สมองมนุษย์ท่ีเกิดมาไม่ได้สมบูรณ์ไปทุกคน บางคนมีความ
บกพร่องท่ีสมองบางจุด (หรือบางพื้นที่) ซ่อนอยู่ ท�ำให้เกิดปัญหาในการ
เรียนรู้บางด้าน ในสมัยก่อนเราก็สรุปว่าเด็กคนนั้นเกิดมาโง่ และจะโง่ไป
ตลอดชีวิต แต่ในสมัยน้ีเราเร่ิมมีวิธีตรวจหาความบกพร่องน้ันตั้งแต่อายุ
นอ้ ยๆ (เช่น ๖ เดือน - ๑ ปี) แล้วใช้เครื่องมอื ฝกึ สมอง ดำ� เนินการแกไ้ ขเสยี
เด็กคนนั้นก็จะเรยี นรู้ไดเ้ หมือนเดก็ ปกติ
ความกา้ วหน้า ๒ ด้าน
๑. มีวิธีตรวจพบเด็กท่ีมีความผิดปกติของสมอง ที่เป็นอุปสรรคต่อ
การเรียนรู้
๒. มีวิธีฝึกสมองท่ีบกพร่องให้กลับมาปกติ โดยอาศัยธรรมชาติ
ความยืดหยุ่นของสมอง (Brain Plasticity)
เลีย้ งลูกย่ิงใหญ่ 49
ความกา้ วหนา้ ในระดบั เปลย่ี นกระบวนทศั น์
มีหลักฐานชัดเจนว่า ข้อเสนอของปรมาจารย์ทางจิตวิทยา ฌอง
เปยี เจ (Jean Piaget) ทเ่ี ชอ่ื ถอื กนั มานานมาก วา่ สมองทารกเปรยี บเสมอื น
ผ้าขาว หรือกระดาษขาว จะเป็นอย่างไรข้ึนกับประสบการณ์การเรียนรู้
ในภายหลัง ไม่เป็นความจริง ทารกเกิดมาพร้อมกับความสามารถใน
การรบั รจู้ ำ� นวน แต่เปน็ ความสามารถในระดับงา่ ยๆ (จ�ำนวน ๓ - ๔)
รวมทั้งสามารถประเมินกลุ่มส่ิงของจำ� นวนมาก ว่ากลุ่มไหนจำ� นวน
มากกวา่
เขามหี ลักฐานจากผลงานวจิ ยั หลายชนิ้ สนบั สนุนข้อสรุปนี้ รวมทัง้
มีข้อมูลว่าสัตว์อื่นอีกหลายชนิด ได้แก่ โลมา หนู นกพิราบ สิงโต ลิง
มีความสามารถนี้ รวมทั้งมีค�ำอธิบายว่าเป็นความสามารถท่ีมาจากการ
สง่ ตอ่ ทางวิวฒั นาการ เพื่อใหส้ ามารถตัดสนิ ใจไดว้ า่ พบศตั รู จะสหู้ รือหนี
โดยอาศัยความสามารถในการประเมินก�ำลังของศัตรู รวมท้ังใช้ประเมิน
ว่าต้นไมต้ น้ ไหนมลี กู ดกกว่า คูค่ วรกับการปนี หรือบนิ ไปหา
เขามีวิธีตรวจพบทารกที่สมองขาดความสามารถในการรับรู้
จ�ำนวนในระดับง่ายๆ และพัฒนาวิธีฝึกสมองให้งอกงามในทักษะนั้นได ้
ทำ� ใหเ้ กดิ ความหวงั วา่ ตอ่ ไปเราจะสามารถแกป้ ญั หาเดก็ ทเ่ี ปน็ Dyscalculia
ได้ เดก็ กลุ่มน้มี ีถงึ ร้อยละ ๓ - ๗ ของเด็กท้งั หมด
ความเข้าใจผิด ๕ ประการเกย่ี วกบั สมองกบั การเรียนรู้
๑. มนุษย์ใชพ้ ลังสมองเพยี งร้อยละ ๑๐
ความเข้าใจผิดข้อน้ีมีต้นเหตุจากภาพยนตร์เร่ือง Limitless ท่ีอ้าง
ว่าสามารถใชย้ ากระตนุ้ ให้มนุษยม์ ีพลังความคดิ และความจ�ำได ้
50 เลี้ยงลกู ยง่ิ ใหญ่
ในความเปน็ จรงิ ไมม่ ยี าหรอื เทคนคิ พเิ ศษใดๆ ทจ่ี ะเขา้ ไปเปดิ สวติ ช์
ของเครอื ข่ายใยสมองทย่ี งั ไมไ่ ดใ้ ชเ้ พ่ือเพม่ิ พลงั สมองได้
๒. มนุษย์แบ่งออกเป็น Left Brain Learner กับ Right Brain
Learner
เปน็ ความเขา้ ใจผดิ วา่ สมองซกี ซา้ ยของมนษุ ยใ์ ชค้ ดิ เชงิ เหตผุ ล สว่ น
ซกี ขวาใชค้ ดิ เชงิ ปญั ญาญาณและศิลปะ
ความรู้จากการทดลอง Brain Imaging บอกว่ามนุษย์ใช้สมองท้ัง
สองซกี ร่วมกนั ในการเรียนรทู้ กุ ด้าน
๓. เดก็ ตอ้ งเรยี นภาษาแรกใหพ้ ดู คลอ่ งกอ่ นแลว้ จงึ เรยี นภาษา
ที่สอง
ความเขา้ ใจผดิ นี้ มาจากสมมตฐิ านวา่ การเรยี นสองภาษาพรอ้ มกนั
จะแย่งสมองกัน ซ่ึงผลการวิจัยพิสูจน์ว่าไม่จริง แต่พบว่ากลับมีผลตรง
กันข้าม คอื ทำ� ให้เขา้ ใจเรอื่ งท่วั ๆ ไปได้ดขี นึ้
๔. สมองผชู้ ายกบั สมองผหู้ ญงิ แตกตา่ งกนั ทำ� ใหค้ วามสามารถ
ในการเรียนรแู้ ตกตา่ งกัน
เป็นความจริงว่าสมองของคนเพศชาย กับสมองของคนเพศหญิง
แตกตา่ งกนั และสรรี วทิ ยา (แปลวา่ กลไกการทำ� งาน ไมไ่ ดแ้ ปลวา่ โครงสรา้ ง
อยา่ งทคี่ นมกั เขา้ ใจผดิ ) ของรา่ งกายทแ่ี ตกตา่ งกนั อาจทำ� ใหส้ มองของคน
ต่างเพศทำ� งานแตกตา่ งกัน
แตไ่ มม่ ผี ลการวจิ ยั ใดๆ ทพี่ บวา่ การเชอื่ มตอ่ เสน้ ใยประสาททเี่ กดิ ขนึ้
เม่ือมกี ารเรียนรใู้ หมๆ่ ในสมองของผู้ชายแตกตา่ งจากในสมองของผู้หญิง
การกล่าวอ้างว่าคนเพศหนึ่งเรียนรู้บางสิ่งได้ดีกว่าอีกเพศหน่ึง จึงไม่มี
หลกั ฐานยนื ยนั
เล้ียงลกู ยิ่งใหญ่ 51
หากในอนาคต ค้นพบความแตกตา่ งในการเรยี นร้ใู นต่างเพศ กจ็ ะ
เปน็ ความแตกตา่ งรวมๆ ไมส่ ามารถเอามาใชใ้ นระดับปัจเจกได้
๕. เดก็ แตล่ ะคนมีสไตล์การเรยี นรจู้ �ำเพาะตน
คำ� พดู วา่ เดก็ คนหนงึ่ เรยี นรไู้ ดด้ กี วา่ โดยการฟงั เดก็ อกี คนหนงึ่ เรยี นรู้
ได้ดกี ว่าโดยการใช้ตา ไมม่ หี ลกั ฐานจากการวิจัยสนบั สนุน
วิธตี รวจหาความผิดปกตขิ องสมอง
เทคนคิ บนั ทกึ คลนื่ ไฟฟา้ สมอง (EEG - Electroencephalography)
หาวินาทีสว่างวาบของสมอง ซึ่งนักวิจัยอธิบายว่าเป็นสัญญาณบอกการ
เรียนรู้สิ่งใหม่ เห็นได้จากคล่ืนไฟฟ้าสมองขยับเป็นคล่ืนใหญ่เม่ือทารก
ไดย้ นิ เสยี งทท่ี ดสอบ และมเี ครอื่ งสวมศรี ษะบนั ทกึ คลน่ื ไฟฟา้ จากสว่ นตา่ งๆ
ของสมอง ตามรปู ท่ีแสดงในลิ้งค์ทใี่ ห้ไวค้ กู่ ับชอ่ื บทท่ี ๔ ในหนังสอื
ทารกทท่ี ดสอบแบบเดยี วกนั แตค่ ลน่ื ไฟฟา้ สมองราบเรยี บ แสดงวา่
มีความผิดปกติที่จุดใดจุดหนึ่งของวงจรรับรู้และเรียนรู้จากเสียงกระตุ้น
หากมีการติดตามทารกท่ีมีความผิดปกตินี้เม่ือโตข้ึน และพบว่าความผิด
ปกติของคล่ืนไฟฟ้าสมองระหว่างท่ีมีการกระตุ้น เป็นสัญญาณท่ีถูกต้อง
ว่าเด็กมีความผิดปกติในการเรียนรู้ เราก็จะสามารถด�ำเนินการแก้ไขได้
ตอนเด็กอายุยังน้อยมาก ในช่วงที่สมองมีความยืดหยุ่น สามารถปรับตัว
(Brain Plasticity) ไดส้ งู
52 เลี้ยงลูกยิง่ ใหญ่
วิธฝี กึ สมอง แกค้ วามบกพร่อง
ตัวอย่าง เคร่ืองมือแก้ไข Dyscalculia เป็นเกมคอมพิวเตอร์ ชื่อ
Number Race (www.thenumberrace.com/nr/home.php) ท่ีให้
ดาวนโ์ หลดฟรีและมีครนู �ำไปใช้จ�ำนวนมาก
เครอ่ื งมอื Fast ForWord (www.scilearn.com/products/fast-for-
word/language-series) ส�ำหรบั แก้ปัญหา Dyslexia
เครอื่ งมือฝึก Executive Function (EF) ช่ือ Tools of the Mind
(http://toolsofthemind.org) ใชฝ้ กึ ความพรอ้ มในการเรยี น เพอื่ ใหม้ สี มาธิ
จดจอ่ ฝึกความจำ� ใชง้ าน และฝึกทกั ษะบงั คบั ใจตนเอง เนื่องจากเป็นที่รู้
กันว่าเด็กท่ีมาจากครอบครัวท่ีมีเศรษฐฐานะต่�ำ มักมี EF อ่อนแอ จึงมี
การน�ำเครื่องมอื Tools of the Mind ไปทดลองในเด็กกลุ่มด้อยโอกาสและ
มีรายงานวา่ ไดผ้ ลดี คอื ช่วยเพิ่ม EF ไดจ้ ริง
ฝึกสมองด้วยดนตรี (Musical Training) เป็นอีกแนวทางหนึ่งท่มี ี
การวจิ ยั กนั มาก ขอ้ เนน้ คือต้องเล่นดนตรี ไม่ใช่ฟงั ดนตรี และเชื่อกันวา่ มี
เลยี้ งลกู ยิง่ ใหญ่ 53
ผลกระตุ้น EF ช่วยเพ่ิมพลังการเรียนรู้พ้ืนฐานท่ัวไป ที่มักใช้ค�ำว่า 3Rs
(Reading, Writing, Arithmetics) และมผี ู้เพม่ิ วา่ EF ท่เี ขม้ แขง็ เพ่ิมพลัง
เรียนรู้ 4Rs คือเพ่ิม R ท่ีสี่ Regulation ซ่ึงหมายถึง Self-Regulation
หรือการควบคุมตนเองไม่ให้ถูกชักจูงโดยความคิดแบบหุนหันพลันแล่น
ตวั อยา่ งของการทดลองฝกึ สมองดว้ ยดนตรคี อื Harmony Project (https://
www.harmony-project.org/program/) ที่ผลการทดลองในเด็ก
จากครอบครัวรายได้ต่�ำ ช่วยให้เด็กจ�ำนวนมากมีผลการเรียนดี และมี
แรงจงู ใจได้เรียนตอ่ ในมหาวทิ ยาลยั เป็นคนแรกในครอบครัว
ฝกึ สมองใหเ้ ป็นเดก็ อัจฉรยิ ะ
ใครๆ ก็อยากใหล้ ูกของตนเปน็ เด็กอจั ฉรยิ ะ จงึ มกี ารโฆษณาเคร่อื ง
มือฝึกสมองส�ำหรับเด็กท่ัวไป ส�ำหรับให้น�ำไปใช้ในชั้นเรียนปกติ ดังกรณี
Fast ForWord ทใ่ี หล้ ้งิ คไ์ ว้แลว้ ข้างต้น
มปี ระเด็นใหร้ ะมัดระวงั คอื (๑) เคร่อื งมือที่โฆษณาไดผ้ ลตามท่ีอา้ ง
จริงหรือไม่ บทความบอกว่า งานวิจัยเชิง Meta - Analysis รายงานผล
