The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานเรื่อง-ภัยพิบัติทางธรรมชาติ -ขวัญสิริ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanchanapon.pugun1710, 2021-02-01 08:31:00

รายงานเรื่อง-ภัยพิบัติทางธรรมชาติ -ขวัญสิริ

รายงานเรื่อง-ภัยพิบัติทางธรรมชาติ -ขวัญสิริ

รายงานเรื่อง ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ

จัดทำโดย
นางสาวขวญั สิริ ทะเยน็
เลขท่ี13 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่4/1

เสนอ
คณุ ครู จิรศกั ด์ิ ดวงสุข
รายวิชา โลกดาราศาสตร์และอวกาศ ว31262
ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศกึ ษา2563
โรงเรียนบุญเรืองวทิ ยาคม

คำนำ
รายงานการศึกษาคน้ ควา้ เล่มน้ีจดั ทาข้ึนเพื่อเป็นส่วนหน่ึงของวิชาโลกดาราศาสตร์ช้นั
มธั ยมศึกษาปี ที่4 เพื่อใหไ้ ดศ้ กึ ษาหาความรู้ในเร่ือง ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ

ปัจจบุ นั ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ ไดก้ ลายเป็นภยั คุกคามร้ายแรง อนั นามาซ่ึงความ
สูญเสียท้งั ชีวติ และทรัพยส์ ินอยา่ งมหาศาลและเป็นปัญหาซ้าซาก โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งภยั
พิบตั ิจากอทุ กภยั และดินโคลนถล่มเป็นภยั พบิ ตั ิที่ส่งผลกระทบในวงกวา้ งและมี
แนวโนม้ ทวีความรุนแรงข้ึนเป็นลาดบั การเตรียมพร้อมเพอื่ รับสถานการณส์ าธารณภยั
ต่างๆ มคี วามสาคญั อยา่ งยิ่งต่อความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ินของประชาชนและ
นกั ทอ่ งเท่ียว

ผจู้ ดั ทาหวงั ว่า รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กบั ผูอ้ ่าน หรือนกั เรียน
นกั ศึกษา ที่กาลงั หาขอ้ มูลเร่ืองน้ีอยหู่ ากมขี อ้ แนะนาหรือขอ้ ผิดพลาดประการใด
ผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ที่น้ีดว้ ย

ผจู้ ดั ทา

สำรบัญ

เร่ือง หน้ำ
คานา ก
สารบญั ข
ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ 1
แผน่ ดินไหว 2
ภูเขาไฟปะทุ 5
สึนามิ 9
อทุ กภยั 11
แผน่ ดินถล่ม 15
การกดั เซาะชายฝ่ัง 17
วาตภยั 21
ไฟป่ า 26
สรุป ค
ภาคผนวก ง
บรรณานุกรม จ

ภยั พบิ ตั ิทำงธรรมชำติ

ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ เป็นเหตกุ ารณ์ทเี่ กิดข้ึนตามธรรมชาติ เม่อื เกิดข้ึนแลว้ จะส่งผลใหเ้ กิด
อนั ตรายและเกิดความสูญเสียท้งั ชีวติ และทรัพยส์ ินตา่ งๆ ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติเกิดข้ึนใน 3
ลกั ษณะ คอื ภยั พบิ ตั ิท่ีเกิดข้ึนเน่ืองจากสาเหตุภายในโลก เช่น แผน่ ดินไหว ภูเขาไฟระเบดิ ภยั
พิบตั ิทเี่ กิดข้ึนบนผิวโลก เช่น การเกิดแผ่นดินถล่ม อทุ กภยั ภยั แลง้ ไฟป่ า และภยั พิบตั ทิ ีเ่ กิดข้ึน
ในบรรยากาศ เช่น วาตภยั ภาวะโลกร้อน ลกู เห็บ ฟ้าผ่า เป็นตน้

ภัยพบิ ตั ิ คือ ภยั ทีก่ ่อใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ ชีวิต และทรพั ยส์ ิน โดยส่งผลกระทบต่อภาวะ
เศรษฐกิจ และวถิ ชี ีวิตของผคู้ นในสงั คมท้งั ในระยะส้นั และระยะยาว ภยั พิบตั ิแบง่ เป็น 2
ประเภท คือ ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ และภยั พิบตั ทิ มี่ นุษยส์ ร้างข้ึน

ภยั พิบตั ิทำงธรรมชำติ คอื ภยั ทมี่ ีสาเหตุมาจากธรรมชาติ อาทิ แผ่นดินไหว อทุ กภยั อคั คีภยั พายุ
การระเบดิ ทกี่ ล่าวถึงน้ีคือการระเบดิ ของแก๊สท่ธี รรมชาติปลอ่ ยออกมาสู่ภายนอก นอกจากน้ีภยั
พบิ ตั ทิ างธรรมชาตยิ งั รวมถงึ ภยั จากนอกโลกดว้ ย เช่น อกุ กาบาต

ภัยพิบัตทิ ม่ี นุษย์สร้ำงขึน้ คอื ภยั พิบตั ิท่ีมีสาเหตมุ าจากมนุษย์ เช่น การสูบน้าใตด้ ินปริมาณมาก
จนส่งผลให้เกิดการทรุดตวั ของพ้ืนดิน การปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกปริมาณมากจากโรงงาน
อตุ สาหกรรมจนส่งผลใหร้ ะดบั น้าทะเลเพ่ิมสูงข้ึนและทว่ มพ้ืนที่ในระดบั ต่า การเปลีย่ นทางน้า
จนทาใหเ้ กิดภยั แลง้ ในบางพ้นื ท่ี เป็ นตน้ รวมถงึ การทดลองทางวิทยาศาสตร์ เช่น การทดลอง
ระเบิดนิวเคลยี ร์ใตด้ ิน ซ่ึงส่งผลตอ่ ช้นั หินใตเ้ ปลอื กโลก โดยอาจมผี ลกระทบตอ่ โลกในระยะยาว
เป็ นตน้

แผ่นดินไหว

แผน่ ดินไหว (Earthquake) เป็นปรากฏการณธ์ รรมชาติท่ีแผ่นดินมีการสนั่ สะเทือน ซ่ึงเกิดจาก
อทิ ธิพลของแรงบางอยา่ งท่ีอยใู่ ตพ้ ้ืนโลก เมอื่ เกิดแผ่นดินไหวคลื่นของแผ่นดินไหวจะกระจาย
ไปสู่บริเวณส่วนต่างๆ ของโลก และถา้ การสัน่ สะเทอื นของแผน่ ดินไหวเป็ นไปอยา่ งรุนแรง
อปุ กรณต์ รวจจบั คลื่นที่อยหู่ ่างออกไปไกลนบั หมื่นกิโลเมตรกส็ ามารถรบั คล่ืนแผน่ ดินไหวได้

1) ปัจจัยทีท่ ำให้เกิดแผ่นดินไหว แผน่ ดินไหวเกิดจากการสั่นสะเทือนของแผ่นดินทรี่ ู้สึกไดจ้ ดุ

ใดจดุ หน่ึนบนผวิ โลก แผ่นดินไหวส่วนใหญเ่ กิดจากการคลายตวั อยา่ งรวดเร็วของ
ความเครียดภายในเปลอื กโลกในรูปแบบของการเลอ่ื นตวั ของแผ่นดินไหวไดเ้ ช่นกนั

2) สถำนกำรณ์เกดิ แผ่นดนิ ไหว ในปัจจุบนั ไดเ้ กิดปรากฎการณแ์ ผ่นดินไหวในภมู ิภาคตา่ งๆ

ของโลกบอ่ ยคร้ังข้ึนและรุนแรงมากข้ึน โดยมีศนู ยก์ ลางการเกิดตามพ้นื ทเ่ี สี่ยงภยั ตา่ งๆ
โดยเฉพาะตามแนวรอยต่อของแผ่นเปลอื กโลกท้งั หลาย

ในประเทศไทยการเกิดปรากฎการณ์แผน่ ดินไหวค่อนขา้ งน้อยและไดร้ บั ผลกระทบไม่
รุนแรงมากนกั เนื่องจากประเทศไทยต้งั อยหู่ ่างไกลจากแนวแผน่ เปลือกโลกและแนวภเู ขาไฟ
แมป้ ระเทศไทยจะมีรอยต่อเล่อื นมพี ลงั ในภาคเหนือ ภาคตะวนั ตก และภาคใต้ แต่เป็นรอย
เลอ่ื นขนาดเล็กส่วนใหญ่ศูนยก์ ลางแผ่นดินไหวจะอยบู่ ริเวณหม่เู กาะอนั ดามนั ประเทศ
อินเดีย ประเทศพม่า ทางตอนใตข้ องประเทศจีน และตอนเหนือของประเทศลาว

3) ผลกระทบจำกกำรเกิดแผ่นดินไหว เมื่อมแี ผ่นดินไหวขนาดเล็กหรือปานกลางเกิดข้นึ (ขนาด

ปานกลาง 4-6 ริกเตอร์ ขนาดเลก็ 1-3 ริกเตอร์) จะเกิดรอยร้าวของอาคารและส่ิงของตกลง
พ้ืนหรือแกวง่ แตถ่ า้ ขนาดของแผน่ ดินไหวขนาดใหญ่ คือ ต้งั แต่ 7 ริกเตอร์ข้ึนไปจะเกิดความ
รุนแรงมาก คอื อาคารทีไ่ ม่แขง็ แรงจะพงั ทรุดถลม่ มีผูเ้ สียชีวติ มาก กรณีทเ่ี กิดแผน่ ดินไหวใน
พ้นื ท่ที เ่ี ป็นเกาะ และมขี นาดต้งั แต่ 7.5 ริกเตอร์ข้ึนไป ส่งผลให้เกิดคลนื่ สึนามินอกจากน้ีการ

เกิดแผน่ ดินไหวขนาดใหญอ่ าจจะทาให้พ้ืนท่ีบริเวณเชิงเขาทล่ี าดชนั เกิดดินถล่มลงมาทบั
บา้ นเรือนแถบเขาและอาจเกิดแผน่ ดินแยกกนั

พนื้ ท่ีเส่ียงภยั แผ่นดินไหวในประเทศไทย

กรมทรัพยากรธรณีไดจ้ ดั ทาแผนทแ่ี สดงบริเวณเสี่ยงภยั แผ่นดินไหวในประเทศไทย
และแสดงความเสี่ยงของโอกาศการเกิดแผน่ ดินไหวท่ีจะเกิดความเสียหายตามมาตราอนั ดบั
ข้นั รุนแรงของแผ่นดินไหว เรียกวา่ ”มาตราเมร์กลั ป์ ลี”(Mercalli scaie) ดงั น้ี

1. เขตควำมรุนแรงน้อย สภาพของแผ่นดินไหวจะสามารถตรวจจบั ความสน่ั สะเทอื นระดบั
I-II เมร์กลั ป์ ลี โดยเครื่องตรวจรับความสนั่ สะเทอื น คนไม่สามารถรู้สึกได้ พบไดบ้ ริเวณ
พ้นื ท่ีส่วนใหญ่ของถาคตะวนั ออกเฉีงเหนือและภาคตะวนั ออก

2. เขตควำมรุนแรงพอประมำณ สภาพของแผ่นดินไหวคนสามารถรู้สึกได้ และ
เคร่ืองตรวจจบั ความส่ันสะเทือนจะอยใู่ นระดบั III-IV เมร์กลั ป์ ลี พบไดบ้ ริเวณภาค
ตะวนั ออกฉียงเหนือตอนบนภาคตะวนั ออก และภาคใตฝ้ ่ังอ่าวไทยต้งั แต่นครศรีธรรมราชลง
ไป

3. เขตที่มีควำมรุนแรงน้อย-ปำนกลำง สภาพของแผน่ ดินไหวคนรู้สึกได้ ระดบั ความ
สั่นสะเทอื น V-VI เมร์กลั ป์ ลี บา้ นสน่ั สะเทอื น ตน้ ไมส่ ัน่ ส่ิงปลกู สร้างทอ่ี อกแบบไม่ดีอาจ
พงั ได้ พบบริเวณภาคเหนือ ขอบภาคกลางดา้ นทศิ ตะวนั ตก กรุงเทพฯ และปริมณฑล ภาค
ตะวนั ตกตอนลา่ งและภาคใต้

4. เขตท่ีมคี วำมรุนแรงปำนกลำง สภาพของแผน่ ดินไหวคนรู้สึกได้ ส่ิงของในห้องตกหลน่
ตกึ ร้าว ระดบั ความสัน่ สะเทอื น VII-VIII เมร์กลั ป์ ลี ทาใหส้ ่ิงก่อสร้างเสียหาย บริเวณทอ่ี าจ
เกิดข้ึนได้ ไดแ้ ก่ ภาคเหนือและภาคตะวนั ตกท่มี ชี ายแดนตดิ ต่อกบั สหภาพพมา่ จนถงึ จงั หวดั
กาญจนบรุ ี

