The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by titima, 2019-11-08 23:17:18

ประวัติส่วนตัว ฐิติมา

About Me

การฟักไข่

ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา

ในปัจจุบนั ไดม้ เี กษตรกรหนั มาเล้ียงไก่พนั ธุไ์ ข่ หรือไก่ท่ีเล้ยี งสาหรับการขยายพนั ธุ์ แต่เกษตรกร
ส่วนมากไมค่ ่อยมคี วามชานาญทางดา้ นน้ีมากนกั และยงั ใชว้ ิธีเดิมๆทาใหผ้ ลผลิตที่ไดม้ าน้นั ค่อนขา้ งนอ้ ย เรา
จึงศกึ ษาเร่ืองน้ีเพ่ือแสดงใหเ้ กษตรกรไดเ้ ห็นวา่ ในปัจจุบนั มีเทคโนโลยมี ากมายท่ีจะชว่ ยใหก้ ารฟกั ไข่ไก่ใหม้ ี
ประสิทธิภาพ และทาใหผ้ ลผลติ เพิ่มมากข้ึน ซ่ึงมีปัจจยั ท่ีจะตอ้ งนามาพิจารณาร่วมกนั อยหู่ ลายปัจจยั การ
ประเมนิ ผลของการฟกั ไข่ หรือประสิทธิภาพของการฟักไข่จะตอ้ งพจิ ารณาสิ่งต่าง ๆ ต่อไปน้ีประกอบคือ
สภาพแวดลอ้ ม,อายขุ องแม่พนั ธไ์ ก่,อาหารท่ีใชเ้ ล้ียงไก่ และอุณหภูมใิ นการ ฟักไข่ไก่ ทีจ่ ะตอ้ งปรับใหอ้ ยู่
ในระดบั ท่ีเหมาะสม และในปัจจุบนั ไดม้ กี ารนาวธี ีการทางเทคโนโลยี มาปรับใชโ้ ดยการสร้างเครื่องฟักไข่
ไก่ หรือตูใ้ ชฟ้ ักไข่ไก่ท่ีทาใหป้ ระสิทธิภาพในการฟักไข่ไกเ่ พ่มิ มากข้ึน และการท่ีจะฟกั ไข่ไก่ใหไ้ ดผ้ ลดีน้นั
แมไ่ ก่เองก็จะตอ้ งมีสภาพร่างกายท่ีแขง็ แรง และไม่เกิด โรคระบาด ซ่ึงหากไม่ป้องกนั กอ็ าจจะทาใหก้ ารฟัก
ไข่ไก่น้นั ไมไ่ ดป้ ระสิทธิภาพและขอ้ มลู น้ีน่าจะเป็นขอ้ มลู เสริมใหก้ บั เกษตรกรที่เล้ียงไก่อีกอยา่ งหน่ึง

วตั ถุประสงคข์ องปัญหา

1. เพอ่ื ใหท้ ราบถงึ วธิ ีการฟักไข่ไก่ใหไ้ ดผ้ ลดี และมีประสิทธิภาพ

2. เพ่อื ใหท้ ราบถงึ วธิ ีการป้องกนั การเกิดโรคระบาดของแมไ่ ก่

รายละเอียดเกี่ยวกบั ระยะเวลาฟักของไข่ ชนิดต่างๆ มีดงั น้ี

อายฟุ ักไข่สตั วป์ ีกต่างๆ

เป็ด ไก่งวง นกยงู ๒๘ วนั

เป็ดมสั โควี ๓๓-๓๗ วนั

ห่าน ๓๐-๓๒ วนั

ไก่ ๒๑ วนั

ไก่ต๊อก ๒๖-๒๘ วนั

นกกระทาญี่ป่ ุน ๑๗-๑๙ วนั

นกกระทาอเมริกนั ๒๑-๒๓ วนั

ไก่ฟ้า ๒๔-๒๕ วนั

นกกระจอกเทศ ๔๒ วนั

นกพริ าบ ๑๖-๒๐ วนั

ความร้อนหรืออุณหภูมิและความช้ืนสมั พทั ธ์ ที่เป็นเกณฑก์ ลาง แสดงไวใ้ นตารางต่อไปน้ี

สาหรับตูฟ้ ักที่มพี ดั ลมหรือใบกวนลมกระจายกระแสลมไหลเวยี นภายในตู้ โดยมากจะแนะนาใหใ้ ชด้ งั ตาราง
ขา้ งล่าง

น้ี

ระดบั ของอณุ หภูมทิ ี่เก่ียวขอ้ งกบั ไข่น้ี มเี กือบทุกระยะ อาจเขียนแสดงเป็นภาพไดด้ งั น้ี
ภาพความสมั พนั ธร์ ะหว่างอณุ หภูมกิ บั ไข่

ในการฟักไข่ มเี ร่ืองน่าสนใจเก่ยี วกบั การกลบั ไข่ ตามหลกั วิชา ไข่ท่ีเขา้ ตูฟ้ ักไข่ จะตอ้ งไดร้ ับการกลบั อยา่ ง
นอ้ ยวนั ละ ๓ คร้ัง อยา่ งมากอาจจะถึงวนั ละ ๔๘ คร้ังกไ็ ด้ นบั ต้งั แต่วนั ที่สองที่เขา้ ตูฟ้ ักจนกระทง่ั ถงึ วนั ท่ี ๑๘
คืออกี ๓ วนั ลกู ไก่จะออกจากไข่ จึงจะหยดุ กลบั ไข่ สาหรบั ไข่สตั วป์ ีกอ่ืนๆ กเ็ ช่นเดียวกนั ควรหยดุ กลบั ไข่
๓-๔ วนั ก่อนถงึ กาหนดออกจากไข่ เหตุผลในการกลบั ไข่น้ี มีอยวู่ า่ เม่ือเช้ือของพ่อไก่ผสมกบั ไข่ของแม่ไก่

เป็นเช้ือของตวั ออ่ น ซ่ึงจะเจริญเติบโตไดต้ ่อไปแลว้ เช้ือลูกไก่ หรือเช้ือตวั ออ่ นน้ี จะอยทู่ ี่จุดหน่ึงของผนงั หุม้
ไข่แดง บา้ งกเ็ รียกเช้ือน้ีว่า จุดกาเนิด จุดกาเนิดน้ีจะพยายามลอยข้ึนดา้ นบนอยเู่ สมอ ฉะน้นั ไม่ว่าจะวางไข่
อยา่ งใด ไข่แดงจะค่อยๆ หมุนตวั เพอื่ ใหจ้ ุดกาเนิดอยดู่ า้ นบนสุด ในระยะฟกั ตอนตน้ ไข่ขาวยงั ขน้ อยู่ ไข่แดง
ลอยอยทู่ ่ามกลางไข่ขาว และไขข่ าวจะป้องกนั มใิ หไ้ ข่แดงลอยข้ึนมาชิดเปลือกไข่ แต่เม่อื ฟักไปไดห้ ลายๆ
วนั ไข่ขาวแปรสภาพ และมนี อ้ ยลง จุดกาเนิดซ่ึงเจริญเติบโตเป็นตวั อ่อนกย็ งั ลอยข้ึนขา้ งบน และสามารถจะ
ลอยเขา้ ชิดเปลือกไข่ทุกขณะ หากปล่อยท้ิงไวใ้ หช้ ิดเกินไป ตวั ออ่ นไกจ่ ะติดเยอื่ เปลอื กไข่ เป็นสาเหตุใหเ้ ช้ือ
ตายได้ วิธีแกเ้ ราเรียนโดยสงั เกตจากแม่ไก่ว่า แม่ไกจ่ ะใชเ้ ทา้ ของมนั ขยบั ไข่ ท่ีมนั ฟักอยใู่ หก้ ล้ิงไปกลงิ้ มาโดย
ทวั่ กนั อยา่ งนอ้ ยวนั ละ ๕ หน เพื่อใหโ้ อกาสเช้ือหรือตวั ออ่ น ที่กาลงั เจริญเติบโตไดเ้ คลอ่ื นไปมา ไม่ลอยเขา้
ไปติดเยอื่ เปลอื กไข่ ฉะน้นั เมอ่ื เราฟักไข่ในตูฟ้ ัก กอ็ าจจะใชม้ อื หมนุ กลบั ไข่จากขา้ งบนใหล้ งไปอยขู่ า้ งลา่ ง
หรือว่า ถา้ ตูฟ้ ักวางไข่โดยต้งั ทางดา้ นป้านข้นึ ก็ใหเ้ ปลย่ี นมมุ ต้งั จะไดผ้ ลเท่ากนั
มีปัญหาขอ้ หน่ึงที่ชอบถามกนั คือว่า ลูกไก่เกิดจากไข่ขาว หรือไข่แดง คาตอบอาจจะตอบส้นั ๆ ไม่ได้ ตามที่
เราทราบแลว้ เมือ่ ตอนตน้ วา่ เช้ือลกู ไก่ หรือจุดกาเนิดมิใช่ไข่แดง และกไ็ ม่ใช่ไข่ขาว แต่อยทู่ ่ีผนงั หุม้ ไข่แดง
จุดกาเนิดน้ี เม่อื เจริญเติบโตเป็นเช้ือลูกไกก่ ็ไดอ้ าศยั อาหารซ่ึงยอ่ ยมาจากไข่แดง และไข่ขาวดว้ ย มาสร้างตวั
ของมนั เอง ฉะน้นั อวยั วะต่างๆ เน้ือหนงั กระดูก ขนจึงมาจากไข่แดง และไข่ขาว นอกจากน้นั การสร้าง
กระดูกตอ้ งใชธ้ าตุ แคลเซียม และฟอสฟอรัส ซ่ึงในไข่ขาว และไข่แดง มีนอ้ ยมาก เช้ือลกู ไก่ตอ้ งเอาแร่ธาตุน้ี
มาจากเปลือกไข่ ฉะน้นั ถา้ เราช่างสงั เกตจะเห็นว่า เปลือกไข่ก่อนฟักน้นั ค่อนขา้ งจะหนาและแขง็ แรง แต่เมอ่ื
ลูกไก่ฟกั ออกจากไข่ เปลือกไข่ที่เหลืออยแู่ มจ้ ะไม่บางลง แต่กรอบเปราะ และมนี ้าหนกั หายไป

ไข่มีเช้ือฟักได้ ๗ วนั (ส่องดูท้งั เปลอื ก)
ลกู ไก่เมอื่ แรกฟกั ออก ตวั จะเปี ยกแลว้ จึง ค่อยๆ แหง้ เมอื่ แหง้ แลว้ ขนจะฟอู อ่ นนุ่ม และดู สวยน่ารักน่าลบู
คลา แต่บางคร้ังเราอาจจะเห็นลกู ไก่บางรุ่นท่ขี นไม่ฟู ดูเหมอื นกบั ว่ามอี ะไรเคลือบตวั ทาใหต้ วั ลบี และลกู ไก่
มกั มีน้าหนกั ค่อนขา้ งเบา สาเหตุหน่ึงที่ทาใหเ้ ป็นเช่นน้นั คอื ความช้ืนของ อากาศภายในตูฟ้ กั ต่าเกินไป ทา
ใหน้ ้าภายในไข่ ระเหยออกมากในขณะฟัก จึงไดล้ กู ไก่ตวั เลก็ และ ขนไม่ฟู อาการเช่นน้ีมกั เกิดข้ึนง่ายใน

ระหว่างฤดู หนาว ซ่ึงเป็นฤดูที่อากาศมคี วามช้นื ต่า และถา้ ผฟู้ ักไข่เป็นผมู้ คี วามระแวดระวงั กแ็ กไ้ ขได้ โดย
คอย เพม่ิ ความช้ืนในตูฟ้ ักใหส้ ูงพอดีกบั ความตอ้ งการ แตก่ ารเพม่ิ ความช้ืนจนเกินตอ้ งการ ก็มีผลเสีย เพราะ
น้าภายในไข่ฟักระเหยออกไดน้ อ้ ย มีน้าเหลืออยใู่ นฟองไขม่ าก กลบั จะเป็นอนั ตรายแก่ลกู ไก่
ออ่ นไก่อายุ ๑๘ วนั

ตวั อ่อนไก่อายุ ๑๘ วนั
เมือ่ ลูกไก่ออกจากไข่แลว้ ไมน่ านนกั มนั ก็ยนื ได้ แลว้ เดินได้ ไมช่ า้ กว็ ่ิงไดภ้ ายใน ๑-๒ วนั ในทอ้ งของลูกไก่
เม่ือฟักออกจะมถี ุงไข่แดงเหลอื อยู่ เป็นเสบียงติดตวั ใชเ้ ป็นอาหารไปไดถ้ งึ ๓ วนั ดว้ ยเหตุท่ีธรรมชาติจดั
เสบียงสารองให้ลูกไก่ดงั น้ี ผเู้ ล้ยี งไก่จึงสามารถขนส่งลูกไก่เจ๊ียบเป็นระยะทางไกลๆ ได้ โดยไมต่ อ้ งเป็นห่วง
เร่ืองการหาน้าหาอาหารใหม้ นั กินระหวา่ งเดินทาง เราจะเห็นเขาส่งลกู ไก่จากกรุงเทพมหานครไปเชียงราย
หรือหาดใหญ่ไดโ้ ดยสะดวก หรือแมจ้ ะส่งทางเครื่องบินรอบโลกก็ได้ ลกู ไก่ยอ่ ยอาหารสารองจากถุงไข่แดง
ใชเ้ ล้ยี งตวั ใน ระยะ ๓ วนั แรกน้ีจึงไม่หิว แต่เราจะตอ้ งระมดั ระวงั วา่ กล่องบรรจุลกู ไก่ขณะเดนิ ทางน้ีมคี วาม
อบอุ่นพอดี และมีอากาศถ่ายเทเพียงพอสาหรับการหายใจ
1. การฟักไข่ไก่ใหไ้ ดผ้ ลดีและมปี ระสิทธิภาพ

ในการฟักไข่จะใหไ้ ดผ้ ลน้นั มีปัจจยั ทจ่ี ะตอ้ งนามาพจิ ารณาร่วมกนั อยหู่ ลายปัจจยั ดว้ ยกนั การ
ประเมนิ ผลของการฟักไข่ หรือประสิทธิภาพของการฟกั ไข่จะตอ้ งพิจารณาส่ิงต่าง ๆ ต่อไปน้ีประกอบคือ
อายขุ องพอ่ แม่ไก่ ,อาหารท่ีใชเ้ ล้ียงไก่,การเกบ็ และคดั ไข่ ,ตูฟ้ ักไข่และอปุ กรณ์ท่ีเกี่ยวขอ้ งซ่ึงการฟักไข่ไกน่ ้นั
สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 ชนิด ไดแ้ ก่ การฟกั ไข่โดยวธิ ีธรรมชาติ หรือการฟกั ไข่โดยแม่ไก่ และการฟักไข่โดย
ใชเ้ คร่ืองฟัก