การวิจัยผลกระทบต่อเด็กของเคร่ืองมือฝึกสมองต่างๆ ไม่พบผลดีที่
เชื่อถือได้ ซึ่งบริษัทหรือองค์กรที่หากินกับเคร่ืองมือนั้นก็ออกมาโต้แย้ง
ความน่าเชื่อถือของ Meta-Analysis นั้น (๒) การโหมกระตุ้นเด็ก
มีผลดีจริงหรือเด็กต้องการการเรียนรู้และพัฒนาที่สมดุลรอบด้านผ่าน
กระบวนการท่ีหลากหลาย
ใช้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี พ่อื ธรุ กจิ
ปญั หาอยทู่ กี่ ารชว่ งชงิ โอกาสทำ� ธรุ กจิ จากขอ้ คน้ พบทางวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี เกดิ การศกึ ษาแบบทเ่ี รยี กวา่ Neuroeducation เอาผลการ
54 เลี้ยงลูกย่งิ ใหญ่
วิจัยด้านวทิ ยาศาสตร์สมอง ไปสรา้ งชดุ ฝกึ สมองขายเป็นสินค้าหารายได้
โดยยังมีหลักฐานไม่ชัดเจนว่าได้ผลจริงหรือไม่ ออกสู่ตลาด ตอบสนอง
ลูกคา้ โดยใช้ค�ำ Science - Based เปน็ ตราโฆษณาชวนเชือ่
Neuroeducation ยงั อยใู่ นระยะเรมิ่ ตน้ ตอ่ ไปเมอื่ เทคนคิ การทดสอบ
มคี วามแมน่ ยำ� เช่ือถือไดแ้ นน่ อน เรากจ็ ะสามารถตรวจพบความบกพรอ่ ง
ทางสมอง ทเ่ี ปน็ อุปสรรคตอ่ การเรยี นรู้ได้ตั้งแตช่ ่วงอายปุ แี รก และหากมี
วิธีการฝึกสมองแบบ ที่จ�ำเพาะต่อความบกพร่องน้ันอย่างได้ผลน่าเช่ือถือ
กจ็ ะเกดิ การเรยี นรูห้ รอื บทเรยี นแบบจำ� เพาะบุคคล (Individualized) หรือ
แบบส่ังตัด (Custo mized) ข้ึนในท�ำนองเดียวกันกับ Individualized
Medicine ที่ก�ำลังพฒั นาขน้ึ เช่นเดียวกัน
ผมขอเสนอความเปน็ จรงิ มมุ กลบั ทเ่ี ปน็ จรงิ ในสงั คมไทย คอื เดก็ ปกติ
แตร่ ะบบการศกึ ษาทำ� ใหโ้ ง่ และมผี ลกวา้ งขวางมาก ในวงการแพทยม์ โี รค
หมอทำ� (Iatrogenic Illness) ในเร่ืองการเรยี นรู้ ก็มสี ภาพเด็กโง่ เพราะครู
ทำ� หรือระบบการศึกษาทำ� เชน่ เดยี วกนั กลา่ วดว้ ยถอ้ ยค�ำทีไ่ พเราะไดว้ ่า
สภาพของระบบการศกึ ษาไทย ในปจั จบุ นั สรา้ งพลเมืองคณุ ภาพต่�ำใหแ้ ก่
ประเทศ ก่อผลร้ายรุนแรงและกวา้ งขวางกวา่ โรคหมอท�ำมากมาย
ขอย�้ำว่าเร่ืองราวที่เล่าในบันทึกนี้ ยังอยู่ในขั้นการวิจัย ยังไม่
มาสกู่ ารใชง้ านตามปกติ ดงั นนั้ หากพบการอา้ งชดุ ฝกึ สมองใหบ้ รกิ าร
เก็บเงิน หรือขายชุดฝึกสมองเพิ่มความฉลาดให้แก่เด็ก โปรดใช้
วจิ ารณญาณให้ดี
เลยี้ งลูกยง่ิ ใหญ่ 55
๐๕ ถตอ่ อกนารพเรียิษนรู้
56 เลีย้ งลกู ยง่ิ ใหญ่
ความเครียดในระดบั ออ่ นๆ ช่วยเพิม่ ความทา้ ทาย
ความคกึ คัก ช่วยใหท้ ำ� กิจกรรมท่ีซับซ้อนไดด้ ีขน้ึ
แต่ความเครยี ดทีร่ นุ แรง และเรอ้ื รงั เป็นพิษในหลากหลายด้าน
ท้งั ดา้ นรา่ งกาย ด้านอารมณ์ และดา้ นสตปิ ัญญา
แต่ที่ร้ายทสี่ ดุ คอื บัน่ ทอนพัฒนาการของสมอง ลดทอนทักษะ
ด้านการคดิ ของเดก็ ตง้ั แตย่ ังวัยเยาว์
เลย้ี งลูกยิ่งใหญ่ 57
ถอนพษิ ตอ่ การเรยี นรู้ ตคี วามจากบทความชอื่ Treating a Toxin
to Learning (www.nature.com/scientificamericanmind/journal/
v23/n4/full/scientificamericanmind0912-64.html) โดย Clancy
Blair ศาสตราจารยด์ า้ นจติ วทิ ยาประยกุ ต์ มหาวทิ ยาลยั นวิ ยอรก์ พษิ ตอ่
การเรียนรู้ในทีน่ ีค้ ือความเครียด ทฝ่ี ร่ังเรียกวา่ Psychological Stress
หรอื ความเครยี ดดา้ นจิตใจ
ขอ้ สรปุ ๓ ขอ้ ของบทความคือ
๑. ความเครียดมีผลต่อเด็กตั้งแต่วัยทารก และกระทบพัฒนาการ
ทงั้ ด้านการเรยี นรู้ สังคม และอารมณ์
๒. ความเครยี ดที่มากับความยากจน ลดทอนความสามารถในการ
เรียนรู้ จากการทเี่ ดก็ ตดิ ลบในหลายดา้ น
๓. เด็กในครอบครัวที่ฐานะดี ก็อาจเผชิญความเครียด ท่ีมีส่วนลด
ทอนความสามารถในการเรียนรู้ การด�ำเนินการลดความเครียดในเด็ก
จะช่วยเพม่ิ สขุ ภาวะ และเพิ่มผลการเรยี นในนักเรยี นจ�ำนวนมาก
ความเครยี ดในระดบั ออ่ นๆ ชว่ ยเพมิ่ ความทา้ ทาย ความคกึ คกั
ช่วยให้ท�ำกิจกรรมที่ซับซ้อนได้ดีขึ้น แต่ความเครียดที่รุนแรง และ
เรอ้ื รัง เปน็ พษิ ในหลากหลายด้าน ทงั้ ด้านรา่ งกาย ดา้ นอารมณ์ และ
ด้านสติปัญญา แต่ที่ร้ายท่ีสุดคือ มันบ่ันทอนพัฒนาการของสมอง
ลดทอนทกั ษะดา้ นการคดิ ของเดก็ ตง้ั แตว่ ยั เยาวม์ ากๆ และอาจตง้ั แต่
อยูใ่ นครรภ์มารดา
58 เลี้ยงลูกยิง่ ใหญ่
ความเครียดเรื้อรัง เป็นกลไกท่ีท�ำให้เด็กจากครอบครัวยากจนมี
ผลการเรียนต่�ำกว่าผลการเรียนของเพ่ือนๆ จากครอบครัวที่มีฐานะดี
และช่องว่างด้านเศรษฐสังคมน้ี ด�ำรงอยู่ตลอดเส้นทางการเรียน และ
ยากทจ่ี ะเยียวยา
ผู้คนเข้าใจกันว่า ท่ีเด็กจากครอบครัวยากจนมีผลการเรียนไม่ดี
เพราะสภาพแวดล้อมที่บ้าน และสภาพแวดล้อมทางสังคม ซ่ึงเป็นความ
จริงเพียงครึ่งเดียว หรือไม่ถึงครึ่ง ต้นเหตุท่ีส�ำคัญย่ิงกว่า คือการบั่นทอน
ทางสมอง จากการที่ความยากจนก่อความเครียดเร้ือรังด้านจิตใจ
และความเครยี ดนน้ั ไปบ่ันทอนพลังสตปิ ัญญา หากช่วยลดความเครยี ดน้ี
ได้ทั้งที่บ้านและท่ีโรงเรียน จะช่วยเพ่ิมผลลัพธ์ทางการเรียนรู้ของเด็ก
จ�ำนวนมาก
ผลของฮอร์โมนต่อพัฒนาการของสมอง
ฮอรโ์ มนของความเครยี ด คอื คอรต์ ซิ อล และนอรอ์ ะดรนี าลนิ
เขา้ ไปมผี ลตอ่ สมองสว่ นหนา้ ทเ่ี รยี กวา่ Prefrontal Cortex (ทม่ี เี ฉพาะ
ในมนษุ ย)์ ที่ควบคมุ หนา้ ท่ีสำ� คญั ทเ่ี รียกว่า Executive Function (EF)
ทคี่ วบคมุ ความจ�ำ ความคิด (ผา่ นความจำ� ใช้งาน) และการควบคมุ
ตนเอง
หากมคี วามเครยี ดระดับต�ำ่ กลไกทีเ่ ป็นวงจรก�ำกับตนเอง ตอ่
การกระตุ้นสมองส่วนหน้าจะถูกกระตุ้น วงจรน้ีเรียก HPA Axis
(H = Hypothalamus, P = Pituitary, A = Adrenal) เปน็ วงจรของการ
หลั่งฮอร์โมนกระตุ้นและยับยั้งกันเอง แต่หากมีความเครียดสูงเป็น
เวลานาน วงจรน้จี ะถูกปดิ ทำ� ให้พัฒนาการของ EF ออ่ นแอ น่ีคอื
ขอ้ สรปุ จากผลงานวจิ ยั ของผเู้ ขยี นและทมี งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเปน็ เวลานาน
กวา่ ๑๕ ปี พิสูจนไ์ ด้ชัดเจนว่า ความเครยี ดเรือ้ รังเปน็ พิษต่อการเรยี นรู้
เลีย้ งลูกยิง่ ใหญ่ 59
รายละเอียดเรือ่ งแกน HPA อยูใ่ นหนงั สอื เลยี้ งให้รงุ่ ซ่งึ ผมเขียน
ค�ำนิยมให้ และอ่านค�ำนิยมนี้ได้ท่ี www.gotoknow.org/posts/576122
ในคำ� นยิ มกลา่ วถงึ เรอ่ื งแกน HPA โดยสงั เขป
ทดลองในโรงเรียนอนุบาล
ผ้เู ขยี นคอื ศาสตราจารย์ Clancy Blair ได้ท�ำการทดลองในเดก็ ช้นั
อนบุ าล ๗๕๙ คน จาก ๒๙ โรงเรียน ในย่านคนยากจนในสหรัฐอเมรกิ า
โดยฝกึ ครใู หส้ อนแนวใหม่ ท่ีบรู ณาการการฝึก EF เขา้ ไปกบั การเรียนอ่าน
คณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ การฝึกครูนตี้ อ้ งท�ำอยถู่ ึง ๒ ปี เม่อื ครูสอน
แนวใหม่ก็วัดผลที่ตัวเด็ก เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มท่ีได้รับการสอน
แนวใหม่ (เรียกว่ากล่มุ ใช้ Tools of the Mind) กบั กลุ่มควบคมุ (Control)
เพื่อเปรียบเทียบ พบว่ากลุ่มได้รับการสอนแนวใหม่มีความเครียดลดลง
(วัดท่ีเอนไซม์สองชนิดในน�้ำลาย) และมี EF (ความสามารถในการให้
เหตุผล สมาธิ) ดีข้ึน รวมทั้งผลการเรียนด้านการอ่าน ค�ำศัพท์ และ
คณิตศาสตร์ดีขึ้น ทั้งในช่วงอนุบาลและเมื่อขึ้นไปเรียนชั้น ป. ๑ เขาหวัง
ว่าการด�ำเนินการนี้จะให้ผลยืนนานหรือถาวร ช่วยลดความอ่อนแอของ
เด็กจากครอบครัวยากจน ช่วยให้เด็กเหล่าน้ีมีพัฒนาการดีข้ึนอย่าง
รอบด้าน (Holistic) รายงานผลการวิจัยช้ินนี้มีรายละเอียดและยาวมาก
อา่ นไดท้ ่ี http://journals.plos.org/plosone/article?id=10.1371/journal.