กำรระวังภยั จำกแผ่นดนิ ไหว

การเกิดแผ่นดินไหวไมส่ ามารถทราบลว่ งหนา้ ได้ แต่บริเวณใดที่เป็นจดุ เสี่ยงต่อการเกิด
แผ่นดินไหวจึงเป็ นเพียงการลดความสูญเสียเท่าน้นั

ขอ้ ปฎิบตั ใิ นการป้องกนั ตนเองจากภยั แผน่ ดินไหว มดี งั น้ี

1. บคุ คลทอี่ ยบู่ ริเวณจดุ เส่ียงตอ่ การเกิดแผน่ ดินไหว ควรจดั เตรียมเคร่ืองอุปโภคบริโภค
ยารกั ษาโรคไวใ้ ห้พร้อม

2. ขณะเกิดเหตหุ ้ามใชล้ ิฟตเ์ พราะไฟฟา้ อาจดบั ได้ และควรมุดลงใตโ้ ตะทแ่ี ขง็ แรง เพ่อื
ป้องกนั สิ่งของร่วงหล่นทบั

3. หากอยภู่ าคนอกอาคารให้หลกี เลยี่ งการอยใู่ กลเ้ สาไฟฟ้า กาแพง และอาคารสูง หายอยู่
ใกลช้ ายฝ่ังทะเลใหร้ ีบข้ึนท่ีสูงท่หี ่างจากชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคลนื่ สึนามไิ ด้

4. ควรออกแบบอาคารและสิ่งกอ่ สร้างใหส้ ามารถรบั แรงแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ได้

5. ควรมกี ารฝึกซอ้ มการหลบภยั แผ่นดินไหวแต่ละชุมชนหรือหน่วงงานท่อี ยใู่ นพ้ืนที่
เสี่ยงแผ่นดินไหว

ภเู ขำไฟปะทุ

ภเู ขาไฟ (Volcano) เป็นภูเขาไฟท่เี กิดข้ึนจากการปะทุของหินหนืด แกส๊ และเถา้ ธุลี ภูเขาไฟ
จากใตเ้ ปลอื กโลกแลว้ ปรากฎตวั เป็นสภาพภูมิประเทศ ภูเขาไฟมที ้งั ทีด่ บั แลว้ และทย่ี งั มีพลงั
อยู่ ภูเขาไฟทด่ี บั แลว้ เป็นภเู ขาไฟท่เี กิดข้ึนนานมาก อาจเป็นหลายแสนลา้ นปี หินหนืดท่ีไหล
ออกมาแขง็ ตวั กลายเป็นหินภเู ขาไฟบนพ้ืนโลก ส่วนภเู ขาไฟท่ยี งั มพี ลงั เป็นภูเขาไฟท่ีมกี าร
ปะทุ หรือดบั ชว่ั คราว ซ่ึงเป็นภเู ขาไฟท่ีมอดแลว้ นานนบั พนั ปี อาจจะปะทใุ หมไ่ ดอ้ ีก
ปัจจุบนั น้ีทวั่ โลกมีภเู ขาไฟทมี่ ีพลงั อยปู่ ระมาณ 1.300 ลกู และมีภูเขาไฟทีด่ บั แลว้ จานวนมาก
ทกี่ ลายเป็นภเู ขาทีส่ าคญั

ปัจจยั ที่ทำให้เกดิ กำรปะทุของภเู ขำไฟ ดงั น้ี

1.1) กำรปะทุของแมกมำ แก๊ส และเถ้ำถ่ำนจำกได้เปลือกโลก การปะทมุ กั มสี ัณญาณบอก
เหตใุ หร้ ู้ล่วงหนา้ เช่น แผ่นดินไหวในบริเวณรอบๆ ภูเขาไฟเกิดการสน่ั สะเทือน มเี สียง
คลา้ ยฟ้าร้อง เสียงทดี่ งั น้นั เกิดจากการเคลอ่ื นไหวของแมกมา แกส๊ ตา่ งๆ และไอน้าท่ถี กู
อดั ไว้ เมื่อเกิดการปะทุ ลาวา เศษหิน ฝ่นุ ละออง เถา้ ถ่านภเู ขาไฟ จะถูกพ่นออกมาทาง
ปล่องภูเขาไฟหรือออกมาทางช่องดา้ นขา้ งของภเู ขาไฟ หรือตามรอยแตกแยกของภูเขา
ไฟ แมกมาเมอ่ื ข้นึ สู่ผวิ โลกจะเรียกวา “ลาวา” (Lava) ลาวาทอ่ี อกสู่พ้นื ผวิ โลกมี
อณุ หภูมิสูงถึง 1.200 ⁰C ไหลไปตามความลาดเอียงของพ้ืนที่

1.2) กำรปะทุของหินหนืดหรือแมกมำ ภายในแมกมาจะมีแกส๊ อยู่ เม่อื แมกมาเคล่อื นข้นึ มา
ใกลผ้ ิวโลกตามช่องเปิ ดแก๊สต่างๆ ที่ละลายอยจู่ ะแยกตวั ออกเป็นฟองแกส๊ จะเพิม่
จานวนมากข้ึน และขยายตวั อยา่ งรวดเร็ว ความหนืดของแมกมาตรงทีเ่ กิดฟองจะเพิม่
สูงข้ึนตามไปดว้ ย จนเกิดการแตกร้าวของฟองแก๊สพร้อมๆ กบั การขยายตวั แลว้ เกิด
ปะทุออกอยา่ งรุนแรง

สถำนกำรณ์กำรเกดิ ภูเขำไฟปะทุ

ในยา่ นภูเขาไฟของโลกยงั มีปรากฏการณ์ภูเขาไฟปะทุอยตู่ ่อเนื่อง ซ่ึงเป็นสิ่งที่ช้ีชดั วา่ ภายใน
เปลอื กโลกยงั มีมวลหินหนืดหลอมละลายอยอู่ ีกและพยายามหาทางระบายความร้อนดงั กลา่ ว
ตวั อยา่ งการปะทุของภูเขาไฟใน พ.ศ.2552-2553 ท่ีเกิดข้นึ ในประเทศตา่ งๆ เช่น ภเู ขาไฟมา
โยนในประเทศฟิลิปปิ นส์ไดพ้ น่ เศษเถา้ ถา่ นสู่ทอ้ งฟ้า ต้งั แต่วนั ท่ี 24 ธนั วาคม พ.ศ. 2552 ไดม้ ี
การอพยพประชาชนออกนอกพ้ืนทีแ่ ต่ปรากฏวา่ เขาไฟไม่ปะทุ เม่อื วนั ท่ี 6 มกราคม พ.ศ. 2553
ภเู ขาไฟเตอร์เรียลบาในประเทศคอสตาริกา ไดพ้ น่ หมอกควนั และปะทลุ าวาร้อนทาใหเ้ กิดไฟ
ไหมป้ ่ าข้นึ ส่งผลให้ประขาขนจานวนมากตอ้ งอพยพออกจากพ้ืนท่ีเสี่ยงภยั และนบั ต้งั แต่วนั ที่
26 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ภูเขาไฟเมราปี บนเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ไดป้ ะทุอยา่ งรุนแรง
หลายคร้งั ส่งผลใหม้ ผี เู้ สียชีวิตมากกวา่ 300 คน ตอ้ งมีการอพยพประชาชนราว 90.000 คนออก
พ้นื ท่เี สี่ยงภยั และมที รัพยส์ ินเสียหายจานวนมาก

ผลกระทบทเ่ี กดิ จำกกำรปะทุของภูเขำไฟ

1. ทาใหเ้ กิดแรงสั่นสะเทอื น มีท้งั การเกิดแผน่ ดินไหววเตอื น แผ่นดินไหวจริง และแผ่นดินไหว
ติดตาม ถา้ ประชาชนไปต้งั ถิน่ ฐานอยใู่ นเชิงภเู ขาไฟอาจหนีไม่ทนั และอาจเกิดความสูญเสียแก่
ชีวิตและทรพั ยส์ ินได้

2. การเคลอ่ื นทีข่ องลาวา อาจไหลมาจากปากปล่องภูเขาไฟและเคลอ่ื นท่เี ร็วถงึ 50 กิโลเมตรตอ่
ชวั่ โมง มนุษยแ์ ละสตั วอ์ าจหนีภยั ไม่ทนั และเกิดความสูญเสียอยา่ งใหญห่ ลวง

3. การเกิดฝ่ นุ ภูเขา้ ไฟ เถา้ มลู ภูเขาไฟ ปะทุข้ึนสู่บรรยากาศครอบคลมุ อาณาบริเวณใกลภ้ ูเขาไฟ
และลมอาจพดั พาไปไกลจากแหล่งภูเขาไฟปะทหุ ลายพนั กิโลเมตร ทาใหเ้ กิดมลภาวะทางอากาศ
และทางน้า ในแหลง่ น้ากินน้าใชข้ องประชาชน เม่ือฝนตกหนกั อาจจะเกิดน้าทว่ มและโคลนภลม่
ตามมาจากฝ่นุ และเถา้ ภูเขาไฟเหล่าน้นั

4. เกิดคลื่นสึนามิ ขนาดเกิดการปะทุของภูเขาไฟ โดยเฉพาะภเู ขาไฟใตท้ อ้ งทะเล คลืน่ น้ีอาจโถม
เขา้ ฝั่งสูงขนาดตึก 3 ช้นั ข้ึนไป

กำรระวังภัยท่เี กดิ จำกภูเขำไฟปะทุ สำมำรถทำได้ดังน้ี

1. ตอ้ งมกี ารพยากรณ์วา่ ภูเขาไฟจะเกิดปะทุข้ึน และอาจเป็ นอนั ตรายกบั
ประชาชนหรือไม่ โดยการประชาสัมพนั ธ์ การพยากรณแ์ ละเตือนภยั ภเู ขาไฟปะทุทางวิทยุ
โทรทศั น์ใหป้ ระชาชนรับรู้อยา่ งทว่ั ถงึ ใหช้ ดั เจนจะเกิดข้นึ เม่อื ไร จะตอ้ งมีการอพยพหรือไม่
เพราะอาจมีบางคนไมอ่ ยากอพยพจนกวา่ จะมีการปะทุ และผคู้ นจะกลบั มาอยบู่ า้ นของตนได้
เร็วที่สุดเมือ่ ใด

2. การพยากรณ์ควรเริ่มตน้ ดว้ ยการสังเกต เก็บขอ้ มลู และวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยนกั
ภเู ขาไฟวิทยาทีม่ ปี ระสบการณ์อยา่ จริงจงั เพราะภูเขาไฟไมป่ ะทบุ อ่ ยนกั ประชาชน 2-3
พนั ลา้ นคนของโลกอาจไม่รู้ว่าไดต้ ้งั ถนิ่ ฐานอยบู่ นเชิงภูเขาไฟทด่ี บั หรือไมด่ บั ก็ตาม ดงั น้นั
การเตือนภยั ล่วงหนา้ จะช่วยลดจานวนคนที่ตกเป็นเหยือ่ ของภเู ขาไฟก็ได้ ดงั น้นั จึงควรให้
ความรู้วา่ ภูเขาไฟอยทู่ ี่ไหน จะปะทุเมื่อไร จะคมุ้ ครองชีวิตและทรัพยส์ ินไดอ้ ยา่ งไรเมอ่ื เกิด
ภยั พิบตั ขิ ้นึ

3. การให้ความรู้แก่ประชาชน ทาไดต้ ลอดเวลาท้งั ก่อน ระหวา่ ง และหลงั
ประสบภยั พบิ ตั ิ เมือ่ ประชาชนรู้เรื่องภยั พิบตั จิ ากการปะทุของภูเขาไฟ นบั วา่ การเตอื นภยั จาก
ภเู ขาไฟปะทมุ ีความสาเร็จไปคร่ึงทางแลว้ ดีกว่าใหป้ ระชาชนตกอยใู่ นความมดื เมือ่ เกดิ ภยั
พบิ ตั ขิ ้นึ