1. การฟักไข่โดยวธิ ีธรรมชาติ หรือการฟักไข่โดยแมไ่ ก่ เป็นการฟักไข่โดยแม่ไก่ในรังวางไข่
หลงั จากแม่ไก่วางไข่ในรังวางไข่ไดจ้ านวน 8-10 ฟอง จานวนและอุณหภูมขิ องไข่จะกระตนุ้ บริเวณทอ้ งไก่
ส่งความรู้สึกผา่ นเสน้ ประสาทไปยงั ต่อมใตส้ มอง ปลดปล่อยฮอร์โมนโปรแลคตินออกมาสู่

กระแสเลือดทาใหแ้ ม่ไก่เกิดรอยฟกั บนหนา้ อก 3 รอยฟัก คอื หน่ึงรอยตรงกลาง และสองรอยดา้ นขา้ ง บริเวณ
ดงั กล่าวขนจะร่วง มเี สน้ เลือดมาหล่อเล้ียงมาก บวมคลา้ ยฟองน้าเมื่อสมั ผสั จะรู้สึกร้อน การฟักไข่โดยวิธีน้ี
คือการถา่ ยเทความร้อนจากตวั แม่ไก่ไปสู่ไข่โดยผา่ นทางรอยฟัก ในขณะฟักไข่ระยะแรกแมไ่ ก่จะใชเ้ วลา
ส่วนใหญ่ในรังวางไข่ ระยะกลางและระยะทา้ ยแมไ่ ก่จงึ ใชเ้ วลานอกรังวางไข่เพมิ่ ข้ึน ขณะฟักไข่แมไ่ ก่จะทา
การเขี่ยไข่ (กลบั ไข่) วนั ละประมาณ 96 คร้ัง เพอ่ื ใหไ้ ข่ทุกฟองไดร้ ับความอบอุ่นจากการฟกั ใกลเ้ คียงกนั
หลงั จากฟักไข่ได้ 21 วนั ลกู ไก่จะเริ่มเจาะเปลอื กน้าแมไ่ ก่

และลูกลงจากรังวางไข่ในวนั ท่ี 22 และขงั สุ่มใหอ้ าหารและน้าอยา่ งนอ้ ย 7 วนั จึงปล่อยใหแ้ ม่ และลกู หากิน
ตามธรรมชาติต่อไป

2. การฟักไข่โดยใชเ้ คร่ืองฟัก หลงั จากผสมพนั ธุแ์ ละทาการเก็บไข่ได้ 7 วนั (รวบรวมไข)่ ก่อนนาไข่
เขา้ ฟักตอ้ งตรวจเชค็ เคร่ืองฟักไข่ใหอ้ ยใู่ นสภาพที่ใชง้ านไดด้ ีเช่นอุณหภูมิตูฟ้ กั 99.5องศาฟาเรน-ไฮต์
ความช้ืนสมั พทั ธ์ 60% อุณหภูมิตูเ้ กิด 98-99.5 องศาฟาเรนไฮต์ ความช้ืนสมั พทั ธ์ 70% เมอ่ื เกบ็ ไข่สะสมได้ 7
วนั กน็ ามาจดั เขา้ เครื่องฟัก (setter) ซ่ึงกลบั ไข่ (Turning) วนั ละ 6 คร้ัง (6 คร้ัง/24 ชว่ั โมง) ส่องไข่ (candling)
เมอ่ื นาไข่เขา้ ฟัก 7 วนั และ 18 วนั เพ่อื นาไข่ไม่มีเช้ือและไข่เช้ือตายออกจากการฟัก การส่องไข่เม่อื นาเขา้ ฟกั
18 วนั เป็นการส่องไข่ก่อนนาลงตูเ้ กิด (Hatcher) หลงั จากอยใู่ นตูเ้ กิด 3 วนั (วนั ท่ี 21) ลกู ไก่ก็เจาะเปลอื กไข่
ออกมาได้ เกบ็ ไวใ้ นตูเ้ กิด 1 วนั จากน้นั ในวนั ที่ 22

นาลกู ไก่ออกจากตูเ้ กิด ติดเบอร์ขา ชงั่ น้าหนกั ตวั ซ่ึงนาไปลงในทะเบียนประวตั ิต่อไป 2.การเกิดโรคระบาด
กบั แม่ไก่ และวธิ ีป้องกนั

โรคที่อาจเกดิ ข้นึ กบั แมไ่ ก่ไดแ้ ก่โรคบดิ ,โรคไข่หวดั นก เป็นตน้ ซ่ึงแต่ละโรคก็มวี ิธีป้องกนั หรือรักษา
แตกต่างกนั ไปอยา่ งเช่น โรคบิด จะมีวิธีป้อองกนั ดงั น้ี

วธิ ีแรก เป็นการใชว้ คั ซีน

วิธีต่อมา กเ็ ป็นการเอายาผสมลงไปในอาหารใหไ้ ก่กิน วธิ ีน้ีเป็นวธิ ีท่ีดีท่ีสุด ไดผ้ ลดีมากดว้ ย เน่ืองจากมียา
ชนิดที่ใชท้ าลายเช้ือโรคไดด้ ีก็ไดแ้ ก่ยาจาพวก เคก็ คอก คอยเคน และไซโคสเตด็ แลว้ กม็ ียาชนิดออ่ นท่ีใช้
ป้องกนั อีกคือ แอมโปรลพลสั คอแบน และอาวาเท็กซ่ึงจะไม่ทาลายเช้ือหมดแต่จะเหลือไวจ้ านวนหน่ึงใน
ปริมาณมากพอท่ีจะ กระตุน้ ใหไ้ ก่สร้างภูมคิ ุม้ กนั โรคไก่ไดก้ ารใชย้ าป้องกนั โรคบิด ก็ตอ้ งมีปัจจยั หลายอยา่ ง

ท่ีจะตอ้ งพิจารณาถึงขอ้ ดีกนั อยา่ งถี่ถว้ นก่อนเพอ่ื ความแน่นอนเพอ่ื ความถกู ตอ้ ง เนื่องจากว่าการใหไ้ ก่กินยา
ป้องกนั โรคน้ี จะตอ้ งใหไ้ ก่กินโดยตลอดเวลาดว้ ยในระยะเวลาที่เล้ียงไก่ 7-8

คาแนะนาและวิธีการใชง้ านตูฟ้ กั ไข่
1. 1. เสียบปลก๊ั แลว้ เปิ ดเคร่ือง สงั เกต พดั ลม(มีสวทิ เปิ ดปิด) จะหมุน หลอดไฟจะสว่าง
2. 2. ใส่น้าในถาดใหเ้ ต็มแลว้ วางไวไ้ ตถ้ าด
3. 3. เปิ ดเคร่ืองท้ิงไวป้ ระมาณ 3 ชวั่ โมง ก่อนนาไข่มาฟกั ในช่วง 3 ชวั่ โมงน้ีใหต้ รวจสอบวา่ อุณหภูมพิ อดี
หรือยงั โดยดูจากเคร่ืองควบคุมอณุ หภูม(ิ ระบบดิจติ อล)ใหอ้ ยรู่ ะหวา่ ง 37.5 - 38.0 องศา C การต้งั อณุ หภูมิให้
สงั เกตดุจากหลอดไฟสวา่ งในตูแ้ ละปรอทควบคู่กนั ไป คือ เมอื่ อณุ หภูมิภายในตูเ้ ยน็ ลง หลอดไฟจะสวา่ ง พอ
อณุ หภูมถิ งึ ท่ีกาหนด หลอดไฟจะดบั (ควบคุมอตั โนมตั ิ)
4. 4. ควรหาที่ใส่น้ามนั ลองขาตูฟ้ กั ไข่ เพือ่ กนั มดเขา้ ไปทารังในแผงวงจรไฟฟ้า (ทาใหว้ งจรไฟฟ้าทางาน
ผดิ ปกติ)
5. 5. หากฟักไข่ในปริมาณนอ้ ย ควรเรียงไข่จากตรงกลางแผงออกมา อยา่ เรียงเพียงดา้ นใดดา้ นหน่ึง

ในกรณีท่ีไฟฟ้าดบั หรือพดั ลมไหมแ้ ละอากาศในตูร้ ้อนเกิน (ดูอณุ หภูมิจากเคร่ืองวดั ความช้ืนแล
อณุ หภูมิ ถา้ ไมเ่ ขา้ ใจโปรดโทรหาเรา) ดงั น้นั ในทางปฏิบตั ิ จึงตอ้ งเปิ ดฝาตูฟ้ ักไข่ไวจ้ นกว่าไฟฟ้าจะมาหรือ
ซ่อมพดั ลมเสร็จ การเปิ ดฝาตูฟ้ ักข้ึนอยกู่ บั อายขุ องไข่ในตู้ ถา้ หากไข่อายนุ อ้ ยเปิ ดเพยี งแงม้ ตูไ้ วเ้ ป็นพอ แต่ถา้
ไข่อายมุ าก จะตอ้ งเปิ ดกวา้ งข้นึ เพอื่ ป้องกนั ไมใ่ หอ้ ากาศภายในร้อนจดั ซ่ึงความร้อนท่ีเกิดจากการหายใจของ
ลกู ไก่ จดุ วกิ ฤตที่ตอ้ งเอาใจใส่อยา่ งยงิ่ คือช่วงสุดทา้ ยของการฟักไข่ คือระหวา่ ง 18-21 วนั ถา้ หากไฟฟ้าดบั
พดั ลมไมเ่ ดิน ลกู ไก่จะตายภายใน 10-20 นาที เพราะขาดอากาศหายใจ จึงตอ้ งคอยระวงั อยา่ งใกลช้ ิด กรณี
ไฟดบั อณุ หภูมลิ ดลงมากเช่นเวลากลางคืน ใหใ้ ชว้ ธิ ีจุดเทียนช่วยแต่ตอ้ งคอยระวงั อยา่ ใหเ้ ทียนลม้

การฟักไข่

ปัจจยั ท่ีมีความสาคญั ต่อการฟักไข่ประกอบดว้ ย อณุ หภูมิ ความช้ืน การกลบั ไข่ และการระบาย
อากาศ ที่เหมาะสม ถา้ สามารถควบคุมปัจจยั ดงั กลา่ วได้ ก็สามารถฟักไข่ไดผ้ ลดี (ไขต่ อ้ งมีเช้ือ พ่อแม่
สมบูรณ์)

สรุปข้นั ตอนการจดั การฟกั ไข่ไก่

1. สถานท่ีต้งั ตูฟ้ ัก ควรมีอากาศถ่ายเทสะดวก อยา่ ใหโ้ ดนแดด
2. คดั เลือกไข่ มีรูปร่างไข่ปกติผวิ เปลอื กไข่เรียบ สม่าเสมอ เปลอื กหนาและไมบ่ ุบร้าว
3. การฟักจะแบ่งออกเป็นรุ่นๆ โดยรวบรวมไข่ใหไ้ ดม้ ากๆ จึงนาเขา้ ตูฟ้ กั คร้ังหน่ึง โดยการเก็บไข่ไวใ้ นหอ้ ง
เกบ็ ไข่ท่ีปรับอากาศท่ีมอี ุณหภูมิ 65 องศา F(18.3 องศา C) ความช้ืนสมั พทั ธ์ 75-80% (การใชม้ ือเขยา่ ถาดไข่
ท้งั ต้งั ใหเ้ คลอ่ื นไหวเบาๆ ทาทุกๆวนั ๆ ละ 1 คร้ัง จะช่วยลดอตั ราการตายของตวั ออ่ น ระยะ 1-7 วนั ไดม้ าก
ก่อนท่ีจะนาไข่เขา้ ฟกั จะตอ้ งนาไข่ออกผ่งึ ไวน้ ในอุณหภูมหิ อ้ งอยา่ งนอ้ ย 12 ชวั่ โมง หรือผ่งึ อากาศนอกหอ้ ง
เยน็ ไวค้ ืนหน่ึงก่อนจะนาเขา้ ตูฟ้ กั )

4. งานฟักไข่ ผฟู้ ักควรเขียนโปรแกรมงานฟักไข่ไว้ โดยกาหนดวนั และเวลาที่จะเอาไข่เขา้ ตู้ วนั และเวลาส่อง
ไข่ วนั และเวลาถา่ ยถาดเอาไข่เขา้ ตูเ้ ตรียมออกลูกไก่หรือตูเ้ กิด วนั ละ เวลา ทาการรมยาเพ่ือจะไดท้ างานให้
ตรงเวลา ไม่หลงลมื และเป็นระเบียบข้ึน

5. การจดั ไข่ลงถาดเพอ่ื เขา้ ตูฟ้ ัก ใหเ้ รียงไข่ต้งั ดา้ นป้านข้ึน เนื่องจากปกติช่องอากาศของไข่อยดู่ า้ นป้าน เช้ือ
ลกู ไก่จะลอยข้ึนขา้ งบนเสมอ ถา้ เราวางไข่เอาขา้ งแหลมข้ึน ลกู ไก่จะไม่ไดอ้ ากาศพอ และมโี อกาสตายมาก

6. การรมควนั ตูฟ้ ักไข่ สามารถทาไดใ้ นขณะที่ยงั มีไข่ฟักอยู่ แต่ตอ้ งยงั ไม่เจาะ หลงั จากคดั ไข่แลว้ จะตอ้ ง
รมควนั ฆา่ เช้ือโรคที่ติดมากบั เปลือกไขก่ ่อนนาเขา้ ตูฟ้ ัก วธิ ีทาคือ หาฝาเบียร์ หรือฝาขวดเหลา้ นอก เอาเกลด็
ด่างทบั ทิมใส่ลงไปประมาณ หวั แม่มือ นาฝาท่ีใส่ด่างทบั ทิมไปวางไวใ้ นตู้ รินน้ายาฟอร์มาลีน (ตามร้านยาย
ยามี) 1 ฝา (ฝาขวดมนั เองแหละ) เทลงใน เกลด็ ด่างทบั ทิม แลว้ รีบปิ ดตูท้ นั ที อนั ตราย เพราะจะเกิดฟองฟ่ เู ป็น
แกส๊ แสบตามาก ทิ้งไว้ 15-20 นาที แลว้ กลบั มาเปิ ดตูใ้ หร้ ะบายอากาศสกั พกั 5 นาที 10 นาที เปิ ดไฟไวง้ ้นั นะ
ไม่ตอ้ งดบั ไฟตูฟ้ กั พอกลน่ิ จางลง ก็ปิ ดตูไ้ ด้ กาหนดเวลาใหด้ ี อยา่ ใหต้ รงกบั วนั ที่ลกู ไก่เจาะ ไมง่ ้นั จะ
กลายเป็นลูกไก่รมควนั ควรจะทาทุกคร้ังที่มี การนาไข่ใหม่เขา้ ตู้ หรือ 2 อาทิตยค์ ร้ัง หรือก่อนลูกไก่เจาะ
เปลือกเพอื่ ฆ่าเช้ือ ก่อนท่ีลูกไก่จะออกมา