pone.0112393
60 เลี้ยงลูกยง่ิ ใหญ่
เล้ียงลกู ให้เข้มแขง็
แม้จะยากจน คนเรากเ็ ล้ยี งลูกใหเ้ ขม้ แขง็ มี EF ทแี่ ขง็ แรงได้ โดย
เล้ียงลูกแบบส่งเสริมให้ช่วยตัวเอง เรียนรู้เอง ท่ีเรียกว่าวิธี Scaffolding
ไมใ่ ชว้ ิธเี ขม้ งวดหรอื สอนให้เชอ่ื ตามทพ่ี ่อแม่บอก ผมนึกถงึ หลักการสากล
คือการให้ความรัก ความเอาใจใส่ แต่การให้ความรักความเอาใจใส่
มี ๒ แบบ คอื แบบก�ำหนดให้ลูกปฏิบตั ติ ามอยา่ งเขม้ งวด กับแบบใหล้ อง
ท�ำเอง พ่อแม่คอยให้ค�ำแนะน�ำอยู่ห่างๆ ท่ีเรียกว่า Positive Parenting
Style คอื หากรกั ลูกแล้วใช้วธิ สี อนแบบเข้มงวด กเ็ ปน็ การรกั ลูกผดิ ทาง
แต่ในพ่อแม่ท่ียากจน ตนเองก็มักเครียดอยู่ตลอด จึงมีแนวโน้ม
จะทอดทิ้งลูก หรือเอาใจใส่ก็เอาใจใส่ผิดๆ ท�ำให้ลูกเครียด และมีผล
ตอ่ เนื่องไปสรา้ งผลลบตอ่ การเรยี นรู้
ขอ้ สรปุ นม้ี าจากผลการวจิ ยั ตดิ ตามเด็ก ๑,๒๙๒ คน จากครอบครัว
ยากจนในชนบท ตอ่ เนือ่ งเปน็ เวลา ๑๐ ปีแลว้
ฝกึ วธิ ี Scaffolding
ความเครียดเรื้อรังไม่ว่าที่บ้านหรือในโรงเรียน ก่อผลลบต่อ
พัฒนาการทางสมองของเด็ก ทีมของผู้เขียนบทความจึงออกแบบชุดฝึก
พ่อแมใ่ หม้ ีทกั ษะในการให้ความรกั แบบส่งเสรมิ การเรียนรู้
ผมคดิ ต่อวา่ ครูก็ตอ้ งได้รบั การฝกึ ทกั ษะนีเ้ ช่นเดยี วกัน ผมฝนั
อยากเหน็ การดำ� เนนิ การใหค้ รชู น้ั เดก็ เลก็ และชน้ั อนบุ าล เขา้ ใจเรอื่ ง
ความเครยี ดทางจติ วิทยาในเด็ก มที ักษะฝึก EF บูรณาการอยู่ในชน้ั
เรยี น และเรยี นรู้วธิ ีสงั เกตเด็กเปน็ รายคน และมีวธิ ใี ห้ Scaffolding
แก่เด็กเปน็ รายคน อยา่ งทีร่ ะบใุ นบทความรายงานวิจยั ที่ลง้ิ ค์ไวใ้ ห้
เลี้ยงลกู ยง่ิ ใหญ่ 61
๐๖ มกุมามรอสงอใหบมต่ ่อ
exam
AB CD
exam exam
AB CD AB CD
exam
AB CD
62 เลี้ยงลูกยงิ่ ใหญ่
การสอบเพอ่ื วดั ผล มีคณุ ตอ่ นักเรียนน้อยกวา่
การสอบเพอื่ ชว่ ยหนุนเสรมิ การเรียนรู้
และชว่ ยพฒั นาทักษะการเรยี นรู้
การสอบทด่ี ีคือใชข้ ้อสอบทถ่ี ามความรสู้ ึกทล่ี กึ
ตามดว้ ยการเฉลยและใหค้ �ำแนะน�ำป้อนกลับท่ีดี
จะทำ� ใหน้ กั เรียนเกิดการเรยี นรูท้ ี่ลกึ (Deep Learning)
และยังช่วยใหเ้ กดิ ทกั ษะในการท�ำความเขา้ ใจ
และพัฒนาวธิ ีการเรยี นร้ขู องตนเอง (Metacognition)
อันจะน�ำไปสู่การเปน็ ผู้กำ� กบั การเรียนรูข้ องตนเองได้
และเกิดการเรยี นรู้อยา่ งลึกซงึ้ เช่อื มโยง (Mastery Learning)
เล้ยี งลกู ย่งิ ใหญ่ 63
มมุ มองใหมต่ อ่ การสอบ ตีความจากบทความชือ่ A New Vision
for Testing (www.nature.com/scientificamerican/journal/v313/
n2/full/scientificamerican0815-54.html) โดย Annie Murphy Paul
นักเขียนประจ�ำหนังสือพิมพ์ New York Times บอกว่าการทดสอบมี
คณุ ค่าต่อการเรียนรู้ หากใชเ้ ปน็ โดยใหข้ อ้ สรปุ ประเดน็ ส�ำคญั ๔ ข้อ ดงั นี้
๑. กระแสต่อตา้ นการสอบในสหรฐั อเมรกิ าในหมูผ่ ปู้ กครองและครู
มาจากกฎหมาย No Child Left Behind ปี ค.ศ. 2002 ทบี่ งั คบั สอบเดก็ ทกุ ป ี
๒. ข้อต�ำหนิคือ การสอบแบบเอาเป็นเอาตายก่อความวิตกกังวล
ท้ังในนักเรียนและในครู เกิดผลเปลี่ยนห้องเรียนเป็นห้องติวเตรียมสอบ
แทนท่ีจะเปน็ ห้องเรียนรทู้ ่มี คี วามหมาย
๓. ผลการวิจัยในศาสตร์ดา้ นการเรียนรู้ และด้านจิตวิทยา บอกวา่
หากมีวิธีทดสอบท่ีถูกต้อง จะมีผลช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ คือช่วยให้
ทบทวนความจ�ำเนอ้ื หาไดด้ ีขึ้น และชว่ ยใหเ้ กิดความเข้าใจทีล่ ึก
๔. วิธีการทดสอบแบบใหม่ของสหรัฐฯ เป็นการทดสอบการเรียนรู้
ระดบั ลกึ (Deep Learning)
หลังอ่านจบตลอดบทความ ผมสรุปว่ามุมมองใหม่คือ ใช้การสอบ
บอ่ ยๆ เปน็ ตวั ชว่ ยใหน้ กั เรยี นดงึ ความรกู้ ลบั มาใช้ (Retrieval) ตามดว้ ยการ
ให้ค�ำแนะน�ำป้อนกลับทันที (Immediate Feedback) ซึ่งหมายถึง
การสอบเป็นกลไกหนุนการเรียนรู้ ให้เกิดความรู้ที่แน่นแฟ้นข้ึน เป็นการ
ช่วยให้นักเรียนท�ำกระบวนการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างความจ�ำใช้งาน
(Working Memory) กับความจำ� ระยะยาว (Longterm Memory)
*ดังบนั ทกึ https://www.gotoknow.org/posts/432221
(อ่านรายละเอยี ดต่อท้ายบท)
64 เลี้ยงลูกยง่ิ ใหญ่
การทดสอบทีด่ ี คือใชข้ ้อสอบที่ถามความรทู้ ่ลี ึก ตามดว้ ยการเฉลย
และให้ค�ำแนะน�ำป้อนกลับท่ีดี จะท�ำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ท่ีลึก
(Deep Learning) และยังช่วยให้เกิดทักษะในการท�ำความเข้าใจและ
พัฒนาวิธีการเรียนรู้ของตนเอง (Metacognition) อันจะน�ำไปสู่การเป็น
ผู้ก�ำกับการเรียนรู้ของตนเองได้ และเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซ้ึงเชื่อมโยง
(Mastery Learning) ดังท่ีผมเขียนไว้ในหนังสือ การเรียนรู้เกิดขึ้น
อยา่ งไร (https://www.gotoknow.org/posts/550596)
สรุปง่ายๆ ว่า การทดสอบที่ดีช่วยพัฒนาทักษะในการเรียนรู้
(Learning Skills) ก่อผลดรี ะยะยาวตลอดชีวติ
ผเู้ ขยี นเปดิ ฉากของการทดสอบทดี่ ี ทห่ี อ้ งเรยี นชนั้ ม. ๒ ของโรงเรยี น
Columbia Middle School ในรัฐอิลลินอยส์ ท่ีครู Patrice Bain ใช้การ
ทดสอบฝงั อยใู่ นการสอนหรอื การเรยี นรู้ โดยฉายขอ้ สอบขนึ้ จอ ใหน้ กั เรยี น
แตล่ ะคนตอบดว้ ยคลกิ เกอ้ ร์ แลว้ เฉลยทนั ที และให้ Feedback ตอ่ คำ� ตอบ
ทผ่ี ดิ โดยทคี่ นตอบผดิ ไม่เสยี หน้า เพราะไม่รวู้ า่ เปน็ ค�ำตอบของใคร
ครู Patrice Bain มีวิธีสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนตั้งใจตอบ
ข้อสอบ โดยตั้งช่ือสภาพท่ีนักเรียนท้ังห้องตอบข้อสอบข้อใดข้อหนึ่งถูก
หมดทุกคนว่า “Spirit Fingers” และคอยย�้ำว่าวันน้ันมี Spirit Fingers
เลีย้ งลูกย่ิงใหญ่ 65
ก่ีคร้ังแล้ว ท�ำให้บรรยากาศตื่นเต้นเร้าใจ และไม่เครียด ท้ังๆ ที่นักเรียน
ถกู สอบอยูต่ ลอดเวลา
วิธีท่ีครู Patrice Bain ใช้เรียกว่า ฝึกทบทวนความรู้ (Retrieving
Practice) ไม่เรียกว่าสอบ เพราะมันแสลงใจคนอเมริกัน อันเป็นผลจาก
กฎหมายบังคับให้เด็กนักเรียนต้องสอบบ่อยๆ สร้างความเครียดและเบ่ือ
หน่ายไปทวั่ ทั้งในหม่นู ักเรียน ครู และผปู้ กครอง
ฝกึ ทบทวนความรู้ : สอบเพื่อเรยี น
ครู Patrice Bain สอนโดยวิธีน้ีมาเป็นเวลาย่ีสิบปี ได้ผลการเรียน
ของนกั เรียนที่ดีเด่นกวา่ วธิ ีการท่ใี ช้กนั โดยทว่ั ไป และครู Patrice Bain ได้
รับการยกยอ่ งมาก แต่วิธีการของครู Patrice Bain กลับไม่แพรห่ ลาย
จนครู Patrice Bain พบกับศาสตราจารย์ Mark McDaniel แห่ง
มหาวทิ ยาลยั วอชงิ ตนั ทเี่ ซน็ ตห์ ลยุ ส์ ทก่ี ำ� ลงั ทำ� วจิ ยั เรอ่ื ง Retrieval Practice
จึงเกิดความรว่ มมอื กัน เพื่อวิจัยทดลองใช้ Retrieval Practice เปน็ เครอื่ ง
มอื ในการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น โดยเชอื่ วา่ เมอื่ เดก็ ทบทวนความจำ� เอามาใช้
งาน ความจำ� จะเปลย่ี นแปลง เกดิ ความรู้ท่ชี ดั เจนยิ่งขน้ึ และดึงออกมาใช้
ง่ายขนึ้ ซงึ่ กค็ ือเกิดการเรยี นรู้นน่ั เอง
การปฏบิ ตั มิ าประสานพลงั กบั การวจิ ยั มกี ารวจิ ยั ในสถานการณจ์ รงิ