สึนำมิ

สึนำมิ (Tsunami) เป็นคาทีย่ อมรับกนั ทว่ั โลกแลว้ วา่ เป็นคลนื่ ยกั ษท์ ่ีมคี วามยาวคล่ืนเป็นหลกั
100 กิโลเมตรข้นึ ไป ท่ีก่อให้เกิดภยั พบิ ตั อิ ยา่ งใหญห่ ลวงตอ่ ชีวิตและทรัพยส์ ินของมนุษย์
เป็นคาศพั ทภ์ าษาญ่ีป่ นุ หากแปลตรงตวั คาวา่ TUS หมายถึง ท่าเรือ NAMI หมายถงึ คลนื่
สาเหตุส่วนใหญเ่ กิดจากการเคล่ือนตวั ของพ้นื ทะเลในแนวด่ิงตรงรอยต่อของแผ่นเปลือก
โลก ซ่ึงกอ่ ใหม้ ีแนวของรอยเลอ่ื นมพี ลงั อนั เป็นแหลง่ กาหนิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ คลื่นที่
เกิดข้นึ มกั มีลกั ษณะขนาดเลก็ ๆ ไม่สามารถตรวจวดั ไดข้ ณะอยใู่ นทะเลเปิ ด ตอ่ เม่ือเคลือ่ นท่ี
เขา้ ใกลช้ ายฝ่ังความสูงของคลืน่ จะเพิม่ ข้ึนหลายเทา่ ตามสภาพภมู ิลกั ษณข์ องชายฝั่งน้นั ๆ จน
มีผลกระทบร้ายแรงโดยเฉพาะอยา่ งย่งิ จะมผี ลตอ่ อา่ วที่เวา้ เป็นรูปตวั วี (V) และเปิ ดไปสู่
มหาสมทุ รโดยตรง

ปัจจัยทท่ี ำให้เกิดสึนำมิสึนามิเป็นคลน่ื ทะเลขนาดใหญท่ ่ีเคลอื่ นตวั อยา่ งรวดเร็วและมพี ลงั
มาก เกิดจากมวลน้าในทะเลและมหาสมทุ รไดร้ บั แรงสน่ั สะเทอื นอยา่ งรุนแรง จนกลายเป็น
คล่ืนกระจายตวั ออกไปจากศนู ยก์ ลางของการส่นั สะเทอื นน้นั ส่วนใหญ่มกั เกิดข้ึนเม่อื มี
แผ่นดินไหวรุนแรงใตท้ อ้ งทะเลย แตก่ อ็ าจเกิดจากสาเหตอุ ื่นๆได้ เช่น การปะทขุ องภเู ขาไฟ
บนเกาะหรือใตท้ ะเล การพงุ่ ชนของอุกกาบาตขนาดใหญ่ลงบนพ้ืนน้าในมหาสมุทร การ
ทดลองระเบดิ นิวเคลียร์ใตท้ ะเล เป็นตน้

สถำนกำรณ์กำรเกดิ สึนำมิ บริเวณทม่ี กั เกิดคลืน่ สึนามิ คือ ในมหาสมุทรแปซิฟิก
โดยเฉพาะประเทศญี่ป่ นุ มกั ไดร้ ับภยั จากสึนามบิ อ่ ยคร้ังส่วนในทะเลอนั ดามนั ของ
มหาสมุทรอนิ เดียไม่เคยเกิดสึนามทิ ีร่ ุนแรงมาก่อน จนเมอ่ื วนั ท่ี 26 ธนั วาคม พ.ศ.2547ได้
เกิดสึนามทิ รี่ ุนแรงมาก มีจุดกาเนิดอยใู่ นทะเลทางตอนเหนือของเกาะสุมาตรา ในประเทศ
อินโดนีเซีย แลว้ แผข่ ยายไปในทะเลอนั ดามนั จนไปถึงฝั่งตะวนั ออกของทวปี แอฟริกา ส่งผล
ใหม้ ผี เู้ สียชีวิตมากกวา่ 200.00 คน ใน 11ประเทศ ไดแ้ ก่ อนิ โดนีเซีย มาเลเซีย ไทย พมา่
อนิ เดีย บงั กลาเทศ ศรีลงั กา มลั ดีฟส์ โซมาเลีย แทนซาเนีย และเคนยา ในประเทศไทยมี
ผเู้ สียชีวิตประมาณ 5,400 คนใน 6 จงั หวดั

ผลกระทบที่เกิดจำกสึนำมิ ผลของคล่ืนสึนำมทิ ม่ี ตี ่อสิ่งแวดล้อมและสังคม มีดงั น้ี

1. ทาให้แผ่นเปลือกโลกขยบั คา่ พิกดั ทางภมู ิศาสตร์คลาดเคลอ่ื นไป
2. ส่งผลใหส้ ภาพพ้ืนทีช่ ายฝ่ังทะเลเปลี่ยนแปลงไปในช่วงเวลาอนั ส้นั
3. ทาใหส้ ูญเสียท้งั ชีวิตและทรัพยส์ ินตา่ งๆ เช่น บา้ นเรือนเสียหาย ระบบ
สาธารณูปโภคถกู ทาลาย เป็นตน้
4. ส่งผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศ เช่น สตั วน์ ้าบางประเภทเปลย่ี นทอ่ี ยอู่ าศยั เป็นตน้
5. กระทบต่อการประกอบอาชีพของประชาชน เช่น การทาประมง การคา้ ขาย
บริเวณชายหาด เป็นตน้
6. ส่งผลกระทบต่อธุระกิจการท่องเทยี่ ว ทาให้นกั ท่องเทย่ี วลดลง

กำรระวังภยั จำกสึนำมิ วธิ สี ังเกตและป้องกันตนจำกคล่ืนสึนำมิ มดี งั น้ี

1. เมอ่ื เกิดแผ่นดินไหวขณะทอี่ ยู่ในพ้ืนท่ีจงั หวดั ตดิ ชายฝ่ังทะเลย ตอ้ งระลึกเสมอ
วา่ อาจเกิดคลน่ื สึนามิตามมา เพอ่ื จะไดเ้ ตรียมตวั ให้พร้อมทุกเม่ือ

2. สงั เกตปรากฏการณ์ของชายฝ่ัง เช่น มีการลดระดบั น้าทะเล ให้รีบอพยพ
ครอบครัวและสตั วเ์ ล้ียงข้ึนท่สี ูง เป็นตน้

3. ถา้ อยใู่ นเรือจอดใกลก้ บั ชายฝงั่ ใหร้ ีบนาเรือออกไปกลางทะเล
4.หลกี เล่ียงการก่อสรา้ งใกลช้ ายฝ่ังในบริเวณท่มี คี วามเสี่ยงสูง หากจาเป็นตอ้ งมี
การก่อสร้าง ควรมโี ครงสรา้ งแขง็ แรงตา้ นแรงสึนามิได้

อทุ กภัย

อุทกภยั (Flood) คอื ภยั ทเ่ี กิดจากน้าท่วม ซ่ึงเป็นน้าที่ท่วมพ้นื ท่บี ริเวณใดบริเวณหน่ึงเป็นคร้งั
คราว เนื่องจากมีฝนตกหนกั หรือหิมะละลาย ทาใหน้ ้าในลาน้าหรือทะเลสาบไหลลน้ ตลง่ิ หรือป่ า
ลงมาจากท่สี ูง ส่งผลใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ ชีวิตและทรพั ยส์ ินของประชาชน

ปัจจยั ท่ที ำให้เกดิ อุทกภัย ปัจจัยสำคญั ท่ีส่งผลให้เกดิ อุทกภัย มดี ังน้ี

1.1 ฝนตกหนกั และตอ่ เน่ืองยาวนาน เน่ืองจากเกิดลมพายุ ลมมรสุมมกี าลงั แรง
หรือหยอ่ มความกดอากาศตา่ มกี าลงั แรง ส่งผลใหไ้ ม่สามารถระบายน้าออกจากพ้ืนทไ่ี ดท้ นั

1.2 พ้ืนท่เี ป็นท่รี าบลมุ่ บริเวณพ้นื ท่ีราบลมุ่ แม่น้ามกั จะประสบปัญหาน้าท่วม
เป็นประจาทกุ ปี หากมฝี นตกหนกั ต่อเน่ือง เน่ืองจากเป็นพ้ืนท่ตี ่าจึงไมส่ ามารถระบายน้า
ออกไปได้

1.3 น้าทะเลหนุน ถา้ หากมีน้าทะเล ข้ึนสูงหนุนน้าเขา้ สู่ปากแม่น้าจะทาใหน้ ้าเออ่
ไหลลน้ ฝั่ง ทาให้เกิดน้าท่วมบริเวณสองฝั่งแมน่ ้า

1.4 พ้นื ทร่ี องรับน้าต้ืนเขิน นบั เป็นมลู เหตุสาคญั ทท่ี าใหเ้ กิดน้าท่วม เพราะ
ปริมาณน้าฝนท่ีตกลงมาแต่ละปี มีปริมาณไม่แตกต่างกนั แต่ตะกอนในทอ้ งน้าของแม่น้าลา
คลองและบึงมีมาก เม่ือถึงช่วงฤดฝู นทมี่ ีปริมาณน้ามากจึงไมม่ แี หลง่ กกั เกบ็ จึงเออ่ ท่วมพ้นื ที่
ต่างๆ

1.5 สิ่งกีดขวางทิศทางการไหลของน้า ในอดีตน้าฝนที่ตกลงสู่พ้ืนดินจะไหลโดย
อสิ ระลงสู่แหล่งน้าธรรมชาติ แต่ในปัจจุบนั ไดม้ ีส่ิงกีดขวางเสน้ ทางการไหลของน้าท้งั ในลา

น้า เช่น ตะกอน ส่ิงก่อสร้างริมลาน้า กระชงั ปลา ส่วนบริเวณบนพ้ืนดินมีการสร้างถนน
อาคาร บา้ นเรือน และพ้นื ทเ่ี กษตรกรรมขวางทิศทางการไหลของน้า น้าจึงไมสามารถไหล

และระบายได้ จึงเกิดน้าท่วมข้นึ ตามพ้ืนท่ตี ่างๆ

ลักษณะภมู ิประเทศที่เส่ียงต่อกำรเกิดอุทกภัย มดี ังน้ี

1. บริเวณท่รี าบ เนินเขา จะเกิดอุทกภยั แบบฉบั พลนั น้าไหลบา่ อยา่ งรวดเร็วและ
มีพลงั ทาลายสูง ลกั ษณะแบบน้ี เรียกว่า “น้าป่ า” เกิดข้ึนเพราะมนี ้าหลากจากภเู ขา อนั
เน่ืองจากมีฝนตกหนกั บริเวณตน้ น้า จึงทาให้เกิดน้าหลากทว่ มฉบั พลนั

2. พ้นื ทรี่ าบลุ่มริมแม่น้าและชายฝั่ง เป็นภยั พิบตั ิท่เี กิดข้นึ ชา้ ๆ จากน้าลน้ ตลิง่
เมอ่ื เกิดจะกินพ้นื ที่บริเวณกวา้ ง น้าท่วมเป็นระยะเวลานาน

3. บริเวณปากแม่น้า เป็นอุทกภยั ที่เกิดจากน้าท่ีไหลจากที่สูงกวา่ และอาจจะมีน้า
ทะเลหนุน ประกอบกบั แผ่นดินทรุดจึงทาให้เกิดน้าทว่ มขงั ในทสี่ ุด

สถำนกำรณืกำรเกดิ อุทกภัย ปัจจุบนั น้าท่วมทเี่ กิดข้ึนในภูมิภาคต่างๆ ของโลกและท่ี
เกิดข้นึ ในประเทศไทยมกั เกิดข้ึนอยา่ งฉบั พลนั และเกิดรุนแรงข้ึน เน่ืองจากมฝี นตกหนงั
ต่อเน่ืองกนั เป็นเวลานาน ตวั อยา่ งเช่น น้าท่วมคร้งั ใหญ่ในสหรฐั อเมริกา เม่ือปลายเดือน
มีนาคม พ.ศ. 2552 ทาใหป้ ระชาชนหลายพนั คนในรฐั นอร์ทตาโคตาและมินนิโซตตอ้ ง
อพยพออกจากบา้ นเรือน และการเกิดน้าทว่ มฉบั พลนั ในประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ในช่วงเดือน
กนั ยายน พ.ศ. 2552 นบั เป็นภาวะน้าทว่ มคร้ังรุนแรงท่ีสุดในกรุงมะนิลาในช่วงเวลา 42 ปี
เน่ืองจากอิทธิผลของพายโุ ซนร้อนกิสนา ทาใหม้ ผี เู้ สีชีวติ หลายร้อยคนและคนไร้ท่ีอยอู่ าศยั
จานวนมาก เป็นตน้

ผลกระทบที่เกิดจำกอุทกภัย สำมำรถแบ่งอันตรำย และควำมเสียหำยทเี่ กิด

จำกอทุ กภยั ได้ดังน้ี

1. น้าท่วมอาคารบา้ นเรือน สิ่งก่อสร้างและสาธารณสถาน ซ่ึงทาใหเ้ กิดความ
เสียหายทางเศรษฐกิจอยา่ งมาก บา้ นเรือนหรืออาคารสิ่งก่อสร้างที่ไม่แขง็ แรงจะถกู กระแสน้า
ที่ไหลเช่ียวพงั ทลายได้ คน สัตวพ์ าหนะ และสตั วอ์ าจไดร้ บั อนั ตรายถึงชีวติ จากการจมน้า
ตาย

