The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Self Assessment Report

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kru First Indy, 2021-02-22 23:33:32

SAR 2018

Self Assessment Report

Keywords: SAR 1018:KPPAOS

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 45

จดุ เดน่
ต้นสังกัด (องค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร) ให้การสนับสนุนด้านการศึกษาเป็นอย่างดี และทาง

โรงเรียนมีผู้บริหารสถานศึกษาท่ีเล็งเห็นความสำคัญของการศึกษา ซ่ึงนอกจากจะปฏิบัติหน้าท่ีตามภารกิจของ
สถานศกึ ษาแล้ว ผ้บู ริหารสถานศกึ ษายังเป็นจดุ เชอื่ มของนโยบายกับการปฏบิ ตั ิทใ่ี กล้ชดิ กับผู้เรียนมากท่ีสุด เปน็ ผู้มี
ความรู้ความสามารถ เป็นผู้นำครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนผู้ปกครองและชุมชนให้มาร่วมมือส่งเสริม
และสนับสนนุ การจดั การศกึ ษาให้บรรลุผล ด้วยการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ พร้อมรับกับความทา้ ทายความ
เปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึน ซ่ึงทักษะสำคัญสำหรับคนยุคศตวรรษท่ี ๒๑ และการเป็นไทยแลนด์ ๔.๐ อีกท้ังพยายาม
พัฒนาทักษะทั้งในด้านวิชาการ ดนตรี ศิลปะ และกีฬา ตามศักยภาพของนักเรียน และเนน้ การให้บริการกับชมุ ชน
และหน่วยงานต่างๆ เช่น สนามกีฬา สระว่ายน้ำ โรงยิมเนเซียม ห้องประชุม ห้องเรียน ห้องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
นกั เรยี นโรงเรยี นองค์บรหิ ารสว่ นจงั หวดั กำแพงเพชรมีสขุ ภาพร่างกายแข็งแรง ร่าเรงิ แจ่มใส สมวัย กลา้ แสดงออก
ในกิจกรรมต่างๆ ทั้งของโรงเรยี นและนอกโรงเรยี น มีทักษะการแสวงหาความรู้ที่หลากหลาย ฝึกใหใ้ ช้ทักษะการคิด
มากกว่าใชค้ วามจำ รวมถงึ สามารถทีจ่ ะคิดวเิ คราะห์มีเหตุมผี ล สามารถทจ่ี ะเขา้ ใจเรียนรไู้ ดถ้ กู ทศิ ถูกทางตามบริบท
การพัฒนาสไู่ ทยแลนด์ ๔.๐

จดุ ทค่ี วรพฒั นา
พัฒนาทักษะครูสู่ไทยแลนด์ ๔.๐ ให้เป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนการสอน และพัฒนาทักษะ

นักเรียนให้พร้อมรับการเรียนรู้และปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัย ส่วนนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ เช่น ดนตรี กีฬา
งานศิลปะฯ ท่ีต้องออกนอกสถานศึกษาเพื่อไปแข่งขันนั้น ควรได้รับการส่งเสริมด้านวิชาการให้มากข้ึนโดยการใช้
สอื่ การสอนออนไลนท์ ่จี ะทำใหน้ กั เรียนได้เรยี นรู้ไดท้ ุกท่ี ทกุ เวลา

ขอ้ เสนอแนะ
- ครูควรสร้างส่ือการสอนออนไลน์ทุกกลุ่มสาระวิชา มีเอกสารประกอบการเรียนออนไลน์เพิ่มเติมให้

นักเรียนท่เี ขา้ รว่ มแข่งขนั กีฬาดนตรี และทักษะด้านอื่นๆ ท่ีนักเรียนสามารถศึกษาได้ดว้ ยตนเอง ทุกท่ีทุกเวลา และ
ครูสามารถตรวจสอบการเข้าถึงส่ือของนักเรียนได้ทุกคน

- จดั สอนเสริมใหแ้ กน่ ักเรียนเพ่ือเพิม่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นใหส้ ูงขนึ้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 46

13. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม

ระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน นำ้ หนกั คะแนน ระดบั
(ประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษา) คะแนน ที่ได้ คุณภาพ

กลมุ่ ตัวบ่งชีพ้ ืน้ ฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ ๑ ผเู้ รยี นมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี ี ๑๐.๐๐ ๙.๗๗ ดีมาก

ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มท่พี ึงประสงค์ ๑๐.๐๐ ๙.๔๙ ดมี าก

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๓ ผเู้ รยี นมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนอื่ ง ๑๐.๐๐ ๘.๓๘ ดี

ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๔ ผเู้ รียนคิดเปน็ ทำเป็น ๑๐.๐๐ ๘.๕๖ ดี

ตัวบ่งชี้ท่ี ๕ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รยี น ๒๐.๐๐ ๖.๗๕ ต้องปรบั ปรงุ

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียน ๑๐.๐๐ ๘.๐๐ ดี
เปน็ สำคัญ

ตัวบ่งชท้ี ่ี ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจดั การและการพัฒนา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก
สถานศกึ ษา

ตวั บง่ ชที้ ่ี ๘ พฒั นาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา ๕.๐๐ ๔.๖๗ ดีมาก
และตน้ สงั กัด

กลมุ่ ตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์

ตวั บ่งชท้ี ี่ ๙ ผลการพฒั นาให้บรรลตุ ามปรัชญา ปณิธาน วิสยั ทศั น์ ๕.๐๐ ๔.๐๐ ดี
พนั ธกจิ และวัตถปุ ระสงค์ของการจัดต้ังสถานศึกษา

ตวั บ่งชที้ ี่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจดุ เนน้ และจุดเด่นทส่ี ่งผลสะท้อนเปน็ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก
เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา

กลุ่มตัวบง่ ช้มี าตรการส่งเสริม

ตัวบง่ ชี้ท่ี ๑๑ ผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษเพ่ือสง่ เสริมบทบาท ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก
ของสถานศึกษา

ตัวบ่งชที้ ี่ ๑๒ ผลการสง่ เสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน ดี
รักษามาตรฐาน และพฒั นาสู่ความเป็นเลิศทสี่ อดคล้องกับ ๕.๐๐ ๔.๐๐
แนวทางการปฏิรปู การศึกษา

คะแนนรวม ๑๐๐.๐๐ ๗๘.๖๒ ดี

ผลรวมคะแนนประเมนิ สถานศกึ ษา ๗๘.๖๒ คะแนน มีคุณภาพระดับ ดี
ผลการรบั รองมาตรฐานคณุ ภาพ  รบั รอง ❑ ไมร่ ับรอง

กรณที ่ีไม่ไดร้ ับการรับรอง เน่ืองจาก .........................................................................................................................

ขอ้ เสนอแนะ
1. ผูเ้ รยี นควรได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ โดยจัดให้มีการใช้ส่ือและ
วิธีการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิด ฝึกปฏิบัติ ฝึกแก้ปัญหา และเรียนรู้ด้วยตนเองให้มากยิ่งขึ้น เช่น แบบฝึกทักษะ
การคิด การจัดทำโครงงานการสรปุ ความรู้ ศกึ ษาคน้ คว้าจากแหลง่ เรยี นร้แู ละสอ่ื เทคโนโลยี เปน็ ต้น
2. สถานศึกษาควรสนับสนุนส่งเสริมให้ครูทุกคนมีการวิเคราะห์ผลการประเมิน และนำมาใช้ในการสอน
ซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียนรวมท้ังปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ และศึกษาค้นคว้า วิจัย เพ่ือพัฒนาสื่อและกำหนด
มาตรการ วางแผน ดำเนนิ งาน ประเมินผลการปฏบิ ตั ิ และนำผลการประเมนิ มาปรบั ปรงุ แกไ้ ขอย่างต่อเน่ือง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 47

14. การนำผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษามาใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพ การศกึ ษา

อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 โรงเรียนได้รับข้อแนะนำให้ปรับปรุงในมาตรฐานท่ี 5

ซ่ึงเกี่ยวกับ ผลการทดสอบระดับชาติ ไม่ผ่าน โรงเรียนจึงได้ร่วมประชุมเพ่ือวางแผนการปรับปรุงเพื่อให้ผล
การทดสอบระดับชาติผ่านตามมาตรฐาน โดยไดก้ ำหนด กจิ กรรมสอนเสริม ใหแ้ กร่ ะดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3
และ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 และเพ่ิมกิจกรรมสอนเสริมจากวิทยากรจากภายนอกเพอื่ ให้นกั เรียนไดม้ ีความรเู้ พม่ิ ข้ึน
จนสามารถทำใหโ้ รงเรยี นมมี าตรฐานการทดสอบระดับชาติได้ตามมาตรฐานท่ีกำหนด และในปกี ารศึกษาต่อๆ
มา โรงเรียนได้เพ่ิมกิจกรรมการวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ตทุกรายวิชา เพ่ือให้ครูผู้สอนได้ปรับปรุงการสอนตาม
ตวั ช้ีวัดท่ีนักเรียนยงั ทำข้อสอบได้น้อย และยังเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนได้นำไปปรับปรงุ วิธกี ารสอนให้ดีข้ึนอีก
ด้วย และการสอนเสริมได้ขยายไปยังทุกระดับ เพื่อเป็นการให้นักเรียนได้ฝึกการทำข้อสอบท่ีหลากหลาย
และเป็นการเพิ่มผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนในทกุ รายวชิ า อีกด้วย

