รายงานเร่ือง แร่
จดั ทาโดย
นางสาวขวญั สิริ ทะเยน็
เลขที่ 13 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4/1
เสนอ
ครูจิรศกั ด์ิ ดวงสุข
รายวิชา โลกดาราศาสตร์และอวกาศ รหสั วชิ า ว31262
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2563
โรงเรียนบุญเรืองวทิ ยาคม
คานา
รายงานเลม่ น้ีจดั ทาข้ึนเพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของวิชาโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 เพ่ือใหไ้ ดศ้ กึ ษาความรู้ในเรื่อง แร่ และไดศ้ กึ ษาอยา่ งเขา้ ใจเพือ่ เป็น
ประโยชน์กบั การเรียน
ผูจ้ ดั ทาหวงั ว่า รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กบั ผอู้ า่ น หรือนกั เรียนท่ีสนใจ
หรือกาลงั หาขอ้ มลู เร่ืองน้ีอยู่ หากมขี อ้ แนะนาหรือขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผูจ้ ดั ทาขอนอ้ มรบั ไว้
และขออภยั มา ณ ทน่ี ้ีดว้ ย
ผจู้ ดั ทา
ขวญั สิริ ทะเยน็
1/2/2564
สารบญั หน้า
ก
เร่ือง ข
คานา
สารบญั 1
แร่ คณุ สมบตั ิทางกายภาพของแร่
คุณสมบตั ิทางเคมี 3
ประเภทของแร่ 4
สินแร่ 7
แร่ในชีวิตประจาวนั 9
แร่ที่มีคณุ คา่ สร้างประโยชนใ์ หก้ บั ประเทศ 15
แหลง่ แร่ในประเทศไทย 18
สรุป ค
ภาคผนวก ง
บรรณานุกรม จ
แร่
แร่คือ ธาตุหรือสารประกอบอนินทรียท์ เี่ กิดข้นึ ตามธรรมชาติ มสี ถานะเป็นของแขง็ มโี ครงสร้าง
ทเี่ ป็นผลกึ เป็นระเบยี บ มสี ูตรเคมีและสมบตั ิอื่นๆ ทีแ่ น่นอนหรือเปลยี่ นแปลงไดใ้ นวงจากดั
ตวั อยา่ งเช่น แร่เฮไลต์ ( เกลือ) เป็นสารประกอบ (Compound) ซ่ึงประกอบดว้ ยอะตอมของ
โซเดียมและคลอรีนจานวนเทา่ กนั เกาะตวั กนั อยู่ ท้งั น้ีผลกึ เกลือขนาดเทา่ หวั เขม็ หมุด
ประกอบดว้ ยโซเดียมคลอไรดห์ ลายลา้ นโมเลกลุ
คุณสมบตั ิทางกายภาพของแร่
ผลึก ( Crystal) หมายถงึ ของแขง็ ที่มีเน้ือเดียวกนั ผวิ หนา้ มีรูปทรงสามมติ แิ ตด่ า้ นเป็นระนาบ ซ่ึง
เป็นผลมาจากการจดั ตวั ของอะตอมหรือโมเลกลุ ของธาตุท่ีประกอบอยใู่ นของแขง็ น้ันอยา่ งมี
แบบแผน
แนวแตกเรียบ (Clevage) หมายถึง รอยท่ีแตกเป็นระนาบเรียบตามโครงสร้างอะตอมในผลกึ แร่
แนวแตกประชิด (Fracture) หมายถงึ แนวแตกบางๆ ซ่ึงปรากฏเป็นแนวขนานบางๆ หลายแนว
บนเน้ือแร่ และมไิ ดอ้ ยใู่ นระนาบเดียวกบั แนวแตกเรียบ
ความถว่ งจาเพาะ (Specific Gravity) เป็นอตั ราส่วนระหว่างน้าหนกั ของสสารตอ่ น้าหนกั ของน้า
ณ อุณหภูมหิ น่ึงๆ
ความแขง็ (Hardness) มาตราความแขง็ ของแร่ตามระบบสเกลของโมล (Mol’s scale)
ประกอบดว้ ยแร่มาตรฐาน 10 ชนิด เรียงลาดบั ต้งั แต่แร่ท่ีทนทานตอ่ การขดู ขดี นอ้ ยที่สุด ถงึ มาก
ทส่ี ุด
สี (Color) เป็นคณุ สมบตั ทิ ่ีเห็นไดช้ ดั เจนท่ีสุดแต่เช่ือถือไมไ่ ด้ แร่บางชนิดเช่น แร่ควอรตซ์
(SiO2) ปกตใิ สไมม่ สี ี แตท่ ี่พบเห็นส่วนมากจะมสี ีขาว เหลือง ชมพู หรือดา เนื่องมสี ารอนื่ เจือปน
ทาใหไ้ มบ่ ริสุทธ์ิ แร่คอรนั ดมั (Al2O3) โดยปกติมีสีขาวอมน้าตาลข่นุ แตเ่ มอ่ื มธี าตุโครเมยี ม
จานวนเลก็ นอ้ ยเจือปน ก็จะมสี ีแดงเรียกวา่ “ ทบั ทิม” (Ruby) หรือถา้ มีธาตเุ หลก็ เจือปน กจ็ ะมสี ี
น้าเงินเรียกว่า “ ไพลนิ ” (Sapphire)
สีผงละเอียด (Streak) เป็นคณุ สมบตั เิ ฉพาะตวั ของแร่แตล่ ะชนิด เมอื่ นาแร่มาขีดบนแผน่
กระเบ้ือง ( ทไ่ี ม่เคลือบ) จะเห็นสีของรอยขีดตดิ อยแู่ ผน่ กระเบ้ือง ซ่ึงอาจมีสีไมเ่ หมอื นกบั ช้ินแร่
กไ็ ด้
ความวาว (Luster) หมายถึง คณุ สมบตั ิในการสะทอ้ นแสงของผวิ แร่ ความวาวมีหลายแบบ เช่น
วาวแบบโลหะ แบบมกุ แบบเพชร แบบน้ามนั แบบแกว้ เป็นตน้
ความเป็นโลหะและอโลหะ ( Metal and Nonmetal) เป็นสมบตั พิ ้นื ฐานของแร่ ตา่ งๆ ท่ีมีความ
แตกต่างกนั ในดา้ นสมบตั ิ ความเป็นโลหะและอโลหะ เช่น การนาไฟฟ้า การนาความรอ้ น การ
เกิดสารประกอบ เป็นตน้
คุณสมบัตทิ างเคมี
การตรวจดูปฏกิ ิริยากบั กรดตรวจดกู ารทาปฏกิ ิริยาระหว่างกรดเกลือหรือกรดไฮโดรคลอริก
(HCl) กบั แร่ท่ีมคี าร์บอเนตเป็นส่วนประกอบ โดยจะเกิดเป็นฟองฟ่ ู เช่น แร่แคลไซต์ นอกจาก
ตรวจดแู ร่แลว้ ยงั ใชก้ รดตรวจสอบชนิดหินดว้ ย เช่น หินปูน