2. เสน้ ทางคมนาคมและการขนส่ง อาจจะถูกตดั เป็นช่วงๆ โดยความแรง
ของกระแสน้า ถนนสะพานอาจจะถูกกระแสน้าพดั ให้พงั ทลายได้ สินคา้ พสั ดทุ ่ีอยรู่ ะหวา่ ง
การขนส่งจะไดร้ บั ความเสียหายมาก

3. ระบบสาธารณูปโภค จะไดร้ ับความเสียหาย เช่น โทรศพั ท์ ไฟฟ้า เป็นตน้

4. พ้ืนทก่ี ารเกษตรและการปศุสัตวจ์ ะไดร้ ับความเสียหาย เช่น พชื ผล ไร่นา
ท่ีกาลงั ผลิดอกออกผลบนพ้นื ทต่ี ่า อาจถูกน้าทว่ มตายได้ สัตวพ์ าหนะ สตั วเ์ ล้ยี ง ตลอดจน
ผลผลติ ที่เก็บกกั ตนุ หรือมไี วเ้ พอ่ื ทาพนั ธุ์จะไดร้ ับความเสียหาย ความเสียหายทางออ้ ม จะ
ส่งผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจโดยทวั่ ไป เกิดโรคระบาด สุขภาพจิตเส่ือม และสูญเสียความ
ปลอดภยั เป็นตน้

วธิ ีปฏิบัติในกำรป้องกันตนเองจำกอทุ กภยั มดี งั นี้

1. การวางแผนการใชท้ ่ีดินอยา่ งมีประสิทธิภาพ ควรกาหนดผงั เมอื งเพ่ือ
รองรับการเจริญเตบิ โตของตวั เมือง ไมใ่ หก้ ีดขวางทางไหลของน้า กาหนดการใชท้ ่ดี ิน
บริเวณพ้ืนทนี่ ้าท่วมใหเ้ ป็นพ้นื ทร่ี าบลมุ่ รับน้า เพ่ือเป็นการหน่วงหรือชะลอการเกิดน้าทว่ ม

2. ไมบ่ ุกรุกทาลายป่ าไม้ และไม่ปลูกพืชไร่บนพ้นื ทภ่ี เู ขาสูงชนั เพราะจะ
ขาดพ้นื ทีด่ ดู ซบั และชะลอการไหลของน้า ทาใหน้ ้าไหลลงสู่แม่น้า ลาหว้ ยไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว

3. การเคลอื่ นยา้ ยวสั ดจุ ากที่ทจ่ี ะไดร้ ับความเสียหายอนั เน่ืองมาจากน้าท่วม
ใหไ้ ปอยใู่ นทีป่ ลอดภยั หรือทส่ี ูง

4. การนาถงุ ทรายมาทาเขือ่ น เพื่อป้องกนั น้าท่วม
5. การพยากรณ์และการเตือนภยั น้าทว่ มใหป้ ระชาชนรับทราบลว่ งหนา้ เพ่ือ
เตรียมป้องกนั

6. การสร้างเขอ่ื น ฝาย ทานบ และถนน เพ่ือเป็ นการกกั เกบ็ น้าหรือเป็นการ
ก้นั ทางเดินของน้า เป็นตน้

ข้อควรปฏบิ ัติเม่ือเกิดอุทกภัย มดี งั นี้

1. ตดั สะพานไฟ และปิ ดแกส๊ หุงตม้ ให้เรียบร้อย

2. อยใู่ นอาคารที่แขง็ แรงและอยทู่ ีส่ ูงพน้ จากน้าทเี่ คยท่วม
3. ทาร่างกายให้อบอ่นุ อยเู่ สมอ

4. ไมค่ วรขบั ข่ียานพาหนะฝ่าลงไปในกระแสน้าหลาก
5. ไมค่ วรเล่นน้าหรือวา่ ยน้าเล่นในขณะน้าทว่ ม
6. ตดิ ตามเหตกุ ารณ์อยา่ งใกลช้ ิด เช่น สงั เกตดินฟ้าอากาศ หรือติดตามคาเตอื น
ท่เี กี่ยวกบั ลกั ษณะอากาศจากกรมอตุ ุนิยมวิทยา

7. เตรียมพร้อมท่ีจะอพยพไปในที่ปลอดภยั ของชีวิตมากกว่าห่วงทรพั ยส์ ิน

แผ่นดินถล่ม

แผน่ ดินถลม่ (Landslides) คอื การเคล่อื นที่ของแผ่นดิน และกระบวนการซ่ึง
เกี่ยวขอ้ งกบั การเคลื่อนท่ขี องดินหรือหิน ตามบริเวณพ้นื ท่ีลาดชนั ทเี่ ป็นภเู ขาหรือเนินเขา

ปัจจัยที่ทำให้เกดิ แผ่นดนิ ถล่ม แผ่นดินถลม่ เกิดข้ึนเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกอาจ
เลอื่ นหลดุ ออกมาเป็นกระบหิ รือพงั ทลายลงมากไ็ ด้ ส่ิงทเี่ ป็นตวั กระตนุ้ ใหเ้ กิดแผ่นดินถล่มมี
ท้งั ที่เป็นธรรมชาตแิ ละท่ีมนุษยก์ ระทาข้ึน

1.1 ปัจจัยจำกธรรมชำติ มดี ังน้ี

1. การเกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากจะส่งผลใหเ้ กิดแผ่นดินบริเวณลาดเขาท่ี
มีความชนั เกิดการเคลอ่ื นทลี่ งมาตามแรงดึงดูดของโลก

2. การเกิดฝนตกหนกั ฝนทต่ี กหนกั ต่อเนื่องกนั หลายๆวนั น้าฝนจะซึมไป
สะสมอยใู่ นเน้ือดิน เมื่อดินไม่สามารถอุม้ น้าไวไ้ ดจ้ ะล่นื ไถลลงตามความลาดชนั และมกั มี
ตน้ ไมแ้ ละเศษหินขนาดต่างๆ เลื่อนไหลตามไปดว้ ย

1.2 ปัจจัยจำกมนุษย์

1. การขดุ ตนบริเวณไหลเ่ ขา ลาดเขาหรือเชิงเขา เพอื่ ทาการเกษตร การทาถนน การขยายที่
ราบในการพฒั นาทด่ี ิน เป็นตน้

2. การดูดทรายจากแมน่ ้า หรือบนแผน่ ดิน
3. การขดุ ดินลกึ ๆ ในการก่อสร้างห้องใตด้ ินของอาคาร

4. การบดอดั ดินเพอื่ การกอ่ สร้างทาใหเ้ กิดการเคลอ่ื นของดินในบริเวณใกลเ้ คียง

5. การสูบน้าใตด้ ิน น้าบาดาลทมี่ ากเกนิ ไป
6. การทาลายป่ าเพอื่ ทาไร่ ทาสวน เป็นตน้

สถำนกำรณ์กำรเกิดแผ่นดินถล่ม การเกิดแผ่นดินถลม่ ในตา่ งประเทศและในประเทศไทยมี
ลกั ษณะคลา้ ยกนั คอื มกั เกิดในพ้นื ทภ่ี ูเขาทม่ี ีความลาดชนั มีการปรับพ้ืนทีป่ ่ าต้งั เดิมเป็ น
พ้นื ทเ่ี กษตรกรรม สร้างบา้ นพกั อาศยั สร้างรีสอร์ตบริการนกั ท่องเทยี่ ว และเมือ่ มีฝนตกชุก
ต่อเนื่องยาวนานมากกวา่ 24 ชวั่ โมง มกั จะเกิดแผ่นดินถล่มเอาดินโคลน เศษหิน ซากไมล้ ง
มาพร้อมกบั สายน้า สรา้ งความเสียหายท้งั ตอ่ ชีวิตและทรัพยส์ ินทกุ คร้ัง และการเกิด
เหตกุ ารณด์ งั กลา่ วน้ีมกั เกิดถขี่ ้ึน และรุนแรงมากข้นึ ทุกๆคร้ังดว้ ย ตวั อยา่ งเช่น ประเทศยูกนั
ทวีปแอฟริกาไดเ้ กิดดินถลม่ ในหมูบ่ า้ นแถบเทอื กเขาทางภาคตะวนั ออกของประเทศ เมื่อ
เดือนมนี าคม พ.ศ. 2553 เน่ืองจากมีฝนตกหนกั ในพ้ืนทอ่ี ยา่ งตอ่ เน่ือง จึงส่งผลให้มีผเู้ สียชีวติ
มากกวา่ 100 คน และผสู้ ูญหายอกี กวา่ 300 คน และทป่ี ระเทศจีนใตเ้ กิดแผ่นดินถล่มบอ่ ยคร้งั
เช่น เมือ่ วนั ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ไดเ้ กิดฝนตกหนกั ในเขตมณฑลยนู นานและมณฑล
เสฉวน ส่งผลใหเ้ กิดดินถลม่ มีผเู้ สียชีวติ 148 คน และบา้ นเรือนเสียหายอยา่ งมาก

กำรกดั เซำะชำยฝ่ัง

การกดั เซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) คือการที่ชายฝั่งทะเลถูกกดั เซาะจากการกระทาของ
คลน่ื และลอมในทะเลทาให้ชายฝ่ังร่นถอ่ ยแนวเขา้ ไปในแผน่ ดิน ส่งผลกระทบต่อ
ส่ิงแวดลอ้ มและการดารงชีวติ ของมนุษย์

ปัจจัยทีท่ ำให้เกดิ กำรกดั เซำะชำยฝ่ังทะเล มดี งั ต่อไปน้ี

ธรณีพบิ ตั ิภยั ท่เี กิดในบริเวณชายฝ่ังเป็ นสาเหตหุ น่ึงที่ทาใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลงอยา่ งเดน่ ชดั
เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ แผ่นดินถลม่ เป็นตน้

การเปล่ียนแปลงของอากาศ เป็นปัจยั หน่ึงทที่ าให้โลกมสี ภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ กนั อุณหภูมิ
อากาศโลกทีส่ ูงข้ึน อากาศทีร่ ้อนข้นึ จะทาให้ลกั ษณะของลม คล่ืนรุนแรงระดบั น้าข้นึ น้าลง
เปลี่ยนแปลง เกิดพายรุ ุนแรงและถก่ี ว่าเดิม

ระดบั น้าทะเลสูงข้ึน ระดบั น้าทะเลสูงข้ึนส่วนหน่ึงเกิดจากอากาศมอี ุณหภมู สิ ูงข้ึน ทาใหน้ ้า
ทะเลขยายตวั และยงั ทาให้ธารน้าแขง็ ในบริเวณข้วั โลกและบนภเู ขสูงละลายไหลลงสู่
มหาสมุทร

ลกั ษณะโครงสร้างทางธรณีวทิ ยาของทอ้ งทะเลท่มี ีการเคลือ่ นที่ตามแผน่ เปลอื กทะเลทาให้
เกิดการทรุดตวั ของพ้นื ท่ี นอกจากน้ีการทรุดตวั ของพ้นื ที่ชายฝั่งอาจเกิดจากการกดทบั หรือ
อดั ตวั ของตะกอนในพ้ืนทีห่ รืออาจเกิดจากการสูบ ขดุ หรือดูดท้งั ของแขง็ และของเหลวออก
จากพ้นื ที่ เช่น การสูบน้าบาดาลข้ึนมาใชใ้ นปริมาณมาก ทาให้เกิดการทรุดตวั ของพ้นื ท่ี เป็น
ตน้

ปริมาณตะกอนไหลลงสู่ทะเลลดนอ้ ยลง จากการท่ีมสี ่ิงก่อสร้างปิ ดก้นั การไหลของน้าตาม
ธรรมชาติ ทาให้ปริมาณตะกอนตามแนวชายฝ่ังลดลง การกดั เซาะจึงเกิดข้นึ ง่าย

กิจกรรมของมนุษยบ์ นชายฝ่ังทพี่ ฒั นาข้นึ มาโดยไม่สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มชายฝง่ั เช่น
การสร้างตึกสูงตามแนวชายหาดทรายดา้ นนอกที่ติดทะเล การถมทะเลเพอ่ื การพฒั นาทด่ี ิน
การเปล่ียนสภาพป่ าชายเลนทีเ่ ป็นปราการธรรมชาตไิ ปทาประโยชน์อยา่ งอน่ื การสร้าง
ส่ิงก่อสร้างขนาดใหญ่ทก่ี ีดขวางการเคล่ือนทีต่ ามธรรมชาตขิ องคล่นื และกระแสน้า เป็นตน้