๑๕. การพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปขี องสถานศกึ ษา

๑๕.๑ การบรหิ ารจัดการศกึ ษา
โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร ได้จัดแบ่งโครงสร้างการบริหารออกเป็น ๔ ฝ่าย

โดยแบ่งเป็น ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ฝ่ายบริหารงานแผนและงบประมาณ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ และ
ฝ่ายบริหารงานบุคคล ซึ่งผู้บริหารยึดหลักการบริหารงานแบบ PDCA โดยการนำกระบวนการ PDCA cycle
มาใช้ขับเคล่ือนในกระบวนการปฏิบัติงาน โดยผ่านการวางแผน (Plan) การปฏิบัติ (Do) การตรวจสอบ (Check)
และการปรับปรุงแก้ไข (Act) เพ่ือให้ได้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน ช่วยให้ครูและบุคลากร
ในสถานศึกษามีความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญในการปฏิบัติงาน ซึ่งหลักในการดำเนินงานจะเร่ิมโดย
ผรู้ ับผิดชอบโครงการเสนอผ่านไปยังหัวหน้าฝ่ายและใหผ้ ู้บริหารอนุมัติการดำเนินโครงการ ในการนี้สถานศกึ ษายัง
นำหลัก SBMLD เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถ่ิน
สนับสนุนให้นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนมีความรู้ ความสามารถและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยจัดกจิ กรรม
ท่ีนอกเหนือจากการเรียนรู้ตามแผนการจัดประสบการณ์ อีกทั้งยังน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
เป็นแนวทางในการบรหิ ารสถานศกึ ษาจนได้รับรางวัล “โรงเรยี นพอเพยี งท้องถ่นิ นำร่อง”

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 48

โครงสรา้ งการบรหิ ารงานโรงเรยี นองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั กำแพงเพชร




้ ื้ ฐ ื

ฝ่ ฝ่ ฝ่ ฝ่
แแ ช
งานธรุ การท่ัวไป งานวางแผนอตั รากำลัง
งานจัดทำและ งานพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา การสรรหาและบรรจแุ ตง่ ตัง้
งานปกครอง เสนอของบประมาณ
งานยานพาหนะ งานวัดผลประเมินผล งานจดั ทำทะเบยี นประวัติครู
งานครภุ ัณฑ์ งานตรวจสอบ ตดิ ตาม และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ประเมนิ ผลและรายงานการใช้ งานทะเบียน
งานเทคโนโลยสี ารนเทศ งบประมาณ งานนเิ ทศการสอน งานขอเครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์
งานดแู ลอาคารสถานท่แี ละ งานแนะแนวการศกึ ษา
สภาพแวดลอ้ ม งานระดมทรัพยากรและการ งานประกนั คุณภาพการศึกษา งานพฒั นาข้าราชการครแู ละ
ลงทนุ เพอื่ การศึกษา บุคลากรทางการศึกษา
งานเลขานุการ คณะกรรมการ งานพฒั นาส่ือนวตั กรรมและ
การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน งานบรหิ ารการเงนิ เทคโนโลยีทางการศึกษา งานประเมินข้าราชครูและ
งานพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ บุคลากรทางการศึกษา
งานการจดั ระบบบรหิ ารงาน งานบริหารพัสดแุ ละทรัพยส์ นิ
พัฒนาองคก์ รและพัฒนา งานประสานความร่วมมอื การ งานเสรมิ สร้างประสิทธิภาพใน
เครอื ขา่ ยการศึกษา งานบรหิ ารบัญชี พฒั นาวิชาการสถานศกึ ษาอน่ื การปฏิบัตงิ านวนิ ยั และการ
งานบริการสาธารณะ งานห้องสมุด รักษาวนิ ยั ข้าราชการ

งานรับสมคั รนกั เรียน

๑๕.๒ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์
ของสถานศกึ ษา

วสิ ยั ทศั น์
“สถานศกึ ษาทมี่ มี าตรฐาน สง่ เสรมิ ผเู้ รยี นใหม้ คี วามเปน็ เลศิ ตามอจั ฉรยิ ภาพและมคี ุณภาพชวี ติ ทดี่ ี”

พนั ธกจิ
๑. จัดการศกึ ษาใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
๒. สรา้ งเสริมประสบการณ์ความเปน็ เลศิ ตามอจั ฉรยิ ภาพ
๓. พฒั นาผ้เู รียนให้มีคณุ ภาพชีวติ ที่ดี
๔. พฒั นาและส่งเสริมสมรรถนะของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
๕. สรา้ งและพัฒนาเครือขา่ ยความรว่ มมือกับหน่วยงานภายนอก
๖. บรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 49

ยทุ ธศาสตร์และกลยุทธ์

ยุทธศาสตร์ แนวทางการพฒั นา หนว่ ยงาน
ทรี่ บั ผดิ ชอบ
๑. พฒั นาการจดั การศึกษา ๑.๑ แนวทางสนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอนใหม้ คี ณุ ภาพมาตรฐาน
ใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐาน ๑.๒ แนวทางพัฒนาระบบการนิเทศ กำกับตดิ ตาม วัดผลและ ฝา่ ยบรหิ ารงานวชิ าการ
การศึกษา
๒. สนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ ประเมนิ ผล ฝ่ายบรหิ ารงานวชิ าการ
ประสบการณค์ วามเป็นเลศิ ๒.๑ แนวทางเสรมิ สรา้ งประสบการณค์ วามเป็นเลิศตามอัจฉรยิ ภาพ
ตามอัจฉรยิ ภาพดา้ นวิชาการ ฝ่ายบรหิ ารงานทว่ั ไป
ศลิ ปะ ดนตรี และกฬี า ดา้ นวิชาการ ศิลปะ ดนตรี และกฬี า (ภายใน) ฝา่ ยบรหิ ารงานวิชาการ
ฝ่ายบรหิ ารงานบคุ คล
๓. ยกระดับผเู้ รยี นใหม้ ี ๒.๒ แนวทางสนบั สนนุ การเข้าร่วมกิจกรรมท่ีสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศ
รา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม ตามอจั ฉริยภาพ (ภายนอก) ฝา่ ยบรหิ ารทว่ั ไป
และสตปิ ญั ญาทด่ี ี
๓.๑ แนวทางสนับสนุนการบริหารจัดการตามแนวทาง ฝา่ ยบรหิ ารงานทั่วไป
๔. พฒั นาและส่งเสรมิ โรงเรยี นสง่ เสริมสขุ ภาพ
สมรรถนะของครแู ละบุคลากร ฝา่ ยบรหิ ารงานทั่วไป
ทางการศกึ ษาใหเ้ ต็มศักยภาพ ๓.๒ แนวทางพฒั นาระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนทุกมติ ิ ฝา่ ยบรหิ ารงานวิชาการ
๕. พัฒนาเครือขา่ ยความ ฝ่ายบรหิ ารงานบุคคล
ร่วมมือกับหนว่ ยงานภายนอก ๔.๑ แนวทางพัฒนาสมรรถนะของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ฝา่ ยบรหิ ารงานแผนและ
อยา่ งเขม้ แข็ง ๔.๒ แนวทางเสริมสรา้ งขวัญและกำลังใจของครแู ละ งบประมาณ
๖. พฒั นาการบรหิ ารจดั การ
ตามหลกั ธรรมาภิบาลอยา่ งมี บุคลากรทางการศึกษา
ประสิทธภิ าพ ๕.๑ แนวทางสรา้ งเครือขา่ ยความรว่ มมอื ด้านวิชาการ ศลิ ปะ ดนตรี

๗. พัฒนาการจดั การศึกษา และกฬี า
ตามนโยบายกรมสง่ เสรมิ การ
ปกครองทอ้ งถ่ิน ๖.๑ แนวทางเพมิ่ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
และตน้ สงั กดั ๖.๒ แนวทางพฒั นาการประชาสมั พนั ธแ์ ละการสรา้ งภาพลกั ษณอ์ งคก์ ร

๖.๓ แนวทางพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่งิ สนบั สนุน
ทางเทคโนโลยที ่ที นั สมัย

๗.๑ แนวทางพฒั นาตามนโยบายโครงการสนบั สนุนคา่ ใช้จ่าย
การบรหิ ารสถานศึกษา กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถนิ่
และตน้ สงั กดั

จดุ มงุ่ หมายเพอ่ื การพัฒนา
๑. ผู้เรยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษา
๒. ผู้เรยี นมีความเป็นเลิศตามอัจฉริยภาพดา้ นวิชาการ ศลิ ปะ ดนตรี และกีฬา
๓. ผู้เรยี นมรี ่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาทดี่ ี
๔. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามสี มรรถนะในการปฏบิ ัติงานเต็มศักยภาพ
๕. สถานศกึ ษามีเครอื ขา่ ยความรว่ มมือกบั หน่วยงานภายนอกอยา่ งเข้มแข็ง

๖. สถานศึกษามีการบรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาลอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

อตั ลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา “กฬี าเดน่ เน้นอจั ฉริยภาพ”

เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา “โรงเรียนส่งเสริมความเปน็ เลิศตามอจั ฉรยิ ภาพผูเ้ รียน”

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 50

ตอนที่ ๒

ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

๑. ผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานเพอ่ื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผเู้ รยี น

ระดบั คณุ ภาพ ดี
1. กระบวนการพฒั นา โรงเรียนองค์การบริหารสว่ นจังหวัดกำแพงเพชร มกี ระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วย
วิธีการท่ีหลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ท่ี
สถานศึกษากำหนดในแต่ละระดับชั้น โดยได้ดำเนินโครงการพัฒนาทักษะภาษาเพื่อการส่ือสาร โครงการแข่งขัน
ทักษะทางด้านวิชาการ โครงการวันภาษาไทยและวันสุนทรภู่ โครงการจัดการเรียนการสอนโดย STEAM โครงการ
ส่งเสริมรักการอ่าน โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนด้านภาษาอังกฤษ SBMLD โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
ด้านภาษาจีน SBMLD กิจกรรม Math Camp กิจกรรม English Camp ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดจำแนก
แยกแยะ ใครครวญไตรตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบ โดยใช้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจ มีการอภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกปัญหาอย่างมีเหตุผล จากการจัดกระบวนการเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษา
การดำเนินโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โครงการกีฬาสีภายใน กิจกรรมสภานักเรียน ผู้เรียน
มีความสามารถในการรวบรวมความรูไดท้ังตัวเองและการทำงานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณ
มาใช้ในการสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ จากการดำเนินโครงการแข่งขันหุ่นยนต์และออกแบบนวัตกรรมพลังงานสะอาด
Gigo ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม โดย
ได้ดำเนินโครงการพฒั นาศักยภาพผู้เรียนดา้ นคอมพวิ เตอร์ SBMLD การแข่งขันการสร้างเว็ปไซต์ โครงการส่งเสริม
กระบวนการจัดการเรียนการสอนการบริหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผูเรียนบรรลุและมีความ
ก้าวหน้าในการเรียนรู ตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยได้ดำเนินโครงการสอนเสริมเพิ่มผลสัมฤทธ์ิทักษะวิชาการ
กจิ กรรมเตรียมความพร้อมโดยการวเิ คราะห์ผลการสอบ O-NET โครงการพัฒนาระบบประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ัตงิ าน
ด้านวัดผลและประเมินผล กิจกรรมติวเข้มวิชาการระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เพ่ือเตรียมความพร้อมสู่การสอบ
GAT/PAT ผู้เรียนมคี วามรู ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติ ท่ีดีพรอมทจี่ ะศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ โดย
ไดด้ ำเนินกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ โครงการแข่งขนั คนเกง่ อปท. โครงการศิลปหัตถกรรม โครงการมหกรรม
การจดั การศึกษาทอ้ งถ่ิน โครงการสง่ เสรมิ การศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมงี านทำ และโครงการกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
นอกจากนี้สถานศึกษาได้มีการดำเนินการพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพ่ือให้อยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสุข ให้มีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา มีค่านิยมและจิตสำนึกตามท่ีสถานศึกษา
กำหนด โดยไมขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม โดยได้ดำเนินโครงการวันสำคัญทางศาสนา โครงการ
ส่งเสริมคุณธรรมท้องถ่ิน โครงการวันสำคัญของชาติ โครงการพัฒนาผู้เรียนด้านประชาธิปไตย โครงการส่งเสริม
การจัดกระบวนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการวิถีพุทธ ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถ่ิน
เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีไทย รวมท้ังภูมิปัญญาไทย โดยได้
ดำเนินโครงการวันสำคัญทางศาสนา ประเพณีและวัฒนธรรม อาทิ โครงการวันสำคัญของชาติ โครงการ
วันภาษาไทยและวันสุนทรภู่ กิจกรรมแห่เทียนพรรษา/นบพระเล่นเพลง/สารทไทยกล้วยไข่เมืองกำแพงเพชร/
ลอยกระทงร่วมกับชุมชนเกาะทวี และมีการแต่งกายอนุรักษ์ผ้าไทยเอกลักษณ์ไทยทุกวันศุกร์ ผู้เรียนยอมรับและ
อยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้าน เพศ วัย เช้ือชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี โดยได้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 51

ดำเนินโครงการวันสำคัญสากล (คริสต์มาส/ตรุษจีน) โครงการวันสำคัญทางศาสนา กิจกรรม English Camp
โครงการแข่งขันกีฬาสีภายใน กิจกรรมวันไหว้ครู โครงการศึกษาเรียนรู้นอกสถานที่ โครงการปฐมนิเทศนักเรียน
โครงการปัจฉิมนิเทศ โครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงการค่ายคุณธรรมจริยธรรม ผู้เรียนมีการรักษา
สุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกับ
คนอ่ืนอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อ่ืน ไมมีความขัดแย้งกับผู้อ่ืน โดยได้ดำเนินโครงการส่งเสริมศักยภาพด้าน
ความเป็นเลิศของผู้เรียนด้านดนตรี โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โครงการวันอาเซียน โครงการพัฒนา
ศกั ยภาพผู้เรยี นด้านฟุตบอล โครงการพัฒนาผเู้ รียนดา้ นกีต้าร์

2. ผลการดำเนนิ งาน จากการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมท่หี ลากหลาย สง่ ผลใหผ้ ู้เรียนมีผลดังนี้
1. ด้านผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการ

1.1 ผเู้ รียนสามารถอา่ น เขยี น สอ่ื สาร และคดิ คำนวณไดต้ ามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด
ในแตล่ ะระดับชัน้

1.2 ผ้เู รยี นสามารถคดิ จำแนกแยกแยะ ใครครวญไตรตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบ โดยใช้เหตผุ ล
ประกอบการ ตดั สนิ ใจ มีการอภิปรายแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และแกปญั หาอยา่ งมีเหตุผล
จากกระบวนการเรยี นการสอนแบบสะเต็มศกึ ษา

1.3 ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการรวบรวมความรูไดด้วยตวั เอง และการทำงานเปน็ ทีม
เช่ือมโยงองค์ความรูแ้ ละประสบการณ มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ

1.4 ผูเ้ รยี นมีความรู ทกั ษะพน้ื ฐานในการจดั การ เจตคติ ท่ีดีพรอมทจี่ ะศกึ ษาตอ่ และ
การประกอบอาชีพ

2. ในด้านของคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผเู้ รยี น
2.1 ผู้เรียนมคี ุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา มคี า่ นยิ มและจิตสำนึกตามที่สถานศกึ ษากำหนด
โดยไมขดั กบั กฎหมายและวัฒนธรรมอนั ดขี องสังคม
2.2 ผเู้ รยี นมคี วามภมู ใิ จในทอ้ งถิ่น เหน็ คุณค่าของความเป็นไทย มสี ว่ นรว่ มในการอนุรักษว์ ัฒนธรรม
และประเพณีไทย
2.3 ผู้เรียนสามารถยอมรบั และอยรู่ ่วมกนั กนั บนความแตกตา่ ง ระหวา่ งบคุ คลในด้านเพศ วัย
เชือ้ ชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี
2.4 ผู้เรียนรักษาสุขภาพกาย สขุ ภาพจติ อารมณแ์ ละสงั คม และแสดงออกอยา่ งเหมาะสม
ในแต่ละชว่ งวัย
2.5 ผู้เรียนสามารถอยรู่ ่วมกบั คนอ่ืนอย่างมีความสุข เขา้ ใจผอู้ ื่น ไมมคี วามขดั แยง้ กับผู้อน่ื

3. ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ทส่ี นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
- รายงานผลการจัดกิจกรรม Math Camp
- รายงานผลการจดั กิจกรรม English Camp
- ผลการทดสอบการอา่ น การเขยี น การส่ือสาร การคดิ คำนวณ
- แบบสอบถามความพงึ พอใจ
- แบบรายงานการศึกษาต่อของนักเรียนระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปที ี่ 6
- บนั ทกึ การประชุมสภานักเรยี น
- สรุปผลการแขง่ ขันรายงานต่างๆ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 52

4. จดุ เด่น
ผู้เรียนของโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร มีความสามารถในการสร้างความรู้และ
นวัตกรรมได้ด้วยตนเอง โดยสามารถออกแบบนวัตกรรมพลังงานสะอาด (Gigo) จากการเข้าร่วมการแข่งขัน
ออกแบบนวัตกรรม เทคโนโลยีพื้นฐานวิศวกรรมและพลังงานสะอาด Thailand Green Mach Contest 2018
ณ เวสต์เกต ฮอลล์ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต จนได้รับรางวัล Innovation in the Application of
Science เป็นตัวแทนของประเทศไทยในการเข้าร่วมแข่งขัน World Bond Robot Contest ๒๐๑๗ Jiaxing
Nanhu Alliance Billingoal School ณ สหรัฐประชาชนจีน ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ และผู้เรียน
สามารถรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์และสังคม แสดงออกอย่างเหมาะสมกับช่วงวัย จนได้รับรางวัลใน
ดา้ นดนตรีและกีฬา ทง้ั ในระดับจงั หวดั ระดบั ภาค และระดับประเทศ
5. จดุ ท่ีควรพฒั นา