ในหลากหลายโรงเรยี น เกดิ การยนื ยนั ผล และอธบิ ายผลดว้ ยทฤษฎวี า่ ดว้ ย
การเรียนรู้ของสมอง เทคนิคสอนโดยมีการฝึกทบทวนความรู้ (Retrieval
Practice) เป็นระยะๆ จงึ โดง่ ดงั และมกี ารพัฒนาคู่มอื ครูช่ือ How to Use
Retrieval Practice to Improve Learning (https://www.retrieval-
practice.org/download/)
66 เลี้ยงลกู ยงิ่ ใหญ่
มีผู้อธิบายว่า สมองคนเราวิเศษมาก มีกลไกช่วยให้เลือกท�ำงาน
เฉพาะเทา่ ท่ีจำ� เปน็ หรอื สำ� คัญ โดยจะเลอื กจ�ำความรทู้ ่มี ีการดึงออกมาใช้
งานบอ่ ยๆ Retrieval Practice จงึ ชว่ ยการเรยี นรู้ โดยเตอื นสมองวา่ ความรู้
ส่วนที่มีการทบทวนดึงออกมาใช้คราวนี้ มีโอกาสที่จะเอาไปใช้งานใน
อนาคต สมองกจ็ ะจดจำ� ความรู้นน้ั ไวโ้ ดยเราไม่รู้ตัว
ผลของการวจิ ยั บอกวา่ การดงึ ความรอู้ อกมาจากความจำ� ระยะยาว
(Longterm Memory) ออกมาสู่ความจ�ำใช้งาน (Working Memory)
จะชว่ ยใหเ้ กิดความแนน่ แฟ้น (Consolidation) หรือความมนั่ คง (Stabili-
zation) ของความจ�ำระยะยาว ดีกวา่ การอ่านทบทวนหนังสือหรอื สมดุ จด
การบรรยายตามปกติ มีหลักฐานจากการวัดการท�ำหน้าท่ีของสมอง
ส่วนท่ีท�ำหน้าท่ีเก่ียวกับความจ�ำ ใน Retrieval Practice สมองท�ำงาน
มากกว่าในการอ่านทบทวน
ในกระบวนการฝึกทบทวนความรู้ (Retrieval Practice) จะมีการ
ดึงความรู้เดิมจากความจ�ำระยะยาว ออกมาใช้งานในสถานการณ์ใหม่
จึงเกิดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเรียกว่า “Transfer” คือเรียนรู้การใช้งาน
ความรใู้ นบรบิ ทใหม ่ เมอื่ มกี ารฝกึ เชน่ นซี้ ำ้� ๆ กจ็ ะเกดิ การเรยี นรทู้ ล่ี กึ (Deep
Learning) และจ�ำได้ทนนาน ดึงออกมาใช้งานได้คล่องแคล่ว เน่ืองจาก
สมองจะจัดความรู้เป็นชดุ ๆ (เรียกวา่ schema) อยา่ งเหมาะสมตอ่ การดงึ
ออกมาใช้งานได้อยา่ งคล่องแคล่วรวดเรว็
มีการวิจัยเปรียบเทียบความแน่นแฟ้นของการเรียนรู้ท่ีได้จาก
การทบทวนความรู้ ๒ แบบ คือแบบใช้ Retrieval Practice กับแบบ
ใหท้ �ำ Concept Map ผลคือ Retrieval Practice ให้ผลดกี ว่า
เล้ยี งลกู ยงิ่ ใหญ่ 67
สอบแลว้ ทบทวนตนเอง
มีเทคนิคง่ายๆ ที่ Marsha Lovett ผอู้ �ำนวยการของ Eberly Center
for Teaching Excellence and Educational Innovation, Carnegie
Mellon University คิดขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากการทดสอบ
แต่ละครั้ง เรียกว่า “กระดาษห่อผลสอบ” (Exam Wrapper) เป็น
กระดาษแผ่นเดียวท่ีส่งให้นักเรียนแต่ละคน พร้อมกับกระดาษค�ำตอบ
ทต่ี รวจและใหค้ ะแนนแล้ว ตัวอย่างค�ำถามงา่ ยๆ มดี งั นี้
นกั เรียนใชเ้ วลาทบทวนบทเรียนต่อไปนี้เทา่ ไร
• อ่านสมดุ จดในช้นั เรียน ... นาที
• ท�ำโจทย์แบบฝึกหดั ซำ้� ... นาที
• ฝึกทำ� โจทยแ์ บบฝกึ หดั โจทยใ์ หม่ ... นาที
• อา่ นหนงั สือเรยี น ... นาที
หลงั จากได้เหน็ ผลคะแนนสอบแลว้ ขอใหป้ ระมาณคะแนนทล่ี ดลง
เนื่องจากขอ้ ผดิ พลาดตอ่ ไปน้ี
• ร้อยละ ... เนอ่ื งจากไมเ่ ขา้ ใจหลักการ (Concept)
• รอ้ ยละ ... เนือ่ งจากสะเพรา่
• ร้อยละ ... เนอื่ งจากไม่สามารถคดิ วธิ ีแก้โจทย์ได้
• รอ้ ยละ ... เนอ่ื งจากสาเหตอุ ื่น (ขอใหร้ ะบุ)
จากประมาณการข้างบน นักเรียนจะเปลี่ยนวิธีเตรียมตัวสอบ
สำ� หรบั ใชใ้ นการสอบคราวหนา้ อยา่ งไรบา้ ง เชน่ จะเปลย่ี นแปลงวตั รปฏบิ ตั ิ
ในการเรียน เพื่อฝึกทักษะบางอย่าง ขอให้ระบุให้ชัดเจน จะให้ครู
ชว่ ยเหลอื อยา่ งไรบ้าง .........................................................................
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
…………….……………………………………
68 เลี้ยงลูกย่งิ ใหญ่
เครอื่ งมอื “กระดาษหอ่ ผลสอบ” เปน็ กศุ โลบายใหน้ กั เรยี นไตรต่ รอง
สะทอ้ นคดิ (Reflect)เกยี่ วกบั วธิ กี ารเรยี นของตน ซง่ึ จะชว่ ยใหน้ กั เรยี นพฒั นา
ความเขา้ ใจวธิ เี รยี นของตน และพฒั นาทกั ษะในการปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลง
วธิ เี รยี น (Metacognition) ของตน เมอื่ ฝกึ อยา่ งตอ่ เนอื่ งสมำ่� เสมอ นกั เรยี น
จะมีความสามารถตรวจสอบกระบวนการเรียนรู้ของตนเองได้ และกลาย
เปน็ คนทีก่ �ำกบั การเรยี นของตนได้ (Self-Regulated Learner)
จากผลการวิจัยเรื่อง “กระดาษห่อผลสอบ” มีหนังสือเรื่อง Using
Reflection and Metacognition to Improve Student Learning
ออกจำ� หน่าย
วิธสี อบท่ผี ดิ ก่อพิษร้าย
• วธิ สี อบทีผ่ ิดเกิดจาก
ใช้ข้อสอบมาตรฐานจากบริษัท ท่ีท�ำธุรกิจด้านการศึกษา และ
ต้องการน�ำข้อสอบมาใช้ในการสอบครั้งต่อๆ ไป จึงปกปิดค�ำเฉลย และ
ผลคะแนนสอบก็ส่งกลับมาที่โรงเรียนช้า กินเวลาหลายสัปดาห์ ท�ำให้
นักเรียนไม่ได้รับ “ค�ำแนะนำ� ป้อนกลับ ในทันทีที่สอบเสร็จ” (Immediate
Feedback) การสอบจึงเปน็ เพยี งการวัดความรู้ (Assessment) ไม่สง่ ผล
พัฒนาการเรยี นรู้ เปน็ การสอบเพือ่ วดั ผล ไม่ใชส่ อบเพอ่ื เรยี นรู้
• ใช้ข้อสอบที่ถามความรู้ระดับต้ืน แทนที่จะถามความรู้ระดับลึก
ดา้ ยคำ� ถามปลายเปดิ
• หลงเน้นการสอบจากส่วนกลาง สอบเพื่อวัดผล แทนท่ีจะให้ครู
จดั การสอบ เพื่อเน้นสอบเพ่อื หนุนเสริมการเรยี นรู้ (Test to Teach)
เลี้ยงลูกยง่ิ ใหญ่ 69
สรุป
การสอบเพื่อวัดผล มีคุณต่อนักเรียนน้อยกว่าการสอบเพ่ือ
ช่วยหนุนเสรมิ การเรียนรู้ และชว่ ยพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ มวี ธิ กี าร
ทดสอบที่ช่วยให้นักเรียนทบทวนและปรับปรุงวิธีการเรียนของตน
เปน็ การสอบเพ่ือพฒั นาทกั ษะในการเรยี นรู้
*จากบันทกึ https://www.gotoknow.org/posts/432221
ในตอนสดุ ทา้ ยของบนั ทกึ ตคี วามหนงั สอื Why don’t students like
school? เขยี นโดยศาสตราจารย์ Daniel T. Willingham ผู้เชี่ยวชาญด้าน
จิตวิทยาการเรียนรู้ แห่งมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย แนะน�ำวิธีท�ำหน้าที่ครู
อย่างได้ผล และมีคุณค่า โดยมองจากมุมของจิตวิทยาการเรียนรู้
(Cognitive Psychology) โดยบางประเดน็ เปน็ การเปลยี่ นมมุ มองจากเดมิ
ที่เช่ือถอื กนั มาผดิ ๆ มหี ลกั ใหญ่ๆ ๙ ประการ ดงั ตอ่ ไปน้ี
บทที่ หลักการ ความรเู้ ก่ยี วกบั นยั ยะต่อชน้ั เรียน
ด้านการเรยี นรู้ นักเรยี น
ท่ีครตู อ้ งการ
๑ มนษุ ยม์ ี สิ่งใดบา้ งที่ คดิ คำ� ตอบ เป็นส่งิ ท่ี
ธรรมชาตใิ ฝร่ ู้ เลยขอบเขตสงิ่ ที่ นกั เรยี นจะต้องเรยี น
แตธ่ รรมชาตขิ อง นักเรียนของฉนั แล้วใช้เวลาอธิบายให้
มนษุ ยม์ ขี อ้ จำ� กดั ร้แู ละทำ� ได้ นักเรยี นเขา้ ใจ คำ� ถาม
ดา้ นการคดิ (เรียนค�ำถามมากกว่า
เรยี นค�ำตอบ)
70 เลี้ยงลูกยิ่งใหญ่
บทที่ หลักการ ความรเู้ กี่ยวกับ นยั ยะตอ่ ช้ันเรียน
ด้านการเรียนรู้ นกั เรียน
ทคี่ รตู อ้ งการ
๒ ความรเู้ ชงิ นักเรียนของฉัน เปน็ ไปไม่ได้ทจี่ ะคดิ เรอื่ ง
ข้อเท็จจริง รอู้ ะไรบา้ ง ใดเรอื่ งหนึง่ ได้อยา่ งดี
มากอ่ นทกั ษะ โดยทไี่ ม่รขู้ ้อเทจ็ จรงิ เกยี่ ว
กบั เรอ่ื งนนั้
๓ ความจ�ำเป็นผล นักเรียนจะ ปรอทวดั แผนการเรยี น
จากการคดิ คดิ อะไรระหวา่ ง แต่ละบทคือ “อะไรคือ
บทเรียนน้ี ตัวชว่ ยให้นักเรยี นคิด?”