สถำนกำรณ์ชำยฝ่ังถกู กดั เซำะ จากการวดั ระดบั น้าทะเล โดยสถานีวดั น้า ทะเลทวปี ตา่ งๆ ทว่ั
โลกพบว่า มีการเปลยี่ นแปลงเพ่ิมข้ึน 12-15 เซนตเิ มตร บางแห่งที่มรี ะดบั น้าทะเลเพ่ิมข้ึนจะ
เกิดการทรุดตวั ของแผ่นดิน ตวั อยา่ งเช่น ประเทศสหรัฐอเมริกาไดส้ ูญเสีย พ้นื ทีเ่ กาะเวลส
เกต (Whale Skate) ในบริเวณหมู่เกาะฮาวาย จากการเพ่ิมข้นึ ของระดบั น้าทะเลหรือ
ประชากรของประเทศตวู าลทู ก่ี าลงั เดือดร้อนตอ้ งหาท่ีอยใู่ หม่ เน่ืองแผ่นดินจะจมไปเช่นกนั
ท้งั น้ีมกี ารคาดการณ์วา่ หากระดบั น้าทะเลสูงข้ึนอีก 1 เมตร พ้นื ที่ชายฝั่งของประเทศอุรกวยั
จะหายไปร้อยละ 0.05 ประเทศอยี ิปตร์ ้อยละ 1 ประเทศเนเธอร์แลนด์ ร้อยละ 6 ประเทศ
บงั กลาเทศร้อยละ 17.5 และหมู่เกาะมาร์แชลลอ์ าจสูญเสียพ้ืนทถี่ ึงร้อยละ 80 การ
เปลย่ี นแปลงดงั กล่าวทาให้มกี ารประเมินวา่ ในช่วง 30 ปี ขา้ งหนา้ จะมีการทรุดตวั ของ
แผน่ ดินชายฝ่ังถูกกดั เซาะและความแปรปรวนของภมู อิ ากาศโลกจะเพมิ่ ระดบั ความรุนแรง
ข้ึนถงึ 20% และจะส่งผลใหเ้ กิดภยั พบิ ตั ทิ ้งั จากน้าท่วม ดินถล่ม ดินทรุด ความแห้งแลง้ ความ
ปรวนแปรของอากาศ และภยั พิบตั อิ ่ืนๆ ตามมาอีกมากมาย

สาหรบั ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยมคี วามยาวประมาณ2,600 กโิ ลเมตร ครอบคลมุ พ้นื ท่ี
ชายฝ่ังอา่ วไทยและอนั ดามนั รวม 23จงั หวดั โดยฝ่ังทะเลดา้ นอา่ วไทยมีความยาวประมาณ
1,650 กิโลเมตร ครอบคลมุ พ้นื ท่ี 17 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ตราด จนั ทบรุ ี ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา
สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร สมทุ รสงคราม เพชรบรุ ี ประจวบครี ีขนั ธ์ ชุมพร สุ
ราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี และนราธิวาส ส่วนชายฝ่ังทะเลอนั ดามนั มี
ความยาวประมาณ 950 กิโลเมตร ครอบคลมุ พ้นื ท่ีชายฝั่งทะเลของ 6 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ระนอง
พงั งา กระบ่ี ตรงั และสตลู

พ้นื ทชี่ ายฝ่ังทะเลประเทศไทย 23 จงั หวดั ประสบปัญหาถกู กดั เซาะชายฝ่ังในอตั ราความ
รุนแรงแตกตา่ งกนั พ้ืนทที่ ป่ี ระสบปัญหาถูกกดั เซาะชายฝั่งอยา่ งรุนแรงท่ีมีความสาคญั ทาง
เศรษฐกิจ และสังคม เช่น พ้นื ทชี่ ายบางขนุ เทียน กรุงเทพมหานคร ชายฝั่งเพชรบรุ ี-
ประจวบครี ีขนั ธ์ ชายฝั่งชลบรุ ี ระยอง ตราด นครศรีธรรมราช สงขลา เป็นตน้ กรม
ทรพั ยากรธรณีไดร้ บั หมอบหมายจากกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มใหเ้ ป็น
เจา้ ภาพในการดาเนินการแกไ้ ขปัญหา การกดั เซาะชายฝ่ังและตลงิ่ ลาน้า ไดร้ วบรวม
วิเคราะห์ขอ้ มูลเบ้ืองตน้ ถงึ สภาพปัญหาของพ้นื ท่วี กิ ฤตการกดั เซาะชายฝ่ังทะเลพบวา่ ชายฝั่ง

ทะเลบางขนุ เทยี นถูกกดั เซาะตลอดระยะทาง 5 กิโลเมตร ชายฝั่งอาเภอชะอาจงั หวดั เพชรบุรี
และชายฝั่งอาเภอหวั หิน จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ ถูกกดั เซาะอยา่ งรุนแรงเป็ นระยะทาง
ประมาณ 8 กิโลเมตร และมีชายหาดบริเวณพ้นื ทีท่ ี่มีความสาคญั เช่น หาดหวั หิน บริเวณ
พระราชนิเวศมฤคทายวนั พระราชวงั ไกลกงั วล ถกู กดั เซาะในระดบั ปานกลางเป็นระยะทาง
ประมาณ 40กิโลเมตร ชายฝั่งปัตตานี –นราธิวาส ถกู กดั เซาะอยา่ งรุนแรงเป็นระยะทาง
ประมาณ 35 กิโลเมตร และชายฝ่ังจงั หวดั ตราดพบการถกู กดั เซาะอยา่ งรุนแรงเป็นระยะทาง
ประมาณ 8กิโลเมตร โดยมสี าเหตุของการกดั เซาะและสภาพแตกตา่ งกนั จาเป็นตอ้ ง
ดาเนินการสถานภาพ และวางแนวทางแกไ้ ขปัญหาเป็นการเฉพาะในแต่ละเพือ่ นที่ ซ่ึงตอ้ ง
ดาเนินการศกึ ษาสภาพปัญหาสาเหตุ และปัจจยั ทางธรณีวทิ ยาสิ่งแวดลอ้ มและสมทุ รศาสตร์
เพ่อื วางแนวทางการป้องกนั การแกไ้ ขปัญหาใหเ้ หมาะสมกบั สภาพพ้ืนทว่ี ิกฤตแตล่ ะแห่ง

ผลกระทบทเ่ี กดิ กำรชำยฝั่งถูกกดั เซำะ การกดั เซาะชายฝ่ังท่เี กิดข้นึ ในหลายพ้ืนที่ชายฝ่ัง
ของภมู ภิ าคตา่ งๆ และชายฝั่งของประเทศไทยส่งผลกระทบในดา้ นตา่ งๆ ดงั น้ี

1.ระบบนิเวศชายฝั่ง ทาให้ระบบนิเวศชายฝั่ง เช่น แนวปะการงั ป่ าไมช้ ายเลน หญา้ ทะเล
และส่ิงมีชีวติ อน่ื ๆ ถกู ทาลาย ส่งผลใหส้ ภาพแวดลอ้ มชายฝั่งเสื่อมโทรมลง

2. สภาพเศรษฐกิจ เมือ่ พ้นื ท่ชี ายท้งั ทะเลไม่มคี วามอุดมสมบรูณ์ ไมม่ ีความสวยงามตาม
ธรรมชาติ ส่งผลใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี วลดนอ้ ยลง กระทบอุตสาหกรรมการทอ่ งเทยี่ ว ซ่ึงเป็นรายได้
สาคญั ของประเทศ และกระทบต่อการเพาะเล้ียงสตั วน์ ้าชายฝั่ง ส่งผลใหเ้ กิดการสูญเสียทาง
เศรษฐกิจจานวนมาก

3.การดารงชีวิตของประชนการกดั เซาะชายฝั่งทาใหส้ ่ิงปลกู สร้างเสียหาย สูญเสียท่ีดินและ
ทรัพยส์ ิน ส่งผลกระทบตอ่ คณุ ภาพชีวิตและวิถีชีวิตของคนในชุมชนเปลีย่ นแปลงไป หลาย
ชุมชนตอ้ งอพยพออกจากพ้ืนที่

กำรแก้ไขปัญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ง ปัญหาการกดั เซาะชายฝ่ังมคี วามสลบั ซบั ซอ้ น เน่ืองจาก
มเี หตผุ ลปัจจยั ประกอบกนั หลายดา้ นจึงเป็นเรื่องยากท่จี ะหาสาเหตทุ แ่ี ทจ้ ริง และแกไ้ ข
ปัญหาไดต้ รงจดุ ดงั น้นั การดาเนินการในการแกไ้ ขช่วงเวลาท่ีผา่ นมา จึงไม่ประสบผลสาเร็จ
เทา่ ทคี่ วร แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม หน่วยงานตา่ งๆ ไดพ้ ยายามจะบรรเทาปัญหา และลดผลกระทบ
จากการกดั เซาะชายฝั่งดว้ ยวิธีการต่างๆ ซ่ึงการแกไ้ ขปัญหาในปัจจุบนั มวี ิธีการแกไ้ ข 2 วธิ ี
ดงั น้ี

วธิ ีกำรทำงธรรมชำติ ไดแ้ ก่ การพ้ืนฟแู ละอนุรกั ษาป่ าชายเลน ป่ าชายหาด แหลง่ หญา้ ทะเล
และแนวปะการัง โดยเฉพาะการอนุรกั ษป์ ่าชายเลน ซ่ึงนอกจากจะเป็นประการสาคญั ใน
การช่วยลดความรุนแรงของคล่ืนลม ซ่ึงเป็นสาเหตสุ าคญั ประการหน่ึงของการเกิดการกดั
เซาะชายฝั่งแลว้ ป่ าชายเลนยงั เป็นแหลง่ ทอ่ี ยอู่ าศยั หลบภยั แพร่พนั ธุข์ องสตั วท์ ะเลซ่ึงถอื ว่า
เป็นแหล่งอาหารของผูค้ นในทอ้ งถ่นิ อกี ดว้ ย

วธิ ีกำรทำงวิศวกรรม กำรแก้ไขปัญหำกำรกัดเซำะชำยฝ่ัง โดยวิธีการทางวิศวกรรมน้นั มี
วตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ดกั ตะกอนชายหาด สลายพลงั งานคลน่ื และพยายามรกั ษาสภาพชายหาดให้
เกิดความสมดุล โดยวิธีการทางวศิ วกรรมทใ่ี ชแ้ กไ้ ข เช่น การสร้างเขื่อนกนั คลื่นสร้างแนว
กนั คล่นื นอกชายฝั่ง สร้างกาแพงกนั ตลงิ่ สร้างปะการังเทยี ม เป็นตน้

วำตภยั

วาตภยั (Storms) เป็นภยั ธรรมชาติซ่ึงเกิดจากพายลุ มแรง สามารถแบง่ ลกั ษณะของวาตภยั ได้
ตามความเร็วลม สถานทท่ี ่เี กิด เช่น พายฝุ นฟ้าคะนอง พายดุ ีเปรชนั พายโุ ซนร้อน พายไุ ตฝ้ ่นุ
เป็นตน้ ทาใหเ้ กิดความเสียหายให้แกช่ ีวิตของมนุษย์ อาคารบา้ นเรือน ตน้ ไม้ และส่ิงกอ่ สร้าง
ต่างๆ

ปัจจัยทีท่ ำให้เกดิ วำตภัย มสี ำเหตมุ ำจำกปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ ดังน้ี

1.1)พายหุ มนุ เขตร้อน เป็นพายหุ มุนท่เี กิดเหนือทะเลหรือมหาสมุทรในเขตร้อน ไดแ้ ก่ พายดุ ี
เปรชนั พายโุ ซนร้อน พายไุ ตฝ้ ่นุ พายหุ มุนเขตร้อนมีช่ือเรียกต่างกนั ไปตามแหล่งกาเนิด เช่น
พายทุ ่เี กิดในอา่ ว เบงกอลและมหาสมุทรอนิ เดียเรียกวา่ “ไซโคลน” (Cyclone) พายทุ ่ีเกิดใน
มหาสมุทรแอตแลนตกิ เหนือทะเลแคริบเบียน อา่ วเม็กซิโก และทางดา้ นตะวนั ตกของ
เม็กซิโกเรียกวา่ “เฮอลแิ คน” (Hurricane) พายทุ ่เี กิดในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือทางดา้ นฝั่ง
ตะวนั ตกมหาสมทุ รแปซิฟิกไต้ และทะเลจีนไต้ เรียกวา่ “ไตฝ้ ่นุ ” (Typhoon) พายทุ ีเ่ กิดแถบ
ทวปี ออสเตรเลีย เรียกว่า “วลิ ลี-วิลลี” (willy-willy) หรือเรียกช่ือตามบริเวณทีเ่ กิด