การตรวจดกู ารละลายในกรดใชต้ รวจดูการละลาย สีของสารละลาย และผลของการละลายดว้ ย
ซ่ึงทาให้รู้วา่ เป็นแร่ชนิดใด เช่นพวกเหลก็ ส่วนมากจะให้สารละลายสีเหลืองหรือเหลอื งน้าตาล
พวกทองแดงจะใหส้ ีฟ้าหรือสีเขียว โดยใชต้ วั ทาลายของกรดเขม้ ขน้ ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ กรดเกลือ กรด
ดินประสิว กรดกามะถนั เป็นตน้
การตรวจดว้ ยเปลวไฟใชเ้ ปลวไฟมกี าลงั ร้อนแรงประมาณ 120 – 1,500 องศาเซลเซียส ในการ
พ่นสู่เศษช้ินแร่หรือผงแร่ ซ่ึงแร่จะแสดงการเพ่ิมและลดสีของเปลวไฟที่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั
ส่วน ประกอบทางเคมีของแร่
การตรวจดเู ปลวไฟแร่ เมอ่ื เผาไฟจะแสดงสีของเปลวไฟทแ่ี ตกตา่ งกนั ข้นึ อยกู่ บั ส่วนประกอบ
ทางเคมขี องแร่ชนิดน้นั ๆ เช่นแร่โปแทสเซียมให้เปลวไฟสีม่วง
ประเภทของแร่
แร่แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทใหญ่ ไดแ้ ก่
1. แร่ประกอบหินหมายถึง แร่ตา่ งๆ ทเ่ี ป็นส่วนประกอบสาคญั ของหินและใชเ้ ป็นหลกั ในการ
จาแนกชนิดของหินดว้ ย แร่ประกอบหินท่สี าคญั ไดแ้ ก่ ควอตซ์ เฟลดส์ ปาร์ โอลิวนี ไมกา้ แอมฟิ
โบล(แร่ใยหิน) ไพรอกซีน และแคลไซต์
ยกตวั อย่างเช่น ควอตซ์ มีคณุ สมบตั ิคอื สีโปร่งใส จนถงึ ทบึ แสง มีมากมายแทบจะทุกสี
ควอตซม์ คี ่าความแขง็ ที่ 7 ตามสเกลของโมส์ (Moh's scale)
นอกจากน้ี ควอตซ์ยงั มีคณุ สมบตั พิ เิ ศษคือมี piezoelectric คอื ไฟฟ้าที่เกิดจากการกดดนั ทางกลไก
ทมี่ ีต่อผลึก
ซ่ึงทาใหเ้ กิดมปี ระจุไฟฟ้าข้ึนในควอตซ์ (เช่นเดียวกบั ทวั ร์มาลนี ) ดว้ ยคุณสมบตั นิ ้ีจึงนามาใช้
ควบคมุ ความถีค่ ลืน่ วิทยุ ควบคุมความเท่ยี งตรงของนาฬกิ ากนั น้า ทเ่ี ราเรียกกนั ว่า นาฬกิ าควอตซ์
และดว้ ยความโปร่งใสตอ่ แสงอลั ตราไวโอเลต ทาให้ควอตซเ์ หมาะท่จี ะนามาทาเป็นเลนส์ของ
กลอ้ งจุลทรรศนอ์ กี ดว้ ย
รูปแบบผลกึ ดว้ ยลกั ษณะของผลกึ ทาให้ควอตซ์ถกู แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท
1.แบบผลกึ เดี่ยว Single Quartz หรือ Crystalline Quartz เป็นผลึกท่ีมีการเรียงตวั กนั อยา่ งมี
ระเบียบ มชี ื่อเรียกต่างกนั ไปตามสีทีพ่ บ สามารถนาไปใชใ้ นอตุ สาหกรรมการผลติ นาฬกิ า,
เลนส์ และอุปกรณ์ควบคมุ ความถ่ีของคล่ืนวทิ ยุ ทีร่ ู้จกั และนิยมในทอ้ งตลาดกค็ อื ควอตซส์ ี
เหลือง ท่ีเรียกวา่ ซิทรีน (Citrine) และสีม่วงที่เรียกว่า แอเมทสิ ต์ (Amethyst)
2.แบบ Microcrystalline ประกอบดว้ ยกลุ่มผลึกเลก็ ๆ ไมส่ ามารถมองเห็นรูปผลกึ ไดด้ ว้ ยตาเปล่า
เช่น หินตาเสือ (Tiger's eye) ที่คนไทยเรียกวา่ คดไมส้ กั เป็นตน้
3.แบบ Cryptocrystalline Quartz หรือทเี่ รียกวา่ คาลเซโดนี Chalcedony เป็นควอตซ์ที่มผี ลกึ
เลก็ ๆ ละเอยี ดรวมตวั กนั เป็นจานวนมาก ตา่ งจากแบบ Microcrystalline คือเป็นผลึกเล็กๆ มา
รวมกนั ไมใ่ ช่กลมุ่ ผลกึ มีลกั ษณะเล็กกวา่ กลุ่มผลกึ นนั่ เอง เช่น เจสเปอร์, เลอื ดพระลกั ษณ์
(Bloodstone) และอาเกท เป็นตน้
เฟลด์สปาร์ หรือ แร่ฟันม้า (feldspar) เป็นส่วนประกอบทส่ี าคญั ในเน้ือเซรามกิ (ร้อยละ 15.35)
และในน้ายาเคลือบผิว (Glaze 30-50%) เฟลดส์ ปาร์เป็นแร่ท่มี ปี ริมาณธาตอุ ลั คาไลดส์ ูง ทาให้
หลอมตวั ท่อี ณุ หภมู ติ ่าจึงทาหนา้ ทเี่ ป็ นฟลกั ซ์ทาให้เกิดเน้ือแกว้ ยดึ เหน่ียวเน้ือ ทาใหเ้ กิดความ
แกร่งและความโปร่งใสของช้ินงาน นอกจากน้ี ยงั หาไดง้ า่ ยในธรรมชาติ มธี าตเุ หลก็ ต่า จึงเป็นท่ี
นิยมใช้
แร่เฟลดส์ ปาร์ทเ่ี กิดในธรรมชาตมิ ีอยู่ 3 ชนิด คือ
1.โพแทสเซียมเฟลดส์ ปาร์ KAl Si3O8 (Potash Feldspar-Orthoclase-Microline)
2.โซเดียมเฟลดส์ ปาร์ Na AlSi3O8 (Sodium Feldspar - Albite)
3.แคลเซียมเฟลดส์ ปาร์ Ca Al2 Si2O8 (Calcium Feldspar - Anorthite)
2. แร่เศรษฐกิจหมายถงึ แร่ท่ีมคี ุณคา่ ทางเศรษฐกิจหรือสามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ น
อุตสาหกรรมต่างๆ แบ่งยอ่ ยออกเป็น 2 ประเภท
2.1 แร่โลหะ
2.2 แร่อโลหะหรือแร่อตุ สาหกรรม
สินแร่
สินแร่ หมายถึงหินหรือแร่ประกอบหินทม่ี ีแร่เศรษฐกิจปนอยใู่ นปริมาณท่มี ากพอทีจ่ ะทาเหมือง
