การวิพากษ์ ทักษะการตอบสนองผู้วพิ ากษ์ ทกั ษะการยอมรับการวพิ ากษ์ หรือทักษะการ แสดงความ
มน่ั คงในความคิดและความรูส้ ึกของตน เปน็ ตน้ การฝึกพฤติกรรมกลา้ แสดงออก ประกอบดว้ ยความรู้
ความเข้าใจและการฝึกหัดใหเ้ กดิ ความคล่องตัว

3. การพฒั นาพฤติกรรมกลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมกับผู้ที่เก่ยี วข้อง ในการฝึก ทกั ษะท่ี
จำเป็นจนชำนาญแล้ว ควรพฒั นาเพ่ิมพูนทกั ษะให้มากข้นึ รวมท้ังการรักษาใหเ้ ป็น พฤติกรรมคงทน
ตอ่ ไป โดยการฝึกหดั แสดงออกและตอบสนองกับผ้ทู ่เี ก่ยี วข้องในสถานการณ์ต่าง

สรปุ บุคคลผมู้ ีพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมของตนเองจะสามารถแสดง
พฤติกรรม ได้แก่ การแสดงความรสู้ กึ พูดเก่ียวกบั ตวั ทา่ นเอง การพูดทกั ทายปราศรยั การยอม รบั คำ
ชมเชย การแสดงออกทางสหี นา้ ท่เี หมาะสม การแสดงความไม่เห็นดว้ ยอย่างสภุ าพ การขอร้องให้
แสดงความกระจา่ งแจ้ง การถามหาเหตุผล การแสดงความไมเ่ ห็นดว้ ยขณะนั้น การกลา่ ววาจาเพอ่ื
รักษาสทิ ธิ การแสดงความมั่นคง หลีกเล่ยี งทจ่ี ะต้องแสดงเหตผุ ลในทกุ ๆ ความเหน็ กรณีตัวอยา่ งการ
รบั รตู้ นเองและการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ ค่าแห่งตน

27

กจิ กรรม 2.3 การพฒั นาตนเองและพฤติกรรมการแสดงออกคณุ ค่าแหง่ ตน

คำชแี้ จง
1. ใหน้ กั ศึกษาอ่านสาระโดยละเอียดในเอกสารประกอบการสอน หนว่ ยท่ี 2 เร่ืองที่ 2.5

และ เรือ่ งที่ 2.6
2. ตอบคำถามตอ่ ไปน้ีให้ถกู ต้อง

คำถาม
1. แนวคดิ พน้ื ฐานในการพฒั นาเองใหป้ ระสบความสำเรจ็ ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง
2. จงบอกความสำคญั ของการพฒั นาตนเอง มาพอสังเขป
3. จงอธบิ ายเทคนคิ การพฒั นาตนเองเขงิ การแพทย์ พร้อมยกตวั อย่างประกอบ
4. นกั ศึกษามีแนวทางในการพัฒนาการตระหนักรู้และเข้าใจตนเอง เพ่ือใหด้ ำเนนิ ชีวติ ได้อยา่ ง

มีความสขุ ตามแนวทางของ Abraham Maslow ไดอ้ ย่างไร

บนั ทึกการตอบกจิ กรรม 2.3
................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................................................................................... ......
............................................................................................................................ ....................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
....................................................................................... .........................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ คา่ แหง่ ตน

28

แบบทดสอบหลังเรยี น
หน่วยที่ 2 การพมั นาตนเองและการเห็นคณุ ค่าแห่งตน

จุดประสงค์ เพ่ือทดสอบความรขู้ องผเู้ รยี น
คำชแี้ จง แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย 4 ตวั เลือก มจี ำนวน 10 ขอ้ ๆ ละ 1 คะแนน
คำสงั่ จงกาเครื่องหมายกากบาท () ขอ้ ที่ถกู ตอ้ งทีส่ ดุ ลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
*****************************************************************************************
1. ข้อใดต่อไปนจี้ ดั เปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะของคนภาคเหนือ

ก. สผี วิ
ข. อาหาร
ค. ภาษาพดู
ง. ลักษณะนสิ ยั

2. การรู้จักตน (Self Awareness) หมายถงึ ข้อใด
ก. การเข้าใจความร้สู กึ ของตนเอง และมจี ดุ มุง่ หมายของชีวิต
ข. การยอมรับนับถอื ตนเองโดยการประเมนิ ตนเอง
ค. ความสามารถในการรบั รู้อารมณ์ของผู้อ่ืน
ง. การรบั รูแ้ ละตัดสนิ ใจเก่ียวกบั ตวั เอง

3. การคิดถึงความสามารถ (Strength) ของตนเอง จัดอยู่ในการสร้างความเชื่อมน่ั ในตนเองขน้ั ใด
ก. ขัน้ เรง่ เขา้ สจู่ ดุ หมายความสำเร็จ
ข. ข้นั เตรยี มตัวเดินทาง
ค. ขั้นพัฒนาตนเอง
ง. ขั้นออกเดินทาง

4. พฤติกรรมการแสดงความรบั ผิดชอบต่อสงั คม ยกเวน้ ข้อใด
ก. การชำระภาษีรายได้
ข. การรักษาความสะอาดในชมุ ชน
ค. การปฏบิ ตั ิตามกฎหมายจราจร
ง. การจา้ งแรงงานต่างชาติท่ีไมม่ ีใบอนุญาตเขา้ เมือง

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ ค่าแหง่ ตน

29

5. “การฝึกสรา้ งความร้สู ึกที่ดีตอ่ ผูอ้ ่ืน” เปน็ การช่วยสร้างและพัฒนาอารมณต์ นเองในวธิ ใี ด
ก. การร้จู ักอารมณ์ตนเอง
ข. การต้งั เปา้ หมายให้ชดั เจน
ค. การสร้างแรงจูงใจให้กับอารมณ์ตนเอง
ง. รกั ษาสมั พันธภาพที่ดีตอ่ กัน