1.2) ลมงวง หรือพายทุ อร์นาโด เป็นพายหุ มุนรุนแรงขนาดเลก็ ที่เกิดจากการหมุนเวยี นของ
ลมภายใตเ้ มฆก่อตวั ในแนวด่ิงหรือเมฆพายฝุ นฟ้าคะนอน (เมฆควิ มโู ลนิมบสั )ทมี่ ฐี านเมฆต่า
กระแสลมวนท่มี ีความเร็วลมสูงน้ี จะทาใหก้ ระแสอากาศเป็นลมพุ่งข้ึนสู่ทอ้ งฟ้า หรือยอ้ ยลง
มาจากฐานเมฆดคู ลา้ ยกบั งวงหรือปลอ่ งยื่นลงมา ถา้ ถึงพ้ืนดินก็จะทาความเสียหายแก่
บา้ นเรือน ตน้ ไม้ และสิ่งปลกู สร้างได้

1.3)พายฤุ ดูร้อน เป็นพายทุ เี่ กิดในฤดรู ้อน ในประเทศไทยส่วนมากเกิดระหวา่ งเดือนมีนาคม
ถึงเดือนเมษายน โดยจะเกิดบอ่ ยคร้งั ในภาคเหนือและภาคเหนือและภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือส่วนกลางและภาคตะวนั ออก การเกิดนอ้ ยคร้งั กว่า สาหรบั ภาคใตก้ ็
สามารถเกิดไดแ้ ต่ไมบ่ ่อยนกั

สถำนกำรณ์กำรเกดิ วำตภยั วาตถยั คร้งั ร้ายแรงทเี่ กิดในประเทศต่างๆ เช่น

พายไุ ซโคลนนาร์กสี เกิดเมอ่ื วนั ที่2 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เป็นพายหุ มุนเขตร้อนทมี่ ีความ
รุนแรงระดบั สูง พดั ผ่านสหภาพพม่า ส่งผลใหช้ าวพม่าเสียชีวิต 22,000 คน และสูญหายอีก
41,000 คน

พำยไุ ซโคลนเอลลี เกิดข้ึนวนั ท3ี่ 0 มกราคม พ.ศ. 2552 เป็นพายทุ ี่ก่อใหเ้ กิดฝนตก
หนกั และน้าทว่ มรุนแรงท่ีสุดในรอบ 30 ปี บริเวณรัฐควีนแลนด์ ประเทศออสเตรเลีย ส่งผล
ใหบ้ ริเวณน้าฝนสูงกว่า 1 ฟตุ น้าท่วมบา้ นเรือนกวา่ 3,000 หลงั เสียหายกว่า 100ลา้ นเหรียญ
ออสเตรเลีย

พำยุไต้ฝ่ นุ กสี นำ เกิดข้นึ เม่ือวนั ท่ี 26-30 กนั ยายน พ.ศ. 2552 ไดพ้ ดั ถล่มกรุงมะนิลา
ประเทศ ฟิลิปิ นส์ แลว้ พดั ผา่ นเวียดนาม กมั พูชา ลาว และไทย ทาให้มีผเู้ สียชีวิตอยา่ งนอ้ ย
ประมาณ 700 คน ส่วนวาตภยั คร้ังร้ายแรงท่เี กิดข้นึ ในประเทศไทย เช่น

พำยโุ ซนร้อน “แฮร์เรียต” ทีแ่ หลมตะลมุ พุก อาเภอปากหนงั จงั หวดั
นครศรีธรรมราช พ.ศ.2505

พำยุไต้ฝ่ นุ “เกย”์ ท่พี ดั เขา้ สู่จงั หวดั ชุมพร เมือ่ พ.ศ. 2532

พำยุไต้ฝ่ นุ “ลินดา” ที่พดั เขา้ สู่ทางใตข้ องประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2540

พำยโุ ซนร้อน “หมยุ่ ฟ้า” ทพี่ ดั เขา้ สู่ชายฝั่งภาคใตข้ องไทย เมอ่ื พ.ศ. 2547

ผลกระทบทีเ่ กิดจำกวำตภัย ทาให้เกิดอนั ตราย และความเสียหาย ดงั น้ี

บนบก ตน้ ไมถ้ อนรากถอนโคนตน้ ไมท้ บั บา้ นเรือนพงั ผคู้ นไดร้ ับบาดเจ็บจนอาจถงึ เสียชีวิต
เรือกสวนไร่นาเสียหายหนกั มาก บา้ นเรียนที่ไม่แขง็ แรงไม่สามารถตา้ นทานความรุนแรง
ของลมไดพ้ งั ระเนระนาดหลงั คาทีท่ าดว้ ยสงั กะสีจะถกู พดั เปิ ดกระเบ้อื งหลงั คาปลวิ ว่อน เป็น
อนั ตรายต่อผคู้ นท่อี ยใู่ นทโ่ี ลง่ แจง้ เสาไฟฟ้า เสาไฟล่มสายไฟขาด ไฟฟา้ ลดั วงจร เกิดไฟ
ไหมผ้ คู้ นสูญเสียจากไฟฟ้าดดู ได้ ผคู้ นท่ีพกั อยรู่ ิมทะเลจะถกู คล่ืนซดั ท่วมบา้ นเรือนและกวาด
ลงทะเล ผูค้ นอาจจมน้าทะเลตายได้ ฝนตกหนกั มากท้งั วนั ท้งั คืน เกิดอุทกภยั ตามมา น้าป่ า
จากภูเขาไหลหลากลงมาอยา่ งรุนแรง ท่วมบา้ นเรือน ถนน และไร่สวนนา เสน้ ทางคมนาคม
ทางรถไฟ สะพาน และถกู ตดั ขาด

ในทะเล มลี มพดั แรง คลนื่ ใหญ่ เรือขนาดใหญ่อาจพดั พาไปเกยฝ่ังหรือชน หิน
โสโครกทาใหจ้ มได้ เรือทุกชนิดควรงดออกจากฝ่ัง หลกี เล่ียงการเดินเรือเขา้ ใกลศ้ ูนยก์ ลาง
พายมุ ีคล่นื ใหญ่ซดั ฝ่ังทาใหร้ ะดบั น้าสูงท่วมอาคารบา้ นเรือนบริเวณทะเล พ้ืนทเี่ พาะเล้ียง
สตั วน์ ้าชายฝั่ง และอาจกวาดส่ิงก่อสร้างทไี่ มแ่ ขง็ แรงลงทะเลได้ เรือประมงบริเวณชายฝ่ังจะ
ถกู ทาลาย

กำรระวังภยั จำกวำตภยั สำมำรถทำได้ ดังน้ี

ขณะเกิดวาตภยั ควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี

1.ตดิ ตามข่าวและคาเตอื นลกั ษณะอากาศจากกรมอตุ ุนิยมวิทยา

2.เตรียมวทิ ยแุ ละอุปกรณส์ ่ือสาร ชนิดใชถ้ ่านแบตเตอร่ี เพ่ือติดตามขา่ วในกรณีทไ่ี ฟฟ้า
ขดั ขอ้ ง

3. ตดั หรือรึกิ่งไมท้ ี่อาจหกั ไดจ้ ากลมพายุ โดยเฉพาะก่ิงที่หกั มาทบั บา้ น สายไฟฟ้า ตน้ ไมท้ ่ี
ยืนตน้ ตายควรจดั การโคน่ ลงเสีย

4. ตรวจเสาและสายไฟฟา้ ท้งั ในและนอกบริเวณนอกบา้ นใหเ้ รียบร้อย ถา้ ไม่แขง็ แรงใหย้ ดึ
เหน่ียวเสาไฟให้มนั คง

5.พกั ในอาคารทมี่ น่ั คงตลอดเวลาขณะเกิดวาตภยั อยา่ ออกมาในทโี่ ล่งแจง้ เพราะก่ิงไมอ้ าจ
หกั โค่นลงมาทบั ไดร้ วมท้งั หลงั คาสงั กะสีและกระเบ้ืองจะปลิวตามลมมาทาอนั ตรายได้

6. ปิ ดประตู หนา้ ต่างทุกบาน รวมท้งั ยึดประตแู ละหนา้ ตา่ งใหม้ น่ั คงแขง็ แรง ถา้ ประตู
หนา้ ตา่ งไมแ่ ขง็ แรง ใหใ้ ชไ้ มท้ าบตีตะปูตรึงปิ ดประตู หนา้ ต่างไวจ้ ะปลอดภยั ยิง่ ข้นึ

7. ปิ ดก้นั ช่องทางลมและช่องทางต่าง ๆ ท่ลี มจะเขา้ ไปทาให้เกิดความเสียหาย

8. เตรียมตะเกียง ไฟฉาย และไมข้ ีดไฟไวใ้ ห้พร้อม ให้อยใู่ กลม้ อื เม่อื เกิดไฟฟ้าดบั จะไดห้ ยบิ
ใชไ้ ดอ้ ยา่ งทนั ท่วงที และน้าสะอาด พร้อมท้งั อุปกรณเ์ คร่ืองหุ้มตมุ้

9. เตรียมอาหารสารอง อาหารกระป๋ องไวบ้ า้ งสาหรบั การยงั ชีพในระยะเวลา 2-3 วนั

10. ดบั เตาไฟให้เรียบร้อยและควรจะมีอปุ กรณ์สาหรับดบั เพลิงไว้

11. เตรียมเครื่องเวชภณั ฑ์

12. สิ่งของควรไวใ้ นท่ีต่า เพราะอาจจะตกหลน่ แตกหกั เสียหายได้

13. บรรดาเรือ แพ ให้ลงสมอยึดตรึงให้มนั่ คงแขง็ แรง

14. ถา้ มีรถยนต์ หรือพาหนะ ควรเตรียมไวใ้ ห้พร้อมภายหลงั พายสุ งบอาจตอ้ งนาผปู้ ่ วยไปส่ง
โรงพยาบาล น้ามนั ควรจะเติมใหเ้ ต็มถงั อยตู่ ลอดเวลา

15. เมอื่ ลมสงบแลว้ ตอ้ งรออยา่ งน้อย 3 ชวั่ โมง ถา้ พน้ ระยะน้ีแลว้ ไมม่ ลี มแรงเกิดข้นึ อีก จึงจะ
วางใจว่าพายไุ ดผ้ า่ นพน้ ไปแลว้ ท้งั น้ีเพราะ เมอื่ ศูนยก์ ลางพายผุ ่านไปแลว้ จะตอ้ งมลี มแรง
และฝนตกหนกั ผา่ นมาอกี ประมาณ 2 ชวั่ โมง

เมื่อพำยุสงบแล้ว

1. เมอ่ื มีผูบ้ าดเจ็บให้รีบช่วยเหลอื และนาส่งโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลท่ีใกลเ้ คยี งใหเ้ ร็ว
ท่ีสุด

2. ตน้ ไมใ้ กลจ้ ะลม้ ใหร้ ีบจดั การโคน่ ลม้ ลงเสีย มิฉะน้นั จะหกั โคน่ ลม้ ภายหลงั

3. ถา้ มีเสาไฟฟ้าลม้ สายไฟขาดอยา่ เขา้ ใกลห้ รือแตะตอ้ งเป็นอนั ขาด ทาเครื่องหมายแสดง
อนั ตราย

4. แจง้ ให้เจา้ หนา้ ทีห่ รือช่างไฟฟ้าจดั การด่วน อยา่ แตะโลหะทีเ่ ป็นส่ือไฟฟ้า

4. เมื่อปรากฎวา่ ท่อประปาแตกท่ีใด ให้รีบแจง้ เจา้ หนา้ ท่มี าแกไ้ ขโดยดว่ น

5. อยา่ เพ่ิงใชน้ ้าประปา เพราะน้าอาจไม่บริสุทธ์ิ เน่ืองจากท่อแตกหรือน้าท่วม ถา้ ใช้
น้าประปาขณะน้ันด่ืมอาจจะเกิดโรคได้ ใหใ้ ชน้ ้าท่ีกกั ตุนก่อนเกิดเหตดุ ื่มแทน
6. ปัญหาทางดา้ นสาธารณสุขทอ่ี าจจะเกิดข้ึนได้

การเตรียมยารกั ษาโรคตา่ งๆทม่ี กั เกิดหลงั วาตภยั เช่น โรคระบบทางเดินหายใจ โรคตดิ เช้ือ
ปรสิต โรคผวิ หนงั โรคระบบทางเดินอาหาร โรคภาวะทางจิต เป็นตน้