ไดโ้ ดยคุม้ คา่ การลงทนุ
สินแร่ แบ่งออกตามลกั ษณะการนาไปใชป้ ระโยชน์ ไดแ้ ก่
1. แร่โลหะ
2. แร่อโลหะ
3. แร่เช้ือเพลิง
4. แร่รตั นชาติ
5. กรวด หิน ดิน ทราย
1.แร่โลหะ (metallic minerals) คอื แร่ทีธ่ าตุโลหะเป็นส่วนประกอบสาคญั สามารถนาไปถลุง
หรือแยกเอาโลหะในแร่มาใชป้ ระโยชน์ เช่น แร่ทองคา ดีบุก สังกะสี เหล็ก เงิน ตะกว่ั ฯลฯ
มกี ารใชแ้ ร่โลหะในอตุ สาหกรรมโลหกรรมเป็นจานวนมาก เพื่อถลงุ แยกเอาโลหะชนิดต่าง ๆ
เช่น เหล็ก ทองแดง ตะกว่ั สังกะสี ดีบกุ ทงั สเตน อะลมู เิ นียม แคดเมียม นิกเกิล โครเมยี ม
วาเนเดียม และแมกนีเซียม เป็นตน้ แร่โลหะที่นามาถลงุ อาจไดโ้ ลหะมากกวา่ 1 ชนิดและอาจมี
โลหะมคี า่ และโลหะหายากอยดู่ ว้ ย เนื่องจากแร่หลายชนิดอาจเกิดร่วมกนั ไดใ้ นธรรมชาติ
โลหะต่าง ๆ ทีไ่ ดอ้ าจใชใ้ นลกั ษณะโลหะเด่ียวหรือทาเป็นโลหะผสม ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการ
ใชง้ านในดา้ นต่าง ๆ เพ่ือเป็ นวตั ถุดิบต้งั ตน้ สาหรบั อุตสาหกรรมตอ่ เน่ือง เช่น อตุ สาหกรรมยาน
ยนต-์ ขนส่ง วสั ดุก่อสร้าง ไฟฟ้า อาวธุ ยานอวกาศ เครื่องใชไ้ ฟฟ้า เคร่ืองมือและเครื่องใชต้ ่าง ๆ
เป็ นตน้
2.แร่อโลหะ (rare earth minerals) คือแร่ที่ไมม่ ีธาตุโลหะเป็นส่วนประกอบสาคญั ส่วนมาก
นาไปใชป้ ระโยชน์ไดโ้ ดยตรงหรือมกี ารปรบั ปรุงคุณภาพเล็กนอ้ ย เช่น ควอตซ์ ยิปซมั แคลไซต์
โดโลไมต์ แบไรต์ เฟลดส์ ปาร์ ฯลฯ
3.แร่เช้ือเพลงิ (precious minerals) คอื วสั ดทุ ่ีมกี าเนิดมาจากการทบั ถมตวั ของพวกพชื สตั ว์ และ
อนิ ทรียส์ ารอ่นื ๆ จนสลายตวั และเกิดปฏกิ ิริยากลายเป็นเช้ือเพลิงธรรมชาติ นิยมจดั เป็ นแร่โดย
อนุโลม ไดแ้ ก่ ถา่ นหิน หินน้ามนั น้ามนั ดิบ และกา๊ ซธรรมชาติ
4.แร่รตั นชาติ คือแร่หรือหินทม่ี คี ณุ ค่า ความสวยงามหรือเมือ่ นามาเจียระไน ตดั ฝนหรือขดั มนั
แลว้ สวยงาม เพ่ือนามาใชเ้ ป็นเครื่อง ประดบั ไดโ้ ดยตอ้ งมีคุณสมบตั ิทสี่ าคญั อยู่ ๓ ประการคอื
สวยงาม ทนทาน และหายาก โดยทวั่ ไปสามารถจาแนกออกเป็น ๒ กลมุ่ ใหญๆ่ ไดแ้ ก่ เพชร และ
พลอย
5.กรวด หิน ดิน ทรายเกิดจากการผพุ งั ของหินเดิม อาจเป็นหินอคั นี หินตะกอนหรือหินแปร และ
ประกอบดว้ ยแร่ชนิดหน่ึงหรือหลายชนิด มกั นามาใชป้ ระโยชน์ในลกั ษณะทีเ่ ป็นวสั ดกุ อ่ สร้าง
แร่ในชีวิตประจาวัน
ในชีวติ ประจาวนั มีการใชป้ ระโยชน์จากแร่มากมายหลายชนิดท้งั แร่โลหะและแร่อโลหะ
เน่ืองจากการดารงชีวติ ของคนเรามีความเกยี่ วพนั กบั แร่มาโดยตลอดต้งั แต่ทีอ่ ยอู่ าศยั ยานพาหนะ
เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า เครื่องมือ เคร่ืองใชต้ า่ ง ๆ เคร่ืองสาอาง และยารักษาโรค ซ่ึงปัจจุบนั มีการคน้ ควา้
การใชป้ ระโยชน์จากแร่อยา่ งกวา้ งขวาง เพอื่ ประโยชนใ์ นอตุ สาหกรรมดา้ นตา่ ง ๆ
การใชแ้ ร่ในปัจจุบนั น้ีสามารถจาแนกการใชเ้ ป็นกลุ่มตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ
ไดแ้ ก่ แร่โลหะ แร่โลหะหายาก แร่โลหะมคี า่ แร่กมั มนั ตรงั สี แร่อโลหะหรือแร่อุตสาหกรรม แร่
รัตนชาติ และแร่เช้ือเพลงิ ซ่ึงการใชป้ ระโยชนแ์ ร่ในแตล่ ะกลุ่ม มีดงั น้ี
1. แร่โลหะ (metallic minerals)
มีการใชแ้ ร่โลหะในอตุ สาหกรรมโลหกรรมเป็นจานวนมาก เพอื่ ถลุงแยกเอาโลหะชนิดต่าง ๆ
เช่น เหลก็ ทองแดง ตะกว่ั สงั กะสี ดีบุก ทงั สเตน อะลมู เิ นียม แคดเมยี ม นิกเกิล โครเมยี ม
วาเนเดียม และแมกนีเซียม เป็นตน้ แร่โลหะที่นามาถลุงอาจไดโ้ ลหะมากกวา่ 1 ชนิดและอาจมี
โลหะมีค่าและโลหะหายากอยดู่ ว้ ย เนื่องจากแร่หลายชนิดอาจเกิดร่วมกนั ไดใ้ นธรรมชาติ
โลหะตา่ ง ๆ ทไ่ี ดอ้ าจใชใ้ นลกั ษณะโลหะเดี่ยวหรือทาเป็นโลหะผสม ตามวตั ถุประสงคข์ องการ
ใชง้ านในดา้ นตา่ ง ๆ เพอ่ื เป็นวตั ถุดิบต้งั ตน้ สาหรับอตุ สาหกรรมตอ่ เน่ือง เช่น อตุ สาหกรรมยาน
ยนต-์ ขนส่ง วสั ดกุ ่อสร้าง ไฟฟ้า อาวธุ ยานอวกาศ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า เครื่องมอื และเครื่องใชต้ า่ ง ๆ
เป็ นตน้
2. แร่โลหะหายาก (rare earth minerals)