7. เดินเครื่องตูฟ้ ักไขก่ ่อนนาไข่เขา้ ตูอ้ ยา่ งนอ้ ยไมต่ ่ากว่า 3 ชวั่ โมง และต้งั อณุ หภูมิและความช้ืนดงั น้ี

1-18 วนั 37.5 - 37.7 - 38.0 c. 60 - 65
18-21 วนั 36.1 - 37.2 c. 70 - 75

8. ความช้ืน เป็นปัจจยั ที่สาคญั มาก เนื่องจากจะมีการสูญเสียความช้ืนจากไข่ตลอดเวลา สงั เกตจาก
ฟองอากาศ ในไข่ต้งั แตว่ นั แรกถึงวนั สุดทา้ ย จะมีการขยายใหญ่ข้ึน ความช้ืนสาหรับการฟักไข่ แบ่งออกเป็น
2 ช่วงคือ ช่วง 18 วนั แรก ควรมีความช้นื สมั พทั ธป์ ระมาณ 60% และในช่วงสามวนั สุดทา้ ยของการฟกั ไข่จะ
ตอ้ งการ ความช้ืนสูงข้ึนคือ 70-75%

9. การระบายอากาศ การเจริญเติบโตของตวั อ่อนตอ้ งอาศยั กา๊ ซออกซิเจน เพื่อเผาผลาญ และคายก๊าซ
คาร์บอน ไดออกไซด์ ออกมา จึงจาเป็นตอ้ งมกี ารระบายอากาศท่ีดี การเปิ ดท่ีระบายอากาศของตูฟ้ กั ควร
ระวงั อยา่ เปิ ดมากจน อุณหภูมิในตูเ้ ปล่ยี นแปลงต่าเกินไปจากปกติ ควรใหก้ ารระบายอากาศใหม้ ากท่ีสุด แต่
ไม่ถึงกบั ทาใหอ้ ณุ หภูมภิ ายในตูฟ้ กั เปล่ยี นแปลงไปในทางเสียหาย

10. ปรับรูอากาศเขา้ และรูอากาศออกตามอายขุ องไข่ฟกั ไข่ฟักอายุ 1-8 วนั ปรับรูอากาศเขา้ ใหเ้ ปิ ด 1 ใน 3 รู
อากาศออก 1 ใน 2 และไข่ฟักอายุ 18-21 วนั ซ่ึงเป็น ระยะท่ีเตรียมลกู ไก่ออกใหเ้ ปิ ดรูอากาศเขา้ และออก
เตม็ ที่ ในกรณีที่เปิ ดรูอากาศออกเต็มที่แลว้ ทาใหค้ วามช้ืนต่ากว่าทก่ี าหนดในมาตรฐานใหป้ รับรูอากาศออก
3 ใน 4 และเพ่ิมถาดน้าในตูฟ้ ักไข่ใหม้ ากข้ึน

11. ใส่น้าในถาดใหม้ ีน้าเสมอ คือ อยา่ ใหน้ ้าขาดจะทาใหไ้ ข่ฟักไมอ่ อกและตรวจสอบกบั อณุ หภูมิ ถา้ หาก
อณุ หภูมิต่าใหเ้ พ่มิ ถาดน้าใหม้ ากข้ึนจนไดอ้ ณุ หภูมิตามตอ้ งการ

12. กลบั ไข่ทุกๆ 1-2 ชว่ั โมง (กลบั ไข่ต้งั ไวอ้ ตั โนมตั ิ) สาหรับไข่สตั วป์ ีกอ่นื ๆ ก็เช่นเดยี วกนั ควรหยดุ กลบั
ไข่ ๓-๔ วนั ก่อนถงึ กาหนดออกจากไข่

13. แลว้ แต่อายกุ ารฟักของแต่ละสตั วป์ ีก (ยกตวั อยา่ งไข่ไก)่ การส่องไข่ 7 วนั จะทาหลงั จากนาไข่เขา้ ฟัก
แลว้ 5-7 วนั และส่องไข่ซ้าอีกคร้ังเมื่อ อายฟุ ัก 18 วนั การส่องไข่ควรส่องในเวลามดื ตอ้ งจบั ใหเ้ บาท่ีสุด
ระวงั อยา่ หมุนไข่เร็วเกนิ ไปขณะส่องเพราะอาจทาลายเน้ือเยอ่ื ภายในไข่และตวั ออ่ นทกี่ าลงั เจริญเติบโตได้

ลกั ษณะการส่องไข่ 7 วนั

- ลกั ษณะของไข่มีเช้ือ 7 วนั จะเห็นเสน้ เลอื ดสีแดงเป็นร่างแห ตรงกลางเป็นจุดและเคลือ่ นไหว เมอื่ ส่องเสร็จ
แลว้ ใหเ้ อาเขา้ ตูฟ้ ักทนั ที

- ลกั ษณะของไข่เช้ือตายจะเห็นเป็นวงแหวน ไมม่ ีสีแดงร่างแหหรือมกี ็สีซีดผดิ ปกติ หรือมีจดุ สีดาติดเปลอื ก
ไข่

- ลกั ษณะของไข่ไม่มีเช้ือ เมือ่ ส่องจะเห็นเป็นสีใสไมม่ ีเสน้ เลอื ด ไข่ไมม่ ีเช้ือหรือไข่เช้ือตายควรคดั ลอกออก
ทนั ทีเมอ่ื พบ และการส่องไข่แต่ละคร้ังควรทาในเวลารวดเร็ว เพ่ือ ไมใ่ หเ้ กิดความแตกต่างของอณุ หภูมไิ ข่ท่ี
ออกจากตูฟ้ กั

- ลกั ษณะของการส่องไข่ 18 วนั (เปล่ยี นแปลงตามอายกุ ารฟักสตั วป์ ีกแต่ละประเภท)

นาไข่ฟกั ท่ีอายุ 17 วนั โดยวนั ท่ี 18 นาไข่ออกมาส่องอีกคร้ังถา้ ไม่มเี ช้ือจะมีลกั ษณะทึบเกือบท้งั ฟอง ยกเวน้
ไข่ท่ีมีช่องอากาศดา้ นบนจะใส ใหย้ า้ ยไข่เขา้ ตูเ้ กิด

- ลกั ษณะของไข่เช้ือตาย 18 วนั จะมีลกั ษณะคลา้ ยกบั ไข่มเี ช้ือ แต่ดา้ นแหลมสีจะใสไม่ทึบ ใหค้ ดั ออกเป็นไข่
เช้ือตายใหน้ าไปทาลาย

การส่องไข่ 7 วนั 14 วนั 18 วนั

หลงั จากฟักไข่ไดค้ รบ 7 วนั ควรทาการส่องไข่เพอ่ื ดูภายในไข่(เวลากลางคืน) ตอ้ งจบั ใหเ้ บาที่สุด ระวงั อยา่
หมุนไข่เร็วเกินไปขณะส่องเพราะอาจทาลายเน้ือเยอื่ ภายในไข่และตวั อ่อนท่ีกาลงั เจริญเติบโตได้ ลกั ษณะ
ของไข่มีเช้ือ 7 วนั จะเห็นเสน้ เลือดสีแดงเป็นร่างแห ตรงกลางเป็นจุดและเคล่อื นไหว เมอื่ ส่องเสร็จแลว้ ให้
เอาเขา้ ตูฟ้ ักทนั ที ลกั ษณะของไข่เช้ือตายจะเห็นเป็นวงแหวน ไมม่ สี ีแดงร่างแหหรือมกี ส็ ีซีดผดิ ปกติ หรือมี
จุดสีดาติดเปลอื กไข่ ลกั ษณะของไข่ไม่มเี ช้ือ เมือ่ ส่องจะเห็นเป็นสีใสไมม่ เี สน้ เลือด ไข่ไม่มีเช้ือหรือไข่เช้ือ
ตายควรคดั ลอกออกทนั ทีเม่อื พบ และการส่องไข่แต่ละคร้ังควรทาในเวลารวดเร็ว เพื่อไม่ใหเ้ กิดความ
แตกต่างของอณุ หภูมิไข่ท่ีออกจากตูฟ้ ัก ส่วนไข่อายุ 14 วนั ตวั ลูกไก่จะโตข้ึน มกี ารเคล่ือนไหวบา้ ง ร่างแห
เสน้ เลอื ดมีขนาดโตข้ึนเกือบเต็มฟอง

ลกั ษณะของการส่องไข่ 18 วนั นาไข่ฟกั ท่ีอายุ 17 วนั โดยวนั ที่ 18 นาไข่ออกมาส่องอกี คร้ังถา้ ไม่มี
เช้ือจะมลี กั ษณะทึบเกือบท้งั ฟอง ยกเวน้ ไข่ท่ีมชี ่องอากาศดา้ นบนจะใส ใหย้ า้ ยไข่เขา้ ช้นั เกิด

สาหรับ ไข่เสียหรือมเี ช่ือตายมานานแลว้ เวลาส่องจะเห็นเป็นน้าเหลวไข่ที่เช้ือตายในสปั ดาห์แรกจะ
เห็นเป็นลกั ษณะเป็น วงแหวน ไมม่ รี ่างแหสีแดงหรือมเี สน้ เลือดหรือมกี ซ็ ีดผดิ ปกติ หรือมีจดุ ดาตดิ เปลือกไข่
และถา้ เช้ือตายภายในสปั ดาห์ที่ 2 กจ็ ะเห็นลกั ษณะเช่นเดียวกนั แต่จะใหญ่กว่าและพบไม่มีการเคลื่อนไหว ไข่
เช้ือตามและไข่เสียเหล่าน้ีควรคดั ออกทิ้งทนั ทีเม่ือส่องไข่พบ มฉิ ะน้นั ไข่จะเน่าเหมน็ และทาใหไ้ ข่ดีพลอยเสีย
ไปดว้ ย

ความร้อนคงที่ ตูน้ ้ีใชห้ ลอดไฟฟ้าเป็นตวั ทาความร้อน ถา้ อุณหภูมิในตูฟ้ ักไข่เปลย่ี นแปลงบ่อย ๆ
ลูกไก่ทีเกิดมาจะพกิ ารหรืออ่อนแอมาก เพราะฉะน้นั อยา่ เปิ ดตูบ้ ่อย ๆ

ความช้ืนพอเหมาะ ความช้ืนภายในตูฟ้ ักไดจ้ ากการระเหยของน้าในถาดใส่น้า ซ่ึงวางไวใ้ ตต้ ะแกรง
ไข่ฟัก ถา้ ความช้ืนนอ้ ยกจ็ ะมลี กู ไกข่ นแหง้ ติดเปลอื กมาก และมอี ตั ราการตายสูง ไข่ฟักยงิ่ อายมุ าก ยง่ิ ตอ้ งการ
ความช้ืนมาก ถา้ ไข่ฟักมีเปลือกบางก็ตอ้ งการความช้ืนเพ่มิ ข้ึนดว้ ย การเพิ่มความช้นื ทาไดโ้ ดยเพ่ิมถาดใส่น้า
มากข้ึน การพจิ ารณาอยา่ งง่ายว่าความช้ืนพอเหมาะหรือไม่น้นั ดูไดจ้ ากการส่องไข่ฟักดูขนาดของช่องลม ซ่ึง
อยทู่ างดา้ นป้าน ถา้ ช่องลมมากกว่าหน่ึงในสามของไข่แสดงว่าความช้ืนนอ้ ย ปัญหาน้ีไมน่ ่าวติ กถา้ ฟักไข่ไป
หลายรุ่นแลว้ จะเกิดความชานาญข้นึ เร่ือย ๆ

การระบายอากาศดี ไข่ฟักมคี วามตอ้ งการอากาศหายใจเหมอื นกนั และคายก๊าซคาร์บอน ไดออกไซดท์ างรู
เปลอื กไข่ หากการระบายอากาศไม่ดีพอ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซดก์ ็จะเป็นอนั ตรายแก่ไข่ฟัก

สาเหตุการตายคาไข่ ความช้ืนเยอะน้าในไข่ระเหยนอ้ ย ลูกไก่จมน้า วธิ ีสงั เกตุใหส้ ่องไข่และเปรียบเทียบ
ขนาดฟองอากาศ ถา้ ฟองอากาศเลก็ กวา่ ใหน้ าน้าออกลดความช้ืน ฟักต่อไปจนฟองอากาศเท่าในภาพจึงนาน้า
เขา้ ตูต้ ่อ

#ความช้ืนพอเหมาะ ความช้ืนภายในตูฟ้ กั ไดจ้ ากการระเหยของน้าในถาดใส่น้า ซ่ึงวางไวใ้ ตต้ ะแกรง
ไข่ฟัก ถา้ ความช้ืนนอ้ ยกจ็ ะมลี กู ไก่ขนแหง้ ตดิ เปลอื กมาก และมีอตั ราการตายสูง ไข่ฟักยง่ิ อายมุ าก ยง่ิ ตอ้ งการ
ความช้ืนมาก ถา้ ไข่ฟักมีเปลอื กบางกต็ อ้ งการความช้ืนเพมิ่ ข้ึนดว้ ย การเพ่มิ ความช้นื ทาไดโ้ ดยเพ่มิ ถาดใส่น้า
มากข้ึน

#การพิจารณาอยา่ งง่ายว่าความช้ืนพอเหมาะ หรือไมน่ ้นั ดูไดจ้ ากการส่องไข่ฟกั ดขู นาดของช่องลม
ซ่ึงอยทู่ างดา้ นป้าน การควบคุมความช้ืนภายในตูม้ วี ตั ถุประสงคท์ ี่จะควบคุมขนาดของช่องอากาศภายในใหม้ ี
ขนาดค่อยๆ กวา้ งข้ึนจนได้ ขนาด 1 ใน 3 ของไข่ ถา้ ช่องอากาศแคบหรือเลก็ เกนิ ไป ตวั อ่อนจะตายและมนี ้า
รอบๆ ตวั อ่อนมาก พร้อมน้ีไข่แดงจะไมถ่ กู ดูดไปใชจ้ ึงเหลอื อยจู่ านวนมาก และไข่แดงจะไมเ่ ขา้ ไปอยใู่ น
ทอ้ ง ถา้ หากช่องว่างอากาศมากเกนิ ไปตวั อ่อนจะแหง้ ตายและฟักไม่ออกเช่นกนั