1. ผูเ้ รียนมผี ลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET ต่ำกวา่ ระดับประเทศ
2. ผ้เู รยี นไม่ใหค้ วามสนใจในด้านทกั ษะอาชีพ
3. ผู้เรียนส่วนใหญ่มที ักษะกระบวนการคดิ ตำ่ กว่าเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากำหนด
6. นวตั กรรม
การออกแบบนวตั กรรมพลังงานสะอาด (Gigo)
7. ขอ้ เสนอแนะ
1. ผเู้ รียนควรได้รับการยกระดบั คุณภาพของผลสัมฤทธ์ิ O-NET
2. ผู้เรียนควรได้รับการสง่ เสริมให้มคี วามรู้ ความสามารถเกยี่ วกบั อาชีพทหี่ ลากหลาย
3. ผู้เรียนควรไดร้ ับการส่งเสรมิ และพฒั นาทักษะกระบวนการคิด

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา
ระดบั คุณภาพ : ดี
1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชรได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษา

ในปีที่ผ่านมา เพื่อดำเนินการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ไวอย่างชัดเจน สอดคลองกับบริบทของ
สถานศึกษา ความต้องการของ ชุมชน ทองถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและ
ของต้นสังกัด รวมทั้งทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม โดยได้ดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำ
แผนพัฒนาศึกษาสี่ปี แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา การประชุม
คณะกรรมการสถานศึกษา การประชุมคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพฒั นาการศึกษาส่ีปี แผนปฏิบัติ
การประจำปีงบประมาณ และแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา การประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
มีการดำเนินการทบทวนแผนพัฒนาการศึกษาสี่ปี แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ แผนปฏิบัติการประจำปี
การศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารจัดการคุณภาพของ สถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ทั้งในส่วนของการวาง
แผนการจัดการศึกษา การนำแผนไปปฏิบัติ มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่าง
ต่อเน่ือง มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศ
ภายใน การนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากรและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน ปรับปรุง และ
พัฒนา และร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา โดยได้ดำเนินการโครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
โครงการนิเทศการสอน โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียน โครงการบริหารจัดการภายในองค์กร โครงการ
ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โครงการประชุมผู้ปกครองนักเรียน โครงการระบบดูแลช่วยเหลือ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 53

นักเรียน โครงการประกันคุณภาพการศึกษา โครงการส่งเสริมสนับสนุนประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ
สถานศึกษา โครงการสวัสดิการสำหรับนักเรียนที่มีความเป็นเลิศตามอัจฉริยภาพ โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพ
ยกระดับการบรหิ ารงาน โครงการพัฒนาและส่งเสริมสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา โครงการบูรณาการ
สะเต็มศึกษา มีการบริหารจัดการเก่ียวกับงานวิชาการ ทั้งด้านการพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่
เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เช่ือมโยงวิถีชีวิตจริง และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยได้ดำเนินการโครงการ
ศึกษาเรียนรู้นอกสถานศึกษา โครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (กิจกรรมชุมนุม,กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้,
กิจกรรมแนะแนว,กิจกรรมสาธารณประโยชน์) โครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา โครงการพัฒนาศักยภาพ
ผเู้ รียนสู่ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ SBMLD โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศด้านคอมพิวเตอร์
SBMLD โครงการพฒั นาศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลศิ ดา้ นงานประดิษฐ์ SBMLD โครงการพฒั นาศกั ยภาพผู้เรียน
สู่ความเป็นเลิศด้านอาหารไทย SBMLD โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศด้านภาษาจีน SBMLD
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศด้านฟุตบอล SBMLD และโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่ความ
เป็นเลิศด้านกีต้าร์ SBMLD รวมถึงสถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญ
ทางวิชาชีพ และจัดให้มีชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรูของผู้เรียน โดยได้
ดำเนินการจัดทำโครงการจ้างครูผู้สอนภาษาต่างประเทศ โครงการฝึกอบรมเพ่ิมประสิทธิภาพระบบประกัน
คุณภาพการจัดการศึกษา โครงการบูรณาการสะเต็มศึกษา โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพด้าน
การจัดการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21 โครงการฝึกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพยกระดับการบริหารงานโรงเรียน
องค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร โครงการฝึกอบรมเพ่ิมประสิทธิภาพและยกระดับการจัดการศึกษา
ศตวรรษท่ี 21 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพ/ทักษะชีวิต โครงการ
งานนิทรรศการงานวิชาการประมวลผลงานโรงเรียนองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั กำแพงเพชร โครงการฝึกอบรมและ
ศึกษาดูงานเพื่อการบริหารจัดการที่มีคุณภาพและเป็นระบบ โครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตครูและบุคลากร
ทางการศึกษา รวมถึงสถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อม ท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อม
ทางสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรูและมีความปลอดภัย โดยดำเนินการจัดทำโครงการซ่อมแซมอาคารเรียน
อาคารประกอบ โครงการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนโดยการมีส่วนร่วมครูนักเรียนและชุมชน โครงการพัฒนา
ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา โครงการจัดทำศูนย์การเรียนรู้เฉลิมพระเกียรติ โครงการ
พัฒนาส่ือและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียน โครงการแหล่งเรียนรู้นอก
สถานศึกษา โครงการแหล่งเรียนรู้ภายในจังหวัดกำแพงเพชร โครงการพัฒนาห้องสมุด โครงการศูนย์การเรียน รู้
ด้านการท่องเท่ียวโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร โครงการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสำคัญ และพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ สถานศึกษาจัดระบบการจัดหา การพัฒนาและการ
บริการ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับสภาพของ
สถานศึกษา โดยดำเนินการโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ โครงการพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศใน
สถานศึกษา โครงการจัดทำประชาสัมพันธ์เอกสารสิ่งพิมพ์และพัฒนาเว็บไซต์ โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย
อินเตอร์เน็ต โครงการระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน โครงการพัฒนาส่ือการเรียนการสอนโดยการมีส่วนร่วมของครู
นักเรียนและชุมชน โครงการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและพฒั นาศนู ย์การเรยี นรู้ 8 กลุ่ม
สาระการเรยี นรู้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 54

2. ผลการดำเนนิ งาน
จากผลการดำเนินงานโรงเรียนองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั กำแพงเพชร มผี ลการดำเนนิ งาน ดงั นี้

- มีการกำหนดเป้าหมาย วสิ ัยทัศนแ์ ละพันธกจิ สอดคล้องกบั สภาพปญั หาความต้องการพฒั นาของ
สถานศกึ ษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของ ชุมชน ท้องถ่ิน และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูป
ตามแผนการศกึ ษาชาติ

- มีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียน
ทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเช่ียวชาญตามมาตรฐานตำแหน่ง
ขอ้ มูลสารสนเทศมีความถกู ต้อง ครบถว้ น ทนั สมัย

- มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพ
ปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วม
รบั ผดิ ชอบ

- ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผน
พัฒนาคุณภาพการศึกษา และรับทราบ รับผิดชอบต่อผลการจดั การศึกษา

- มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา ที่เหมาะสม เป็น
ระบบและต่อเน่อื ง เปดิ โอกาสให้ผเู้ ก่ียวขอ้ งมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา

- มีรูปแบบบริหารและการจัดการเชิงระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล และ
แนวคิดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมงุ่ พัฒนาผเู้ รียนตามแนวทางปฏิรปู การศึกษา

- มีการระดมทรัพยากรเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากเครือข่ายผู้ปกครอง ส่งผลให้
สถานศึกษามสี อื่ และแหล่งเรียนรู้ทีม่ คี ุณภาพ

3. จุดเด่น
โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวดั กำแพงเพชร มีการบริหารและจัดการอย่างเป็นระบบ โดยโรงเรียนได้
ใช้เทคนิคกระบวนการท่ีหลากหลายวิธี เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย
ที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณและแผนปฏิบัติการ
ประจำปีการศึกษาที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูป
การศึกษาทมี่ ุ่งเนน้ การพัฒนาใหผ้ ู้เรยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา มีการพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความเช่ียวชาญส่งผลให้ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการ
ดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษาและเผยแพร่
สูส่ าธารณชน
4. จุดควรพฒั นา
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ส่วนใหญ่ชำรุด
ไม่พรอ้ มตอ่ การใช้งาน
5. การเป็นแบบอย่างท่ีดี
โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชรได้รับการประกาศจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน
กระทรวงมหาดไทยใหเ้ ป็นโรงเรียนพอเพยี งท้องถน่ิ นำร่อง
6. ขอ้ เสนอแนะ
ควรมีการจัดหา/ปรับปรุง/ซ่อมแซม ให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีสนับสนุนการบริหารจัดการและ
การจดั การเรียนรใู้ ห้เพยี งพอและพร้อมต่อการใชง้ าน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 55