ไฟป่ ำ

ไฟป่ า(Wild Fire) คือ ไฟท่เี กิดข้นึ แลว้ ลกุ ลามไปไดโ้ ดยปราศจากการควบคุมไฟป่ าอาจ
เกิดข้นึ จากสาเหตุธรรมชาตหิ รือเกิดจากการกระทาของมนุษยแ์ ลว้ ส่งผลกระทบตอ่
ส่ิงแวดลอ้ มและการดารงชีวิตของมนุษย์ ไฟป่ าทเี่ กิดข้นึ บริเวณภูขาจะมคี วามรุนแรงและ
ขยายพ้ืนทไี่ ดเ้ ร็วกว่าพ้นื ราบ

ปัจจัยท่ที ำให้เกดิ ไฟป่ ำ เกดิ จำก 2 สำเหตุ ดงั นี้

1.1 เกิดจากธรรมชาติ

ไฟป่ าที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติเกิดข้ึนจากหลายสาเหตุ เช่นฟ้าผา่ ก่ิงไมเ้ สียดสีกนั ภเู ขาไฟ
ระเบิด กอ้ นหินกระทบกนั แสงแดดตกกระทบผลกึ หิน แสงแดดส่องผ่านหยดน้า ปฏกิ ิริยา
เคมใี นดินป่ าพรุ การลุกไหมใ้ นตวั เองของส่ิงมชี ีวิต (Spontaneous Combustion) แตส่ าเหตุท่ี
สาคญั คอื

1.1.1 ฟ้าผา่ เป็นสาเหตสุ าคญั ของการเกิดไฟป่ าในเขตอบอุ่น ในประเทศสหรฐั อเมริกา และ
ประเทศแคนาดา (ภาพท่ี 1.7) พบว่ากวา่ คร่ึงหน่ึงของไฟป่ าทเี่ กิดข้นึ มีสาเหตมุ าจากฟา้ ผา่ |

1.1.2 กิ่งไมเ้ สียดสีกนั อาจเกิดข้ึนไดใ้ นพ้นื ทีป่ ่ าท่ีมีไมข้ ้นึ อยอู่ ยา่ งหนาแน่นและมีสภาพ
อากาศแหง้ จดั เช่น ในป่ าไผ่หรือป่ าสน เป็นตน้

2. สาเหตจุ ากมนุษย์

ไฟป่ าทเ่ี กิดในประเทศกาลงั พฒั นาในเขตร้อนส่วนใหญจ่ ะมีสาเหตมุ าจากกิจกรรมของ
มนุษย์ ดงั น้ี

2.1 เกบ็ หาของป่ า เป็นสาเหตุทท่ี าให้เกิดไฟป่ ามากที่สุด การเก็บหาของป่ าส่วนใหญ่ไดแ้ ก่
ไขม่ ดแดง เห็ด ใบตองตึง ไมไ้ ผ่ น้าผ้ึง ผกั หวาน และไมฟ้ ืน การจดุ ไฟส่วนใหญเ่ พ่ือใหพ้ ้นื
ป่ าโล่ง เดินสะดวก หรือให้แสงสว่างในระหว่างการเดินทางผา่ นป่ าในเวลากลางคนื หรือจดุ
เพื่อกระตนุ้ การงอกของเห็ด หรือกระตนุ้ การแตกใบใหมข่ องผกั หวานและใบตองตงึ หรือจดุ
เพอื่ ไล่ตวั มดแดงออกจากรัง รมควนั ไลผ่ ้งึ หรือไลแ่ มลงต่างๆ ในขณะทอี่ ยใู่ นป่ า

2.2 เผาไร่ เป็นสาเหตุทีส่ าคญั รองลงมา การเผาไร่ก็เพ่อื กาจดั วชั พืชหรือเศษซากพชื ท่ี
เหลืออยภู่ ายหลงั การเก็บเก่ียว ท้งั น้ีเพ่อื เตรียมพ้นื ทเ่ี พาะปลูกในรอบต่อไป ท้งั น้ีโดย
ปราศจากการทาแนวกนั ไฟและปราศจากการควบคมุ ไฟจึงลามเขา้ ป่ าท่อี ยใู่ นบริเวณ
ใกลเ้ คยี ง

2.3 แกลง้ จดุ ในกรณีทปี่ ระชาชนในพ้ืนท่มี ีปัญหาความขดั แยง้ กบั หน่วยงานของรัฐในพ้ืนท่ี
โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ปัญหาเร่ืองทท่ี ากินหรือถูกจบั กมุ จากการกระทาผิดในเร่ืองป่ าไม้ ก็มกั จะ
หาทางแกแ้ คน้ เจา้ หนา้ ท่ดี ว้ ยการเผาป่ า

2.4 ความประมาท เกิดจากการเขา้ ไปพกั แรมในป่ า กอ่ กองไฟแลว้ ลมื ดบั หรือท้งิ กน้ บุหรี่ลง
บนพ้นื ป่ า เป็นตน้

2.5 ลา่ สัตว์ โดยใชว้ ิธีไลเ่ หลา่ คือจดุ ไฟไลใ่ หส้ ตั วห์ นีออกจากท่ซี ่อน หรือจุดไฟเพ่อื ให้แมลง
บินหนีไฟ นกชนิดตา่ งๆ จะบินมากินแมลง แลว้ ดกั ยิงนกอกี ทอดหน่ึง หรือจดุ ไฟเผาทุ่งหญา้
เพอื่ ให้หญา้ ใหม่แตกระบดั ล่อใหส้ ตั วช์ นิดต่างๆ เช่น กระทงิ กวาง กระตา่ ย มากินหญา้ แลว้
ดกั รอยิงสตั วน์ ้นั ๆ

สถำนกำรณ์กำรเกดิ ไฟป่ ำ ในปี พ.ศ.2543 ถอื วา่ เป็นปี แรกท่ีมกี ารสารวจสถติ ิไฟป่ าใน
ภาพรวมของท้งั โลกโดยใชก้ ารแปลภาพถ่ายดาวเทยี ม จากรายงานชื่อ Global Burned Area
Product 2000 พบวา่ จากการวิเคราะหเ์ บ้ืองตน้ มพี ้ืนท่ไี ฟไหมท้ ว่ั โลกใน พ.ศ. 2543 สูงถงึ
ประมาณ 2,193.75 ลา้ นไร่ และนบั วนั สถานการณไ์ ฟป่ าก็ย่งิ ทวีความรุนแรงมากยิง่ ข้นึ
ตวั อยา่ งเช่น เมือ่ เดือนกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2552 ไดเ้ กิดไฟป่ าคร้ังใหญใ่ นประเทศออสเตรเลยี ทา
ใหม้ ผี เู้ สียชีวิต 173 คนบาดเจบ็ มากกวา่ 500 คน และมผี ไู้ ร้ท่อี ยอู่ าศยั กว่า 7500 คน เป็นตน้

สถานการณท์ ่ีเกิดข้ึนมนประเทศไทย และบริเวณใกลเ้ คยี ง ต้งั แตว่ นั ที่ 1ตลุ าคม 2549 ถงึ วนั ท่ี
17 มนี าคม 2550 ปฏบิ ตั ิงานดบั ไฟป่ า จานวน 5609 คร้ัง พ้ืนทถี่ ูกไฟไหม้ 87,290.3 ไร่ โดย
ทอ้ งทภ่ี าคเหนือมีสถตื ไิ ฟไหมม้ ากที่สุด จานวน 3,273 คร้ัง พ้นื ทถี่ กู ไฟไหม้ 36,626.8 ไร่

การตรวจติดตาม Hotspot (จดุ ทคี่ าดวา่ จะเกดิ ไฟ) จากดาวเทยี ม Terra และ Aqua ดว้ ยระบบ
MODIS พบวา่ ต้งั แตว่ นั ท่ี 4-9 มีนาคม 2550 เกิด Hotspot ในภูมภิ าคอนิ โดจีนและประเทศ
พมา่ โดยมแี นวโนม้ การเพมิ่ สูงข้ึนอยา่ งต่อเน่ืองต้งั แต่เดือนกมุ ภาพนั ธ์ 2550 จนถึงปัจจบุ นั
โดยพบค่าสูงสุดในวนั ท่ี 6มนี าคม 2550รวม 1,668 จุด วนั ท่ี 4 และ 8 มนี าคม 2550 รวม
1,477 จดุ และ 1,112 จดุ ตามลาดบั และจากการตรวจตดิ ตาม Hotspot อยา่ งต่อเน่ืองจนถงึ
วนั ที่ 17 มนี าคม 2550 พบว่า Hotspot มีจานวนเหลอื เพยี ง217 จดุ สาหรบั พ้ืนทภ่ี าคเหนือ
จานวน Hotspot มากที่สุดในวนั ที่ 6 มนี าคม 2550 จานวน 944 จุด และในวนั ที่ 17 มีนาคม
2550 เหลอื เพยี ง 59 จุด

ผลกระทบที่เกดิ จำกไฟป่ ำ มดี ังนี้

ลูกไม้ กลา้ ไมเ้ ลก็ ๆ ในป่ า ถูกเผาทาลาย หมดโอกาสเติบโตเป็นไมใ้ หญส่ ่วนตน้ ไมใ้ หญห่ ยดุ
การเจริญเตบิ โต เน้ือไมเ้ ส่ือมคณุ ภาพลง เป็นแผล เกิดเช้ือโรค และ แมลงเขา้ กดั ทาลายเน้ือ
ไม้ สภาพป่ าทอ่ี ดุ มสมบูรณ์เปลยี่ นสภาพเป็นท่งุ หญา้ ไปในทสี่ ุด

หมอกควนั ที่เกิดจากไฟป่ ากอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบทางดา้ นสภาวะอากาศเป็นพษิ ทาลายสุขภาพ
ของคน เกิดทศั นวสิ ัยไมด่ ีต่อการบิน บางคร้งั เครื่องบินไม่สามารถบนิ ข้ึนหรือลงจอดได้
ส่งผลให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจ และสูญเสียสภาพความสวยงามตามธรรมชาติ ไม่
เหมาะสาหรับท่องเท่ียวอีกต่อไป

ไฟป่ าทาลายส่ิงปกคลมุ ดิน หนา้ ดินจึงเปิ ดโล่ง เม่ือฝนตกลงมาเม็ดฝนจะตกกระแทกกบั หนา้
ดินโดยตรง เกิดการชะลา้ งพงั ทลายของดินไดง้ ่าย ทาใหน้ ้าทไ่ี หลบ่าไปตามหนา้ ดิน พดั พา
หนา้ ดินอนั อดุ มสมบูรณไ์ ปดว้ ย และดินอดั ตวั แน่นทึบข้นึ การซึมน้าไม่ดี ทาให้การอุม้ น้า
หรือดดู ซบั ความช้ืนของดินลดลง ไม่สามารถเก็บกกั น้าและธาตอุ าหารท่ีจาเป็นต่อพชื ได้

น้าเต็มไปดว้ ยตะกอนและข้ีเถา้ จากผลของไฟป่ าจะไหลสู่ลาหว้ ยลาธาร ทาให้ลาห้วยขนุ่ ขน้ มี
สภาพไมเ่ หมาะต่อการนามาใช้ เม่ือดินตะกอนไปทบั ถมในแมน่ ้ามากข้ึน ลาน้ากจ็ ะต้ืนเขิน จุ
นาไดน้ อ้ ยลง เมื่อฝนตกลงมาน้าจะเอ่อลน้ ท่วมสองฝั่งเกิดเป็นอุทกภยั สร้างความเสียหายใน
ดา้ นเกษตร การเพราะปลกู การสัตวเ์ ล้ยี ง และสร้างความเสียหายเมอ่ื น้าทะลกั เขา้ ท่วม
บา้ นเรือนทาใหท้ รัพยส์ ินไดร้ ับความเสียหาย หนา้ แลง้ พ้นื ดินที่มแี ต่ตะกรวดทรายและช้นั ดิน

แน่นทึบจากผลของไฟป่ า ทาให้ดินไม่สามารถเก็บกกั น้าในช่วงฤดูฝนเอาไวไ้ ดท้ าให้ลาน้า
แห้งขอดเกิดสภาวะแหง้ แลง้ ขาดแคลนน้าเพอื่ การอปุ โภคบริโภค และเพอ่ื การเกษตร

การระวงั ภยั จากไฟป่ า การจดั การและการแกไ้ ขปัญหาไฟป่ าอยา่ งครบวงจร เริ่มต้งั แตก่ าร
ป้องกนั ไมใ่ หเ้ กิดไฟป่ า โดยศกึ ษาหาสาเหตขุ องการเกิดไฟป่ าแลว้ วางแผนป้องกนั หรือ
กาจดั ตน้ ตอของสาเหตุน้นั แต่ไฟป่ ายงั มีโอกาสข้นึ ไดเ้ สมอ ดงั น้นั จาเป็นตอ้ งมีมาตรการ
อ่นื ๆ รองรับตามมา ไดแ้ ก่ การเตรียมการดบั ไฟป่ า

