The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การให้การปรึกษาในวัยรุ่น (2) (1)-แปลง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krukvc.621, 2020-08-25 00:24:41

การให้การปรึกษาในวัยรุ่น (2) (1)-แปลง

การให้การปรึกษาในวัยรุ่น (2) (1)-แปลง

การใ้หการปรึกษาในวัย้รนุ

การเปล่ยี นแปลงในวัย้รุน

1.พฒั นาการทา้งรางกาย
การเปลี่ยนแปลงทา้งรางกายทั่วไป้รางกายจะเติบโตขน้ึ

อ้ยางรวดเรว็
การเปลี่ยนแปลงทางเพศ เน่อื งจากวยั น้ีมกี ารส้รางและ

หล่งั ฮอ้รโมนเพศและฮอ้รโมนของการเจรญิ เติบโตอ้ยางมากและ
รวดเร็ว

การเปลี่ยนแปลงในวยั้รุน้(ตอ)

2. พฒั นาการทางจิตใจ

สต้ิปญญาจะพัฒนาสงู ข้นึ เรยี น้รู ้เขาใจเหตุการ้ณ้ตางๆ ้ได
ลกึ ซึ้งข้ึน มีความสามารถในการคิดวิเคราะ้ห และสงั เคราะ้หสง่ิ้ตางๆ
้ไดมากขน้ึ วยั้รุนนี้ ความคิดยังอาจขาดความรอบคอบ ขาดการย้งั คดิ
หรอื ไต้รตรองใ้หรอบคอบ มีความคดิ ทร่ี วดเร็วแบบหุนหันพลันแ้ลน
มากก้วา

ความคิดเก่ยี วกบั ตนเอง

วยั นี้จะเริ่มมีความสามารถในการรับ้รูตนเองใน้ดาน้ตางๆ
เอกลักษ้ณ

จะเริม่ แสดงออกถงึ สง่ิ ตนเองชอบ สิ่งทีต่ นเองถนัด ซึ่งจะแสดงถึง
ความ้เปนตวั ตนของเขาทโ่ี ดด้เดน แนวคดิ ้คานยิ ม ระบบ
จริยธรรม การแสดงออกและการแ้ก้ปญหาในชวี ิต ทางความเชอ่ื
ในศาสนา อาชพี คติประจาใจ ้เปาหมายในการดาเนนิ ชวี ติ จนส่งิ
เห้ลานก้ี ลาย้เปนเอกลกั ษ้ณของตน และกลาย้เปนบุคลกิ ภาพ

ความคิดเกย่ี วกบั ตนเอง ้(ตอ)

การ้ไดรับการยอมรบั จาก้ผูอื่น
วัยน้ต้ี องการการยอมรบั จากก้ลุมเพ่ือนอ้ยางมาก การ้ไดรับการ
ยอมรบั จะ้ชวยใ้หเกดิ ความ้รูสึกม่นั คง ปลอดภัย เห็นคุณ้คา
ของตนเอง มน่ั ใจตนเอง

ความภาคภมู ิใจตนเอง
วยั้รุนจะพอใจและภมู ิใจ ที่ตนเอง้เปนท่ยี อมรบั ของเพื่อนและ
คนอ่นื ๆ้ได้รูสึก้วาตนเองมีคณุ ้คา ้เปนคนดแี ละมปี ระโยช้นแ้ก
้ผูอ่นื ้ได ทาอะไร้ไดสาเร็จ การทาประโยช้นแ้กเพอื่ นๆ

ความคิดเกยี่ วกบั ตนเอง้(ตอ)

ความ้เปนตัวของตวั เอง
วัยนีจ้ ะรกั อิสระเสรีภาพ ้ไม้คอยชอบอ้ยูในกฎเกณ้ฑกติกาใดๆ

ชอบคดิ เอง ทาเอง พ่งึ ตัวเอง เชื่อความคิดตนเอง มีปฏกิ ริ ยิ าตอบ้โต
้ผูให้ญ(้เชน้พอแ้ม หรือครอู าจาร้ย)ท่ีบีบบังคับสูง ความอยาก้รูอยาก
เห็นอยากลองจะมสี ูงสดุ ในวยั นี้ ทาใ้หอาจเกดิ พฤติกรรมเสีย่ ง้ได้งาย
บางคนจะขาดการยั้งคิดทด่ี ี โดยขาดการไต้รตรองใ้หรอบคอบ ้ตอง
ระมดั ระวงั เร่อื งการส้รางและแสดงความ้เปนตวั ของตัวเอง โดยมกี าร
ควบคุมตนเองใ้หอ้ยใู นกฎเกณ้ฑกติกาของ้สวนรวม้ดวย