๔ เราเขา้ ใจ เพอ่ื ใหน้ ักเรียน ต้งั เปา้ ใหน้ กั เรียนเรียนรู้
เร่ืองหน่ึงๆ ตาม เขา้ ใจบทเรยี นนี้ ความรูท้ ีล่ กึ แต่ตระหนกั
บริบทของเรือ่ ง นักเรยี นต้องมี เสมอวา่ นกั เรียนต้อง
ที่เรารู้แล้ว ต้นทนุ ความรู้ เรยี นรคู้ วามรู้ท่ตี ืน่ ก่อน
อะไรบา้ ง
๕ ต้องฝกึ ฝน ฉันจะช่วยให้ คิดให้ชัดวา่ นกั เรียนต้อง
จงึ จะเกิดความ นักเรียนฝึกฝน มีความรู้อะไรบา้ งทจี่ ะ
คล่องแคลว่ โดยไมเ่ บอ่ื หนา่ ย ต้องเรียกใชไ้ ด้ทนั ที
ไดอ้ ยา่ งไร แลว้ ให้ฝกึ ฝนจนคลอ่ ง
เล้ยี งลูกย่งิ ใหญ่ 71
บทท่ี หลักการ ความรู้เก่ยี วกับ นัยยะตอ่ ชนั้ เรียน
ดา้ นการเรียนรู้ นักเรียน
ทีค่ รตู อ้ งการ
๖ การเรียนรู้ นักเรียนของฉัน มุ่งใหน้ กั เรยี นเกดิ ความ
แตกตา่ งกนั ในชว่ ง แตกต่างจาก เขา้ ใจที่ลกึ ไม่ใชม่ ุ่งท่ี
แรกๆกบั ชว่ งหลงั ผเู้ ชยี่ วชาญ การสรา้ งความรใู้ หม่
ของการฝกึ ฝน อยา่ งไร
๗ มองจากมมุ ความรู้ คิดถงึ เนื้อหาในบทเรียน
ของการเรียนรู้ เกย่ี วกบั สไตล์ ไมใ่ ชค่ ดิ ถงึ ความแตกตา่ ง
นักเรียนมี การเรยี นรู้ ของเดก็ ในการตดั สนิ ใจ
ความเหมอื นกัน ของเดก็ ไมม่ ี วา่ จะสอนอย่างไร
มากกวา่ ความตา่ ง ความจ�ำเปน็
๘ ความฉลาด นกั เรียนของฉัน จงพูดถงึ ความสำ� เรจ็
สามารถ มีความเช่ือ หรอื ลม้ เหลวจากมุมของ
เปล่ยี นแปลงได้ เรอื่ งความฉลาด ความมานะพยายาม
โดยการทำ� งาน อย่างไร ไม่ใชจ่ ากมมุ ของ
ฝึกฝนอยา่ งหนกั ความสามารถ
72 เลี้ยงลูกยง่ิ ใหญ่
บทที่ หลกั การ ความรู้เก่ียวกบั นยั ยะต่อชั้นเรยี น
ดา้ นการเรียนรู้ นกั เรียน
ท่ีครูต้องการ
๙ การสอนก็ การสอนของฉัน การปรบั ปรงุ ต้องการ
เหมือนกับทักษะ ในแงม่ มุ ไหนทใ่ี ช้ มากกวา่ ประสบการณ์
ท่ซี ับซ้อนทาง ไดด้ ีกับนกั เรียน ต้องมคี วามตงั้ ใจทจี่ ะ
ปญั ญาอื่นๆ ของฉัน และ พฒั นาตนเอง และ
ต้องการฝึกฝน สว่ นไหนตอ้ งการ ต้องการ Feedback
เพอื่ ปรับปรงุ การปรบั ปรงุ
การส่ังสมการเรียนรู้และทักษะของครู ด้วยการเค่ียวกร�ำฝึกฝน
ตนเอง เพ่อื ขยายพ้นื ที่ทั้ง ๓ ในแผนผงั ขา้ งล่างนี้ ย่อมมีคณุ ประโยชนต์ ่อ
ท้งั ชีวิตการเปน็ ครู และตอ่ การเรยี นรูข้ องนักเรียน
สภาพแวดลอ้ ม สนใจ ความจ�ำใช้งาน
จดุ ของความต่นื รู้ และการคดิ
จ�ำ เรียนรู้
ลมื ความจำ� ระยะยาว
ความรเู้ ชงิ สาระ และเชิงกระบวนการ
* จากบนั ทึก htpps://www.gotoknow.org/posts/432221
เลย้ี งลูกยิ่งใหญ่ 73
๐๗ ชสว่แี ยลเดะจ็กำ�เรนียวนนรู้
74 เลีย้ งลกู ยิง่ ใหญ่
เราน่าจะมีวธิ ฝี ึกใหเ้ ดก็ เรียนรู้ค�ำท่เี ก่ียวกบั สีไดง้ า่ ยๆ
ไมว่ ่าภาษาใด โดยใช้ของเลน่ เช่นมรี ถเดก็ เล่น 5 คัน
แตล่ ะคันสีเดยี ว เชน่ สแี ดง เหลอื ง เขียว..
เราเอารถ 5 คันมาใหเ้ ดก็ เล่น
และเรียกว่ารถซ้ำ� ๆ กัน จนเดก็ รู้ว่าลกั ษณะนัน้ เป็นรถ
แลว้ ก็เอารถสแี ดงมาบอกว่ารถสแี ดง
เล้ยี งลกู ยิ่งใหญ่ 75
ชว่ ยเดก็ เรยี นรสู้ แี ละจำ� นวน ตคี วามจากบทความชอื่ Why Johnny
Can’t Name His Colors โดย Melody Dye นกั ศกึ ษาปรญิ ญาเอกดา้ น
Cognitive Science มหาวิทยาลัยอินเดียน่า บอกว่าโครงสร้างภาษา
อังกฤษท�ำให้เด็กเล็กสับสนค�ำนามกับค�ำคุณศัพท์ เพราะภาษาอังกฤษ
เอาค�ำคุณศัพท์น�ำหน้าค�ำนามท่ีมันขยายความ เด็กมักจะจับความจาก
ค�ำแรกเป็นหลัก ผู้ใหญ่ช่วยเด็กได้โดยพูดค�ำนามก่อนแล้วจึงค่อยขยาย
ความด้วยค�ำคุณศัพท์ท่ีบอกสีหรือบอกจ�ำนวน จะช่วยให้เด็กเรียนรู้ค�ำ
เกี่ยวกับสีและจำ� นวนไดง้ ่ายขึ้น
เรอื่ งนอ้ี าจไมค่ อ่ ยเปน็ ปญั หาตอ่ เดก็ ไทย เพราะภาษาไทยเราขน้ึ ตน้
ดว้ ยคำ� นาม สว่ นคำ� คณุ ศพั ทบ์ อกสแี ละบอกจำ� นวนตามมาขา้ งหลงั อยแู่ ลว้
แต่ผเู้ ขยี นบอกวา่ ขอ้ สรุปเชงิ เดาของผมน้ี ยังไม่มกี ารทดลองพิสจู น ์
ผเู้ ขียนสรปุ ประเดน็ ไว้ ๓ ประเดน็ คือ
๑. น่าแปลกท่ีเด็กฝรั่งส่วนใหญ่เรียนรู้เรื่องสีและจ�ำนวนได้ยาก
ทักษะสองอย่างน้ีเป็นพน้ื ฐานของทักษะดา้ นภาษา
๒. ภาษาอังกฤษที่เอาค�ำคุณศัพท์ไว้หน้าค�ำนาม ท�ำให้เด็กสับสน
และเรียนค�ำเกีย่ วกบั สีและจ�ำนวนไดย้ าก
๓. พอ่ แมอ่ าจชว่ ยลดความสบั สนใหแ้ กล่ กู โดยพดู กบั ลกู เลก็ ทกี่ ำ� ลงั
หัดพูด ดว้ ยประโยคกลบั ทาง เชน่ “the car that is red.” แทนท่จี ะพดู ว่า
“the red car.” ซ่ึงไม่เป็นปัญหาส�ำหรับภาษาไทย เพราะเราพูดว่า “รถ
สีแดง” อยู่แลว้
เร่ืองนี้อาจดูเป็นเรื่องเล็ก แต่ผู้เขียนบอกว่าเป็นเร่ืองใหญ่มากใน
อเมริกา ที่เด็กจ�ำนวนมากสับสนในการเรียนรู้ค�ำเก่ียวกับสี เช่นเมื่อเอา
ถ้วย ๔ ใบ เป็นถว้ ยสีเดียวลว้ น คอื สีแดง เขียว นำ�้ เงนิ เหลอื ง วางตรงหนา้
เด็กอายุ ๒ ขวบ บอกให้หยิบถ้วยสีเหลือง จะมีเด็กหยิบผิดจ�ำนวนมาก
เพราะเด็กสับสนค�ำเก่ียวกับสี
76 เลี้ยงลูกย่งิ ใหญ่
ผู้เขียนบอกว่า เพราะเด็กเรียนรู้เร่ืองสีจากค�ำพูดท่ีผู้ใหญ่พูดด้วย
โดยเอาค�ำของสีเช่ือมโยงกับค�ำอ่ืนท่ีมาด้วยกันบ่อยๆ เช่นเด็กได้ยินค�ำว่า
‘red fire truck’ บอ่ ยๆ แต่ไมเ่ คยได้ยินค�ำว่า ‘red ice cream’ เลย ก็จะ
ประกอบเปน็ ความเขา้ ใจเรอ่ื งสีเช่อื มกบั คำ� พูด
เขาท�ำงานวิจัยเพ่ือพิสูจน์สมมติฐาน ว่าโครงสร้างภาษาอังกฤษ
ดังกล่าวข้างต้น ท�ำให้เด็กเริ่มหัดพูดเข้าใจภาษาเกี่ยวกับสีและจ�ำนวนได้
ยาก หากใชค้ ำ� พดู สลบั คำ� เอาคำ� นามมากอ่ น แลว้ คอ่ ยขยายความดว้ ยคำ�
คณุ ศพั ทบ์ อกสีหรอื จ�ำนวน เด็กจะเข้าใจง่ายข้ึนหรอื ไม่ ผลลัพธค์ ือใช่
เราตอ้ งไม่ลมื ว่า เดก็ ในวยั เด็กเล็กมีเร่ืองใหเ้ รียนรมู้ ากมาย
ผมอ่านเร่ืองน้ีแล้วค้างคาใจ ว่าเราน่าจะมีวิธีฝึกให้เด็กเรียนรู้ค�ำ
เกีย่ วกับสไี ด้งา่ ยๆ ไมว่ ่าในภาษาใด โดยใชข้ องเล่น เชน่ มีรถเดก็ เลน่ ๕ คัน
แต่ละคันสีเดยี ว เช่น สีแดง เหลือง เขียว น้�ำเงิน ชมพู เราเอารถทั้ง ๕ คัน
มาใหเ้ ดก็ เลน่ และเรยี กวา่ รถซำ้� ๆ จนเดก็ รวู้ า่ ลกั ษณะอยา่ งนน้ั เปน็ รถ แลว้
กเ็ อารถสแี ดงมาบอกวา่ สแี ดง รถสแี ดง และเอาของอน่ื ทม่ี สี แี ดงมาใหเ้ ดก็
ดูและเรียกชอ่ื เช่นหมวกสแี ดง ปากกาสแี ดง เด็กไมน่ ่าจะสบั สน
ผมเถียงในใจว่า การสอนให้รู้สีโดยไม่ให้ดูสีน่าจะผิด เราน่า