6. ข้อใดต่อไปนีจ้ ัดเป็นความสำคัญของการพฒั นาตนเอง
ก. การวางแนวทางให้ตนเองพัฒนาไปสเู่ ป้าหมายในชวี ติ ได้อยา่ งม่นั ใจ
ข. การเตรยี มความพรอ้ มเพ่ือรบั กับสถานการณ์ได้ด้วยความรู้สึกทดี่ ตี ่อตนเอง
ค. การปรบั ปรุงพฤตกิ รรมที่บกพร่องของตนเองเพือ่ เสริมสร้างคุณลกั ษณะที่สังคมต้องการ
ง. ถูกทุกข้อ

7. เทคนคิ ที่ช่วยในการพัฒนาตนเองและผอู้ นื่ มกี ารเปลีย่ นแปลงเกิดข้ึน คือขอ้ ใด
ก. การกดั ริมฝปี ากตวั เองเพื่อแสดงให้เห็นว่าไม่ได้ดงั่ ใจเพ่ือให้เขาปรับปรุง
ข. การต้งั นาฬิกาปลกุ เพ่ือชว่ ยให้ตื่นทนั เวลาเพ่ือไม่ให้ไปทำงานสาย
ค. การโต้ตอบทนั ทเี มอื่ คนขา้ งเคยี งกระทำไม่ถกู ใจเพื่อระบายความเครียด
ง. การแสดงความรกั ใหท้ ุกคนรกั ตนเอง

8. ขอ้ ใดเปน็ ข้นั ตอนแรกของกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง
ก. กำหนดพฤติกรรมเปา้ หมาย
ข. รวบรวมข้อมูลพ้ืนฐาน
ค. ควบคุมพฤติกรรมตนเอง
ง. ประเมินพฤติกรรมตนเอง

9. พฤตกิ รรมในข้อใดคือการแสดงออกคุณคา่ แห่งตนท่ีไมเ่ หมาะสม
ก. สมพงษเ์ วลาพูดคุยกับผู้อื่นไม่กลา้ สบตากับผูส้ นทนา
ข. สมศรใี ชภ้ าษาราชการในการประชุมคณะทำงานทุกคร้งั
ค. สมบตั พิ ดู ใหก้ ำลังใจเพ่ือนร่วมงานที่ป่วยด้วยโรคเรอ้ื รงั มานาน
ง. สมศกั ดท์ิ ำงานทว่ี ่าการอำเภอและมาปฏิบตั ริ าชการก่อน 8.00 น. ทุกวัน

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ ค่าแหง่ ตน

30
10. พฤติกรรมการแสดงออกที่ยึดตนเองเป็นศูนย์กลางโดยละเมิดสิทธิของผอู้ ่นื จดั เป็นการแสดงออก
พฤติกรรมของมนุษย์ในข้อใด

ก. Assertion
ข. Passive
ค. Aggression
ง. Awareness

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ คา่ แห่งตน

31

บรรณานุกรม

เฉลา ประเสรฐิ สังข์. การพัฒนาตน ใน พฤตกิ รรมมนุษยก์ ับการพฒั นาตน. สุราษฎร์ธานี :
มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สรุ าษฎรธ์ านี, 2560.

นัฏจรี เจรญิ สขุ และคณะ. การพฒั นาตน. สรุ าษฎรธ์ านี : มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี, 2560.
ปญั ญฎา ประดิษฐบาทกุ า. พฤติกรรมมนษุ ยก์ บั การพฒั นาตน. กรงุ เทพฯ : สาขาวชิ า จิตวทิ ยาคณะ

ศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม, 2548.
พระเทพเวที (ป.อ.ปยุตโต). พฒั นาตน. กรงุ เทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2560.
ไพศาล ไกรสิทธ์.ิ การพฒั นาตน. ราชบุรี : สถาบันราชภฏั หมบู่ ้านจอมบึง, 2560.
เรียม ศรีทอง. กระบวนการพัฒนาตน ใน พฤติกรรมมนุษย์กบั การพฒั นาตน. กรงุ เทพฯ : หนว่ ย

ศึกษานเิ ทศก์ สำนกั งานสภาสถาบันราชภัฏ, (2560).
ลกั ขณา สรวิ ัฒน์. จิตวทิ ยาในชีวติ ประจำวนั . กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร์, 2544.
อภิชา แดงจำรญู . การตระหนกั รแู้ ละเห็นคณุ ค่าในตนเองและผอู้ ื่นและการรบั รู้ เกย่ี วกับตนเอง

ใน หนงั สือชดุ ครูผู้สร้างแรงบันดาลใจ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย,
2562.
Bower, S. A., & Bower, G. H. Asserting yourself : A practical guide for positive
change. Oxford, England : Addison-Wesley, 1976.

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ ค่าแหง่ ตน

32

ภาคผนวก

หน่วยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ ค่าแห่งตน

33

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ ค่าแห่งตน

1. ก
2. ค
3. ข
4. ง
5. ง
6. ง
7. ค
8. ข
9. ค
10. ก

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเหน็ คณุ ค่าแห่งตน

34

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
หนว่ ยที่ 2 การพัฒนาตนเองและการเห็นคณุ ค่าแห่งตน

1. ค
2. ก
3. ข
4. ง
5. ค
6. ง
7. ง
8. ข
9. ก
10. ค

หนว่ ยที่ 2 การพฒั นาตนเองและการเห็นคณุ ค่าแห่งตน


Click to View FlipBook Version