วิธีการดูไข่วา่ เน่าหรือเป็นตวั

วธิ ี แรกของ ใชไ้ ฟส่องไข่ก่อน ถา้ ไข่ไก่ ใสๆไมม่ ีเสน้ เลอื ด หรือไมม่ ีสีทึบๆ กท็ ้ิง วิธีน้ีทาไดต้ ้งั แต่ไข่
อายุ 7 วนั ตลอดการฟักไข่จะใชไ้ ฟส่อง 3 คร้ัง คือ วนั ที่ 7 วนั ที่ 12 และวนั ท่ี 18 วธิ ีที่สอง จะใชว้ ดั อุณหภูมิที่
ไข่ ไข่ที่เป็นตวั อุณหภูมจิ ะสูงหน่อย แต่ถา้ ไข่ท่ีไมเ่ ป็นตวั หรือเน่าจะอุณหภูมติ ่าต่างจากใบอน่ื มาก ใชไ้ ด้
ต้งั แต่ไข่อายุ 17 วนั (ตามท่ีผมทา) โดยการใชป้ รอทดิจติ อล เอาตวั เซน็ เซอร์ เคร่ืองวดั ไปวางท่ีขา้ งๆไข่ติดกบั
ไข่เลย และวธิ ีสุดทา้ ย ใชไ้ ข่ลอยน้า ใส่น้าในกระมงั ใหเ้ ตม็ กระมงั และเอาไข่ท่ีจะทดสอบลงไปลอยใน
กระมงั ตอ้ งรอจนกวา่ น้าและไข่ในกระมงั จะน่ิง แลว้ สงั เกตุเห็นว่าถา้ ไข่ใบไหนกระดุกกระดกิ แสดงวา่ เป็น
ตวั แต่วิธีน้ีตอ้ งเอาไข่ลงไปลอยในนาและลอยใหน้ ้าน่ิงๆจริงๆก่อนนะ ถงึ จะชวั ร์ ใชไ้ ดต้ ้งั แต่ 18 วนั ท่ีวดั
หลาย คร้ังหลายแบบเพื่อเชค็ วา่ ไข่ตายโคมไหม การเจริญเติบโตไปถงึ ไหน ไดไ้ มเ่ สียเวลาในการฟักมาก

ประหยดั เน้ือที่ในการฟกั (ใชต้ ูฟ้ ัก)ไดร้ ู้ไข่ใบไหนเสียไดเ้ อาทิ้งเลย จะไดเ้ อาชุดใหม่เขา้ ตูแ้ ทน และไดไ้ ม่เสี่ยง
วา่ ไข่เน่าจะระเบิดคาตูฟ้ กั ไข่ และการส่องไข่ก็ยงั มโี อกาสท่ีเราจะคดั พลาดเหมอื นกนั เพราะไข่เน่าก็จะมีสี
ทึบท้งั ใบเหมอื นกนั แต่ไข่เน่าดา้ นบนสุดของช่องอากาศในไข่จะไมค่ ่อยมีครับ แต่ถา้ เร่ิมเน่าระยะแรกช่อง
อากาศในไข่ก็มอี ยเู่ หมือนไข่ท่ีเป็นตวั และถา้ เป็นตวั จะเหน็ ช่องอากาศในไข่ เลยตอ้ งมีการวดั อณุ หภูมิและ
การลอยน้าเขา้ มาช่วยเพ่ิมความชวั ร์

14. ก่อน 3 วนั ( ตามอายกุ ารฟักไข่) ยา้ ยไข่มเี ช้ือเขา้ ช้นั เกิด ไก่จะเริ่มเจาะเปลอื กไข่ออกมาเป็นตวั ใหย้ า้ ย
สตั วป์ ี กที่เกิดใหมไ่ ปอนุบาลต่อไป ไข่ท่ีฟักไม่ออก ใหไ้ ปส่องดูอีกคร้ังถา้ ในฟองไข่มลี กั ษณะด้ินอยใู่ ห้
นาเขา้ ตูเ้ กดิ อกี คร้ัง ไข่ไมด่ ้ินแสดงวา่ เป็นไข่ตายโคม

15. ทุกคร้ังทน่ี าลกู ไก่ออกจากตูค้ วรเอาผา้ ชุบน้าเชด็ และทาความสะอาด น้าท่ีใชส้ าหรับเช็ดตูท้ ี่ดี คือน้าผสม
ด่างทบั ทิมที่มีสีชมพจู างๆ เพือ่ ฆ่าเช้ือโรค สาหรับถาดใส่ลูกไกค่ วรลา้ งตากแดดก่อนนาเขา้ ตูอ้ กี คร้ัง

16. รมควนั ตูเ้ พอื่ ฆ่าเช้ือทุกสปั ดาหๆ์ ละ 1 คร้ัง การรมควนั จะช่วยฆา่ เช้ือโรคบนเปลอื กไข่และทุกซอกทุก
มุมภายในตูฟ้ ักไข่ ในขณะรมควนั ก็ใหเ้ ดินเครื่องตฟู้ ักไปดว้ ย

17. ลา้ งถาดใส่ไข่ที่ใชส้ าหรับวางไข่ฟักอายุ 1-18 วนั ทุกๆ สปั ดาห์ก่อนนาไปใส่ไข่ฟกั พร้อมท้งั ทาความ
สะอาด กวาดฝ่นุ บนหลงั ตูไ้ มใ่ หม้ ใี ยแมงมมุ และวสั ดุอ่นื ๆ อุดตนั ช่องอากาศออก ซ่ึงส่วนใหญ่จะอยบู่ นหลงั
ตูฟ้ ักทกุ ๆ ตุใ้ หท้ าความสะอาดทุกๆ เดือนๆ ละ 1 คร้ัง การปิ ดตูท้ าความสะอาดเดือนละ 1-2 คร้ัง จะไมม่ ี
ผลกระทบต่อการฟักไข่ ดงั น้นั ทุกๆ คร้ัง ที่ทาความสะอาดภายในตูฟ้ ักจึงสมควรปิ ดเคร่ืองก่อนป้องกนั
อนั ตรายท่ีอาจจะ เกิดข้นึ จากไฟช๊อตและพดั ลมตี

ในกรณีฟกั ไข่ไมค่ ่อยออกหรือเปอร์เซนตอ์ อกต่า อาจเพราะตูใ้ ชง้ านนานเกิดความสกปรกควรหยดุ
พกั สกั หน่ึงสปั ดาห์ เพอ่ื ทาความสะอาดตูอ้ กี สาเหตุหน่ึงอาจเพราะว่าพ่อแมพ่ นั ธุแ์ ก่หรือพ่อพนั ธุใ์ ชผ้ สมมา
นานจาเป็นจะตอ้ งสบั เปล่ียนพอ่ พนั ธุบ์ า้ ง และควรใหค้ วามสนใจเกี่ยวกบั การใหอ้ าหารพ่อแม่พนั ธุค์ วรเป็น
อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง ซ่ึงจะช่วยใหก้ ารฟักออกสูง

ปัญหาในการฟกั ไข่

- ฤดูหนาว มีปัญหามากที่สุด เนื่องจากอณุ หภูมิภายนอกและภายในจะต่างกนั มาก ความช้ืนนอ้ ย ดงั น้นั การ
ฟักไข่ในหนา้ หนาวจึงไมค่ ่อยไดผ้ ลดี แถมยงั ตอ้ งคอยดูเทอร์โมมเิ ตอร์ในตู้ ไมใ่ หส้ ูงหรือต่าเกินไปดว้ ย ตอ้ ง
ใหค้ วามช้ืนเยอะๆ ถาดน้าใหญ่ ฟักฤดูหนาวไม่ค่อยไดผ้ ล ไข่เสียเยอะมาก

- ฤดูฝน จะมปี ัญหาเร่ืองความช้ืนมากเกนิ ไป ไข่บวมน้าตาย เนื่องจากความช้ืนภายนอกตูม้ มี าก ทาใหภ้ ายใน
ตูม้ ากไปดว้ ย อาจเปลยี่ นจากถาดน้าใหญ่ เป็นขนั เลก็ หรือลดปริมาณน้าในตูล้ ง เจาะแลว้ แต่ไมอ่ อกมา ใหด้ ู
วา่

- เมอื กแหง้ ติดเปลือกหรือไม่ ใชส้ สาลชี ุบน้าแปะบนเปลอื ก ใหน้ ้าค่อยๆ ซึมเขา้ ไปละลายเมอื ก เด๋ียวก็
ออกมาเอง ถา้ ยงั ไมอ่ อก ตอ้ งค่อยๆ แคะดู ถา้ มเี ลือดออกให้หยดุ ทนั ที รอสกั ชวั่ โมง แลว้ ค่อยมาดูใหม่

- เจาะรูเท่าเดิม สองวนั แลว้ อาจเป็นเพราะลกู ไก่เจาะดา้ นลา่ งที่มีเมือก ทาใหม้ นี ้าอยเู่ ตม็ เปลือกไข่ไมแ่ หง้ ถา้
วนั แรกท่ีเจาะ ลูกไก่เจาะทางดา้ นล่างของไข่ ใหร้ ีบจบั พลกิ หงายข้ึนทนั ที (ดูขอ้ การส่องไข่)

ค่อยๆใชป้ ลายไมจ้ ้ิมฟันแกะส่วนท่ีแหง้ ดวู ่ามีเมอื กหรือไม่ รอใหเ้ มือกแหง้ จะออกมาเอง

- ปกติแลว้ หลงั จากเจาะ หน่ึงวนั หรือสองงวนั ลูกไก่จะค่อยๆ ดนั ตวั หมนุ รอบไข่ จะเห็นรอยแตกของ
เปลือกไข่วนไปรอบๆ ดา้ นป้าน แลว้ ลูกไก่จะดนั ตวั ออกมาเอง

- อยา่ ใจร้อนแกะก่อนเดด็ ขาด ลกู ไก่จะสะดือไมแ่ หง้ ไสไ้ หล ตาย ถา้ เกิดกรณีไข่แดงไหลออกจากทอ้ ง ใหร้ ีบ
ใชเ้ ชือกหรือดา้ ยเยบ็ ผา้ เสน้ เลก็ ๆ มดั รวบรูสะดือ แลว้ ตดั ไขแ่ ดงท่ีไหลออกมาท้ิง ดูแลตวั น้ีใหด้ ี ถา้ มนั รอด
เชือกที่มดั ไวจ้ ะหลดุ ไปเอง ถา้ ไม่รอด กค็ ือไมร่ อดไงล่ะ จะเอาไงอีก

- ส่วนมากแลว้ พวกขายาว จะออกมาอาละวาดกก่อน วง่ิ กนั เต็มตูโ้ ครมๆ พวกขาส้นั จะออกชา้ หรือออก
ไม่ได้ ควรจะแยกขายาวออก (หาตะแกรงก้นั ) จะไดไ้ มเ่ หยยี บขาส้นั ตาย ลูกไก่ออกมาแลว้ สามารถอยใู่ นตู้
ไดอ้ ีก 2-3 วนั โดยไม่ตอ้ งการน้าและอาหาร

การฟักไข่ห่าน

ไข่ห่านท่ีจะนามาฟักน้นั ควรเป็นไข่จากแม่ห่านไดร้ ับการผสมพนั ธุแ์ ลว้ และมอี ายรุ ะหวา่ ง 1-3 ปี
ไข่ท่ีจะฟกั ไมค่ วรเกบ็ ไวน้ านเกิน 7 วนั เพราะถา้ หากเกบ็ ไวน้ านเกินกวา่ 7 วนั กจ็ ะมแี นวโนม้ ท่ีจะทาให้
เปอร์เซนตก์ ารฟักออกเป็นตวั ของไข่ห่านตา่ ลง แต่ถา้ หากจาเป็นจะตอ้ งเก็บไวเ้ กินกวา่ 7 วนั ตอ้ งเกบ็ ไวใ้ นท่ี
ที่มอี ณุ หภูมิ 50-60 องศาฟาเรนไฮด์ หรือประมาณ 10-15 องศาเซลเซียสและมีความช้ืนสมั พนั ธ์ 75-80
เปอร์เซนต์ ในการฟักไข่น้นั ควรทาการกลบั ไข่ห่านอยา่ งนอ้ ยวนั ละคร้ัง เพ่ือป้องกนั ไม่ใหเ้ ช้ือติดเยอ่ื เปลือก
ไข่ ไข่ฟกั ที่สะอาด จะมีเปอร์เซนตก์ ารฟักออกเป็นตวั สูงกว่าไข่ท่ีสกปรก

หากมีความจาเป็นตอ้ งใชไ้ ข่ที่สกปรกไมม่ ากกนกั ไปฟักจะตอ้ ง รีบทาความสะอาดไข่ห่านทนั ทีหลงั จาก
เกบ็ โดยใชโ้ ลหะฝอยหรือกระดาษทราย เบอร์ 0 หรือ 1 ขดั เบา ๆ หรือลา้ งในน้าอนุ่ ท่ีสะอาด (อณุ หภูมิ
ประมาณ 46 องศาเซลเซียส) ผสมดว้ ยน้ายาลา้ งไข่เป็นเวลาประมาณ 3 นาที ควรระมดั ระวงั เสมอวา่ น้าท่ีจะ
ใชล้ า้ งไข่ห่านน้นั ตอ้ งอ่นุ กวา่ อุณหภูมขิ องไข่ห่านเสมอไขห่ ่านที่นามาฟัก ที่มขี นาดฟองใหญ่เกินไป หรือ
เลก็ เกินไป หรือมีลกั ษณะผดิ ปกติ หรือแตกร้าว ไมค่ วรนามาใชฟ้ ักนะคะ เพราะโอกาสที่ไข่ห่านน้นั จะฟัก
ออกเป็นตวั ห่าน จะมีเปอร์เซนตน์ อ้ ยมากนนั่ เองค่ะ

ระยะเวลาในการฟกั ไข่ห่าน จะแตกต่างกนั ออกไปตามชนิดของห่าน ดงั น้ีค่ะ ห่านพนั ธุท์ วั่ ไปจะใชเ้ วลา
ในการฟักไข่นาน 31-32 วนั แต่ถา้ เป็นห่านพนั ธุแ์ คนาดาและพนั ธุอ์ ยี ปิ ตเ์ ช่ียน จะใชเ้ วลาในการฟกั ไข่ นาน
35 วนั ค่ะ