จะใหเ้ ดก็ เรยี นสจี ากการมองดแู ละรบั รสู้ ดี ว้ ยตนเอง โดยจกั ษสุ มั ผสั
ของตนเองเช่ือมโยงกบั เสียงท่ีเป็นค�ำบอกสี เป็นการเรียนโดยสรา้ ง
ความรขู้ น้ึ เองในสมอง ไมใ่ ชโ่ ดยจบั โยงจากถอ้ ยคำ� ของผใู้ หญเ่ ทา่ นน้ั
ไม่ทราบวา่ วธิ คี ิดของผมเข้าปา่ เขา้ ดงไปไกลแค่ไหน
เลย้ี งลกู ยิง่ ใหญ่ 77
๐๘ เลน่ เพ่อื ชวี ิต
78 เลีย้ งลูกย่งิ ใหญ่
การเลน่ (แบบอสิ ระ) ในวัยเดก็
มคี วามสำ� คญั ต่อทักษะในการปรบั ตัวทางสงั คม
ทกั ษะจัดการความเครียด
และการฝึกทกั ษะดา้ นความคิดหรือปญั ญา
เลี้ยงลกู ยิ่งใหญ่ 79
เลน่ เพอ่ื ชวี ติ ตีความจากบทความชื่อ The Serious Need for
Play โดย Melinda Wenner Moyer เตอื นเราวา่ โลกก�ำลังเข้าสู่ยคุ ที่
คนขาดประสบการณ์การเล่นอย่างอิสระในวัยเยาว์ มีผลให้เป็นพลเมือง
ทเี่ ต็มไปด้วยความวติ กกังวล ไร้ความสุข และปรับตัวทางสงั คมได้ยาก
ผูเ้ ขียนใหข้ อ้ สรปุ ไว้ ๓ ข้อ คือ
๑. การเล่นในวัยเด็กมีความส�ำคัญต่อพัฒนาการด้านสังคม
อารมณ์ และปัญญา
๒. การเล่นอสิ ระ (Free Play) ทีใ่ ชจ้ ินตนาการ และไมม่ กี ติกา
ถกู ผิด ใหผ้ ลแตกตา่ งจากกีฬา ซง่ึ มีกฎเกณฑ์กตกิ าชัดเจนแนน่ อน
๓. คนและสัตว์ท่ีไม่ได้เล่นตอนเป็นเด็ก อาจโตข้ึนเป็นผู้ใหญ่
ที่มีความวติ กกงั วล และขาดความสามารถในการปรบั ตัวทางสงั คม
80 เลี้ยงลูกยง่ิ ใหญ่
ผมสรุปเองอย่างง่ายที่สุดว่า การเล่นแบบอิสระ เป็นการฝึกสมอง
อย่างหนึ่ง ท่ีหากบกพร่องไปในวัยเด็ก (และรวมทั้งวัยผู้ใหญ่) คุณภาพ
ความเปน็ มนษุ ยจ์ ะไมค่ รบถ้วนสมบรู ณ์
ผลงานวิจัยบอกว่า ในสังคมสมัยใหม่ เด็กมีเวลาเล่นอิสระ (Free
Play) น้อยลง ระหว่างปี ค.ศ. ๑๙๘๑ - ๑๙๙๗ เวลาเล่นอิสระของเด็ก
(ในสหรัฐอเมริกา) ลดลงหน่ึงในส่ี เวลาดังกล่าวถูกแย่งไปเพื่อเตรียมเด็ก
เข้าโรงเรียนดๆี และให้ฝกึ เลน่ ดนตรแี ละกฬี า แนวโน้มดังกลา่ วอาจน�ำไป
สู่การมีพลโลกที่ขาดความสุข มีความวิตกกังวล มองโลกแง่ร้าย และ
กอ่ อาชญากรรมไดง้ ่าย
ผู้เขียนยกตัวอย่าง Charles Whitman ท่ีปีนข้ึนไปบนหลังคาโดม
มหาวิทยาลัยเท็กซัส ออสติน และยิงกราดคนข้างล่าง ๔๖ คน ในวันท่ี
๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๐๙ เหตุการณด์ ังกล่าวเปน็ แรงจูงใจให้นักจิตวทิ ยา
ชอ่ื Stuart Brown ศกึ ษาคนทมี่ พี ฤตกิ รรมทำ� นองนี้ ๒๖ คน และพบวา่ สว่ น
ใหญม่ ปี ระวตั ขิ าด ๒ สงิ่ คอื (๑) มาจากครอบครวั ท่ที ารณุ เดก็ (๒) ขาด
การเล่นในวัยเด็ก
นั่นคือที่มาของการวิจัยของ Stuart Brown ต่อเน่ืองมาเป็นเวลา
๕๐ ปี เพื่อตอบค�ำถามว่า การเล่นแบบอิสระในวัยเด็ก มีความส�ำคัญ
อยา่ งไรตอ่ ชวี ติ การเปน็ ผใู้ หญ่ ไดค้ ำ� ตอบวา่ การเลน่ แบบอสิ ระ ไรก้ ฎเกณฑ์
กติกา มีความส�ำคัญต่อทักษะในการปรับตัวทางสังคม ทักษะจัดการ
ความเครียด และการฝึกทักษะด้านความคิดหรือปัญญา ข้อสรุปนี้ได้ทั้ง
จากการศึกษาในคน และในสัตว์ ข้อสรุปจากการศึกษาในสัตว์บอกว่า
แรงกระตุ้นให้เล่น (แบบอิสระ) มาจากสมองชั้นใน (Brainstem) ไม่ได้มา
จากสมองส่วน Neocortex เป็นหลักฐานวา่ การเล่นเปน็ กจิ กรรมของสตั ว์
มาแต่ดกึ ดำ� บรรพ์ ก่อนววิ ัฒนาการเปน็ สตั วเ์ ลยี้ งลูกด้วยนมด้วยซ้�ำ
เลี้ยงลกู ยิ่งใหญ่ 81
เดก็ ในสมยั กอ่ น (เชน่ ตวั ผมเอง) จงึ โชคดกี วา่ เดก็ สมยั นที้ ม่ี เี วลาเลน่
เหลือเฟือ และไดเ้ ล่นแบบอิสระ ตอ้ งช่วยเหลือตวั เอง และเล่นกบั เพื่อนๆ
(โดนเพอื่ นทโ่ี ตกวา่ รงั แกบา้ ง จะไดร้ วู้ ธิ หี ลบหลกี หรอื สรา้ งไมตร)ี เทา่ กบั วา่
เด็กในสมัยก่อนมีโอกาสส่ังสมทุนชีวิตมากกว่าเด็กสมัยนี้ เพ่ือการด�ำรง
ชีวิตท่ดี ีในวัยผ้ใู หญ่
เมื่อศึกษาการใช้เวลาของเด็กในโรงเรียน (ในอเมริกา) ระหว่างปี
ค.ศ. ๒๐๐๑ - ๒๐๐๗ ก็พบว่าเด็กมเี วลาเล่นแบบอิสระลดลงร้อยละ ๒๐
นกั จติ วทิ ยาทศ่ี กึ ษาผลของการเลน่ แบบอสิ ระตอ่ บคุ ลกิ ของคน เหน็ พอ้ งกนั
ว่า การทเี่ ด็กมีเวลาเล่นอิสระนอ้ ยลง จะส่งผลรุนแรงตอ่ ความสงบสุขของ
สังคม คือจะท�ำให้สังคมเป็นยุคของคนขี้กังวล ขาดความสุข และขาด
ความสามารถในการปรับตวั
ท่ีจริงร่องรอยของการให้ความส�ำคัญต่อการเล่นอิสระเริ่มมาตั้งแต่
ปี ค.ศ. ๑๙๖๑ มกี ารดำ� เนนิ การจดั ตงั้ International Play Association
(http://ipaworld.org) ในเดนมาร์กและต่อมามีการจัดต้ัง National
Institute for Play (http://www.nifplay.org) ตั้งอยู่ในรัฐแคลิฟอร์เนีย
ริเริ่มโดย Stuart Brown และเวลาน้ีในต่างประเทศจะมีสนามเด็กเล่น
ท่ัวไปหมด ตามห้องรอของผู้โดยสารตามสนามบินก็มีห้องเด็กเล่น
ในบ้านเรายังมสี นามเดก็ เล่นนอ้ ยเกินไป และทมี่ กี ข็ าดการบำ� รุงรกั ษา
เน้นทก่ี ารเลน่ อิสระ
การเล่นในท่ีน้ี เน้นที่การเล่นแบบอิสระ โดยเด็กเล่นกันเอง ไม่มี
กฎเกณฑ์กติกาใดๆ แตกตา่ งจากการเลน่ กีฬา ทีม่ รี ูปแบบตายตวั มีกติกา
ชัดเจน ทจี่ ริงการเลน่ กีฬาก็มปี ระโยชน์ ให้ความสนุกสนาน ได้ออกกำ� ลัง
ไดส้ งั คม และไดเ้ พอ่ื น แตย่ งั ไมไ่ ด้ฝกึ ทักษะท่ไี ดจ้ ากการเลน่ แบบอิสระ
82 เลี้ยงลูกยงิ่ ใหญ่
การเล่นแบบอิสระ ท�ำให้เด็กได้ความสนุกสนานแบบไร้รูปแบบ
เด็กอาจเลน่ ละครทีผ่ กู เรอื่ งกนั เอง แต่ละคนแสดงเป็นตวั ละครท่ีมบี ทบาท
แตกต่างกัน อาจเล่นขายข้าวแกง มีแม่ค้าผู้ปรุงอาหาร และลูกค้ามาซ้ือ
และชมว่าอร่อย โดยที่ ‘อาหาร’ หรือขนมท่ีปรุงนั้นไม่ใช่ของจริง เป็น
ของในจินตนาการของท้ังฝ่ายแม่ค้าและลูกค้า เป็นความสนุกสนานท่ี
ได้ใช้จินตนาการด้วยกัน รู้สึกสนุกแบบหลอกๆ ทั้งสองฝ่าย โดยท่ีหากมี
ผู้ใหญ่เข้าร่วมจินตนาการด้วย ยิ่งสนุก น่ีผมเขียนแบบระลึกชาติชีวิต
ของตนเองสมยั เมอื่ เกือบเจด็ สิบปกี อ่ น
ความรเู้ รอ่ื งบทบาทของการเลน่ แบบอสิ ระตอ่ การเตบิ โต สว่ นสำ� คญั
มาจากการศึกษาในสัตว์ ตามท่ีเขียนไว้ในหนังสือ The Genesis of
Animal Play เขียนโดย Gordon M. Burghardt ตพี ิมพเ์ มือ่ พ.ศ. ๒๕๔๘
ผู้เขียนให้นิยาม การเล่นแบบอิสระไว้ว่า ต้อง (๑) ท�ำซ้�ำๆ (๒) ท�ำเอง
(๓) ท�ำอย่างผอ่ นคลาย
เล้ยี งลูกย่งิ ใหญ่ 83
เลน่ แรงๆ เสย่ี งต่อการบาดเจบ็ หรอื ทำ� ของเสยี บา้ ง
มผี ลการวจิ ัยแบบ Systematic Review ทบทวนผลการวจิ ยั จำ� นวน