ความคิดเกี่ยวกบั ตนเอง้(ตอ)

• การควบคมุ ตนเอง
วัยน้จี ะเรยี น้รูทจ่ี ะควบคุมความคิด ควบคมุ อารม้ณ ควบคมุ
การกระทา ใ้หอ้ยูในกรอบกตกิ า ทง้ั ท้่ีบานและทโี่ รงเรียน
กา้รรูจักย้งั คิด การคดิ ใ้ห้เปนระบบ จะ้เปนประโยช้นทท่ี าใ้ห
สามารถ้ใชความคดิ ้ไดอ้ยางมปี ระสิทธิภาพ และ อ้ยู้รวมกับ
้ผูอืน่ ้ได

ความคิดเก่ียวกบั ตนเอง(ต่อ)

อารม้ณ

วัย้รุนจะมอี ารม้ณ้ปน้ปวน เปลยี่ นแปล้งงาย หงุดหงิด/เครยี ด/โกร้ธงาย
อาจเกิดอารม้ณซึมเศ้ราโดย้ไมมสี าเหตุ้ได้งาย

อารม้ณ้สงผลทาใ้หเกดิ พฤติกรรมเกเร ้กาว้ราว มีผล้ตอการเรียนและการ
ดาเนินชีวติ ้ได

การควบคุมอารม้ณยงั ้ไม้คอยดนี กั ทาอะไรตามอารม้ณตวั เอง

มีความ้รูสึกหรือมอี ารม้ณทางเพศ การระบายความ้รูสกึ ทางเพศ ซึ่งถอื้วา
้เปนเรอ่ื งปกติในวัยนี้ แ้ตพฤติกรรมบางอ้ยางอาจ้เปน้ปญหาตามมา
้เชน เบ่ยี งเบนทางเพศ

คว้รรู้วา ควรควบคมุ อารม้ณอ้ยางไรดี เพอ่ื ้ปองกัน้ไมใ้หเกิด้ปญหาข้ึนในวัยน้ี

ความคิดเก่ียวกบั ตนเอง(ต่อ)

จริยธรรม วัยนจ้ี ะมีความคดิ เชิงอดุ มคตสิ ูง แยกแยะความผดิ ชอบช่วั ดี
้ได มมี โนธรรมของตนเอง ้ตองการใ้หเกิดความถูก้ตอง ความชอบ
ธรรมในสังคม ้ตองการ้เปนคนดี ้เปนท่ีชืน่ ชอบของคนอื่น

จ้ะรูสกึ อึดอัดคบั ้ของใจกับความ้ไมถูก้ตองในสังคม หรือใน้บาน แ้มแ้ต
้พอแ้มของตนเองกเ็ ร่ิม้รูสกึ้วา้ไม้ไดดีสมบูร้ณแบบเหมือนเม่อื้กอน

การแสดงออก- วิพาก้ษวิจาร้ณ้พอแ้มหรอื ครอู าจาร้ยตรงๆอ้ยาง
รนุ แรง การ้ตอ้ตาน ประ้ทวงจงึ เกิด้ได้บอยในวยั น้ีเม่ือวยั้รุนเหน็ การ
กระทาท้ไ่ี มถูก้ตอง หรอื มกี ารเอาเปรียบ เบียดเบยี น ความ้ไมเสมอ
ภาคกนั

ในวัย้รุนตอน้ตนการควบคมุ ตนเองอาจยงั ้ไมดี แ้ตพอเลยวัยนีก้ าร
ควบคุมตนเองจะดขี ึน้ จน้เปนระบบจรยิ ธรรมที่สมบรู ้ณเหมือน้ผูให้ญ

การเปลย่ี นแปลงในวยั้รุน้(ตอ)

• 3. พัฒนาการทางสังคม

วัยน้ีจะเรมิ่ ้หางจากทาง้บาน ้ไมอยากไปไหนกับทาง้บาน

สนใจเพ่อื นมากก้วา มกี จิ กรรมนอก้บานมาก เรมิ่ มีความสนใจเพศตรง้ขาม
สนใจสงั คมสงิ่ แวด้ลอม