แร่โลหะหายากเป็นแร่ทม่ี ธี าตุโลหะหายากเป็นส่วนประกอบ ซ่ึงในธรรมชาติโดยทวั่ ไปจะมี
ปริมาณนอ้ ย แต่มคี ณุ สมบตั พิ เิ ศษบางอยา่ งท่ีแตกต่างจากโลหะทว่ั ไป เช่น เป็ นตวั นาที่ดีกว่า
สามารถเก็บประจไุ ฟฟ้าไดด้ กี วา่ บางชนิดทนความร้อนสูง และทนทานต่อการกดั กร่อน โลหะ
หายาก มีท้งั หมด 18 ชนิด คือ อิทเทรียม (Y) แลนทานมั (La) สแคนเดียม (Sc) ทอเรียม (Th)
ซีเซียม (Cs) เพรซีโอดิเมียม (Pr) นีโอดิเมียม (Nd) โพรมีเทยี ม (Pm) ซาแมเรียม (Sm) ยโู รเพียม
(Eu) แกโดลเิ นียม (Gd) เทอร์เบียม (Tb) ดิสโพรเซียม (Dy) โฮลเมยี ม (Ho) เออร์เบยี ม (Er)
ทเู ลียม (Tm) อิตเทอรเบยี ม (Yb) และลทู เี ซียม (Lu)
ประโยชนข์ องโลหะหายากน้นั ส่วนใหญ่ใชใ้ นอตุ สาหกรรมไฟฟ้า อิเลก็ ทรอนิกส์ และ
คอมพิวเตอร์ โลหะหายากทใี่ ชก้ นั มากไดแ้ ก่ อิทเทรียม ซีเซียม แลนทานมั และทอเรียม
3. แร่โลหะมีค่า (precious minerals)
แร่ในกลมุ่ น้ีเป็นแร่ทีใ่ หโ้ ลหะมีค่า ไดแ้ ก่ ทองคา เงิน และทองคาขาว ซ่ึงโลหะมคี า่ ใชป้ ระโยชน์
ในการทาเครื่องประดบั วงจรอเี ลก็ ทรอนิกส์ ฟันปลอม พระพุทธรูป และเหรียญท่ีระลึกต่าง ๆ
สาหรับทองคาขาวหรือแพลทนิ มั ยงั ใชเ้ ป็นวสั ดุในหอ้ งทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ ช้ินส่วนของ
เคร่ืองมอื อเี ลก็ ทรอนิกส์และเคร่ืองบิน เป็นตน้
4. แร่กมั มนั ตรงั สี (radioactive minerals)
มกี ารใชแ้ ร่กมั มนั ตรงั สีหลายชนิดเพือ่ แยกเอาธาตุกมั มนั ตรงั สีตา่ ง ๆ สาหรับใชป้ ระโยชน์ใน
ดา้ นตา่ ง ๆ เช่น เป็นเช้ือเพลงิ ในเคร่ืองปฏิกรณป์ รมาณูของโรงไฟฟ้า เรือดาน้าและเรือรบ
เครื่องมือทางการแพทย์ อาวธุ ปรมาณู เครื่องฉายรงั สี อาหารและพนั ธุพ์ ชื เป็นตน้ ธาตุ
กมั มนั ตรังสีทีใ่ ชก้ นั มากไดแ้ ก่ ยเู รเนียม โคบอลต์ เรเดียม และทอเรียม ซ่ึงธาตุโลหะหายากบาง
ตวั มคี ุณสมบตั ิเป็นธาตุกมั มนั ตรงั สีดว้ ย
5. แร่อโลหะ (non-metallic minerals)
มกี ารใชแ้ ร่อโลหะหรือแร่อุตสาหกรรมอยา่ งกวา้ งขวาง และเป็นปริมาณมากในอตุ สาหกรรม
ประเภทต่าง ๆ เช่น แกว้ และเซรามิก ปนู ซิเมนต์ หินเพอื่ การกอ่ สร้าง ป๋ ุย ตวั เติมในกระบวนการ
ถลงุ โลหะ อฐิ และวสั ดุทนไฟ เคมีภณั ฑ์ ยารักษาโรค ผงขดั วสั ดกุ รองสาร และแป้งทาตวั เป็น
ตน้ แร่อตุ สาหกรรมท่ีใชก้ นั มากไดแ้ ก่ หินปูน หินอ่อน หินแกรนิต หินทราย หินชนวน ทราย
โพแทช ดินขาว ดินเหนียวชนิดต่าง ๆ เฟลดสปาร์ ควอตซ์ ไพโรฟิลไลต์ โดโลไมต์ ไดอะทอ
ไมต์ ฟลูออไรต์ แบไรต์ ยิปซมั ทลั ค์ แอสเบสทอส และ เซอร์คอน เป็นตน้
6. แร่รตั นชาติ (gem minerals)
แร่รัตนชาติ หรือ รัตนชาติ เป็นกลุ่มประเภทของแร่ประเภทหน่ึง โดยหมายถงึ แร่หรือหินบาง
ชนิด หรืออินทรียวตั ถธุ รรมชาติทนี่ ามาเจียระไน ตกแต่ง หรือแกะสลกั เพ่ือใชเ้ ป็นเคร่ืองประดบั
มคี วามงาม ทนทาน และหายาก โดยปกติแบง่ เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คอื เพชร และพลอย ซ่ึง
หมายถึง อญั มณีทุกชนิดยกเวน้ เพชร หากผา่ นการตกแต่งหรือเจียระไนแลว้ เรียกวา่ อญั มณี
นอกจากน้ี สารประกอบท่ไี ดจ้ ากส่ิงมีชีวิตทอี่ าจจดั เป็นรตั นชาตไิ ดแ้ ก่ ไขม่ กุ และปะการังและ
อาพนั
รตั นชาตหิ รืออญั มณี เป็นผลกึ ท่ีมมี ลทินอยู่ภายใน ทาใหม้ ีสีตา่ ง ๆ กนั ไป มคี วามแขง็ สามารถ
เจียรไนให้เกิดมมุ เพื่อใหเ้ กิดการกระจายแสงเห็นความแวววาว มลทนิ ในแร่ ทาใหแ้ ร่มีสีตา่ ง ๆ
กนั แร่คอรันดมั บริสุทธ์ิ เป็นสารพวกอะลูมเิ นียมออกไซด์ มสี ีขาว ถา้ มมี ลทินจาพวกโครเมียม
ผสม ทาให้มีสีแดง เช่นทบั ทมิ ส่วน เหล็ก ไทเทเนียม ทาให้มีสีน้าเงิน (ทบั ทิมกบั ไพลนิ เป็นแร่
คอรนั ดมั เหมอื นกนั แตม่ ีมลทินตา่ งชนิดกนั )
เกณฑท์ ใ่ี ชต้ ดั สินอญั มณีไดแ้ ก่ ความแขง็ (ตาม Moh's scale), ความถว่ งจาเพาะ และคา่ ดชั นีหกั เห
ของแสง
ดชั นีหกั เหของแสง เป็นคา่ คงท่ีของอญั มณีแต่ละชนิด จึงใชต้ ดั สินว่าเป็นของปลอมหรือไม่
ความแขง็ ของแร่ก็มผี ลต่อราคาของอญั มณีดว้ ย จึงนามาทดสอบ โดยการขดู ขีดกนั (อาจใชต้ ะไบ
มอื เหรียญทองแดง มดี พบั , กระจก ทดสอบ) แร่ทีม่ รี อยขดู ขีดจะอ่อนกวา่ ซ่ึงทดสอบได้