การฟักดว้ ยตูฟ้ ักไข่

เมอื่ จะนาเขา้ ตูฟ้ ักตอ้ งเอามาวางไวใ้ นหอ้ งปกติเสียก่อน เพอ่ื ใหไ้ ข่ห่านมอี ุณหภูมสิ ูงข้ึน จึงค่อย
นาเขา้ สู่ตูฟ้ ัก มฉิ ะน้นั อุณหภูมใิ นตูฟ้ ักไข่จะลดลงอยา่ งมากนะคะ

การวางไข่ในถาดฟัก ใหว้ างไข่ในแนวราบตามความยาวของฟองไข่ และควรต้งั อณุ หภูมิตูฟ้ กั ไวท้ ่ี
37.5 องศาเซีลเซียส หรือ 37.5-37.6 C ในช่วง 25-28 วนั แรก ความช้ืนสมั พนั ธข์ องตูป้ ระมาณ 57-62
เปอร์เซนต์ และควรพรมไข่ห่าน ดว้ ยน้าอนุ่ สปั ดาห์ละ 2 คร้ังไดม้ ีผแู้ นะนาว่า การฟักไข่ใหไ้ ดผ้ ลดีควรเอาไข่
ออกมาวางนอกตูฟ้ ัก พรมดว้ ยน้าอุ่นเป็นฝอยต้งั ท้ิงไวส้ กั 10-15 นาที แลว้ จึงนากลบั เขา้ ตูฟ้ ักระหวา่ งชว่ งที่
ลกู ห่านจะเร่ิมเจาะเปลือกไข่ ควรเพม่ิ ความช้ืนใหส้ ูงข้ึนถงึ 73-79 เปอร์เซ็นต์ การใหค้ วามช้ืนน้ีจะช่วยทาให้
เยอื่ หุม้ เปลอื กไข่ห่านนุ่ม ซ่ึงเป็นการง่ายสาหรับลกู ห่าน ท่ีจะไดเ้ จาะโผลอ่ อกมาจากไขน่ น่ั เอง

การฟักไข่นกกระทา

การฟักไข่ นกกระทาน้นั ใชว้ ธิ ีเดียวกนั กบั การฟกั ไข่ไก่และสามารถใชต้ ูฟ้ ักไข่ไก่มาทาการ ฟกั ไข่
นกกระทากระทาไดเ้ ลย ไข่ท่ีใชฟ้ ักน้นั ตอ้ งใชไ้ ข่มีเช้ือเท่าน้นั ถึงจะฟักออกเพราะถา้ ใชไ้ ข่ธรรมดา จะไม่
สามารถฟักออกได้ ซ่ึงไข่มเี ช้ือ คือ ไข่ท่ีมกี ารปฏสิ นธิเกิดจากแม่นกกระทาที่อยใู่ นกรงเดียวกนั กบั พ่อนก
กระทา ไข่นกกระทาน้นั จะเกิดเพศภายในฟองอยแู่ ลว้ ซ่ึงต่างจากไข่ของสตั วเ์ ล้อื ยคลาน บางชนิดที่ตอ้ งใช้
อุณหภูมิในการฟักเป็นตวั กาหนดเพศเช่น เต่าหือจระเข้ ไขม่ เี ช้ือจะมอี ายปุ ระมาณ 7 วนั หลงั แมน่ กกระทา
ออกไข่ หลงั จากน้นั เช้ือจะเริ่มตายทาใหไ้ ข่เน่าซ่ึงต่างจากไข่ปกติท่ีสามารถเก็บ รักษาไดป้ ระมาณ 30 วนั

ไข่ มีเช้ือก็มเี ทคนิคการเก็บรักษาไดย้ าวนานข้ึนเพื่อใหเ้ ช้ือภายในไข่แข็งแรง และมีโอกาสฟักออกสูง
เทียบเท่าการเก็บรักษาไข่แบบปกติหลายวิธีดงั น้ี1. ควรเกบ็ ไวใ้ นอุณหภูมิที่ไมต่ ่ากว่า 10oC หรือใชอ้ ุณหภูมิ
14 ± 3oC และมคี วามช้ืนสมั พนั ธ์ 70 ± 10%

2. จากงานวิจยั ของ Imai และคณะ (1986) ไดแ้ นะนาวา่ ไม่ควรลา้ งไขก่ ่อนนาเขา้ เก็บเพราะจะเป็นการช่วย
ใหเ้ ช้ือจุลินทรียเ์ ขา้ ไปในไข่ผา่ นรูพรุนท่ีเปลือกไข่ไดง้ ่ายข้นึ

3. หากจาเป็นที่จะตอ้ งขนส่งไข่มีเช้ือท่ีนาเขา้ ตูฟ้ ักแลว้ ควรรักษาอณุ หภูมริ ะหว่างการขนส่งใหอ้ ยทู่ ่ีท่ีไม่ต่า
กวา่ 32.2oC และไมส่ ูงกวา่ 37.5oC

4. ในการจดั เรียงไข่ ควรหนั ดา้ นป้านข้ึน

5. หากเก็บไข่ไวใ้ นถงุ PVC หรือถงุ พลาสติก จะช่วยใหเ้ กบ็ รักษาไข่ไดน้ านข้ึนถึง 13 - 21 วนั

ก่อนนาไข่เขา้ ตูฟ้ ักควรรมยาตูฟ้ ักก่อนทาการฟัก ซ่ึงการรมยาสามารถทาไดด้ งั น้ี

1. การรมยาตฟู้ ักจะใชด้ ่างทบั ทิม 0.4 กรัม ฟอร์มาลิน 0.8 ซีซี ต่อปริมาตรตู้ 1 ลูกบาศกฟ์ ตุ ภาชนะที่ใช้
บรรจุสารรมควนั ควรเป็นภาชนะดินเผาหรือเคร่ืองเคลือบที่สามารถจุ ไดม้ ากกวา่ 10 เท่าของปริมาตรสารรม
ยา (เพราะมนั จะกระเดน็ ออกนอกภาชนะหากใชเ้ ลก็ กว่าน้ี)

2. วิธีการคือใส่ด่างทบั ทิมตามขนาดตูไ้ วใ้ นภาชนะรมยาแลว้ นาภาชนะน้นั เขา้ ตูฟ้ ักเสร็จแลว้ จึงเทฟอร์มาลนิ
ที่ตวงไวแ้ ลว้ ลงบนด่างทบั ทิม รีบปิ ดตูแ้ ละปิ ดช่องระบายอากาศ จากน้นั เปิ ดพดั ลมของตูฟ้ กั

3. ตามปกตจิ ะรมยาประมาณ 20 นาที แลว้ จึงเปิดช่องระบายอากาศเพือ่ ท้ิงกลน่ิ รมยา

4. ขณะรมยาควรใหภ้ ายในตูม้ คี วามช้ืนท่ีสูง เน่ืองจากจะทาใหก้ ารฆ่าเช้ือมีประสิทธิภาพมากข้ึน

ในการฟักไข่น้นั ตอ้ งมีการควบคุมความช้ืนสมั พนั ธใ์ หเ้ หมาะสมขณะฟัก เนื่องจากหากความช้ืน
สมั พนั ธข์ ณะฟักไข่ท่ีมากหรือนอ้ ยเกินไปเมอื่ ลกู นกกระทาเจาะเปลือกอออกมาจะมอี าการขนแหง้ ช้า ฟัก
ออกไดน้ อ้ ย และอาจตายเป็นจานวนมากไดใ้ นระยะกก หากมีการส่องไข่แลว้ พบว่าช่องอากาศในไขโ่ ตมาก
ควรเพ่มิ ความช้ืนในตูฟ้ กั วิธีเพม่ิ ความช้ืนอาจใชว้ ธิ ีเอาใส่ถาดน้าเพิม่ แลว้ นาไปวางท่ีพ้นื ตูห้ รือฉีดพรมน้า
เป็ นฝอยละเอียดลงบนไข่

การวางไข่โดยที่ใหด้ า้ นท่ีแหลมๆ คว่าลงดา้ นล่าง ส่องดูไข่ อยู่ 2คร้ัง คร้ังท่ี 1 วนั ท่ี 7, คร้ังที่ 2 วนั ท่ี 14

โดยอุณหภูมทิ ี่เหมาะสมกบั การฟกั ไขน่ กกระทาคือ 37.5 C หรือ 99.5 F และมีความช้ืนสมั พทั ธ์ 60%
จนถงึ วนั ท่ี 14 ของการฟกั และต้งั ค่าการกลบั ไข่ทุก ๆ 2 ชว่ั โมง จากน้นั ถงึ ยา้ ยไข่เขา้ ตูเ้ กิดหรือปรับลด
อุณหภูมติ ูฟ้ ักลงเหลอื 37.1 C หรือ 99.0 F และมคี วามช้ืนสมั พทั ธ์ 70% หากเกษตรกรตอ้ งการฟักไข่โดยใช้
ตูฟ้ ักตูเ้ ดยี วและไม่ตอ้ งการปรับอณุ หภูมิและความช้ืนสมั พทั ธ์

ในช่วงการฟัก เกษตรกรสามารถต้งั อุณหภูมไิ วท้ ่ี 37.5 C หรือ 99.5 F และมคี วามช้ืนสมั พทั ธ์ 70% ตลอดช่วง
การฟักก็ไดเ้ ช่นเดียวกนั ในการฟกั น้นั จะกลบั ไข่เฉพาะชว่ ง 14 วนั แรกของการฟัก จากน้นั จะหยดุ กลบั ไข่
เพอื่ รอใหล้ กู นกกระทาเจาะเปลอื กไข่ออกมาดูโลกครับ

TIP :: จากการศกึ ษาของ Chang, T.S., M. Mckinney and Y. Rumimger, 1986 การเปิ ดตูฟ้ กั ไข่วนั ละ 2
คร้ัง ๆ ละ 15 นาที จะช่วยใหม้ ีโอกาสของการฟกั ออกเพิม่ มากข้ึน

การฟักไข่นกกระจอกเทศ

โดยทว่ั ไปแม่นกกระจอกเทศจะออกไข่ทุกวนั เวน้ วนั ดงั น้นั หากในแต่ละชุดผสมพนั ธุ์ (Set) ท่ีมพี ่อ
นกกระจอกเทศ 1 ตวั ต่อแม่นกกระจอกเทศ 1 – 3 ตวั แม่นกอาจจะออกไข่พร้อมกนั ในวนั เดียวกนั หรือสลบั
วนั กนั ออกไข่กไ็ ด้ เม่อื พบวา่ แมน่ กออกไข่แลว้ ใหร้ ีบเกบ็ ไข่ออกทนั ที เพื่อไมใ่ หไ้ ข่อยบู่ นพ้ืนนานเกินไป
เพราะจะทาใหไ้ ข่สกปรกและมเี ช้ือโรคหรือจุลนิ ทรียแ์ ทรกซึมเขา้ ไปในไข่ ทาใหเ้ ช้ือออ่ นแอถงึ ตายได้

หลงั จากน้นั ใหห้ าไข่ปลอมที่มีรูปร่าง ลกั ษณะและน้าหนกั เหมอื นไข่นกกระจอกเทศมาวางไวแ้ ทน
เพ่ือกระตุน้ ใหแ้ ม่นกกระจอกเทศออกไข่เร่ือย ๆ ในท่ีเดียวกนั ปกติแม่นกกระจอกเทศจะออกไข่ปี ละ 40 –
80 ฟอง แต่กม็ ีบางฟาร์มท่ีสามารถผลติ ไข่ไดถ้ งึ ปี ละ 100 ฟอง ต่อแม่นกกระจอกเทศ1 ตวั ไขน่ กกระจอกเทศ
จะมีลกั ษณะกลมรี โดยมคี วามกวา้ งยาวเกือบเท่ากนั เปลือกไข่สีขาวครีม และมีรูระบายอากาศใหญ่เห็น
ชดั เจนขนาดและน้าหนกั ของไข่จะแตกต่างกนั ไปตามชนิดของสายพนั ธุ์ ซ่ึงในระหวา่ งการฟกั น้าหนกั ไข่จะ
หายไป 11 – 15 %

วิธีการเลอื กไข่ฟัก

ไข่ฟักเป็นผลจากการผสมพนั ธุจ์ ึงยอ่ มมีผลทางการสืบสายเลอื ดตามลกั ษณะที่เกิดข้ึนจากการรวมตวั
ของหน่วยสืบพนั ธุ์ นน่ั คือลกู ยอ่ มไดล้ กั ษณะต่าง ๆ ท้งั ของพอ่ พนั ธุแ์ ละแมพ่ นั ธุซ์ ่ึงมที ้งั ลกั ษณะดีและเลว
การเอาไข่เขา้ ฟักจึงตอ้ งคานึงถงึ คุณภาพของพ่อแม่พนั ธุด์ ว้ ย

ส่ิงที่ควรพิจารณาในการเลอื กไข่ฟัก

ควรเป็นไข่ท่ีมาจากฝงู นกกระจอกเทศท่ีไม่เป็นโรค

พ่อแมพ่ นั ธุจ์ ะตอ้ งสมบูรณ์แขง็ แรง

ตอ้ งมีลกั ษณะท่ีควรเป็นไข่ฟกั คือเปลอื กไข่สะอาด ผวิ เปลือกไมข่ รุขระ รูปไข่บูดเบ้ียวหรือแตกร้าว เป็นตน้

การเก็บรกั ษาไข่ฟัก

ไข่ที่จะใชส้ าหรับการฟักหลงั จากเก็บจากรังไข่แลว้ จะตอ้ งทาการรมควนั ฆ่าเช้ือดว้ ยกา๊ ซฟลอทาดิ
ไฮดก์ ่อนนาไปไวใ้ นหอ้ งที่มีอณุ หภูมิ 20 – 22 องศาเซลเซียส และเก็บนานไม่เกิน 7 วนั ในระหวา่ งที่เก็บ
จะตอ้ งทาการกลบั ไข่อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 2 คร้ัง

ก่อนท่ีจะนาเขา้ ตูฟ้ ักจะตอ้ งนาไข่ฟกั ออกจากหอ้ งควบคุมอณุ หภูมมิ าไวท้ ่ีอุณหภูมิปกติ (Preheat)
เสียก่อนประมาณ 8 – 10 ชวั่ โมง เพอ่ื ปรับความเยน็ ของไขส่ ู่อณุ หภูมปิ กติ (ประมาณ 35 องศาเซลเซียส) ถา้
นาไข่เขา้ ตูฟ้ ักทนั ทจี ะทาใหเ้ ช้ือตาย (Embryonic Shock) เนื่องจากอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วจากเยน็
ไปร้อน