การตรวจหาไฟ การดบั ไฟป่ า และการประเมินผล การปฏิบตั ิงาน การปฏิบตั งิ านงานควบคมุ
ไฟป่ าแบง่ ได้ 2 กิจกรรมหลกั ได้ ดงั น้ี

กำรป้องกันไฟป่ ำ สำมำรถดำเนินกำรได้ดังน้ี

1.การรณรงคป์ ้องกนั ไฟป่ า ไฟป่ าทเี่ กิดข้นึ ในหลายประเทศ ส่วนใหญม่ ีสาเหตุมาจากการ
กระทาของมนุษย์ ดงั น้นั แนวทางการแกไ้ ขปัญหาท่ีมีประสิทธิภาพที่สุดคือ การป้องกนั
ไม่ให้ประชาชนจดไฟเผาป่ าท้งั น้ีอาจทาไดโ้ ดยการประชาสมั พนั ธ์ช้ีแนะใหป้ ระชาชน
ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของทรพั ยากรป่ าไม้ ความจาเป็นทีจ่ ะตอ้ งดแู ลรกั ษา ตลอดจนผลเสีย
ที่จะเกิดข้ึนหากมกี ารบุกรุกทาลายหรือเผาป่ า เพ่ือใหป้ ระชาชนเกิดทศั นคติท่ีถกู ตอ้ ง เลกิ จดุ
ไฟเผาป่ า และหนั มาให้ความร่วมมือป้องกนั ไฟป่ า การรณรงคป์ ้องกนั ไฟป่ าสามารถ
ดาเนินการไดใ้ นรูปแบบตา่ งๆ เช่น การประชาสมั พนั ธ์ สื่อมวลชน การติดต้งั ป้าย
ประชาสมั พนั ธ์ การแจกจา่ ยส่ิงตพี มิ พแ์ ละเอกสารเผยแพร่การจดั นิทรรศการ การให้
การศึกษา การจดั ฝึกอบรม ตลอดจนการเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนเขา้ มามีส่วนร่วมใน
กิจกรรมดา้ นป่ าไม้ เป็นตน้

2.การจดั การเช้ือเพลิง โดยการทาแนวกนั ไฟ และการกาจดั เช้ือเพลงิ ในพ้นื ที่ทล่ี อ่ แหลมตอ่
การเกิดไฟป่ า เช่น มวี ชั พชื หนาแน่น พ้ืนที่ป่ าสองขา้ งถนน ซ่ึงมีโอกาสเกิดไฟป่ าไดง้ ่าย เพื่อ
ลดโอกาสการเกิดไฟป่ าไดง้ ่าย เพื่อลดโอกาสการเกิดไฟป่ า หรือหากเกิดไฟป่ าข้นึ กจ็ ะมี
ความรุนแรงนอ้ ย สามารถควบคมุ งา่ ย

กำรปฏบิ ัตงิ ำนดับไปไฟป่ ำ เป็นการปฏิบตั ิงานเพือ่ ควบคุมดบั ไฟป่ า มใิ หล้ กุ ลามเผาทาลาย
ตน้ ไมใ้ นกรณีที่เกิดไฟป่ าข้นึ แลว้ ในปัจจบุ นั มีหน่วยปฏิบตั ิงานภาคสนามของกรมอุทยาน
แห่งชาติ สัตวป์ ่ าและพนั ธพ์ ืช ที่ทาหนา้ ท่ีในการดบั ไฟป่ า คือ สถานีควบคมุ ไฟป่ าทอ่ี ยใู่ นทุก
จงั หวดั

ในส่วนของประชาชนที่อาศยั อยใู่ นพ้นื ที่ป่ าอยใู่ นป่ า มสี ่วนสาคญั ท่ีกอ่ ให้เกิดไฟป่ าและมี
ส่วนสาคญั ในการให้ความร่วมมือในการป้องกนั ไฟป่ า ซ่ึงสามารถทาไดด้ งั น้ี

1.เมื่อทาการเผ่าไร่ในพ้ืนทค่ี วบคุมดูแลไฟไมใ่ ห้ลกุ ลามเขา้ ไปในป่ า และควรทาแนวป้องกนั
ไฟป่ ากอ่ นเผาทุกคร้ัง

2. ไม่จดุ ไฟเผาป่ าเพ่อื ลา่ สัตว์ และไมจ่ ุดไฟเลน่ ดว้ ยความสนุกหรือคึกคะนอง

3. ระมดั ระวงั การใชไ้ ฟ เมอ่ื อยใู่ นป่ าหรือพกั แรมในป่ า หากมีความจาเป็นตอ้ งใชไ้ ฟ ควรดบั
ไฟให้หมดก่อนออกจากป่ า

4. เม่อื พบเห็นไฟไหมป้ ่ าหรือสวนป่ า ใหช้ ่วยกนั ดบั ไฟป่ าหรือแจง้ หน่วยราชการท่อี ยบู่ ริเวณ
ใกลเ้ คยี ง

5. มีส่วนร่วมดา้ นการประชาสัมพนั ธ์ ช้ีให้เห็นความสาคญั ของป่ าไมแ้ ละความเสียหายทีเ่ กิด
จากไฟป่ าและโทษทจ่ี ะไดร้ ับ หรือเป็นอาสาสมคั รป้องกนั ไฟป่ า

6. ช่วยเป็นหูเป็ นตาใหเ้ จา้ หนา้ ที่ในการส่องดแู ลไมใ่ ห้เกิดไฟไหมป้ ่ ารวมท้งั ช่วยจบั กุม
ผฝู้ ่าฝืนมาลงโทษตามกฎหมาย เพ่ือมิใหเ้ ป็นเยยี่ งอยา่ งแก่บคุ คลอื่นต่อไป

สรุป

ภยั ธรรมชาตนิ ้นั เกิดจากการเปลีย่ นแปลงของธรรมชาติ ท้งั ในระยะส้ันและระยะยาว
หรือเกิดข้ึนมาจากพฤตกิ รรมของมนุษยแ์ ละรูปแบบการดาเนินชีวิตของมนุษย์ เช่น การ
อุปโภค บริโภค การใชย้ านพาหนะ รวมถงึ การใชเ้ ครื่องมอื อานวยความสะดวกประเภท
ต่างๆ ซ่ึงส่งผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มท้งั ทางตรงและทางออ้ ม เป็นสาเหตุทาให้เกิดภยั
ธรรมชาติ ภยั ธรรมชาตมิ ีหลายรูปแบบแตกต่างกนั ไป บางอยา่ งร้ายแรงนอ้ ย บางอยา่ ง
ร้ายแรงมาก ซ่ึงอาจทาให้เกิดผลเสียต่อชีวิตและทรพั ยส์ ิน ในปัจจุบนั โลกมีการ
เปลยี่ นแปลงหลายดา้ น และทาใหเ้ กิดปรากฏการณท์ ีไ่ มเ่ คยเกิดข้ึนมา เช่น สภาวะโลกร้อน
ปะการงั ฟอกขาว ปรากฏการณเ์ อลนิโญ ปรากฏการณล์ านีญา การเกิดอุทกภยั หรือน้าท่วม
การเกิดพายุ การเกิดแผน่ ดินไหว ภเู ขาไฟระเบดิ เป็นตน้ ซ่ึงภยั ธรรมชาติต่างๆ ไม่วา่ จะ
ร้ายแรงมากหรือนอ้ ยก็เกิดข้นึ ไดท้ ุกเวลาโดยที่มนุษยไ์ ม่ไดต้ ้งั ตวั

ภาวะโลกร้อน คือ การที่อณุ หภูมเิ ฉลีย่ ของโลกเพม่ิ ข้นึ จากภาวะเรือนกระจก หรือท่ีเรารู้จกั
กนั ดีในช่ือว่า Green house effect ซ่ึงมตี น้ เหตจุ ากการทมี่ นุษยไ์ ดเ้ พ่มิ ปริมาณกา๊ ซ
คาร์บอนไดออกไซด์ จากการเผาไหมเ้ ช้ือเพลิงต่างๆ การขนส่งและการผลติ ในโรงงาน
อุตสาหกรรม

ปะการังฟอกขาว เป็นสภาวะท่ปี ะการังสูญเสียสาหร่ายเซลลเ์ ดียว (Zooxanthellae) ท่ีอาศยั
อยใู่ นเน้ือเย่ือของปะการงั แบบพ่งึ พากนั (Symbiosis) ทาใหป้ ะการงั ออ่ นแอเพราะไมไ่ ดร้ ับ
สารอาหาร ทีเ่ พียงพอและอาจตายถา้ ไมส่ ามารถทนตอ่ สภาวะน้ีได้ (สีของปะการังเกิดจา
กรงควตั ถขุ องสาหร่ายเซลลเ์ ดียว)

เอลนิโญ เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดข้นึ จากการทก่ี ระแสน้าอุ่นพดั มาแทนท่กี ระแสน้าเยน็
ในบริเวณเส้นศนู ยส์ ูตรของมหาสมทุ รแปซิฟิกตะวนั ออก (บริเวณชายฝั่งเอกวาดอร์ เปรูและ
ชิลี ตอนเหนือ) ทาใหก้ ระแสน้าดา้ นลา่ งไมส่ ามารถหมุนวนข้นึ มาท่ีบริเวณพ้ืนผวิ ทะเล
ได้ อุณหภมู ิผิวน้าทะเลจึงสูงข้นึ ทาให้อากาศเหนือบริเวณดงั กล่าวลอยตวั ข้ึนและกลนั่ ตวั
เป็นเมฆฝนบริเวณชายฝั่งเอกวาดอร์ เปรูและชิลตี อนเหนือจึงชุ่มช้ืนเพราะมีพายแุ ละฝนตก
มาก

ลานีญา เป็นปรากฏการณ์ทตี่ รงขา้ มกบั เอลนิโญ คอื อุณหภมู ิผวิ น้าทะเลบริเวณเส้นศูนย์
สูตรในมหาสมุทรแปซิฟิ กกลางและและตะวนั ออกมีค่าต่ากว่าปกติ ท้งั น้ีเนื่องจากลมคา้
ตะวนั ออกเฉียงใต้ ทพ่ี ดั อยเู่ ป็นประจาในแปซิฟิกเขตร้อนทางซีกโลกใตม้ กี าลงั แรงกวา่ ปกติ
จึงพดั พาผิวน้าทะเลท่อี ุ่น จากแปซิฟิกเขตร้อนตะวนั ออกไปสะสมอยทู่ างแปซิฟิกเขตร้อน
ตะวนั ตกมากยงิ่ ข้นึ จึงทาให้ ทางแปซิฟิ กเขตร้อนตะวนั ตกซ่ึงแตเ่ ดิมมอี ุณหภูมิผิวน้า
ทะเลและระดบั น้าทะเลสูงกว่าทางแปซิฟิ ก เขตร้อนตะวนั ออกอยแู่ ลว้ กลบั ย่ิงมอี ุณหภมู ิ
ผวิ น้าทะเลและระดบั น้าทะเลสูงกวา่ ทางแปซิฟิ กเขตร้อนตะวนั ออกมากยง่ิ ข้นึ ไปอีก มผี ลทา
ให้ทางแปซิฟิกเขตร้อนตะวนั ตกมปี ริมาณฝนมากข้ึน ขณะท่ี ทางแปซิฟิกเขตร้อน
ตะวนั ออกจะมีความแห้งแลง้ รุนแรงมากข้นึ เช่นกนั

ภยั พิบตั ิธรรมชาติ เป็นเหตุการณท์ เี่ กิดข้นึ ตามธรรมชาติ เมื่อเกิดข้ึนแลว้ จะส่งผลให้เกิด
อนั ตรายและเกิดความสูญเสียท้งั ชีวิตและทรัพยส์ ินตา่ งๆ ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติเกิดข้ึนใน 3
ลกั ษณะ คือ ภยั พบิ ตั ิทเ่ี กิดข้นึ เนื่องจากสาเหตุภายในโลก เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ
ระเบิด ภยั พิบตั ิท่ีเกิดข้ึนบนผิวโลก เช่น การเกิดแผ่นดินถล่ม อุทกภยั ภยั แลง้ ไฟป่ า และ
ภยั พบิ ตั ิท่เี กิดข้ึนในบรรยากาศ เช่น วาตภยั ภาวะโลกร้อน ลกู เห็บ ฟ้าผ่า เป็นตน้

ภำคผนวก





บรรณำนุกรม

http://www.harnkaew.go.th/files/dynamiccontent/file-95381-
15270424821814929960.pdf


Click to View FlipBook Version