แร่รตั นชาตหิ รือแร่ประดบั มีดว้ ยกนั หลายชนิด โดยนามาตดั และขดั ให้ไดร้ ูปทรงตามตอ้ งการ
เพ่อื ใชเ้ ป็นส่วนประกอบของกาไล แหวน สร้อยคอ ลกู ปัด สร้อยระยา้ หรือใชป้ ระดบั บนมงกุฎ
แร่เหล่าน้ีไดแ้ ก่ เพชร ทบั ทิม ไพลนิ มรกต บุษราคมั หยก โกเมน นิล โอปอ อะเกต คาลซิโดนี
คาร์เนเลยี น และควอตซ์สีตา่ ง ๆ เช่น ใส ชมพู เหลอื ง ม่วง เทา และขาว เป็นตน้ นอกจากน้ียงั
รวมถึงหินชนิดตา่ ง ๆ ท่มี ีสีสวยงามและแขง็ ทนทานกส็ ามารถนามาทาเป็นเคร่ืองประดบั ได้ เช่น
ไมก้ ลายเป็นหิน
ประเภทของรตั นชาติ
1. พลอย หรือหินสี ทสี่ าคญั ไดแ้ ก่
พลอยในตระกลู คอรนั ดมั ซ่ึงประกอบดว้ ย Al2O3 โดยมี Al : O = 52.9 : 47.1 โดยมวล การท่ี
พลอยแต่ละชนิดมสี ีต่างกนั เป็นเพราะมธี าตเุ จือปนที่ต่างกนั เช่นทบั ทิม มีสีแดง เพราะมี
โครเมียม เจือปนอยู่ 0.1 – 1.25 โดยมวล บษุ ราคมั (แซฟไฟร์สีเหลอื ง) มี เหล็ก และไทเทเนียม
เจือปน ไพลิน (แซฟไฟร์สีน้าเงิน) มสี ีน้าเงนิ เพราะมี เหล็ก และ ไทเทเนียม เจือปน พลอย
สาแหรก หรือสตาร์ มรี ูไทลป์ นอยใู่ นเน้ือพลอย พลอยในตระกูลควอทซ์ เช่น อเมทสิ ต์ ซิทริน
อาเกต เป็นตน้
2. เพชร เป็นธาตคุ าร์บอนที่บริสุทธ์ิ มีความแขง็ แรงมากทีส่ ุด เพชรทด่ี ีจะตอ้ งไม่มสี ี (ถา้ มีสี
สวยงามในกลมุ่ เหลอื ง ชมพู สม้ แดง น้าเงิน จะมรี าคาสูงกวา่ เพชรสีขาวมากๆเรียกวา่ Fancy
Diamond)
7. แร่เช้ือเพลิง (fuel minerals)
แร่เช้ือเพลิงเป็ นการเรียกโดยทว่ั ไป ซ่ึงความจริงจดั เป็นหินช้นั และหินแปรอยา่ งหน่ึง แร่เช้ือเพลงิ
ทร่ี ู้จกั กนั ดีและใชก้ นั มากน้นั ไดแ้ ก่ ถา่ นหิน ซ่ึงส่วนใหญใ่ ชเ้ ป็นเช้ือเพลิงในการผลิตไฟฟ้าและ
เป็นแหลง่ พลงั งานความร้อนในอตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ เช่น การถลงุ แร่ การอบใบยาสูบ และเตาเผา
ชนิดต่าง ๆ ถา่ นหินที่ใชม้ ีหลายชนิด เช่น ลิกไนต์ บิทมู นิ สั และแอนทราไซต์ ซ่ึงใหป้ ริมาณ
ความร้อนทแ่ี ตกตา่ งกนั นอกจากน้ียงั รวมถงึ หินน้ามนั ท่มี ีน้ามนั ดิบเกิดปะปนอยดู่ ว้ ย
แร่ที่มคี ณุ ค่าสร้างประโยชน์ให้กบั ประเทศ
1.ทองคา (Gold)
ทองคามคี วามสาคญั ต่อประเทศในหลากหลายมติ ิ เพราะเป็นท้งั หลกั ประกนั ในทุนสารองของ
ธนาคารแห่งประเทศไทย และยงั ผูกพนั กบั วิถีชีวติ และวฒั นธรรมประเพณีในรูปทรพั ยส์ ินและ
เครื่องประดบั คนไทยใช้ ทองคาในงานพุทธศลิ ป์ และพิธีมงคลตา่ ง ๆ นอกจากน้นั ยงั ใชใ้ น
อตุ สาหกรรมเทคโนโลยี เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศพั ทม์ ือถือ เป็นตน้ ประเทศไทยพบแหลง่ แร่
ทองคาในหลายจงั หวดั
2.ถ่านหิน (Coal)
ถา่ นหินเกิดจากการสะสมตวั ของซากพชื ในแอง่ น้าเป็ นเวลาหลายปี เป็นแหล่งเช้ือเพลงิ ชนิดหน่ึง
ท่กี ารไฟฟ้าฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทยใชใ้ นโรงผลติ ไฟฟ้าเพ่อื ป้อนภาคอตุ สาหกรรมและ
ครัวเรือน รวมถงึ ใชเ้ ป็นเช้ือเพลิงในกระบวนการผลิตท่ีจาเป็นตอ้ งใชค้ วามร้อนของ
อตุ สาหกรรมต่าง ๆ เช่น การผลิตซีเมนต์ อุตสาหกรรมเหลก็ เป็นตน้
3.หินอุตสาหกรรม (Industrial Rock)
หินอตุ สาหกรรม เช่น หินปนู หินแกรนิต หินบะซอลต์ พบไดท้ ว่ั ไปทกุ ภาคของประเทศและเป็น
วตั ถดุ ิบที่สาคญั อยา่ งย่งิ ในการสร้างบา้ น พฒั นาเมอื ง สิ่งปลูกสร้างสาคญั ลว้ นตอ้ งใชห้ ิน
อตุ สาหกรรมในการข้นึ รูปก่อร่าง ย่ิงประชากรและเมอื งขยายตวั มากเทา่ ใด หินอุตสาหกรรมก็
ย่งิ เป็นท่ตี อ้ งการ โดยเฉพาะการรวมกล่มุ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทีก่ อ่ ให้เกิดการขยายตวั ของ
ระบบการขนส่งและโครงการสาธารณูปโภคตา่ ง ๆ ทาให้หินอุตสาหกรรมเป็นท่ีตอ้ งการมากข้นึ
4.โดโลไมต์ (Dolomite)
โดโลไมตพ์ บไดท้ ้งั ในภาคเหนือ ภาคใต้ และภาคตะวนั ตก โดยใชเ้ ป็นวตั ถดุ ิบในการผลติ
อุตสาหกรรมแกว้ และกระจก อุตสาหกรรมถลงุ เหล็ก อุตสาหกรรมเซรามิก และยงั มปี ระโยชน์
ต่อภาคเกษตรกรรมในการใชป้ รบั สภาพความเป็นกรดด่างและเพมิ่ แร่ธาตใุ นดิน รวมท้งั ยงั มี
ส่วนช่วยในการพ้ืนฟูสภาพแวดลอ้ มโดยใชใ้ นการปรบั สภาพน้า
5.เฟลดส์ ปาร์ (Feldspar)