ปรับตัวเองใ้ห้เขากับกฎเกณ้ฑกติกาของสงั คม้ไดดีขึน้ มคี วามสามารถใน
ทักษะสังคม การสือ่ สารเจรจา การแ้ก้ปญหา การประนีประนอม การ
ยืดห้ยุนโอน้ออน้ผอนตามกัน และการทางาน้รวมกับ้ผูอน่ื การเรยี น้รูสงั คม
หาแนวทางการดาเนินชวี ติ ที่เหมาะกบั ตนเอง เลือกวิชาชพี ทีเ่ หมาะกับ
ตน และมีครอบครัวท่ีดี

การใ้หการปรกึ ษาวยั้รนุ

• การเตรยี มตนเองของ้ผใู้หการปรกึ ษา ตวั เรา้ตองพ้รอมสาหรบั การ
พดู คยุ

• สหี ้นา ้ทาที บคุ ลิก แสดงความ้เปนมติ ร นา้ เสียง คาพดู
• มที ักษะการ้ฟง การถาม การสงั เกต
• เทคนคิ Relaxation้ชวยใ้หวยั้รนุ ้ผอนคลาย และพ้รอมรองรบั อารม้ณ

้ได
• ลดความคาดหวงั ยดื ห้ยุน ้เชน ตั้ง้เปาหมาย้วาจะแ้ก้ปญหา ้เปนการ

้เขาถึงและใ้หวัย้รุนพดู คยุ ้รวมมือ ้เปดใจ

การใ้หการปรึกษาวัย้รุน

• 1.มีสมั พนั ธภาพท่ดี ี อบ้อนุ ้เปนมิตร(Relationship)้ผูใ้หการปรึกษา
ควรม้ีทาทีท้น่ี ุมนวล อบ้อุน ้เปนมิตร และ หลกี เลย่ี งการตาหนิ หรอื้วา
ก้ลาว

• 2.้เขาใจและเห็นใจวยั้รนุ โดยมคี วาม้รูสกึ้รวม(Empathy)กับวยั้รนุ
รับ้รูความ้รูสกึ แล้ะรวมรบั้รูโลก้สวนตวั ของวัย้รุนเสมือน้เปนโลกของ
้ผูใ้หการปรกึ ษาโดยท้ี่ไมสูญเสยี ความ้เปนตวั เองของ้ผูใ้หการปรึกษา

การใ้หการปรกึ ษาวยั้รุน ้(ตอ)

• 3. ต้งั ใจ้ฟง (Effective Listening)
• ลักษณะ้ทาทางของ้ผใู้หคาปรึกษาจะ้ตองม้ีทาท้ีผอนคลาย ้ไมเกรง็ หรอื

เค้รงเครยี ด ควรนัง่ ้โนมตัวไป้ขางห้นาพอสมควร ้เวนระยะ้หางประมาณ 3
ฟุต ลกั ษณะ้ทาทีและการนง่ั ก้เ็ ปนสง่ิ ทส่ี าคญั
• ควรประสานสายตากับ้ผรู ับคาปรกึ ษาในลักษณะท้เ่ี ปนธรรมชาติ หรือพยัก
ห้นาเลก็ ้นอยในขณะที่รบั ้ฟง
• ต้งั ใจ้ฟงสิง่ ทวี่ ัย้รนุ กาลงั พดู หรือส่ือสารโดยวิธีอนื่ ๆ ท่ีเรยี ก้วา ภาษา้ทาทาง
้เชน ใบห้นาท่เี ศ้ราหมอง น้าเสยี งสนั่ เครอื มือสั่น ตาแดง หรอื้รอง้ไห เพื่อใ้ห
้เขาใจส่งิ ทีว่ ัย้รนุ ้ตองการจะบอก ตอบกลบั ้ดวย้ทาทีท้ี่เขาใจ ้เชน พยักห้นา
หรืออาจจะสัมผัสเบาๆ ตามความเหมาะสม

การใ้หการปรกึ ษาวัย้รุน ้(ตอ)

4. รกั ษาความลับ (Confidentiality) มีความสาคญั ท่ีสุด เพราะ้เปน
จรรยาบรรณท่สี าคัญในการใ้หการปรกึ ษา้ผูใ้หการปรกึ ษาพงึ ตระหนกั้วา
วัย้รุนท่ีมาขอรับการปรกึ ษาเพราะความ้ไววางใจทีม่ ้ตี อ้ผูใ้หการปรึกษา
และจะทาใ้หสมั พนั ธภาพระห้วาง้ผใู้หการปรึกษากบั วัย้รุนดาเนนิ ้ตอไป้ดวย
ความ้ไววางใจ