มากเกีย่ วกับการเล่นของเด็ก รายงานเม่อื ปี ๒๕๕๘ ว่า การเลน่ กลางแจ้ง
เช่นปีนเครื่องเล่นสูงๆ และเล่นแรงๆ ที่เสี่ยงการบาดเจ็บ ได้รับผลดีต่อ
สุขภาพร่างกาย ต่อความสร้างสรรค์ และความจิตใจท่ียืดหยุ่น คุ้มกับ
ความเสีย่ งต่อการบาดเจ็บ
เรามกั พดู กนั วา่ เด็กฉลาดมักซน หรอื เด็กซนเปน็ เดก็ ฉลาด ซกุ ซน
หมายความวา่ เด็กท�ำโนน่ ท�ำนี่ เล่นโน่นเล่นน่ีไปตามใจตนเอง ซึ่งบางครั้ง
กก็ อ่ ความรำ� คาญ หรือบางคร้งั ก่อความว่นุ วาย หรือความไม่เป็นระเบยี บ
หรือมีของเสียหายบ้าง พ่อแม่หรือผู้ใหญ่ควรทน เพราะน่ันคือบทเรียน
ฝึกฝนความริเรม่ิ สร้างสรรค์ของเดก็
เล่นเพ่อื ลดความเครียดในผู้ใหญ่
บทความอ้างความเห็นของหลายแหล่ง ว่าผู้ใหญ่ก็ต้อง “เล่น”
•เหมือนกัน โดยแนะนำ� การเล่น ๓ แบบ ได้แก่
การเล่นทางร่างกาย (Body Play) ร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหว
รา่ งกาย โดยไม่หวังผลใดๆ และไม่มขี ้อจำ� กดั ด้านเวลา (การเคลอื่ นไหว
เพ่ือลดนำ�้ หนักไม่ไดผ้ ลน)้ี
• การเล่นสร้างส่ิงของ (Object Play) ใช้มือสร้างส่ิงที่ตนชอบ
และรู้สึกสนุก โดยไม่มเี ปา้ หมายใดๆ
• การเลน่ ทางสงั คม (Social Play) รว่ มกบั คนอนื่ ในกจิ กรรมทาง
สังคมท่ีไม่มีเป้าหมาย เช่นคุยกันสนุกๆ ผมนึกถึงวงกาแฟตอนเช้าท่ีร้าน
กาแฟขา้ งบา้ นท่ีชุมพรสมัยผมเป็นเดก็
84 เลี้ยงลกู ยิ่งใหญ่
เขาแนะนำ� วา่ ถา้ ไมร่ วู้ า่ จะทำ� อะไรเพอ่ื เปน็ การเลน่ เพอ่ื หยอ่ นใจตอน
เป็นผู้ใหญ่ ก็ให้นกึ ถึงสิ่งท่ีตนชอบสมัยเปน็ เด็ก
การเล่นคลายเครียดในผู้ใหญ่นี้ เขาบอกว่าช่วยให้ชีวิตไม่รู้สึก
เบื่อหน่าย หรือหมดพลังโดยไม่รู้สาเหตุ ท่ีฝรั่งเรียกว่าหมดไฟ (Burnt
Out) ผมนกึ ถึงงานอดเิ รกวา่ นา่ จะให้คุณในท�ำนองเดียวกัน
สรปุ
ในมุมของชีวิต การเล่น (แบบอิสระ) ไม่ใช่ส่ิงตรงกันข้ามกับ
การท�ำงาน แต่เป็นส่ิงที่เติมเต็มเสริมส่งซ่ึงกันและกันกับการท�ำงาน
คือการเล่นช่วยใหม้ ีการฝกึ พลังของความใคร่รู้ จนิ ตนาการ และการ
สรา้ งสรรค์ สามส่งิ น้หี ากไมห่ ม่นั ฝกึ ฝน ก็จะฝอ่ ไปเหมือนกลา้ มเน้ือ
ท่ีไม่ไดห้ ม่ันออกก�ำลงั
เลี้ยงลูกยง่ิ ใหญ่ 85
๐๙ เคลด็ ลบั
ของการเปน็ พอ่ แมท่ ่ดี ี
86 เลี้ยงลูกย่งิ ใหญ่
หวั ใจสำ� คญั ของการกลอ่ มเกลาเด็ก
ใหเ้ ปน็ คนดคี อื ปฏสิ มั พนั ธท์ ี่ถูกตอ้ งระหวา่ งเดก็ กับคนรอบข้าง
และปฏิสัมพันธท์ ด่ี ีนน้ั ไมเ่ พียงชว่ ยใหเ้ ดก็ เป็นคนดีเทา่ นนั้
ยงั ช่วยใหผ้ ู้ใหญ่พฒั นาเปน็ คนดีด้วย
เลี้ยงลกู ย่งิ ใหญ่ 87
เคล็ดลับของการเป็นพ่อแม่ท่ีดี ตีความจากบทความชื่อ What
Makes A Good Parent? (http://www.scientificamerican.com/
article/what-makes-a-good-parent/) โดย Robert Epstein
นักวิจัยด้านจิตวิทยา สังกัด American Institute for Behavioral
Research and Technology ค�ำตอบคือการแสดงความรักความ
ใกล้ชิดมาเป็นอันดับหนึ่ง ตามด้วยการให้โอกาสลูกเป็นตัวของตัวเอง
ความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างพ่อแม่ และการจัดการความเครียดของตัว
พ่อแม่เอง
ผ้เู ขยี นให้ข้อสรปุ ไว้ ๓ ขอ้ ดังน้ี
๑. ผู้เขียนผลงานวิจัย แล้วสรุปทักษะท่ีส�ำคัญ ๑๐ อย่างส�ำหรับ
การเป็นพ่อแม่ที่ดี และน�ำไปถามพ่อหรือแม่ ๒,๐๐๐ คน ให้เรียงล�ำดับ
ความส�ำคัญ ต่อการเล้ียงลูกให้มีสุขภาพดี มีความสุข และประสบ
ความสำ� เรจ็
๒. การแสดงความรัก (Love and Affection) มาเป็นอันดับหนึ่ง
ตามดว้ ยค�ำตอบทไ่ี มค่ าดฝนั คือการจัดการความเครียดของตนเอง และ
การด�ำรงความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างพ่อแม่ ส�ำคัญกว่าพฤติกรรมท่ีเพ่งไป
ท่ีตวั เด็ก
๓. คนทุกประเภทมีความสามารถในการเล้ียงลูกเท่าๆ กัน และ
ทกุ คนสามารถเรยี นรู้วิธีเลยี้ งลกู ทีด่ ไี ด้ไมย่ าก
ผู้เขียนบทความเอาหลักฐานมาบอกว่า ผู้คนสนใจและกังวลเรื่อง
วิธีเลี้ยงลูกมากกว่าการลดน�้ำหนักของตัวเอง โดยมีหลักฐานจากรายช่ือ
หนังสือใน Amazon.com ในหมวด Parenting มกี วา่ ๑๘๐,๐๐๐ รายการ
แตใ่ นหมวด Dieting มีกวา่ ๗๖,๐๐๐ รายการเท่านน้ั
88 เลี้ยงลูกยิ่งใหญ่
ความน่ากังวลอย่างหน่ึงอยู่ท่ี หนังสือต่างเล่มให้ค�ำแนะน�ำที่
ขัดกัน ผู้เขียนจึงใช้วิธีเขียนบทความนี้แบบอิงหลักฐานจากงานวิจัย
จ�ำนวนมาก เลือกทักษะส�ำคัญท่ีสุด ๑๐ อย่างของพ่อแม่ท่ีผลงานวิจัย
ให้ผลสอดคล้องกัน ว่ามีผลต่อความสุขความส�ำเร็จของลูก น�ำมาให้
พ่อแม่ตอบค�ำถาม (แบบปรนัย ให้คะแนนไม่เห็นด้วยหรือเห็นด้วยกับ
แตล่ ะข้อความ รวม ๑๐๐ ขอ้ ความ โดยคลิกคะแนนจาก ๑ ถึง ๑๐) ใน
Online test ที่ http://MyParentingSkills.com เป็นกระบวนการวิจัยท่ี
ผู้เข้ามาตอบค�ำถามไม่รู้ตัว และเขามีวิธีด�ำเนินการเพ่ือให้ผลงานวิจัยนี้
น่าเช่ือถือ
เล้ียงลกู ยงิ่ ใหญ่ 89
บัญญตั สิ บิ ประการสำ� หรบั พ่อแม่
ตอ่ ไปนเ้ี ปน็ ปจั จยั บทบาทของพอ่ แมท่ ม่ี ผี ลตอ่ สขุ ภาพ ความสขุ และ
ความส�ำเร็จของลูก เรยี งตามลำ� ดับความส�ำคัญ ตามทีพ่ อ่ แม่ ๒,๐๐๐ คน
ตอบแบบสอบถาม
๑. แสดงความรักความผูกพัน ด้วยการกอดรัด บอกรัก และมี
เวลาอย่ดู ้วยกนั ท�ำกิจกรรมรว่ มกัน หรือเล่นด้วยกัน สองต่อสอง
๒. จัดการความเครียด ทั้งของตนเองและของลูก โดยฝึกเทคนิค
ผอ่ นคลาย และฝกึ ตคี วามเหตกุ ารณด์ ว้ ยมมุ มองเชงิ บวก ปจั จยั นเ้ี ปน็ อนั ดบั
ที่ ๑๐ ในบทสงั เคราะหผ์ ลงานวิจยั
๓. ทกั ษะดา้ นความสมั พนั ธ์ โดยธำ� รงความสมั พนั ธท์ ดี่ กี บั คสู่ มรส
หรอื คทู่ ห่ี ยา่ กนั ไปแลว้ เปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ขี องการมคี วามสมั พนั ธท์ ดี่ ตี อ่ ผอู้ น่ื
๔. ความอิสระและเปน็ ตัวของตวั เอง ปฏิบัติตอ่ ลูกอย่างมคี วาม
นับถอื (Respect) ตอ่ ลูก และส่งเสริมให้ลกู ชว่ ยตัวเอง และพง่ึ ตนเองได้
๕. การศึกษาและการเรียนรู้ ส่งเสริมและเป็นตัวอย่างของการ
เรยี นรู้ และให้โอกาสทางการศึกษา
๖. ทักษะชีวิต ใหม้ ีรายได้ม่นั คง และมแี ผนอนาคต
๗. การจัดการพฤติกรรม โดยเน้นใช้การเสริมแรงเชิงบวก ใช้
การลงโทษเท่าท่ีจ�ำเป็นเท่าน้ัน ปัจจัยนี้เคยมีนักวิจัยยักษ์ใหญ่ คือ B.F.