เฟลดส์ ปาร์หรือแร่ฟันมา้ ที่ใชใ้ นภาคอตุ สาหกรรม ไดแ้ ก่ โพแทสเซียมเฟลดส์ ปาร์ และโซเดียม
เฟลดส์ ปาร์ พบไดใ้ นจงั หวดั ตาก นครศรีธรรมราช ราชบรุ ี กาญจนบรุ ี อทุ ยั ธานี แม่ฮอ่ งสอน
และเชียงใหม่ ใชใ้ นอตุ สาหกรรมเซรามกิ เคร่ืองป้ันดินเผา กระเบ้ืองปูพ้นื เครื่องเคลือบ
อุตสาหกรรมแกว้ อตุ สาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมลวดเช่ือมไฟฟ้า เป็นตน้
6.ทรายแกว้ (Glass Sand)
ทรายแกว้ เป็นทรายท่สี ะอาด นามาใชใ้ นงานอยา่ งกวา้ งขวาง ปัจจุบนั หายากมากข้ึน มคี วาม
บริสุทธ์ิของซิลิกาสูง มเี หล็ก และสารมลทนิ อ่ืน ๆ เจือปนอยเู่ พียงเล็กนอ้ ย พบมากบริเวณ
ชายหาด ชายทะเลทวั่ ไป ท้งั ในบริเวณภาคตะวนั ออก เช่น จงั หวดั ระยอง จนั ทบุรี ตราด และ
ภาคใต้ เช่น นครศรีธรรมราช สงขลา ชุมพร ตรัง ปัตตานี และกระบี่ ใชเ้ ป็นวตั ถุดิบที่สาคญั ใน
อตุ สาหกรรมแกว้ และกระจก อุตสาหกรรมเซรามกิ ใชท้ าเป็นแบบหลอ่ เหล็กในอุตสาหกรรม
เหล็กหล่อและใชเ้ ป็นผงขดั สนิมเหลก็
7.เกลือหินและโพแทช (Rock Salt and Potash)
แร่กลุม่ น้ีเกิดจากการระเหยของน้าทะเลซ่ึงมสี ารละลายโพแทชและโซเดียมในแอง่ ปิ ด แหลง่ แร่
เกลอื หินและโพแทชของไทยไดช้ ื่อวา่ เป็นแหลง่ ทีส่ าคญั แหล่งหน่ึงของโลก พบไดใ้ นภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ เกลือหิน (NaCl) หรือเกลอื แกง นอกจากใชใ้ นการบริโภคแลว้ ยงั ใชใ้ น
หลากหลายอุตสาหกรรมโดยเฉพาะเคมภี ณั ฑใ์ นการผลิตโซดาไฟและคลอรีน ซ่ึงเป็นวตั ถุดิบใน
อตุ สาหกรรมอ่ืน ๆ จานวนมาก ส่วนโพแทช (K) เป็นหน่ึงในธาตุหลกั ของป๋ ยุ เคมี และยงั ใชใ้ น
อุตสาหกรรมเคมีภณั ฑบ์ างชนิดดว้ ย
8.ยปิ ซมั (Gypsum)
ยปิ ซมั หรือเกลอื จืดเป็นแร่อโลหะท่มี คี วามเปราะมาก ลกั ษณะวาวคลา้ ยแกว้ หรือมกุ ใสไมม่ สี ี
หรือสีเทา ภาคอตุ สาหกรรมนามาใชเ้ ป็นส่วนผสมของปูนซีเมนต์ ทาปนู ปลาสเตอร์ และยิปซมั
บอร์ดเพื่อใชก้ นั ความร้อน นอกจากน้นั ยงั นาไปประยกุ ตใ์ ชเ้ พ่ือปรับสภาพดินเคม็ และนาไปใช้
เป็นส่วนประกอบในผลิตภณั ฑต์ า่ ง ๆ เช่น ชอลก์ กระดาษ ดินสอ เป็นตน้
9.สังกะสี (Zinc)
คุณสมบตั ิในการเป็นโลหะทีม่ ีความแขง็ แรงทนต่อการผุกร่อน สงั กะสีจึงนาไปใชใ้ นหลาย
อุตสาหกรรม โดยเฉพาะใชใ้ นการเคลือบชุบเหลก็ เพ่อื เพม่ิ ความคงทน ใชใ้ นอุตสาหกรรมยาน
ยนต์ อุตสาหกรรมก่อสร้าง และหล่อเป็นชิ้นงานผลิตภณั ฑ์ทีต่ อ้ งการความแมน่ ยาในการคง
ขนาด เช่น คาร์บเู รเตอร์ บานพบั ประตู เป็นตน้ และยงั ใชใ้ นอุตสาหกรรมโลหะสังกะสีผสม
(Zinc Alloy) เพ่ือเพ่ิมความแขง็ แกร่งให้โลหะชนิดตา่ ง ๆ
10.ดีบกุ (Tin)
มีความสาคญั ต่อประเทศไทยในอดีต โดยเฉพาะภาคใต้ แร่ดีบกุ ทีไ่ ดจ้ ากการถลุงเป็นโลหะดีบกุ
จะนาไปใชเ้ คลือบโลหะทาภาชนะบรรจอุ าหาร ผสมกบั ตะกวั่ ทาตะกวั่ บดั กรี ผสมกบั ทองแดง
เป็นทองสัมฤทธ์ิเพอ่ื ทาชิ้นส่วนเคร่ืองจกั รกล พระเครื่อง ผสมกบั ทองแดงและพลวงทาพวิ เตอร์
ผสมกบั สังกะสีและพลวงใชช้ ุบสงั กะสีมงุ หลงั คา ผสมกบั เงินและปรอททาเป็นสารอุดฟันทาง
ทนั ตกรรม และใชใ้ นอตุ สาหกรรมอน่ื ๆ เช่น อตุ สาหกรรมเคร่ืองป้ันดินเผา เคร่ืองเคลือบ
พลาสตกิ สีทาบา้ น เป็นตน้
แหล่งแร่ในประเทศไทย
แร่โลหะ
1. แร่ดีบกุ มมี ากทางภาคใต้ ตะวนั ออกเฉียงใต้ แตใ่ นปัจจุบนั เหมืองแร่ดีบุกไดข้ ยายไปถึงราชบรุ ี
กาญจนบุรี อทุ ยั ธานี ตาก เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน เชียงราย
2. เหลก็ พบแหล่งแร่เหล็กหลายแห่งในประเทศไทย เช่น ท่ีอาเภอเชียงคาน จงั หวดั เลย ทีเ่ ขาทบั
ควาย จงั หวดั ลพบุรี ทีเ่ ขาอมึ ครึม จงั หวดั กาญจนบุรี เป็นตน้ ปัจจุบนั แร่เหลก็ ลดจานวนนอ้ ยลง
เหลก็ ที่ใชอ้ ยใู่ นประเทศไทยปัจจุบนั ส่วนมากนาเขา้ จากตา่ งประเทศ ส่วนเหล็กในประเทศไทย
นามาเป็นส่วนประกอบของปนู ซีเมนต์ เช่น ท่ีลพบรุ ี สระบุรี
3. แมงกานีส ที่ขดุ พบในไทยมที ้งั ชนิดทใี่ ชใ้ นอตุ สาหกรรมโลหะ ชนิดทใ่ี ชใ้ นการทาแบตเตอรี่
และชนิดที่ใชใ้ นการทาอุตสาหกรรมเคมี ชนิดแบตเตอร่ีไดน้ ามาใชใ้ นโรงงานทาถ่านไฟฉาย