การใ้หการปรกึ ษาวัย้รุน ้(ตอ)

• 5. ทัศนคตดิ ี ้ไมมอี คติ (Good attitude/No bias)
้ผูใ้หการปรึกษา้ตอง้ไม้ใชความ้รูสกึ้สวนตนท้เ่ี ปนความชอบ
ความพอใจ ทีม่ ้ตี อส่งิ ใดส่งิ หนง่ึ ้เปนเกณ้ฑในการตดั สนิ ใจ ซ่งึ การมี
อคติจะทาใ้หเกิดความลาเอียงและขาดเหตุผลทแ่ี ้ทจริง

การใ้หการปรกึ ษาวยั้รุน ้(ตอ)

6. ้เปน้โคช(Coaching) มากก้วาสอน (Teaching) หรอื แนะนา
(Advising)

เพราะการใ้หการปรึกษาจะทาใ้หวัย้รนุ ้ไดตดั สินใจเลอื กบนพนื้ ฐานของ
กา้รรูจักและ้เขาใจตนเอง ้เขาใจสง่ิ แวด้ลอม สามารถปฏบิ ตั ้ไิ ดจรงิ ใน
สถานการ้ณนน้ั ๆ และวยั้รุน้ตองรับผิดชอบสงิ่ ที่เกดิ ข้ึนจากการตดั สนิ ใจ
ของตนเอง

การใ้หการปรกึ ษาวยั้รุน ้(ตอ)

7. หาตัวตนและ้สงเสรมิ ความภมู ิใจในตนเอง(Identity and Self esteem building)
วัย้รุน้เปนวยั ท่ียงั้ตอง้คนหาตัวตน และมีวุฒิภาวะยงั ้ไมสมบูร้ณ
ทาใ้หวยั้รุน้สวนให้ญ ้ไมม่ันใจในตนเอง ซ่งึ การ้สงเสริมและพฒั นาใ้หเกิดความ
ภาคภูมิใจในตนเอง้เปนประเดน็ ที่สาคญั ในการใ้หการปรึกษาวัย้รนุ

การใ้หการปรกึ ษาวัย้รุน ้(ตอ)

8. มองทางบวก (Positive thinking)
โดยชวนใ้หวัย้รุนมองโลกในแ้งดี มอ้งวา้ปญหาทุกอ้ยางมที างแ้กไขและมี
ทางออก ้ฝกคดิ แ้งมุมอ่นื ๆ ท้่เี ปนประโยช้น ซึ่งจะทาใ้ห้รูสกึ ด้ีวาการมองจาก
มมุ เดมิ ท่ที าใ้ห้เปนทกุ ้ข การมองทางบวกทาใ้หสามารถเปลย่ี นวกิ ฤตใ้ห้เปน
โอกาส้ได

การใ้หการปรกึ ษาวัย้รุน ้(ตอ)

9. การ้ใชหลกั พจิ ารณาทางเลือกในการตัดสินใจท่จี ะแ้กไข้ปญหา
ชวนใ้ห้ผูรบั บริการมองเหน็ ทางเลอื กในการจดั การกับ้ปญหา อ้ยาง้นอย 2-3
ทางเลอื ก แ้ลวใ้หพิจารณาถงึ้ขอด้ขี อเสยี ของแ้ตละทาง และความ้เปนไป้ไดของ
การแ้กไข้ปญหา
ทางเลือก 1....... ม้ขี อด.ี ......
ม้ขี อเสีย..... แ้กไข้ขอเสีย้ไดมย้ั ...หรอื ยอมรบั ้ไดม้ัย
ทางเลอื ก 2....... ม้ขี อด.ี ......
ม้ีขอเสีย..... แ้กไข้ขอเสยี ้ไดมยั้ ...หรอื ยอมรบั ้ไดม้ยั

การใ้หการปรึกษาวยั้รุน ้(ตอ)

10. การใ้หกาลังใจ – ปรารถนาทมี่ ีชีวติ ที่ดี
เช่ือมั่นในตวั วัย้รนุ
- มีศกั ยภาพท่สี ามารถดูแลตัวเอง้ได เพราะตัวเขา
สามารถดารงชวี ติ ้ผานมา้ไดจนถงึ้ปจจบุ ันนี้

้ผูใ้หการปรึกษาวยั้รุน จึง้ตอง......