การฟักไข่ หลกั ใหญ่ของการฟักไขก่ ค็ ือ ใหค้ วามอบอุน่ แกไ่ ข่ฟักใหส้ ม่าเสมอตลอดเวลา และทาให้
สิ่งแวดลอ้ มใหเ้ ป็นผลดีต่อการเจริญของเช้ือลกู นก เพ่อื ใหเ้ ปอร์เซ็นตฟ์ ักออกมาเป็นตวั ใหม้ ากท่ีสุด ตูฟ้ ักไข่
นกกระจอกเทศ โดยทวั่ ไปมกั จะแยกตูฟ้ ัก (Setter) และตูเ้ กดิ (Hatcher) ออกจากกนั เพอ่ื ใหส้ ะดวกในการ
ทางานและการควบคุมอุณหภูมิโดยนาไข่เขา้ ตูฟ้ ักนาน 38 – 39 วนั หลงั จากน้นั จะนาไปไวใ้ นตูเ้ กิดซ่ึงไมม่ ี
การกลบั ไข่ (Turning) อณุ หภูมทิ ่ีใชใ้ นการฟักไข่ประมาณ 35.5 – 37 องศาเซลเซียส ความช้ืนสมั พทั ธ์ 25 %

ปัจจยั ทว่ั ๆ ไปที่ช่วยใหก้ ารฟักไข่เป็นผลดีคือ

1. อณุ หภูมิหรือความร้อน (Temperature) ท่ีเหมาะสมท่ีใชใ้ นการฟักไข่ก็คือ 36.2 องศาเซลเซียส มคี วามช้ืน
40 % จะใชเ้ วลาฟักไข่นาน 41 – 43 วนั แต่ถา้ อณุ หภูมิ 35 องศาเซลเซียส ความช้ืน 40 % จะใชเ้ วลาฟักไข่ 43
– 47 วนั หากเพิ่มอุณหภูมใิ หส้ ูงข้ึนจะทาใหอ้ ตั ราการตายของลูกนกกระจอกเทศระยะแรกเพม่ิ สูงข้ึน

2. ความช้ืน (Humidity) ความช้ืนที่เหมาะสมช่วยใหก้ ารเจริญเติบโตของเช้ือลูกนกกระจอกเทศเป็นไปโดย
ปกติ หากความช้นื นอ้ ยไป ลกู นกจะแหง้ ติดเปลอื กและตาย ความช้ืนที่เหมาะสมจะทาใหล้ กู นกมีขนแหง้ ฟู
สวย ไม่ติดเปลอื ก นอกจากน้ีความช้ืนยงั เป็นตวั กาหนดปริมาณการสูญหายของน้าหนกั ไข่ในระหวา่ งการฟัก
อกี ดว้ ย

3. การระบายอากาศ (Ventilation) ขณะท่ีลกู นกยงั เจริญเติบโตอยใู่ นไข่ ร่างกายตอ้ งใชไ้ ข่แดงและไข่ขาวไป
สร้างส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย การที่สิ่งเหลา่ น้ีจะถกู เปล่ียนแปลงใหเ้ กิดปฎิกริยาละลายเขา้ ในระบบการดดู
ซึมของตวั ลกู นกไดจ้ าเป็นตอ้ งใหอ้ อกซิเจนไปทาปฎิกริยาแก่สิ่งเหลา่ น้ีเพือ่ เปลี่ยนใหเ้ ป็นพลงั งาน ส่วนที่
เป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซดจ์ ะถกู ขบั ออกทางเปลอื ก หากไม่มกี ารระบายอากาศออก จะทาใหก้ ๊าซ
คาร์บอนไดออกไซดส์ ูงมากข้ึนจนเป็นอนั ตรายต่อลกู นก การระบายอากาศจึงเป็นการชว่ ยใหก้ ๊าซ
คาร์บอนไดออกไซดอ์ อกจากตูฟ้ ัก และหมุนเวยี นใหอ้ ากาศออกซิเจนเขา้ ไปถงึ เช้ือลูกนก ปริมาณออกซิเจน
ในอากาศที่เหมาะสมคือ 21 %

4. การกลบั ไข่ (Turning) การกลบั ไขก่ เ็ พื่อป้องกนั ไม่ใหเ้ ช้ือลูกนกแหง้ ติดเปลือกไข่ ซ่ึงจะช่วยลดอตั ราการ
ตายของลูกนกขณะท่ีฟกั ไข่ในระยะแรกไดม้ าก ควรจะกลบั ไข่อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 2 – 3 คร้ัง หรือข้ึนอยกู่ บั องศา
ของไข่ เช่น ไข่ทามุม 90 องศา กลบั ไข่ 2 คร้ัง ไข่ทามมุ 45 องศา กลบั ไข่ 6 คร้ัง ไข่ทามุม 45 องศา กลบั ไข่
ทุกชว่ั โมง หลงั จากยา้ ยไข่ไปไวใ้ นตูเ้ กิดกจ็ ะไมก่ ลบั ไข่อีกเลย

5. การส่องไข่ (Candling) การส่องไขก่ ็เพ่อื คดั เอาไข่ที่ไมม่ เี ช้ือ ไข่เช้ือตาย และไข่เสียออกจากตูฟ้ กั ไข่เสีย
ก่อนท่ีไขจ่ ะเน่าและส่งกลิ่นเหมน็ ในตูฟ้ ักซ่ึงเป็นผลเสียต่อไข่ใบอนื่ ๆ สาหรับการส่องไข่นกกระจอกเทศ จะ
ทา 2 – 3 คร้ังโดยในคร้ังแรกจะส่องเม่อื ฟักไข่ไปแลว้ 10 – 14 วนั แต่ถา้ ยงั ไมแ่ น่ใจอาจส่องดูอกี คร้ังเมอื่ ฟัก
ไปแลว้ 20 –21 วนั และคร้ังสุดทา้ ยเมอ่ื จะยา้ ยไปตูเ้ กดิ หรือเมื่อฟักไข่ไปแลว้ 35 วนั

เนื่องจากไขน่ กกระจอกเทศมเี ปลือกไข่ที่หนาและแขง็ แรงมาก ดงั น้นั อุปกรณ์หรือเคร่ืองส่องไข่
เพื่อดูการพฒั นาของตวั ออ่ นจะตอ้ งใชก้ าลงั ไฟฟ้าแรงสูงมากและถา้ จะใหเ้ ห็นชดั เจนควรส่องดูในหอ้ งมดื
และไม่ควรส่องไข่ เลน่ โดยไมจ่ าเป็นเนื่องจากความร้อยจากเครื่องส่องไข่จะไม่ผลต่อตวั อ่อนในไข่ ได้

การคดั เพศ นกกระจอกเทศกเ็ ช่นเดียวกบั สตั วป์ ีกชนิดอืน่ ๆ ท่ีมอี วยั วะเพศอยภู่ ายใน ดงั น้นั การคดั เพศเมอ่ื
นกกระจอกเทศอายนุ อ้ ย จึงอาจใชว้ ธิ ีปล้นิ กน้ เพ่อื ดูอวยั วะเพศ โดยในตวั ผจู้ ะมเี ดือยเลก็ ๆ โผลข่ ้ึนมา
ส่วนตวั เมียจะไมม่ ีเดือยแต่อยา่ งใด แต่ถา้ เป็นนกที่อายุ 6 เดอื นข้ึนไปแลว้ จะสงั เกตไดจ้ ากเวลาที่
นกกระจอกเทศขบั ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ถา้ เป็นนกกระจอกเทศเพศผจู้ ะเห็นเคร่ืองเพศขนาดยาว 3 – 4

เซนติเมตร โผลอ่ อกมาดว้ ย นอกจากน้ีอาจจะสงั เกตไดจ้ ากสีขน ถา้ เป็นนกกระจอกเทศเพศผจู้ ะไมข่ นสีดา
ปลายปี กและปลายหางสีขาว สาหรับตวั เมียจะมีสีน้าตาลเทาตลอดลาตวั โดยทว่ั ไปนกกระจอกเทศตวั ผจู้ ะ
ใหญ่กวา่ นกกระจอกเทศตวั เมยี

อายกุ ารฟักไข่เป็ดเทศ 33-35 วนั

การฟักไข่เป็ดไมว่ ่าจะเป็นเป็ดพนั ธุไ์ ข่หรือเป็ดพนั ธุเ์ น้ือ หรือเป็ดเทศสรวมท้งั ห่านดว้ ย มหี ลกั การ
คลา้ ยกนั โดยเฉพาะความช้ืนภายในตูฟ้ กั ไข่ตอ้ งสูง 75% โดยเฉพาะในช่วง 4 วนั สุดทา้ ยของการฟักความช้ืน
สูงกว่า 80% ท้งั น้ีเพราะวา่ เป็ด เป็ดเทศ และห่านเป็นสตั วท์ ี่ชอบเล่นน้า อาบน้า บางคร้ังแม่เป็ดจะลงไป
อาบน้าแลว้ กลบั เขา้ มาฟักไข่ท้งั ๆ ท่ีขนยงั เปี ยกไมแ่ หง้ บางวนั แมเ่ ป็ดโดยเฉพาะเป็ดเทศจะออกไปเลน่ น้า
อาบน้าชาระชน ทาความสะอาดขนและกินอาหารเป็นเวลานาน 1-2 ชวั่ โมง โดยเฉพาะเมื่อไข่อายมุ ากๆ
หรือไม่เราจะสงั เกตเห็นวา่ แม่เป็ดจะใชป้ ากของมนั เกลี่ยไข่ออกมาผ่งึ ลมเยน็ นอกปี กของมนั เมอื่ มนั ผ่งึ ไข่
ออกนอกปี กเป็นเวลานานพอสมควร 20-30 นาที มนั ก็ใชป้ ากของมนั ดึงไข่เขา้ มาไวใ้ ตล้ าตวั และปี กอกี จะ
เห็นแม่เป็ดปฏบิ ตั ิอยา่ งน้ีทุกวนั ๆ ละหลายคร้ัง โดยเฉพาะวนั ท่ีมีอากาศร้อนมากๆ ซ่ึงต่างไปจากแม่ไก่มกั จะ
นง่ั ฟักไข่อยา่ งต่อเนื่อง โดยไม่ลกุ ออกไปกินน้าและอาหารเป็นเวลาหลายๆ วนั จนลกู ไก่ฟักออกเป็นตวั
ดงั น้นั การฟักไข่เป็ด ไข่เป็ดเทศ และไข่ห่าน จึงจะตอ้ งดาเนินการตามข้นั ตอนต่างๆ ดงั น้ี

1. การคดั เลอื กขนาดและรูปร่างของไข่ฟัก ไข่เป็ดที่ใชส้ าหรับฟักควรจะมีขนาดสมา่ เสมอใหญ่เกินไป
หรือเลก็ เกินไปทาใหก้ ารฟักออกไม่ดี ดงั น้นั การเลือกไข่เขา้ ฟักใหส้ ม่าเสมอสามารถเพิม่ อตั ราการฟักออกได้
ถงึ 5% ขนาดไข่ที่พอเหมาะจะอยรู่ ะหวา่ ง 65-75 กรัม ข้ึนอยกู่ บั พนั ธุเ์ ป็ด นอกจากเลือกขนาดไข่แลว้ ยงั
จะตอ้ งเลือกรูปร่างของไข่ดว้ ย ไข่ฟองใดท่ีมีรูปร่างกลม หรือแหลมเกินไปกไ็ ม่เอาพร้อมจะตอ้ งเลือกไข่ท่ีมี
เปลือกไมข่ รุขระ ท้งั น้ีเพราะวา่ เปลือกไข่ทุกฟองจะมีรูเลก็ ๆ อยโู่ ดยรอบ เพือ่ เป็นท่ีระบายอากาศและหายใจ
ของตวั ออ่ นก่อนฟักออกเป็นตวั ดงั น้นั การฟักออกจะมากหรือนอ้ ยก็ข้ึนอยกู่ บั คุณภาพของเปลอื กไข่ดว้ ย
พร้อมน้ีไข่ฟักทุกฟองจะไม่มีรอยบุบร้าว หรือแตก เพราะนอกจากจะฟักไข่ไมอ่ อกเลย แลว้ ยงั จะตอ้ งทาให้
อากาศภายในตูเ้ สีย เน่ืองจากไข่เน่าอกี ทางหน่ึงดว้ ย

การทาความสะอาดเปลอื กไข่เป็ดเทศ ควรทาความสะอาดไข่ทนั ทีท่ีเก็บจากคอก ใหใ้ ชก้ ระดาษทรายหยาบ
ขดั ออก ไมว่ า่ จะเป็นมลู หรือส่ิงสกปรกอื่น อยา่ ลา้ งน้าจะทาใหเ้ ช้ือโรคซึมแทรกเขา้ ไปตามรูพรุน เขา้ สู่ฟอง
ไข่และทาอนั ตรายต่อไข่ภายในได้ และขณะทาความสะอาดไข่ควรตรวจดูเปลอื กไข่ท่ีบุบและร้าวดว้ ย เพอื่
คดั ออกเสียแต่แรก