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั
ระดบั คณุ ภาพ ดี
1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรยี นองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชรดำเนินการส่งเสรมิ ใหค้ รจู ดั การเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียน

เป็นสำคัญ มีโครงการและกิจกรรมที่หลากหลาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามท่ีระบุไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้
สอดคล้องกับหลักสูตรของสถานศึกษา ที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง เช่ือมโยงกับ
ชีวิตประจำวัน ผู้เรียนได้รับการฝึกให้มีทักษะ และการแสดงความคิดเห็นตามศักยภาพ มีการบูรณาการภาระงาน
ช้ินงานทุกระดับช้ัน ครไู ด้จัดทำหน่วยบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ปรับโครงสรา้ งรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ มีการ
จัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ อีกท้ัง
สถานศึกษาได้สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริง
จนผเู้ รียนสามารถสรุปความรูไ้ ด้ด้วยตนเอง ครูจัดกระบวนการเรยี นการสอนที่เน้นทักษะการคดิ เชน่ จดั การเรยี นรู้
ด้วยโครงงาน มีการมอบหมายหน้าที่ให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆ ท้ังภายใน
ห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีโครงการส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ได้แก่ โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โครงการบูรณาการ
สะเต็มศึกษา โครงการปรับปรุงหลักสูตร ดำเนินการประชุมเชิงปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พัฒนา
สู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล เป็นต้น ครูมีการใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่ง
เรียนรู้ รวมท้ังภูมิปัญญาท้องถ่ินมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
จากสือ่ ทหี่ ลากหลาย มโี ครงการที่สง่ เสรมิ ใหค้ รูผลติ และใชส้ ื่อท่ีหลากหลาย ได้แก่ โครงการพัฒนาสื่อการเรียนการ
สอนโดยมีส่วนร่วมของครู ชุมชนและนักเรยี น โครงการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เป็นต้น ครูมีการ
บริหารจัดการช้ันเรียน โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ให้เด็กรักครู ครูรักเด็กและเด็กรักท่ีจะเรียนรู้ สามารถ
เรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการจัดทำโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โครงการ
ปจั ฉิมนิเทศ กิจกรรมเย่ียมบ้าน กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมไหว้ครู กิจกรรมสายสัมพันธ์พ่ีน้อง อกี ท้ังยงั มีโครงการ
นิเทศการสอนเพ่ือติดตามกำกับดูแลกระบวนการจัดการเรียนการสอนของครูให้อยู่ในเชิงบวก และครูมีการ
ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและ
ประเมินผล ที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนเพ่ือนำไปใช้พัฒนาการเรียนรู้ ครูมีการบันทึก
หลังการจัดการเรียนรู้ และทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 เรื่อง เพ่ือแก้ปัญหาพฤติกรรมนักเรียน
เป็นรายบุคคล และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้เป็นตามเป้าหมายที่โรงเรียนตั้งไว้ ครูให้ข้อมูลย้อนกลับแก่
นกั เรยี นและผปู้ กครองที่เป็นปัจจุบันเพือ่ รว่ มกันในการแก้ปญั หาโดยจัดกิจกรรมประชุมเครอื ข่ายผูป้ กครอง เพือ่ ให้
ขอ้ มูลเก่ียวกับการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การดูแลนักเรียนที่มีความเส่ียง
เป็นรายบุคคล และการพัฒนาผู้เรยี นที่มคี วามสามารถพิเศษตามศักยภาพและความสนใจ ครูและผูม้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ ง
มีการแลกเปล่ียนความรู้ และประสบการณ์ รวมท้ังให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุง และพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้ โดยครูทุกคนได้รับการประชุม อบรม สัมมนา เพื่อพัฒนาตนเอง และร่วมกับผู้บริหาร ชุมชน
ผู้ปกครอง ในการพัฒนาการศึกษา โดยจัดชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC)ร่วมกันแก้ปัญหาของนักเรียนในทุกๆด้าน
จัดกิจกรรมประชุมผู้ครอง การเย่ียมบา้ นนักเรียน และการแลกเปลย่ี นเรียนรกู้ ับศึกษานเิ ทศกแ์ ละผู้บริหารในการ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ในกิจกรรมนิเทศการสอน และรายงานผลการนิเทศเชิงบวกเพื่อพัฒนาให้ดีข้ึนอย่างน้อย
ภาคเรยี นละ 1 ครัง้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 56

2. ผลการดำเนนิ งาน
จากการดำเนนิ งาน/โครงการ/กจิ กรรมอย่างหลากหลาย เพอ่ื พัฒนาให้ครูการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้น
ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ส่งผลใหผ้ ลการประเมนิ คุณภาพมาตรฐานที่ 3 อยู่ ในระดับดี

3. ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษท์ สี่ นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
- รายงานการสง่ แผนการจดั การเรยี นรู้
- รายงานการปรับปรงุ พัฒนาหลักสตู ร
- รายงานผลการนิเทศการสอน
- เอกสารงานวิชาการ (ปถ.05)
- รายงานการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นร(ู้ บันทกึ หลังการสอน)
- รายงานวจิ ัยในชน้ั เรียน
- บันทกึ การใช้สื่อและเทคโนโลยี (DLIT)
- รายงานผลการจัดกิจกรรม PLC
- รายงานสรุปการเยีย่ มบา้ น
- รายงานผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
- รายงานการวิเคราะหผ์ เู้ รยี นรายบคุ คล
- รายงานระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน (SDQ)
- ภาพกิจกรรม
- สรุปผลโครงการประชุมผู้ปกครอง
- สรปุ ผลการดำเนนิ โครงการอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง

4. จดุ เดน่
ครูได้รับการพัฒนาตนเองโดยการสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด อย่างต่อเนื่อง สามารถนำมา
ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เกิดคุณภาพ และส่งผลให้สามารถสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาอย่าง
มคี ุณภาพ
5. จดุ ทค่ี วรพฒั นา
ครบู างสว่ นไม่นำผลการประเมินมาเป็นข้อมลู ในการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน และการจดั กิจกรรม
เพ่ือแลกเปลีย่ นเรียนรู้ (PLC) ของครยู งั ไม่ครอบคลมุ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
6. นวตั กรรม

- เอกสารประกอบบทเรียนร้อยเรื่องเมอื งกำแพงเพชร กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา
ศาสนาและวฒั นธรรม ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1

- เอกสารประกอบบทเรียน รายวิชา อ 22201 วชิ าภาษาอังกฤษสำหรับเจา้ บ้านน้อย
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2

- แบบพฒั นาการฝึกทกั ษะการอา่ นภาษาอังกฤษ เรอ่ื ง ประเพณีไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3
7. ขอ้ เสนอแนะ
ครูควรนำผลการประเมินมาเป็นข้อมูลเบื้องตนในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญ และในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ควรจัดกิจกรรมเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ (PLC) เพื่อปรับปรุงพัฒนา
การจัดการเรยี นรู้ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 57

สว่ นท่ี 3

สรปุ ผลการพฒั นา แนวทางการพฒั นา ความตอ้ งการและความชว่ ยเหลอื

แผนการพฒั นาคณุ ภาพเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานใหส้ งู ขนึ้

ภารกิจท่ีสำคัญท่ีสุดของสถานศึกษา คือ การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ซ่ึงสถานศึกษามีหน้าที่
ส่งเสริม สนับสนุน ดำเนินการเพ่ือพัฒนานักเรียนทุกคนท่ีได้เข้าเรียน และจบการศึกษาอย่างมีคุณภาพ
สถานศึกษาจะนำผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนประจำปีของสถานศึกษา ผลการสอบ O-NET มาทำการวิเคราะห์และ
จัดทำฐานข้อมูล (Baseline) กำหนดเป้าหมายความสำเร็จ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยเฉพาะการประเมิน
O-NET จะต้องเพ่ิมขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 ของฐานเดิม มีการปรับเปล่ียนท่าทีของครูในการจัดการเรียนรู้ เน้นให้
นักเรียนมีการฝึกปฏิบัติ สามารถคิดสร้างสรรค์ผลงานได้ด้วยตนเอง ใช้เทคโนโลยีและส่ือการเรียนรู้ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด

ทิศทาง/แนวทางการพฒั นาสถานศึกษาในอนาคต

1. จัดทำ/ปรบั โครงการยกผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นใหค้ รอบคลุมทุกกิจกรรมทีก่ ำหนด
2. วางแผนการสอนตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดแล้ว ให้โรงเรียนตรวจสอบการวิเคราะห์หลักสูตร
การกำหนดหนว่ ยการเรยี นรู้ว่าครอบคลมุ หรือไม่ โดยเฉพาะ ม.3 และ ม.6
3. นำคลังคำศัพท์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ซ่ึงเป็นคลังคำศัพท์ท่ีใช้เป็นกรอบในการสร้างข้อสอบโอเน็ต
ของ สทศ. ไปใช้สอนติวนักเรียนให้ครบทุกคำ (โดยเฉพาะภาษาอังกฤษให้อ่านออก และบอกความหมายได้ โดย
สอน ให้นักเรียนจำใหไ้ ดม้ ากท่สี ดุ ตามศกั ยภาพของนักเรียนแต่ละคน)
4. จัดกิจกรรม ติวขอ้ สอบ ตามแนวข้อสอบของ สทศ. ในช้ัน หรือ กำหนดกจิ กรรม วันเวลาให้ชัดเจน
5. ครูผู้รับผิดชอบในโรงเรียนทุกคนร่วมกันสร้างข้อสอบตามแนวข้อสอบของ สทศ. แล้วแลกเปล่ียน
ขอ้ สอบผา่ นเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต
6. นำแนวข้อสอบ O-NET ไปใช้ติวข้อสอบ ในช้ันเรียนให้นักเรียนคุ้นเคยและมีประสบการณ์การทำ
ขอ้ สอบ (รูปแบบข้อสอบ/กระดาษคำตอบ/การระบายคำตอบฯ)
7. จดั กจิ กรรมติวข้อสอบให้ต่อเน่ืองก่อนถงึ วันสอบจริง
8. ประชาสัมพันธค์ วามสำคญั ของการสอบ O-NET
9. โรงเรียนใหร้ างวลั นกั เรียนท่ีมีคะแนนสอบสงู /มคี วามก้าวหนา้ สงู
10. พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศใหเ้ ปน็ ปจั จบุ ัน พร้อมใช้งานต่อการเรียนรู้
11. พฒั นาความรคู้ วามสามารถครูในการใช้สอื่ นวตั กรรมการเรยี นการสอน
12. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูทุกคนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อช่วยกันพัฒนาการจัดการเรียนการ
สอนใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพ

ความตอ้ งการและการชว่ ยเหลอื

1. การสร้างข้อสอบที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรตู้ ามแนวทางของการประเมนิ O-NET

2. การพัฒนาครผู ้สู อนในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ที่สอดคลอ้ งกับการพัฒนาผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21

3. การจัดสรรครผู ้สู อนให้ตรงตามวิชาเอกที่โรงเรยี นมีความต้องการและจำเปน็

4. อปุ กรณ์ เทคโนโลยีทสี่ ่งเสรมิ และพฒั นาผ้เู รยี นให้มคี วามเป็นเลศิ ทางดา้ นวิชาการ ดนตรีและกีฬา

5. ศกึ ษาดูงานหน่วยงานที่มคี วามสามารถทางด้านการบรหิ ารงาน การจัดการองคก์ ร PLC

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 58

ภาคผนวก

ผลการจดั การเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รสถานศกึ ษา

ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
การประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข

ปกครองท้องถ่ินได้แต่งต้ังคณะทำงาน ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ นักบริหารการศึกษา
จดั การเรยี นรูน้ กั เรยี น ในระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ มัธยมศกึ ษาป

การประเมินในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓ ประถมศึกษาปีที่ ๖ มัธยมศึกษ
๒๕๕๑ ได้กำหนดตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละช้ันปีในระดับก
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ดังนี้

๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา
๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร สังกัดองค์การบริหารส
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ จำนวน 94 คน และมัธยมศึกษา ปีที่ ๖ จำนวน ๖1 คน รวม
๒๒ เดือนกมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยมผี ลการประเมินดงั ตารางต่อไปน้ี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 59

ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยใช้เคร่ืองมอื ประเมินคณุ ภาพการศึกษาทก่ี รมส่งเสริมการ
า ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูปฏิบัติการสอน จัดทำข้ึนเพื่อประเมินผลการ
ปีที่ ๓ และมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖
ษาปีที่ ๓ และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
การศึกษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปีที่ ๑ - มัธยมศึกษาปีท่ี ๖) จึงออกแบบเคร่ืองมือวัด

ส่วนจังหวัดกำแพงเพชร ได้ดำเนินการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนในระดับช้ัน
มจำนวนนักเรียนท่ีเข้ารับการประเมิน จำนวน ๑๕๕ คน โดยจัดการประเมินในวันท่ี

ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียนระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓

ผลการประเมนิ สมรรถนะส
สอ่ื สาร คดิ

ระดบั ชน้ั
จำนวนผู้เ ้ขาสอบ(คน)
คะแนนเฉ ่ีลย
้รอยละ
คะแนนเฉลี่ย
้รอยละ

มัธยมศึกษาปที ี่ ๓/๑ 29 6.62 66.21 5.07 50.69 6.

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓/๒ 32 6.28 62.81 4.31 43.13 5.

มัธยมศึกษาปที ี่ ๓/๓ 33 6.39 63.94 3.97 39.70 5.

รวม 94 6.43 64.32 4.45 44.50 5.

คะแนนเฉลยี่ 6.43 4.45

รอ้ ยละเฉลยี่ 64.32 44.50

สรปุ ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ของนกั เรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี

๑. ความสามารถในการสื่อสาร นกั เรยี นมีคะแน

๒. ความสามารถในการคิด นักเรยี นมคี ะแน

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา นักเรยี นมคี ะแน

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต นักเรยี นมคี ะแน

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี นักเรียนมคี ะแน

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นรวมทุกดา้ น นกั เรยี นมคี ะแน

จากผลการประเมนิ สมรรถนะผเู้ รยี นโดยรวมทุกด้านนกั เรยี น คิดเป็นรอ้ ยละ

รองลงมาตามลำดับคือ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต ร้อยละ 63.73 และความส

นอ้ ยทีส่ ุดคือความสามารถในการคิด คะแนนเฉล่ียร้อยละ 44.50 และความสามารถใน

ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการพฒั นา

จากผลการประเมินสมรรถนะผู้เรียนโดยรวมทุกด้านนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 53

ทักษะ มสี ามารถในการอยใู่ นสังคมปจั จุบนั อย่างรู้เท่าทัน โดยเฉพาะ ดา้ นที่คะแนนเฉล่ียอยู่ในระด

การใช้ ICT เพอื่ การเรียนรู้ โดยมจี ดุ มงุ่ หมายเพือ่ ส่งเสริมใหน้ ักเรียนทุกคนมีทักษะด้านเทคโนโลยแี ล

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 60

สำคญั ของผเู้ รยี นในดา้ นความสามารถในการ รวม

แกป้ ญั หา ใช้ทกั ษะชวี ติ ใช้เทคโนโลยี

คะแนนเฉ ี่ลย
้รอยละ

คะแนนเฉ ่ลีย
้รอยละ

คะแนนเฉลี่ย
้รอยละ

คะแนนเฉ ่ีลย
้รอยละ

.28 62.76 6.93 69.31 4.55 45.52 29.45 58.90

.81 58.13 6.25 62.50 3.84 38.44 26.50 53.00

.03 50.30 5.94 59.39 3.18 31.82 24.52 49.03

.71 57.06 6.37 63.73 3.86 38.59 26.82 53.64

5.71 6.37 3.86 26.82

57.06 63.73 38.59 53.64



นนเฉลีย่ 6.43 คิดเป็นรอ้ ยละ 64.32

นนเฉลย่ี 4.45 คดิ เป็นร้อยละ 44.50

นนเฉล่ีย 5.71 คิดเปน็ ร้อยละ 57.06

นนเฉลยี่ 6.37 คิดเปน็ รอ้ ยละ 63.73

นนเฉลี่ย 3.86 คิดเป็นร้อยละ 38.59

นนเฉลยี่ 26.82 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 53.64

53.64 โดย ความสามารถในการส่ือสารอย่ใู นระดับสูงสดุ คิดเปน็ ร้อยละ 64.32 และ

สามารถในการแก้ปัญหา คิดเป็นรอ้ ยละ 57.06 ส่วนสองอนั ดบั สุดท้ายท่ีมีคะแนนเฉลี่ย

นการใช้เทคโนโลยี คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 38.59

3.64 โรงเรียนควรมีกิจกรรมและจัดการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมสมรรถนะทุกด้าน เพ่ือให้นักเรียนมี
ดบั ตำ่ คือ คอื ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ 38.59 ควรกระตนุ้ ครผู สู้ อนให้มี
ละสามารถใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตเปน็ การส่งเสรมิ ความสามารถด้านเทคโนโลยีเพ่อื เป็นเครอ่ื งมอื ในการเรียนรู้

ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖

ระดบั ชน้ั ผลการประเมนิ สมรรถนะส
สอ่ื สาร คิด
จำนวนผู้เ ้ขาสอบ(คน)
คะแนนเฉ ่ีลย
้รอยละ
คะแนนเฉลี่ย
้รอยละ

มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖/๑ ๓8 6.86 68.60 6.81 68.15 6.

มัธยมศึกษาปีที่ ๖/๒ 23 5.48 54.78 3.04 30.43 3.

รวม 61 6.12 61.23 4.90 48.97 5.