Skinner ใหน้ ้ำ� หนักสงู มาก แตผ่ ลงานวิจัยและพ่อแม่ให้น�้ำหนักไม่มาก
90 เลี้ยงลกู ยงิ่ ใหญ่
๘. สุขภาพ สร้างลีลาชีวิต และนิสัยที่ดีต่อสุขภาพ เช่น ออก
กำ� ลงั กายสม่ำ� เสมอ กินอาหารที่ดตี อ่ สุขภาพ
๙. ศาสนา ส่งเสริมพัฒนาการด้านจิตวิญญาณและศาสนา เข้า
ร่วมในกจิ กรรมทางศาสนาและจิตวิญญาณ
๑๐. ความปลอดภัย ปกป้องจากความช่ัวร้ายอย่างระมัดระวัง
โดยรบั ร้เู ร่อื งกจิ กรรมและเพื่อน
พอ่ แม่ท่ีดีคอื ใคร
ผู้เขียนวิเคราะห์ผลงานวิจัยจ�ำนวนมาก โดยวิธีท่ีเรียกว่า Factor
Analysis และบอกวา่
•• ปจั จยั ท่ีไมม่ นี ้�ำหนักตอ่ การเลยี้ งลกู ท่ดี ีกว่ากนั ไดแ้ ก่
เพศหญงิ ชาย
ผทู้ ย่ี งั อยกู่ บั คสู่ มรสกบั ผทู้ หี่ ยา่ แตค่ ทู่ หี่ ยา่ ลกู มคี วามสขุ นอ้ ยกวา่
••เล็กนอ้ ย
เชอ้ื ชาติ และเผา่ พันธ์ุ
คนเป็นเกย์กับคนรักคนต่างเพศ โดยที่คนเป็นเกย์มีคะแนน
สูงกว่านดิ หน่อย
• ปจั จยั ทม่ี ีน�ำ้ หนักวา่ เล้ยี งลกู ได้ดีกวา่ ไดแ้ ก่
ระดบั การศกึ ษา
เลี้ยงลูกยง่ิ ใหญ่ 91
การเป็นพ่อแม่ทดี่ ีฝกึ ได้
ข่าวดีคือทักษะการเป็นพ่อแม่ท่ีดีเป็นส่ิงท่ีฝึกได้ มีโปรแกรมฝึก
ทีพ่ สิ จู น์ว่าไดผ้ ล เชน่ Parenting Wisely (www.parentingwisely.com)
และโปรแกรมฝึกของ The National Effective Parenting Initiative
(http://EffectiveParentingUSA.org)
ผูเ้ ชีย่ วชาญกผ็ ดิ ได้
ผเู้ ชย่ี วชาญทใ่ี หค้ ำ� แนะนำ� วธิ เี ลย้ี งลกู อาจใหค้ ำ� แนะนำ� ทข่ี ดั แยง้ กนั
เพราะไม่ได้ติดตามผลการวิจัยใหม่ๆ แต่โดยท่ัวไป ผู้เช่ียวชาญให้
ค�ำแนะน�ำถูกต้องเร่ืองสมรรถนะของพ่อแม่ท่ีให้ผลดีต่อลูก แต่มีข้อ
ผิดพลาดใหญ่ ๒ ประการ คือ (๑) จัดอันดับการจัดการความเครียดไว้
ที่อันดับ ๘ ใน ๑๐ สมรรถนะหลัก ในขณะท่ีผู้เขียนจัดไว้อันดับที่ ๒
(๒) มีอคติต่อเรื่องจิตวิญญาณและศาสนา จัดไว้อันดับสุดท้ายใน ๑๐
และบางคนถึงกับไม่ให้ความส�ำคัญ ทั้งๆ ท่ีมีหลักฐานว่าการฝึกด้านจิต
วญิ ญาณหรอื ดา้ นศาสนามผี ลดีตอ่ เดก็
92 เลีย้ งลูกย่งิ ใหญ่
สสู่ ถานการณ์ในบ้าน
พอ่ แมท่ เ่ี ลย้ี งลกู เปน็ จะสง่ ผลดอี ยา่ งเดน่ ชดั ๓ ประการ (๑) ลด
ความขดั แยง้ ระหวา่ งพอ่ แมก่ บั ลกู (๒) เพม่ิ ความสมั พนั ธท์ ด่ี ใี นคสู่ มรส
หรอื ในคูท่ ่ีหย่ากันแลว้ (๓) ได้ลูกท่มี ีความสขุ และมคี วามสามารถ
ผเู้ ขยี นเลา่ ประสบการณข์ องตนเองทม่ี ลี กู จากการแต่งงานสองคร้ัง
พบวา่ ประสบการณม์ คี วามสำ� คญั จงึ เลย้ี งลกู รนุ่ หลงั ไดด้ กี วา่ ประสบการณ์
สอนใหผ้ เู้ ขยี นแสดงบท Facilitator มากกวา่ Controller
ผมขอเพ่ิมเติมว่า พ่อแม่ที่สนใจเร่ืองการเลี้ยงลูกวัยรุ่น ควรได้
อ่านหนังสือ สอนเด็กให้เป็นคนดี ซึ่งดาวน์โหลดหนังสือทั้งเล่มได้ฟรีท่ี
www.scbfoundation.com/stocks/15/file/1412914130hxaig15.pdf
โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงควรอา่ นค�ำนยิ มของ ศ.นพ.ประเวศ วะสี ท่ชี ้ใี หเ้ หน็ วา่
หวั ใจสำ� คญั ของการกลอ่ มเกลาเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี คอื ปฏสิ มั พนั ธ์
ท่ถี ูกตอ้ งระหว่างเดก็ กับคนรอบขา้ ง และปฏิสัมพันธ์ที่ดีนัน้ ไมเ่ พยี ง
ช่วยใหเ้ ด็กเปน็ คนดีเทา่ นน้ั ยังชว่ ยให้ผู้ใหญพ่ ฒั นาเปน็ คนดดี ้วย
เลีย้ งลกู ย่งิ ใหญ่ 93
๑๐ ทวดิธ่มีา้ เีคีลนวีย้ พางมลฤผูกตดิ กิปกรตรมิ
ไม่ตหอ้“ลไง่นมรอ้แ่เงปต.นก.็ .ลไทร่ะคคำ� ไ่ะะมลลมกูกู ”นั ถงึ
94 เล้ยี งลกู ยง่ิ ใหญ่
ปจั จัยสำ� คญั ทชี่ ว่ ยใหก้ ารแก้ไขพฤติกรรมของเด็กไดผ้ ลดคี ือ
แมพ่ ่อเนน้ ปฏสิ ัมพนั ธ์เชิงบวก
กระตือรือรน้ ตอ่ สง่ิ ท่เี ด็กกำ� ลังท�ำ
สนองตอบหรือมีปฏิกิริยาเชงิ บวกในรปู แบบเดยี วกัน
อย่างสมำ�่ เสมอตอ่ สิ่งทเ่ี ดก็ ทำ�
เล้ยี งลกู ยิ่งใหญ่ 95
วิธีเล้ยี งลกู ให้มีพฤติกรรมดี
ให้ท�ำเปน็ ไม่เอาใจใสพ่ ฤติกรรมไมด่ ี ชมพฤตกิ รรมดี
บอกเดก็ วา่ ควรท�ำอะไร ไม่ใช่ห้ามท�ำอะไร
และใช้คำ� พูดแบบค�ำสง่ั ตรงๆ ด้วยเสียงปกติ ไม่ใช่ขอรอ้ ง
หรอื ขอ้ แนะนำ� ให้ทำ� ”
96 เลี้ยงลกู ยิ่งใหญ่
วธิ ีเลย้ี งลกู ที่มคี วามผิดปกตดิ า้ นพฤติกรรม ตีความจากบทความ
ชอ่ื Oh,Behave!โดยPJLoughranบรรณาธกิ ารอำ� นวยการของนติ ยสาร
Spectrum News ซง่ึ เปน็ หน่วยงานในสังกดั ของ Simon Foundation
Autism Research Initiative คำ� ตอบสนั้ ๆ คอื ใหข้ อความชว่ ยเหลอื เพอื่
ฝึกทักษะการดแู ลเดก็ ผิดปกติแบบนี้จากผเู้ ช่ยี วชาญเฉพาะ
ผ้เู ขียนใหข้ อ้ สรปุ ไว้ ๔ ขอ้ ดงั น้ี
๑. วธิ ฝี กึ พอ่ แมท่ ช่ี อ่ื วา่ PCIT (Parent - Child Interaction Therapy)
สามารถช่วยแก้ไขพฤติกรรมต่อต้านในเด็กอายุ ๒ - ๗ ปีได้
๒. เด็กเล็กท่ีมีปัญหาพฤติกรรมชัดเจน มีความเส่ียงท่ีจะโตขึ้นเป็น
ผูใ้ หญท่ ่ีมพี ฤตกิ รรมตอ่ ต้านสงั คม เปน็ ภยั ตอ่ สังคม
๓. PCIT มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ว่าใช้ได้ผล จึงก�ำลังขยาย
บริการไปอยา่ งกว้างขวาง
๔. วิธีฝึกดังกล่าว ช่วยหยุดการทารุณเด็กในพ่อแม่ที่ใช้ระบบ
สวัสดิการของรฐั (ในสหรัฐอเมริกา) ซึ่งหมายถึงพอ่ แมย่ ากจน
เขาขน้ึ ตน้ เรอื่ งดว้ ยการพรรณนาภาพการฝกึ หรอื เยยี วยาปฏสิ มั พนั ธ์
ระหว่างพ่อแม่กับเด็ก ที่เรียกว่า PCIT (Parent - Child Interaction
Therapy) http://pcit.ucdavis.edu/pcit-web-course/ อา่ นแล้วเวยี นหวั
แทนแม่ และนักจติ วทิ ยา เพราะเด็กอยู่ไมน่ ่ิง และไม่ยอมท�ำตามที่ผใู้ หญ่
บอกให้ท�ำ รวมทั้งอาละวาดสุดฤทธิ์ แต่ในตอนจบตอน เขาก็เล่าความ
คล่ีคลายท่ีเด็กยอมร่วมมือ หลังจากอาละวาดแค่ไหนก็ไม่ได้ผล แล้ว
เดก็ กไ็ ด้รับค�ำชมและการแสดงความรักจากแม่
เล้ยี งลกู ยิ่งใหญ่ 97
การฝกึ PCIT น้ี เปน็ การฝกึ ทง้ั แม่ (หรอื พอ่ ) และเดก็ ใหส้ อ่ื สาร
มีปฏิสัมพันธ์เชิงบวกกันได้ เพราะเด็กที่เป็นโรคในกลุ่มพฤติกรรมไม่
อยู่ในระเบียบ (Disruptive Behavior) ได้แก่ พฤติกรรมท�ำตรงกันข้าม
กับท่ีผ้ใู หญ่บอก (ODD - Oppositional Defiant Disorder) ความผดิ ปกติ
ดา้ นพฤตกิ รรม (Conduct Disorder) และเดก็ สมาธสิ น้ั (ADHD - Attention
Deficit Hyperactive Disorder) ต้องการการค่อยๆ เยียวยา โดยการ
ฝึกการส่ือสารปฏิสัมพันธ์ท่ีถูกวิธี โดยฝึกในสถานบริการหรือสถาบันด้าน
การแพทย์หรือจิตวทิ ยา
ในดา้ นแม่ (หรอื พอ่ ) เปน็ การฝกึ ใชค้ ำ� พดู และทา่ ทที แ่ี สดงตอ่ เดก็
รวมทงั้ ฝกึ อารมณใ์ หน้ ง่ิ ดว้ ย สว่ นดา้ นเดก็ เปน็ การฝกึ ใหค้ อ่ ยๆ เขา้ ใจ
ว่าพฤติกรรมไม่เหมาะสมจะได้รับผลท่ีตนเองไม่ชอบ ไม่ต้องการ
และพฤติกรรมหรือการตอบสนองต่อค�ำพูดของแม่ (หรือพ่อ) ที่
เหมาะสมจะได้รบั การตอบสนองเชงิ บวกที่ตนชอบ เปน็ การฝกึ ทต่ี ้อง
อดทนมาก ต้องใชเ้ วลามาก และแม่ (หรือพอ่ ) ต้องนำ� ไปปฏิบตั ติ ่อท่ีบา้ น
เพ่ือให้เด็กค่อยๆ ชนิ กับหลักปฏิสัมพันธท์ ีถ่ ูกต้อง
PCIT ค่อยๆ พัฒนามากว่า ๔๐ ปี เป็นวิธีการฝึกให้แม่ (หรือพ่อ)
ท�ำหนา้ ทีผ่ ูบ้ ำ� บดั ใหแ้ กล่ ูกท่ีมปี ญั หา พฒั นาการบกพรอ่ ง เป็นโรคในกลุ่ม
พฤติกรรมไม่อยู่ในระเบียบ (Disruptive Behavior) โดยการฝึกให้เด็กมี
ทักษะในการมปี ฏิสมั พนั ธ์เชงิ บวกกับผ้อู ื่นเร่ิมจากแม่ (หรือพ่อ) บทความ
ไมไ่ ด้เอ่ยถงึ การเปลย่ี นแปลง ในสมองของเดก็ ทเี่ กิดขึน้ จากการฝึก แตผ่ ม
เดาว่าต่อไปจะมีผลการศึกษาสมองให้เห็นว่า เด็กเหล่านี้สมองส่วนไหน
มพี ฒั นาการช้าหรือผดิ ปกติ และผมเดาตอ่ วา่ จะมผี ลการศึกษาท่บี อกวา่
เม่ือฝึก PCIT (หรือการฝึกอ่ืนที่จะมีการพัฒนาข้ึนในอนาคต) และต่อ
ด้วยการฝึกปฏิสัมพันธ์กับคนแปลกหน้า สมองส่วนท่ีบกพร่องฟื้นข้ึนมา
เหมือนหรอื ใกลเ้ คยี งเดก็ ปกติ
98 เลี้ยงลูกย่ิงใหญ่