2. การเกบ็ รักษาไขก่ ่อนนาเขา้ ตูฟ้ ัก การฟกั ไข่เป็ดโดยทวั่ ไปแลว้ มกั จะรวบรวมไข่ท่ีเลอื กไวเ้ ป็นเวลา 2-7
วนั แลว้ จึงนาเขา้ ตูฟ้ กั บางฟาร์มอาจจะเกบ็ เขา้ ตฟู้ ักทุกๆ 3 วนั หรือทุกๆ 4 วนั ถา้ ไข่ฟักมนี อ้ ยไม่มากเกินไป
มกั จะนาเขา้ ตูฟ้ ักทุกๆ 7 วนั ในฟาร์มท่ีฟกั ทุกๆ 3-4 วนั ส่วนใหญ่จะเป็นฟาร์มท่ีฟกั ลกู เป็ดจาหน่ายจานวน
มากๆ เป็นหมืน่ ๆ หรือแสนๆ ตวั ต่อเดือน ดงั น้นั เมอื่ ตอ้ งการเกบ็ ไข่ไวน้ านเกินไป 1 วนั เราจาเป็นจะตอ้ งมี
วธิ ีเก็บรักษาไขไ่ วใ้ หค้ งสภาพเช่นเดียวกบั ไข่ที่ออกมาจากกน้ แม่เป็ดใหมๆ่ ส่วนเกษตรกรตอ้ งการนาไข่เขา้
ฟักทุกๆ วนั กไ็ มจ่ าเป็นจะตอ้ งนาเขา้ หอ้ งเกบ็ ไข่ การเก็บไข่รวมไวเ้ ขา้ ฟกั จะตอ้ งเก็บในหอ้ งเก็บไข่ท่ีสามารถ
ควบคุมความร้อนความช้ืนได้ สาหรับอุณหภูมิที่เหมาะสม ก็ข้ึนอยกู่ บั ระยะเวลาของการเก็บไขด่ ว้ ย นอกจาก
ความร้อนและความช้ืนแลว้ ยงั จาเป็นจะตอ้ งมกี ารกลบั ไข่ทุกๆ วนั ๆ ละ 1 คร้ัง การกลบั ไข่อาจจะใชว้ ิธีเอียง
ถาดไข่ท้งั ถาดใหไ้ ดม้ ุม 80 องศา หรือใชม้ อื ลกู ไข่เบาๆ ใหเ้ คลอ่ื นที่จากท่ีๆ ไข่วางอยใู่ หเ้ ปล่ยี นที่เพียง
เลก็ นอ้ ยกพ็ อเพยี ง การกลบั ไขจ่ ะช่วยใหต้ วั ออ่ นภายในไมล่ อยข้ึนมาติดเปลอื กไข่ และทาใหต้ วั อ่อนแข็งแรง
ช่วยเพิม่ เปอร์เซน็ ตก์ ารฟักออกไดอ้ กี ทางหน่ึง การกลบั ไข่ท้งั ถาดใหเ้ อยี ง 80 องศาน้นั ต่อไปน้ีเป็นอณุ หภูมิ
และความช้ืนภายในหอ้ งเกบ็ ไข่ระยะเวลาต่างๆ กนั

อุณหภูมแิ ละความช้ืนสมั พทั ธข์ องหอ้ งเก็บไข่ฟักระยะเวลาต่างๆ กนั

ระยะเวลาเกบ็ ไข่ อุณหภมู พิ อเหมาะ ความชื้นท่ีเหมาะสม
(วนั )
1-3 องศา C องศา F องศา C องศา F
4-7
8-14* 20 68 75 60
14* 13-16 55.4-60.8 75 48-53
11-12 51.8-53.6 80-88 46-49
11-12 51.8-53.6 80-88 46-49

3. การรมควนั ฆา่ เช้ือโรค ไข่เป็ดที่ไดค้ ดั เลือกไวส้ าหรับฟักทุกๆ ฟองจะตอ้ งทาการรมควนั เพือ่ ฆา่ เช้ือโรค
ที่เกาะติดอยบู่ นเปลือกไข่ โดยเฉพาะเช้ือแบคทีเรียพวก Salmonella ซ่ึงเป็นสาเหตุใหล้ กู เป็ดตายก่อนเจาะ
เปลือกไข่ โดยปกติแลว้ เราจะทาการรมควนั ใหเ้ ร็วท่ีสุดหลงั จากเป็ดไดไ้ ข่ออกมาแลว้ ทางดา้ นปฏิบตั ิเราก็
รมควนั ก่อนท่ีจะนาไข่เขา้ หอ้ งเกบ็ ไข่ ดา้ นหลงั ควนั ที่ใชร้ มฆ่าเช้ือโรคจะเป็นควนั ที่เกดิ จากการผสมด่าง
ทบั ทิบ 20 กรัม กบั ฟอร์มาลิน 40% จานวน 40 ซีซี ต่อพ้ีนที่ 100 ลูกบาศกฟ์ ุต วธิ ีทาคือ ชงั่ ด่างทบั ทิมแลว้ ใส่
ในชามสงั กะสีเคลือบแลว้ ใส่ในตูอ้ บ เทฟอร์มาลนี ลงในอ่างเคลอื บแลว้ รีบปิ ดประตูทนั ที ระวงั อยา่ ดม
ควนั ฟอร์มาลีน เพราะจะทาใหเ้ ยอ่ื จมูก และตาอกั เสบได้ ทิ้งไว้ 15-20 นาที แลว้ จึงนาไข่เขา้ เกบ็ ในหอ้ งเก็บ
จุดที่สาคญั อยา่ งยง่ิ อีกประการหน่ึงคือหา้ มรมควนั ไข่ท่ีฟกั ไปแลว้ 24-72 ชว่ั โมง และเช่นเดียวกนั จะไม่
รมควนั สาหรับไข่ท่ีลูกเป็ดกาลงั เจาะเปลอื กไข่ออกหรือลกู เป็ดออกจากเปลอื กไข่แลว้ อยา่ งเดด็ ขาด

ความเขม้ ขน้ และระยะเวลาที่ใชใ้ นการรมควนั ฆ่าเช้ือโรคบนเปลอื กไข่เป็ดที่ใชส้ าหรับฟัก

ชนดิ ท่ใี ช้รมควนั ปริมาตรต้ฟู ัก/ต้อู บ ด่างทับทมิ ฟอร์ มาลิน เวลา

ไขท่ เ่ี ก็บไว้ฟัก (กรัม) (กรัม) (ซีซี) 20
ไข่ท่นี ำเข้ำต้ฟู ักวันแรก 100 60 120 20
ไข่ท่ฟี ักไปแล้ว 24 วัน 100 40 80 30
ต้ฟู ักไขท่ ่ไี ม่มีไข่ 100 20 40 30
อปุ กรณ์ตำ่ งๆ 100 60 120 30
100 60 120

ปัจจยั ท่ีสาคญั ท่ีสุดสาหรับฟกั ไข่เป็ดคือ การควบคุมอณุ หภูมคิ วามช้ืน การระบายอากาศเสียออกจากตู้ การ
หมนุ เวียนของอากาศออกซิเจน การกลบั ไข่ และการทาใหไ้ ข่เยน็ เป็นระยะๆ ตลอดการฟกั ไข่ซ่ึงปัจจยั
ท้งั หมดน้ีถา้ ไม่ไดร้ ับการจดั การท่ีเหมาะสมแลว้ การฟักไข่เป็ดจะไมไ่ ดผ้ ลดีเท่าท่ีควร

1. อณุ หภูมิ อณุ หภูมภิ ายในตูฟ้ ักไข่นบั วา่ เป็นปัจจยั ที่สาคญั ยง่ิ ปัจจยั หน่ึงสาหรับการฟักไข่ การต้งั อุณหภูมิ
ผดิ จากท่กี าหนดในระยะ 1-24 วนั แรกของการฟักไข่น้นั จะไมส่ ามารถแกไ้ ขใหก้ ารฟักออกดีข้ึนได้ การต้งั
อณุ หภูมิเกินกวา่ ทีก่ าหนด 1 องศา C จะทาใหล้ กู เป็ดท่ีออกมามกั มีทอ้ งมานทอ้ งบวมใหญ่และลูกเป็ดจะ
อ่อนแอโดยทว่ั ๆ ไปแลว้ การสต้งั อุณหภูมติ ่ากวา่ ที่กาหนดจะมีผลร้ายนอ้ ยกวา่ การต้งั อุณหภูมิสูง

2. ความช้ืน ความช้ืนเป็นอีกปัจจยั หน่ึงท่ีจะตอ้ งเอาใจใส่และควบคุมใหอ้ ยใู่ นระดบั ที่เหมาะสม ท้งั น้ี
เพราะความช้ืนเป็นตวั ทก่ี าหนดหรือควบคุมการระเหยของน้าออกจากไข่ โดยธรรมชาติแลว้ น้าจะระเหย
ออกจากไข่ทนั ทีท่ีไข่ออกจากกน้ แมเ่ ป็ด คุณภาพของไข่เป็ดจึงข้นึ อยกู่ บั ปริมาณของน้าที่ระเหยออกมาก
เกินไปจะฟกั ไมค่ ่อยจะออก ดงั น้นั จึงจาเป็นจะตอ้ งเอาใจใส่และควบคุมต้งั แต่ระยะเกบ็ ไข่รวบรวมไวส้ าหรับ
ฟัก ไปจนถึง

ขณะทีก่ าลงั ฟักอยใู่ นตูฟ้ ักไข่ การระเหยของน้าออกจากไขม่ ีปัจจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งคืออณุ หภูมใิ นอากาศ
ความช้ืนในอากาศและการหมุนเวยี นของอากาศรอบๆ เปลือกไข่ ในระยะเกบ็ ไข่เพื่อรอเขา้ ตูฟ้ ักพร้อมๆ กนั
จะตอ้ งพยายามรกั ษาน้าใหร้ ะเหยออกจากเปลอื กไข่นอ้ ยท่ีสุด โดยการควบคุมความร้อนและความช้ืนใน
อากาศของหอ้ งเก็บไข่ ถา้ เก็บไข่ไว้ 7 วนั ควรจะเก็บไวท้ ่ีอณุ หภูมิ 13 องศา C ความช้ืน 75

เมือ่ ไข่อยใู่ นตูฟ้ ักไข่เรากจ็ ะตอ้ งควบคุมความช้ืนอยา่ งใกลช้ ิดและเอาใจใส่เป็นพิเศษ ท้งั น้ี เพราะ
อุณหภูมิของตูฟ้ กั ไข่สูงถึง 37.2-37.7 องศา c อุณหภูมสิ ูงน้ีจะทาใหน้ ้าระเหยออกจากไข่เร็วข้ึน ถา้ ความช้ืน
ภายในตูต้ ่า ดงั น้นั จึงตอ้ งปรับความช้ืนภายในตูใ้ หส้ ูงข้ึนอยรู่ ะดบั 63%-86% ข้ึนอยกู่ บั อายขุ องไข่ฟักระยะ
ต่างๆ การควบคุมความช้ืนภายในตูม้ วี ตั ถปุ ระสงคท์ ี่จะควบคุมขนาดของช่องอากาศภายในใหม้ ีขนาดค่อยๆ
กวา้ งข้ึนจนได้ ขนาด 1 ใน 3 ของไข่เม่ือไข่อายไุ ด้ 30 วนั ถา้ ช่องอากาศแคบหรือเลก็ เกินไป ตวั อ่อนจะตาย
และมีน้ารอบๆ ตวั ออ่ นมาก พร้อมน้ีไข่แดงจะไม่ถกู ดูดไปใชจ้ ึงเหลอื อยจู่ านวนมาก และไข่แดงจะไม่เขา้ ไป
อยใู่ นทอ้ งลูกเป็ด ถา้ หากช่องว่างอากาศมากเกินไปตวั ออ่ นจะแหง้ ตายและฟักไมอ่ อกเช่นกัน ดงั น้นั การ
รักษาระดบั ความช้ืนและความร้อนภายในตูจ้ ึงจาเป็นอยา่ งยง่ิ การเพมิ่ ความช้ืนในทางปฏิบตั ิเราจะเอาน้าใส่
ถาดขนาดใหญ่และกวา้ งไวใ้ ตถ้ าดไข่ หรือวางบนพ้นื ของตูฟ้ ัก ถา้ หากความช้ืนยงั ไมพ่ อเพียงเรากท็ าไดโ้ ดย
การเพ่ิมถาดใส่น้าใหม้ ากข้ึน บางคร้ังเราอาจจะตอ้ งวางถาดน้าถึง 2 ช้นั โดยดดั แปลงถาดใส่ไข่เป็นถาดใส่น้า
พร้อมกนั น้ีเราจะตอ้ งปรับช่องอากาศใหเ้ ลก็ ลงอกี ดว้ ย ถึงแมว้ า่ ความช้นื จะมีผลต่อการฟักออกของไข่เป็ด
อยา่ งยง่ิ แต่ความตอ้ งการของความช้ืนภายในตูฟ้ กั ไม่ใช่วา่ จะตรง 100% ตามท่ีกาหนด แต่ความสูง-ต่า ของ

ความช้ืนค่อนขา้ งจะกวา้ งกว่าอณุ หภูมคิ ือไม่ทาใหม้ ผี ลต่อการฟักออกมากนกั ถา้ หากความช้นื ผดิ ไปจากที่
กาหนดบา้ งเลก็ นอ้ ยไม่เหมือนกบั ความตอ้ งการของอุณหภมู ิ ซ่ึงผดิ ไปบา้ งเลก็ นอ้ ย จะมีผลต่อการฟักออก
อยา่ งยง่ิ การที่ความตอ้ งการความช้ืนมชี ่องห่างระหว่างสูง-ต่า ไดพ้ อสมควรน้นั เพราะว่าไข่เป็ดเองมีกลไกที่
สามารถควบคุมการระเหยของน้าไดบ้ างส่วน การควบคุมความช้ืนในตฟู้ ักจะยง่ิ ยากมากข้ึนในบางส่วน การ
ควบคุมความช้นื ในตูฟ้ ักจะยง่ิ ยากมากข้ึนในบางพน้ื ที่และบางฤดู โดยเฉพาะฤดูท่ีอากาศมีความร้อนและ
ความช้ืนสูง การฟักไข่เป็ดจะตอ้ งเอาใจใส่เป็นพิเศษและคอยตรวจสอบดูว่าช่องอากาศภายในไข่ไดข้ นาด
ความตอ้ งการหรือไม่ ถา้ ไม่ไดก้ จ็ าเป็นจะตอ้ งมีการปรับความช้ืนและช่องระบายอากาศเสียใหเ้ หมาะสมไป
พร้อมๆ กนั

3. การกลบั ไข่ การกลบั ไข่โดยธรรมชาติแมเ่ ป็ดจะใชเ้ ทา้ และปากเกาะพลกิ ไข่ใหเ้ คล่อื นท่ีวนั ละประมาณ
16 คร้ัง เพ่อื ใหต้ วั อ่อนภายในไข่เคล่ือนที่จากตาแหน่งหน่ึงไปอีกตาแหน่งหน่ึง ไมเ่ กาะติดเปลอื กไข่จนตาย
นอกจากน้ีการกลบั ไข่ยงั ทาใหต้ วั อ่อนใชอ้ าหารจากไข่แดง ไข่ขาวไดด้ ียงิ่ ข้ึน พร้อมกบั ทาใหม้ ีการ
แลกเปลี่ยนอากาศเสียท่ีตวั อ่อนขบั ถา่ ยออกมากบั อากาศภายนอกไข่ไดด้ ียงิ่ ข้ึน โดยปกติแลว้ ตูฟ้ กั ไข่จะ
ออกแบบมาใหม้ ีการกลบั ไข่โดยอตั โนมตั ิทุกๆ ชวั่ โมง