คะแนนเฉลย่ี 6.12 4.90

รอ้ ยละเฉลย่ี 61.23 48.97

สรปุ ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ของนกั เรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่

๑. ความสามารถในการสื่อสาร นักเรยี นมีคะแน

๒. ความสามารถในการคดิ นักเรยี นมคี ะแน

๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา นกั เรียนมคี ะแน

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต นักเรียนมคี ะแน

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี นักเรียนมีคะแน

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นรวมทุกดา้ น นักเรยี นมคี ะแน

จากผลการประเมนิ สมรรถนะผู้เรียนโดยรวมทุกด้านคิดเป็นร้อยละ 58.84 โ

ตามลำดับคือ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ร้อยละ 61.93 และความสามาร

ความสามารถในการแกป้ ญั หา รอ้ ยละ 51.55 และความสามารถในการคิด รอ้ ยละ 4

ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการพัฒนา

จากผลการประเมินสมรรถนะผเู้ รยี นโดยรวมทกุ ด้านนักเรยี นมเี ฉลยี่ ร้อยละ 58.8

มีทักษะ มีสามารถในการอยู่ในสังคมปัจจุบันอย่างรู้เท่าทัน โดยเฉพาะ ด้านที่คะแนนเฉล่ีย

สง่ เสริม ผ้เู รยี นในการคิดอย่างเปน็ ระบบ คดิ สร้างสรรค์ มีทักษะความสามารถในการนำเสน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 61

สำคญั ของผเู้ รยี นในดา้ นความสามารถในการ รวม

แกป้ ญั หา ใชท้ กั ษะชวี ติ ใชเ้ ทคโนโลยี

คะแนนเฉ ี่ลย
้รอยละ

คะแนนเฉ ่ลีย
้รอยละ

คะแนนเฉลี่ย
้รอยละ

คะแนนเฉ ่ีลย
้รอยละ

.37 63.70 7.76 77.66 6.63 66.30 31.45 63.74

.09 30.87 5.39 53.91 4.96 49.57 21.96 43.91

.16 51.55 7.05 70.49 6.19 61.93 29.42 58.84

5.16 7.05 6.19 29.42

51.55 70.49 61.93 58.84



นนเฉลย่ี 6.12 คิดเป็นร้อยละ 61.23

นนเฉล่ีย 4.90 คิดเป็นรอ้ ยละ 48.97

นนเฉลี่ย 5.16 คิดเป็นร้อยละ 51.55

นนเฉลีย่ 7.05 คดิ เป็นร้อยละ 70.49

นนเฉล่ยี 6.19 คดิ เป็นรอ้ ยละ 61.93

นนเฉลยี่ 29.42 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 58.84

โดย ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต อยู่ในระดับสูงสุดที่รอ้ ยละ 70.49 และรองลงมา

รถในการสื่อสาร ร้อยละ 61.23 ส่วนสองอันดับสุดท้ายท่ีมีคะแนนเฉลี่ยน้อยท่ีสุดคือ

48.97

84 โรงเรียนควรมีกจิ กรรมและจดั การเรียนการสอนท่ีสง่ เสรมิ สมรรถนะทุกด้าน เพือ่ ให้นกั เรียน
ยอยู่ในระดับต่ำ คือ ความสามารถในการ คิด คะแนนเฉล่ียร้อยละ 48.97 ควรจัดกิจกรรมท่ี
นอวิธคี ิด และสร้างสรรคผ์ ลงานดว้ ยความภมู ใิ จ

กรมการปกคร

รายงานผลสรปุ การทดสอบสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ม.๓ ในส

รายการ จำนวนผทู้ ดสอบ การสอ่ื สาร
(๑๐)

X SD

ระดบั ประเทศ 45,904 6.34 2.21

กลมุ่ จงั หวดั การศกึ ษาทอ้ งถนิ่ ที่ ๑๘ 847 6.33 2.19

กำแพงเพชร 229 6.37 1.68

อบจ.กำแพงเพชร 94 6.43 2.03

องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั กำแพงเพชร 94 6.43 2.03

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 62

รองสว่ นทอ้ งถนิ่

สถานศกึ ษาสงั กดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖1

การคดิ การแกป้ ญั หา การใชท้ กั ษะชวี ติ การใชเ้ ทคโนโลยี
(๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐)

X SD X SD X SD X SD

1 4.11 1.77 5.46 2.36 6.18 2.70 3.79 1.83

9 4.34 1.96 5.42 2.36 6.21 2.61 3.88 1.85

8 5.32 1.94 5.81 2.21 6.54 2.39 4.51 1.83

3 4.43 1.68 5.68 2.41 6.35 2.55 3.83 1.73

3 4.43 1.68 5.68 2.41 6.35 2.55 3.83 1.73

กรมการปกคร

รายงานผลสรปุ การทดสอบสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ม.๖ ในส

รายการ จำนวนผู้ การสอ่ื สาร
ทดสอบ (๑๐)

X SD

ระดบั ประเทศ 20,471 6.07 1.93

กลมุ่ จงั หวดั การศกึ ษาทอ้ งถนิ่ ที่ ๑๘ 179 6.31 1.94

กำแพงเพชร 92 6.29 1.81
อบจ.กำแพงเพชร 61 6.34 1.93

องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั กำแพงเพชร 61 6.34 1.93

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 63

รองสว่ นทอ้ งถน่ิ การใชเ้ ทคโนโลยี
(๑๐)
สถานศกึ ษาสงั กดั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖1

การคดิ การแกป้ ญั หา การใชท้ กั ษะชวี ติ
(๑๐) (๑๐) (๑๐)

X SD X SD X SD X SD

3 4.13 1.82 4.98 2.64 6.82 2.35 5.72 2.37

4 3.97 1.80 4.98 2.55 6.74 2.33 5.75 2.18

1 4.24 1.85 5.12 2.70 6.59 2.38 6.23 2.10

3 4.08 1.99 5.13 2.96 6.87 2.33 6.00 2.05

3 4.08 1.99 5.13 2.96 6.87 2.33 6.00 2.05

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นระดบั สถานศกึ ษาทกุ กลมุ่ สาระทกุ ระดบั ชนั้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นระดบั ดีข้ึนไปทุกกลุ่มสาระการเรียนรูท้ กุ ระดบั ช้ัน
ระดบั มธั ยมศึกษา

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จำนวนนกั เรยี น ร

ท้ังหมด ม.๑

๑. ภาษาไทย ๕18 37.05
๒. คณติ ศาสตร์ ๕18 25.89
๓. วทิ ยาศาสตร์ ๕18 47.77
๔. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๕18 74.55
๕. ประวตั ิศาสตร์ ๕18 36.61
๖. สุขศึกษาและพลศึกษา ๕18 93.75
๗. ศลิ ปะ ๕18 57.14
๘. การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ๕18 63.84
๙. ภาษาต่างประเทศ ๕18 26.79
๑๐๐ 51.49
รอ้ ยละเฉลยี่ ของระดบั ชนั้

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖1

ระดบั ชน้ั คะแนนเฉลยี่ รายกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย สังคมศกึ ษา ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ 54.97 - 26.84 26.84 34.32
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ 38.12 31.12 23.19 26.17 27.42

หมายเหตุ : ผลตา่ งคะแนนถา้ ปปี จั จบุ นั คะแนนเฉลย่ี มผี ลตา่ งลดลงตำ่ กวา่ ปที ี่ผา่ นมาใหใ้ สค่ า่ เปน็ ลบ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 64

น ปีการศึกษา ๒๕๖1

รอ้ ยละของนักเรยี นทีไ่ ดผ้ ลการเรยี นระดบั ด(ี ๓)ขนึ้ ไป รอ้ ยละเฉลย่ี
ของกลมุ่ สาระ
ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖
42.10
53.33 43.62 25.71 35.00 23.39 51.40
30.56 36.17 57.86 56.11 59.68 75.73
57.78 64.89 90.00 61.67 70.16 94.14
75.00 80.32 80.00 93.89 83.87 78.86
78.89 66.49 79.29 98.33 0.00 100.00
85.56 98.94 99.29 97.78 79.03 69.40
35.00 42.55 80.71 66.67 77.42 62.80
55.00 33.51 71.43 46.67 54.84 32.13
37.22 23.94 35.71 33.89 8.87
56.48 54.49 68.89 65.56 57.16

สขุ ศกึ ษาฯ ศลิ ปะ การงานฯ คะแนนเฉลย่ี รวม คะแนน ผลตา่ งคะแนน
(ปปี จั จบุ นั ) เฉลยี่ รวมยอ้ นหลงั ๑ ปี ๒ ปกี ารศกึ ษา
ปี ๒๕๖1
ปี ๒๕60

- - - 35.74 ๓๐.๓๖ 5.38

- - - 29.20 ๒๖.๕๗ 2.63



รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 65

คณะทำงาน

คณะทป่ี รกึ ษา รัตนากร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวดั กำแพงเพชร
๑. นายสุนทร ศรงี าม ผอู้ ำนวยการกองการศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม
๒. นายศภุ ชัย นาคนาม ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั กำแพงเพชร
๓. นายสมศักด์ิ กระตา่ ยทอง รองผู้อำนวยการโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจงั หวัดกำแพงเพชร
๔. นางสาวศริ วิ รรณ ยอ่ ภูเขาสงู นักวชิ าการศกึ ษาชำนาญการ
๕. นางสาวนุสรา รามสตู นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ัตกิ าร
๖. นายวชติ