ภายในประเทศ ส่วนอีกสองชนิดส่งออกไปขายต่างประเทศ และทาอตุ สาหกรรมเหลก็ กลา้
ภายในประเทศแหล่งท่ีพบแมงกานีส และเปิ ดทาเหมอื งแลว้ เช่น ท่อี าเภอเชียงคาน จงั หวดั เลย
(ชนิดแบตเตอร่ี) อาเภอล้ี จงั หวดั ลาพูน อาเภอบา้ นไร่ จงั หวดั อุทยั ธานี เกาะลา้ น เกาะคราม
จงั หวดั ชลบรุ ี อาเภอเมือง จงั หวดั กาญจนบุรี อาเภอมายอ จงั หวดั ปัตตานี
4. ทงั สะเตนและวลุ แฟรม เคยผลิตไดเ้ ป็นอนั ดบั สองรองจากดีบกุ เป็นแร่ท่ีมกั พบอยคู่ ู่กบั ดีบุก
แหลง่ ทม่ี ี
คุณภาพดีและมมี ากอยทู่ อ่ี าเภอแม่สะเรียง จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน และทีบ่ ่อบิล็อก อาเภอทองผาภมู ิ
จงั หวดั กาญจนบุรี ปัจจุบนั แหล่งใหม่ที่ผลติ ไดม้ ากคือท่ีเขาศนู ย์ อาเภอฉวาง จงั หวดั
นครศรีธรรมราช กบั ที่ดอยหมอก อาเภอเวียงป่ าเป้า จงั หวดั เชียงราย และท่ถี ้าโงม้ จงั หวดั แพร่
คณุ ภาพดีและมมี ากประโยชน์ใชใ้ นการผสมเหล็กทาใหเ้ หลก็ กลา้ มคี วามเหนียวมาก มคี ณุ ภาพ
เป็น แมเ่ หลก็ ทม่ี คี ุณภาพสูง
5. ตะกวั่ และสังกะสี เป็นแร่พบรวมอยกู่ บั แร่เงินและพบปนอยกู่ บั หินปนู แหลง่ สาคญั มี 4 แหล่ง
คอื
อาเภอศรีสวสั ด์ิ จงั หวดั กาญจนบุรี เป็นตะกว่ั เป็นส่วนมาก
แหล่งแร่ห้วยถ้า จงั หวดั แพร่ ส่วนมากเป็นสงั กะสี
แหล่งแร่ถ้าทะเล จงั หวดั ยะลา แร่ตะกว่ั แทรกอยตู่ รงกลางของสายแร่ดีบุกและวลุ แฟรม
อาเภอแม่สอด จงั หวดั ตาก ส่วนมากเป็นสงั กะสีมีความบริสุทธ์ิ 35% ประโยชนใ์ ชผ้ สมโลหะทา
แผน่ ตะกวั่ ในแบตเตอร่ี เคลือบท่อประปา หุ้มสายไฟฟ้า ทากระสุนปื น สังกะสี ใชช้ ุบเหลก็ เป็น
เหล็กวิลาส (ใชม้ งุ หลงั คา)
6.ทองคา เคยพบมากท่อี าเภอกบนิ ทร์บุรี จงั หวดั ปราจีนบรุ ี อาเภอโตะ๊ โม๊ะ จงั หวดั นราธิวาส
ตาบลทา่ ตะโก จงั หวดั ลพบุรี อาเภอบางสะพาน จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ อาเภอหว้ ยหลวง
จงั หวดั เชียงราย ท้งั หมดพบในลกั ษณะลานแร่ เป็นกอ้ นเลก็ กอ้ นนอ้ ยปนมากบั เศษดินและทราย
ตามกน้ แม่น้าลาธาร แร่ทองคาในบริเวณเหลา่ น้ีบางแห่ง ไดห้ มดไปแลว้ และบางแห่งก็เหลอื
เพยี งเลก็ นอ้ ยเท่าน้นั จากภาพถ่ายดาวเทยี มในปัจจุบนั น้ี พบแร่ทองคาใน 25จงั หวดั ดงั น้ี
ลาปาง เชียงราย พะเยา เชียงใหม่ ลาพนู แพร่ เลย อดุ รธานี เพชรบรู ณ์ สุโขทยั นครสวรรค์
ลพบุรี สระบรุ ี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ชลบุรี จนั ทบุรี ระยอง กาญจนบรุ ี ราชบรุ ี ประจวบครี ีขนั ธ์
สุราษฎร์ธานี พงั งา ภูเกต็ และนราธิวาสประโยชน์ของทองคา เป็นเคร่ืองประดบั ผสมกบั โลหะ
อืน่ ใชใ้ นวงการทนั ตแพทย์ เครื่องมือวทิ ยาศาสตร์ และท่สี าคญั ใชเ้ ป็นทุนสารองเงินตรา
7. เงิน มีเพียงเลก็ นอ้ ยพบรวมอยกู่ บั แร่ตะกวั่ เช่น ท่จี งั หวดั กาญจนบุรีประโยชนใ์ ช้ทาเหรียญ
กษาปณ์ เครื่องประดบั ชุบโลหะ สารเคมขี องเงินใชใ้ นทางการแพทย์ การถา่ ยรูป และแกว้ สี
8. ทองแดง พบหลายแห่งแต่คุณภาพไมด่ ี ปริมาณไม่มากพอทาเหมืองได้ แหลง่ สาคญั อยทู่ ่ีภหู ิน
เหลก็ ไฟ และภทู องแดง จงั หวดั เลย จงั หวดั ลาปาง จงั หวดั อตุ รดิตถ์
แร่อโลหะ
1. ฟลอู อไรด์ ในไทยส่วนมากมาจากเหมือง อ.บา้ นโฮ่ง อ.ล้ี จ.ลาพนู นอกจากน้ียงั มที ่ี จ.ราชบุรี
เพชรบุรี กาญจนบุรี เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาปางประโยชน์ใชถ้ ลุงเหลก็ กลา้ ทากรดฟลูออริค
ในอุตสาหกรรมอลูมเิ นียม
อตุ สาหกรรมเคมใี นการทาเครื่องเคลอื บ ใชท้ าแกว้ ทเี่ ป็นเลนส์กลอ้ งโทรทศั น์ ผสมยาสีฟัน
ป้องกนั ฟันผุ ฯลฯ
2. ยิปซมั พบท่ี อ.บางมูลนาก จ.พจิ ิตร บา้ นหนองบวั จ.นครสวรรค์ อ.นาสาร จ.สุราษฎร์ธานี
นอกจากน้ีก็พบท่ีลาปาง อตุ รดิตถ์ เลย พบเน่ืองจากการเจาะน้าบาดาล
ประโยชนใ์ ชท้ าปนู ซีเมนต์ ป๋ ยุ ดินสอปูนปลาสเตอร์ท่ีใชใ้ นการป้ัน ชอลค์ ปนู ขาว ฉาบผนงั
3. ดินมาร์ล หรือดินปนู เหนียว พบที่ อ.ทา่ ม่วง จ.กาญจนบุรี สระบุรี ลพบรุ ีประโยชนใ์ ชท้ า
ปนู ซีเมนต์ ใชโ้ รยบนดินแกค้ วามเป็นกรด
4. ดินขาว พบที่ อ.แจห้ ่ม จ.ลาปาง บริเวณดอยสุเทพ จ.เชียงใหม่ อ.เมอื ง จ.ปราจีนบรุ ี อ.แกลง จ.