4. การระบายอากาศ การระบายอากาศและการหมนุ เวียนของอากาศภายในตูม้ ีความสาคญั เช่นเดียวกบั
อุณหภูมแิ ละความช้ืน ท้งั น้ีเพราะในระหว่างการฟกั ไข่น้นั ตวั อ่อนและลกู เป็ดภายในไข่ จะตอ้ งมกี ารหายใจ
และถ่ายเทอากาศเสียออกมาจากไข่ โดยเฉพาะอากาศคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ที่เกิดจากการหายใจของ
ตวั อ่อน ในระยะตน้ ๆ ของการฟักไข่ท่ีตวั ออ่ นอายไุ มม่ ากและตวั ไมโ่ ต การหายใจถา่ ยเทอากาศเสียยงั ไมม่ าก
นกั ยงั ไมม่ ปี ัญหาเท่าไร แต่วา่ เม่ือตวั อ่อนเติบโตข้ึน การหายใจยง่ิ มปี ัญหามากข้ึนเป็นทวคี ูณ โดยเฉพาะช่วง
สุดทา้ ยของการฟัก ตวั ออ่ นใกลจ้ ะเจาะเปลือกไขย่ งิ่ จะหายใจถา่ ยอากาศคาร์บอนไดออกไซดอ์ อกมาก และ
ตอ้ งการอากาศออกซิเจนมากจึงตอ้ งเปิ ดช่องอากาศออก และช่องอากาศเขา้ ใหก้ วา้ งข้นึ แต่จะตอ้ งรักษา
ความช้ืนใหไ้ ดใ้ กลเ้ คียงตามท่ีตอ้ งการ นอกจากน้ียงั จะตอ้ งพจิ ารณาดว้ ยว่าอากาศภายในโรงฟักไข่กจ็ ะตอ้ งมี
การระบายอากาศไดด้ ีอกี ดว้ ย เพราะว่าการถา่ ยเทอากาศเสียภายในตูอ้ อกมาขา้ งนอกเป็นการแลกเปลี่ยน
อากาศซ่ึงกนั และกนั ระหวา่ งขา้ งนอกและขา้ งในตู้ ดงั น้นั ถา้ อากาศนอกตูไ้ มด่ ีมคี าร์บอนไดออกไซดม์ าก
อากาศเสียในตูฟ้ ักก็เหมือนกบั ไมไ่ ดถ้ กู ระบายออก เพราะเป็นการแลกเปล่ียนระหว่างอากาศเสียกบั อากาศ
เสีย

การฟักไข่เป็ดเทศระยะ 1-10 วนั ของการฟัก

ไข่ที่ไดร้ ับการเกบ็ ไวใ้ นอุณหภูมิ 10-15.5 องศา c เป็นเวลา 7 วนั แลว้ นาเขา้ ตูฟ้ ักไข่ ในช่วงน้ีอาจ
รมควนั ฆ่าเช้ืออกี คร้ังหน่ึงได้ แต่ระวงั อยา่ รมควนั ไข่ที่เพิ่งเขา้ ตูฟ้ ักไดไ้ ม่เกิน 24-72 ชม. ในช่วง 1-10 วนั ท่ีเขา้
ตูฟ้ ักอุณหภูมิ 37.7 องศา c ความช้ืน 63%

การฟักไข่เป็ดในระยะท่ี 2 วนั ท่ี 11-31 ของการฟกั

ในวนั ที่ 11 ของการฟักจะนาออกจากตูฟ้ ักมาส่องไข่ แยกไข่เช้ือตายออก แลว้ นาไข่มเี ช้ือเขา้ ตูห้ น่ึง เพราะ
ในช่วงวนั ท่ี 11-31 ของการฟักไข่จะเปิ ดระบบใหค้ วามร้อนเป็นเวลาแต่จะเปิ ดพดั ลมตลอดเวลา ซ่ึงจะเปิ ด
ประตูตูฟ้ ักไข่ไวต้ ้งั แต่ 09.00-11.00 น. จึงปิ ดประตูตูฟ้ กั ไข่แลว้ เปิ ดระบบใหค้ วามร้อนทางาน, ในช่วงท่ีเปิ ด
ประตูตูฟ้ กั ไข่ท้ิงไว้ เมอ่ื ถงึ เวลา 10.00 น. คือ ครบ 1 ชว่ั โมง แลว้ จะทาการพน่ น้าที่ไข่เป็ดเทศทุกฟองใหเ้ ปี ยก
แลว้ ท้ิงไวอ้ ีก 1 ชม. จึงปิ ดตูฟ้ ักแลว้ เปิดระบบใหค้ วามร้อน ทาเช่นน้ีทุกวนั จนถึงวนั ที่ 31 ของการฟัก
อณุ หภูมิของตูฟ้ ักไข่ 37.5 องศา c ความช้ืน70-75% น้าที่ใชพ้ น่

ควรมอี ณุ หภูมิเท่าตูฟ้ ักและเป็นน้าสะอาดโดยผสมน้ายาฆา่ เช้ือลง ไปก็จะทาใหไ้ ข่เป็ดมีเช้ือตายท่ี 32 วนั
นอ้ ยลง

ยงั ทาใหต้ วั ออ่ นภายในมีการเจริญเติบโตและแขง็ แรงอกี ดว้ ย เหตุผลท่ีแทจ้ ริงไม่เป็นท่ีทราบแน่ชดั แต่มีการ
รายงานและคน้ ควา้ จากนกั วิชาการหลายๆ ท่านพบว่าการฉีดน้าหรือเรียกว่าการใหไ้ ขฟ่ ักเยน็ ลงเป็นระยะๆ
น้นั ทาใหเ้ น้ือเยอ่ื ท่ีห่อหุม้ ตวั อ่อนเขา้ มาสมั ผสั กบั ผวิ ของเปลือกไข่มากยง่ิ ข้ึน จึงทาใหล้ กู เป็ดหรือตวั อ่อน
เจริญเติบโตดีและแขง็ แรง พร้อมท้งั มแี รงสาหรับเจาะเปลือกไข่มากยงิ่ ข้ึน

อยา่ งไรก็ดีแมว้ า่ การฉีดน้าเป็นฝอยๆ ลงบนไข่ก็มขี อ้ เสียอยมู่ ากเช่นกนั ถา้ หากไมป่ ฏบิ ตั ิใหถ้ ูกตอ้ ง และ
คานึงถึงปัจจยั อน่ื ๆ การฉีดน้าทาใหบ้ รรยากาศภายในตฟู้ ักไข่เหมาะท่ีพวกจุลนิ ทรียต์ ่างๆ เจริญเติบโต
โดยเฉพาะจุลนิ ทรียท์ ่ีปะปนมากบั น้า เมอื่ พน่ ลงไปบนเปลอื กไข่แลว้ จุลินทรียน์ ้ีจะเจริญเติบโตและเจาะลกึ
ลงไปในไข่ทาลายตวั อ่อนใหต้ ายฟักไมอ่ อกได้ ดงั น้นั น้าทใี่ ชพ้ น่ จึงตอ้ งเป็นน้าที่ผสมยาฆา่ เช้ือหรือด่าง
ทบั ทิมอยใู่ นปริมาณท่ีแนะนาโดยผผู้ ลิต ในดา้ นปฏบิ ตั กิ ารฉีดน้าจะทาวนั ละคร้ัง ในช่วงเวลาใดกไ็ ดท้ ่ีเห็นวา่
ความช้ืนในอากาศต่ากวา่ เวลาอน่ื ๆ ก่อนฉีดเราจะตอ้ งเปิ ดฝาตูฟ้ ักออกใหก้ วา้ งเตม็ ท่ีปลอ่ ยใหพ้ ดั ลมตูฟ้ ัก
ทางานปกติ เปิ ดทิ้งไวป้ ระมาณ 1 ชวั่ โมง จนไข่ลดอณุ หภูมลิ งมาเท่ากบั อุณหภูมภิ ายนอกทดสอบไดจ้ ากการ
เอาไข่แตะบนหนงั ตาของเราจะไม่รู้สึกร้อน ที่จุดน้ีเป็นจดุ ที่จะทาการพน่ น้าใหเ้ ป็นละอองฝอยๆ บนไข่ทุกๆ
ถาด เมอื่ ฉีดน้าแลว้ จะตอ้ งปล่อยใหต้ ูฟ้ ักเดินพดั ลมและเปิ ดประตูไปอีกประมาณ 1 ชว่ั โมง จนกวา่ น้าบน

เปลอื กไข่จะแหง้ และเรานาไข่มาแตะท่ีหนงั ตาจะรู้สึกเยน็ เลยทีเดียว ที่จุดน้ีเราก็ปิดตูฟ้ ักไข่และเปิ ด
เดินเคร่ืองเป็นปกติต่อไปจนถงึ วนั พรุ่งน้ีและวนั ต่อๆ ไป

ในกรณีท่ีบางฤดูความช้ืนในอากาศสูง หรือวนั ที่มฝี นตกอากาศช้ืนเราก็ไม่จาเป็นจะตอ้ งพน่ หรือฉีด
น้า เป็นแต่เพียงเปิ ดตูป้ ิ ดสวชิ และเปิ ดพดั ลมใหเ้ ดิน เพอื่ ใหไ้ ข่เยน็ วนั ละ 1-2 ชวั่ โมงกพ็ อ ขอ้ แนะนาอกี
ประการหน่ึง คือไม่ควรท่ีจะฉีดหรือพ่นน้าจนใหโ้ ชคหรือมากเกินไป จะทาใหค้ วามช้นื สูงเกินกวา่ ระดบั ที่
ตวั ออ่ นและลูกเป็ดตอ้ งการ และจะทาใหเ้ กิดผลเสียมากกวา่ ผลดี

การฟักไข่ระยะสุดทา้ ย (32-35 วนั ) การฟกั ไข่เป็ดระยะ 3 วนั สุดทา้ ย ตูเ้ กิด ท้งั น้ีเพราะวา่ การจดั การ
การฟักไข่ ความตอ้ งการอุณหภูมิ และความช้ืนแตกต่างไปจากระยะ 31 วนั แรก ระยะน้ีตอ้ งการอุณหภูมิต่า
กวา่ ระยะแรก หรือเท่ากบั 36.6 องศา c ที่ตอ้ งการต่าเน่ืองจากว่าระยะ 3 วนั หลงั น้ี ตวั อ่อนไดเ้ จริญเติบโตมาก
และสมบูรณ์พร้อมท่ีจะเจาะเปลอื กไข่ออกมาดูโลกภายนอก ระยะน้ีลูกเป็ดจึงตอ้ งมกี ารหายใจและเกิดความ
ร้อนข้ึนภายในตวั ของมนั เองได้ และความช้นื จะยง่ิ มากข้ึน เมอ่ื ลูกเป็ดเจาะเปลือกออกมาแลว้ ยง่ิ ลกู เป็ดเจาะ
ออกมามากความร้อนยงิ่ มากเป็นเงาตามตวั ดงั น้นั ในบางคร้ังความร้อนในตูเ้ กิดจะสูงเกินกวา่ ทตี่ ้งั เอาไว้ จะ
ทาใหล้ กู เป็ดฟักออกมเี ปอร์เซนตล์ ดลงถงึ 20% ถา้ หากความร้อนเกิน 1.7 องศา C หรือ 3 องศา F และจะเป็น
อนั ตรายอยา่ งยงิ่ ถา้ อุณหภูมสิ ูง 39.4 องศา c ดงั น้นั สามารถลดความร้อนในตูล้ งได้ โดยการเปิ ดช่องอากาศ
เสียและช่องอากาศดีใหก้ วา้ งข้ึนจนไดอ้ ุณหภูมแิ ละความช้ืนที่ตอ้ งการ

วนั ที่ 32 จะนาไข่ออกจากตูฟ้ กั เพื่อนามาส่องไข่ที่มเี ช้ือแข็งแรงนาเขา้ ตูเ้ กิดไข่ ไข่เช้ือตายก็
นาออกไป การนาไข่มีเช้ือเขา้ ช้นั เกิดจะใส่ถาดโดยวางไข่ในแนวนอน จะไม่มกี ารกลบั ไข่หรือพน่ น้าแต่อยา่ ง
ใด ใชอ้ ณุ หภูมิ 36.6 องศาc ความช้ืนสมั พทั ธ์ 86% ไข่เป็ดที่จะฟักออกไดด้ ีควรมชี ่องอากาศภายในไข่ เท่ากบั
1 ใน 3 ของไข่ ลูกเป็ดบางตวั อาจเจาะออกเป็นตวั เมอื่ อายุ 33 วนั จึงควรเก็บไข่ฟกั ใหถ้ ึง 35 วนั
ความช้ืนในระยะ 3 วนั สุดทา้ ย เมื่อความช้นื ไดร้ ับแลว้ หา้ มเปิ ดฝาตูฟ้ ักไข่อยา่ งเดด็ ขาด เพราะจะทาให้
ความช้ืนลดลงอยา่ งรวดเร็ว จะทาใหล้ กู เป็ดที่กาลงั จะออกเป็นตวั แหง้ ติดเปลือกไข่ตายในที่สุด ถงึ แมว้ ่าจะ
เป็นเพียงนิดเดียวก็ไมค่ วรปฏิบตั ิถา้ หากไมจ่ าเป็นจริงๆ ท้งั น้ีเพราะว่าเม่อื ความช้ืนลดลงแลว้ กว่าจะใหต้ ู้
ทางานใหไ้ ดค้ วามช้ืนสูงระดบั เดิมน้นั จะตอ้ งใชเ้ วลานานมากและมากกว่าการเพ่มิ อุณหภูมิ การฟักไข่ใน
ระยะสุดทา้ ยน้ี มขี อ้ แตกต่างจากระยะแรกอีกประการหน่ึงคือ จะไมม่ กี ารกลบั ไข่ แต่จะปลอ่ ยใหน้ อนน่ิงอยู่
บนถาดไข่เพื่อใหล้ ูกเป็ดเจาะเปลอื กไข่ออกไดส้ ะดวก ท้งั น้ีเพราะว่าในช่วงท่ีลกู เป็ดพยายามเจาะเปลอื ก ลูก
เป็ดจะด้ินทาใหไ้ ข่กลงิ้ ไปมาเพือ่ ใหไ้ ดม้ มุ ที่สามารถทาใหเ้ ปลือกไข่แตกออกมาได้ ฉะน้นั ในการใส่ไข่ใน
ถาดก็ไมค่ วรใหไ้ ข่แน่นจนเกินไป ควรมชี ่องว่างใหห้ ่างเลก็ นอ้ ย


Click to View FlipBook Version