☺ ้ใชการสงั เกตอ้ยาง้ใสใจ
☺ ใ้หความสนใจ

☺ พ้รอมทาความ้เขาใจในตวั ตนของวยั้รุน
☺ ยอมรับอ้ยาง้ไมมีเงอื่ นไข
☺ เรียน้รูในการพดู คุย การ้ใชคาถาม การ้ฟง การสะ้ทอนความ้รสู กึ

☺ บรรยากาศท่ีอบ้อนุ ปลอดภัย และ้เปนมติ ร เพื่อ้เปนจดุ เรม่ิ ้ตนในการ
ส้รางสมั พันธภาพเพื่อการ้เขาถงึ วยั้รนุ และ้สงผลใ้หวัย้รุนเกิดความ
พ้รอม ความ้ไววางใจ การยอมรับ และ้เปดใจ้ตอ้ผูใ้หการปรึกษาและ
กระบวนการใ้หการปรึกษา้ตอไป

กรณวี ัย้รนุ ้ไมพดู

• ควรแสดงความ้เขาใจ ใ้หความสนใจโดยการมองห้นาสบตา
• ้ไมป้ลอยใ้หการสนทนาเงยี บไปนาน
• พดู คุยเร่ืองทว่ั ไป หรอื เร่ืองท้ผี่ ูรบั บรกิ ารสนใจ้กอน
• ควรหลีกเลย่ี งการพดู เรือ่ งที่ละเอยี ด้ออนและกระทบความ้รสู กึ
• หลกี เลย่ี งการ้ใชถามปลาย้ปด หรอื คาถามที่ใ้หคาตอบสนั้ ๆ ควร้ใช

คาถามปลาย้เปด “เกดิ อะไรข้ึน” “้เปนอ้ยางไร้บาง” “อยากใ้หตนเอง
้เปนอ้ยางไร้บาง”
• ชวนใ้หเหน็ ถงึ ความ้รูสึกของตนเอง และใ้หหาสาเหตขุ องความ้รูสกึ นน้ั

กรณวี ัย้รุน้รอง้ไห้ไมสามารถพูด หรอื ระบายความ้รูสกึ

▪ ้ใชวิธกี ารเงียบ ป้ลอยใ้ห้ผูรับบริกา้รรอง้ไหสักค้รู
▪ แสดงความเหน็ อกเหน็ ใจ้เขาใจความ้รสู กึ ของนกั เรียน นัง่ อ้ยูกบั

นักเรยี น สังเกตสหี ้นา้ทาทาง
▪ ปลอบโยนใ้หสงบลง “คร้เู ขาใจ้วาหนคู งทุก้ขใจมาก” “หนยู งั มีครู

อ้ย้ขู างๆ้เปนกาลังใจใ้หหนนู ะ้คะ”
▪ พูดคยุ ถามความ้รูสกึ
▪ ถามถึงสิง่ ทีอ่ ยากจะพดู อยากระบาย

ทกั ษะการ้ผอนคลาย

ใ้ห้ผรู ับบรกิ ารน่งั ใน้ทาท่สี บาย

้ใหหายใจ้เขาออก้ชาๆ้ผอนคลาย

Breathing Exercise

การฝึ กกาหนดลมหายใจ (Breathing Exercise) 27

- หายใจเขา้ นบั เลข 1-4 หายใจออกนบั 1-4
- หายใจเขา้ นบั วา่ พธุ หายใจออกนบั วา่ โธ สาหรับผนู้ บั ถือศาสนาพุทธ

ส่วนผทู้ ี่นบั ถือศาสนาอิสลาม หายใจเขา้ นึกถึงคาวา่ อลั หายใจออกนึกคาวา่ ลอฮฺ

บอกให้ผู้รับบริการพยายามมองรอบๆตวั พร้อมท้งั
กล่าวถงึ สิ่งของรอบๆตวั ออกมา 5 ชนิด โดยผู้ให้บริการอาจ
เร่ิมทาให้ดูเป็ นตัวอย่างเช่น “ตอนนีฉ้ ันเห็นพืน้ ฉันเห็นรองเท้า

ฉันเห็นโต๊ะสีแดง ฉันเห็นฯลฯ”

บางครั้งวัย้รุน้ไม้ตองการอะไร นอกจาก้ตองการมคี นรบั
้ฟงเขา้เทาน้ัน

ดังน้นั การท้่ผี ูใ้หการปรึกษารักษาสัมพนั ธภาพท่ีดแี ละรบั
้ฟงส่ิงทว่ี ยั้รุน้ไดระบายอารม้ณ ก็สามารถ้ชวยเหลอื วยั้รุน้ได
้เชนกัน


Click to View FlipBook Version