ระยอง อ.บางละมุง อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี อ.นาสาร จ.สุราษฎร์ธานี ประโยชน์ใชท้ าถว้ ยชาม
เครื่องประดบั ของใชต้ ่าง ๆ และยา
5. เกลอื แหลง่ เกลอื สินเธาว์ เกลือบาดาล และเกลอื หินในภาคอสี าน เป็นแหล่งท่มี มี ากที่สุดใน
โลกแห่งหน่ึง เพราะจากการคานวณคร่าว ๆ จะมีแหล่งเกลือในภาคน้ีไมน่ อ้ ยกวา่ 4,700 ลา้ นตนั
(จากรายงานการวจิ ยั ของกรมทรัพยากรธรณี ฉบบั ท่ี 4) ซ่ึงกระจายอยทู่ ว่ั ไปท้งั ที่ แอง่ สกลนคร
และแอ่งโคราช ดงั เช่น บ่อเกลอื ที่ อ.วาปี ปทุม อ.บรบือ อ.กนั ทรวชิ ยั จ.มหาสารคาม และท่ี อ.
บา้ นไผ่ จ.ขอนแกน่ เกลอื ทผ่ี ลติ ไดม้ โี ซเดียมคลอไรดป์ ระมาณ 85 – 92.8% ประโยชน์ นอกจาก
รับประทานก็นามาทาวตั ถดุ ิบ ในอุตสาหกรรมเคมี ทากรด ทาโซดาไฟ ทาสบู่ สียอ้ มผา้ ยาฟอก
หนงั โซดาแอส ป๋ ยุ เป็นตน้
6. หินมีคา่ พลอยสีเหลอื ง สีเขยี ว สีน้าเงิน พบมากที่จนั ทบุรี ทบั ทิม เพทาย บศุ ราคมั พบท่ี
กาญจนบุรี จนั ทบุรี ตราด ศรีสะเกษ แพร่ เพชร พบเล็กนอ้ ยท่ีภูเกต็ และพงั งา
ประโยชน์ เพทายใชท้ าถว้ ยชาม ทาอิฐทนไฟ ทาแกว้ และทาเตาถลงุ โลหะ ทบั ทมิ พลอย ฯลฯ
ทาเครื่องประดบั
7. หินออ่ น พบท่ี อ.เมือง อ.พระพทุ ธบาท จ.สระบุรีประโยชนใ์ ชใ้ นการก่อสร้าง แกะสลกั ทา
เคร่ืองประดบั อุตสาหกรรมทาแกว้
สรุป
แร่คือ ธาตหุ รือสารประกอบอนินทรียท์ เี่ กิดข้นึ ตามธรรมชาติ มสี ถานะเป็นของแขง็ มโี ครงสร้าง
ทเี่ ป็นผลกึ เป็นระเบียบ มสี ูตรเคมีและสมบตั อิ น่ื ๆ ทแี่ น่นอนหรือเปลยี่ นแปลงไดใ้ นวงจากดั
ตวั อยา่ งเช่น แร่เฮไลต์ ( เกลอื ) แร่แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทคือแร่ประกอบหินและแร่เศรษฐกิจ
สินแร่ หมายถงึ หินหรือแร่ประกอบหินที่มีแร่เศรษฐกิจปนอยใู่ นปริมาณที่มากพอท่ีจะทาเหมือง
ไดโ้ ดยคุม้ คา่ การลงทนุ
สินแร่ แบ่งออกตามลกั ษณะการนาไปใชป้ ระโยชน์ ไดแ้ ก่
1. แร่โลหะ
2. แร่อโลหะ
3. แร่เช้ือเพลงิ
4. แร่รตั นชาติ
5. กรวด หิน ดิน ทราย
แร่ในชีวติ ประจาวนั ซ่ึงในชีวิตประจาวนั มกี ารใชป้ ระโยชนจ์ ากแร่มากมายหลายชนิดท้งั แร่
โลหะและแร่อโลหะ เนื่องจากการดารงชีวิตของคนเรามีความเก่ียวพนั กบั แร่มาโดยตลอดต้งั แต่
ทอี่ ยอู่ าศยั ยานพาหนะ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า เครื่องมอื เครื่องใชต้ ่าง ๆ เคร่ืองสาอาง และยารกั ษาโรค
ซ่ึงปัจจุบนั มีการคน้ ควา้ การใชป้ ระโยชน์จากแร่อยา่ งกวา้ งขวาง เพ่อื ประโยชนใ์ นอตุ สาหกรรม
ดา้ นตา่ ง ๆ
การใชแ้ ร่ในปัจจุบนั น้ีสามารถจาแนกการใชเ้ ป็นกล่มุ ตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ในดา้ นตา่ ง ๆ
ไดแ้ ก่ แร่โลหะ แร่โลหะหายาก แร่โลหะมคี า่ แร่กมั มนั ตรงั สี แร่อโลหะหรือแร่อตุ สาหกรรม แร่
รัตนชาติ และแร่เช้ือเพลิง
ภาคผนวก
บรรณานุกรม
แร่ เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.scimath.org/lesson-chemistry/item/7187-2017-06-08-14-16-
10?fbclid=IwAR3SJapRKuOPKK7uHDrSt957FG60AqLJVGBPaLMUHnotkJKUY0i030LTi
U (วนั ทส่ี ืบคน้ ขอ้ มลู :1 กมุ ภาพนั ธ์ 2564)