ผรู้ บั ผดิ ชอบงานประกนั คุณภาพของโรงเรยี น

๑. นางสาวนพรัตน์ บุญมาติด หัวหน้างานประกนั คุณภาพการศึกษา
ผูช้ ่วย
๒. นางสาวทิพรดา เนียมหวาน ผู้ช่วย
ผ้ชู ว่ ย
๓. นางสาวปวณี า สาสงิ ห์ ผู้ช่วย
ผู้ช่วย
๔. นางสาวรุง่ นภา พนั ทอง ผู้ชว่ ย
ผ้ชู ่วย
๕. ว่าท่ี ร.ต.หญงิ ศิริพรรณ คมสันต์ ผชู้ ่วย

๖. นางสาวจฬุ าลกั ษณ์ ธนั ทาคม

๗. นายวรี ะ นอ้ ยจอ้ ย

๘. นายวิษณุ อินสอาดพล

๙. นางสาวไพลนิ ควบพมิ าย

ผจู้ ัดทำเอกสาร

๑. นางสาวศิรวิ รรณ กระตา่ ยทอง รองผู้อำนวยการโรงเรียนองค์การบริหารสว่ นจังหวัดกำแพงเพชร

๒. นางสาวทพิ รดา เนยี มหวาน หวั หนา้ ฝ่ายบรหิ ารงานวชิ าการ

๓. นางสาวนพรตั น์ บญุ มาตดิ หัวหน้างานประกันคุณภาพการศกึ ษา

๔. คณะครแู ละบุคลากรโรงเรยี นองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดกำแพงเพชร

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 66

คำสงั่ โรงเรยี นองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั กำแพงเพชร
ท่ี 035 / 2562

เรอื่ ง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการจดั ทำมาตรฐานและตวั บง่ ชเี้ พอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
ประจำภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561

------------------------------------------------------------------
ตามท่ีกระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศให้ยกเลิกประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง มาตรฐานการศึกษา
ข้ันพื้นฐานและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ลงวันท่ี 30 มิถุนายน 2557 และกำหนดให้โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ท่ีจัดการศึกษาระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ดำเนินการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ือง
ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานศูนยก์ ารศึกษา
พิเศษ ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2561 และกระบวนการพัฒนาการศึกษาเข้าสู่คุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาของชาติ ตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร
การศึกษาท่ตี ้องดำเนินการอยา่ งต่อเน่อื ง
โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร ตระหนักและเห็นความสำคัญของกระบวนการ
ดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และเพื่อเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาระบบประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เข้มแข็ง ตามกฎกระทรวงดังกล่าว โดยอาศัยอำนาจตาม พระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ มาตรา ๒๗ จึงแต่งต้ังคณะกรรมการจัดทำ
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ดงั ต่อไปน้ี

1. คณะกรรมการที่ปรึกษา มีหน้าท่ี ให้ข้อเสนอแนะ ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวก

ในการดำเนนิ งาน รวมถึงช่วยแก้ไขปัญหา อันเกิดจากการดำเนินงาน ประกอบด้วย

1.1 นายสมศกั ด์ิ นาคนาม ผู้อำนวยการสถานศึกษา ประธานกรรมการ

1.2 นางสาวศิริวรรณ กระตา่ ยทอง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา รองประธานกรรมการ

1.3 นางสาวสพุ ศิ ตรา มั่นเขตวทิ ย์ หัวหนา้ ฝา่ ยบรหิ ารงานบุคคล กรรมการ

1.4 นางสาวนทั ธนาพร พุม่ ไสว หัวหนา้ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป กรรมการ

1.5 นายกติ ตพิ งษ์ ป้อมเสมา หวั หนา้ ฝ่ายบรหิ ารงานแผนและงบประมาณ กรรมการ

1.6 นางสาวทพิ รดา เนยี มหวาน หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวชิ าการ กรรมการ

1.7 นางสาวนพรตั น์ บญุ มาตดิ หวั หน้างานประกันคุณภาพการศกึ ษา กรรมการและเลขานุการ

/2.คณะกรรมการ.....

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 67

-2-

2. คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานและตัวบ่งช้ี มีหนา้ ท่ี กำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา โดยพิจารณา

ความสอดคล้องระหว่างมาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ มาตรฐาน

การศึกษาขั้นพื้นฐานเพ่ือการประเมินภายนอก มาตรฐานการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและ

อัตลักษณ์ของสถานศกึ ษา มาเชอ่ื มโยงเป็นมาตรฐานของสถานศึกษา ประกอบด้วย

2.1 นายสมศักด์ิ นาคนาม ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา

2.2 นางสาวศริ ิวรรณ กระตา่ ยทอง รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา

2.3 นายกิตตพิ งษ์ ปอ้ มเสมา หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

2.4 นางสาวนัทธนาพร พมุ่ ไสว หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศกึ ษา

2.5 นางสาวทิพรดา เนียมหวาน หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

2.6 นางสาวไพลิน สังคง หัวหนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

2.7 นางสาววรี ยา บุษชะบา หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2.8 นางจิดาภา คงอรุณ หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษาฯ

2.9 นางสรุ ยี ์พร อกิ เวโอโคโล หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ

2.10 นายณฐั วัฒน์ ชัยมงคล หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี

2.11 นางสาวนพรัตน์ บุญมาตดิ หัวหนา้ งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น

3. คณะกรรมการวิเคราะห์แนวทางปฏิบัติ มีหน้าที่ วิเคราะห์โครงการ กิจกรรม เพ่ือเป็นแนวปฏิบัติให้

สอดคล้องกับมาตรฐาน และตัวบ่งช้ีพร้อมจัดทำรายละเอียดในการจัดทำมาตรฐานของสถานศึกษา ให้เป็นไปด้วย

ความเรยี บร้อย ประกอบดว้ ย

3.1 นายสมศักด์ิ นาคนาม

3.2 นางสาวศริ ิวรรณ กระตา่ ยทอง

3.3 นางสาวสุพศิ ตรา ม่ันเขตวิทย์

3.4 นางสุรยี พ์ ร อิกเวโอโคโล

3.5 นางจดิ าภา คงอรุณ

3.6 นางสาวนัทธนาพร พุ่มไสว

3.7 นางสาวไพลนิ สังคง

3.8 นางสาวทิพรดา เนยี มหวาน

3.9 นายกติ ติพงษ์ ปอ้ มเสมา

3.10 นายกิจตสิ ญั หิรัญศรี

3.11 นางสาวชลันดรต์ รี สามงามยา

3.12 นางสาวรุ่งนภา พนั ทอง

/3.13 นางสาว.....

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 68

-3–

3.13 นางสาววรี ยา บุษชะบา
3.14 นางมทุ ิตา ทองรักษ์
3.15 นางสาวปวีณา สาสิงห์
3.16 นายวราวุฒิ จันทร์เจรญิ
3.17 นายณัฐวัฒน์ ชัยมงคล
3.18 นายวิษณุ อินสอาดพล
3.19 นายเลอพงศ์ กัณหา
3.20 นางฐติ ารยี ์ โพธเิ์ งนิ
3.21 นางสาวพณิ ทิพย์ ทองมหา
3.22 นางสาวธนพร ขันเทียน
3.23 นางชนกวนัน ช่างเจรจา
3.24 วา่ ท่รี .ต.หญิง ศริ ิพรรณ คมสัน
3.25 นายชยั รัตน์ เกษอดุ มทรัพย์
3.26 นางสาวณฐั สดุ า เนอ้ื ไม้
3.27 นายวรี ะ น้อยจ้อย
3.28 นางสาวธรี ารตั น์ ชวี สทิ ธิยานนท์
3.29 นางสาวไพลิน ควบพมิ าย
3.30 นายณฐั พล ศรีแสงทรัพย์
3.31 นางสาวจฬุ าลักษณ์ ธนั ทาคม
3.32 นางสาวอรวรรณ สังเที่ยง
3.33 นางสาวนพรตั น์ บุญมาตดิ

ท้ังนี้ ตั้งแตว่ ันที่ 24 มกราคม พ.ศ. ๒๕62

(นายสมศักด์ิ นาคนาม)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั กำแพงเพชร

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 69

-ำ ฉั-

คำสงั่ โรงเรียนองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั กำแพงเพชร
ที่ 045/2562

เรอ่ื ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการรบั ผดิ ชอบงานประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานของสถานศึกษา สงั กดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

ประจำปกี ารศึกษา 2561
........................................................

ตามท่ีกระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศให้ยกเลิกประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง มาตรฐานการศึกษา
ขั้นพื้นฐานและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย เพ่ือการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน ลงวันท่ี 30 มิถุนายน 2557 และกำหนดให้โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ท่ีจัดการศึกษาระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดำเนินการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง
ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานศูนย์การศึกษา
พิเศษ ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2561 และกระบวนการพัฒนาการศึกษาเข้าสู่คุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาของชาติ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร
การศกึ ษาทตี่ อ้ งดำเนนิ การอย่างต่อเน่อื ง

ดังนั้น เพ่ือให้การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษาใหเ้ ข้มแข็ง ตามกฎกระทรวงดังกล่าว โดยอาศยั อำนาจตาม พระราชบัญญัติระเบียบขา้ ราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ มาตรา ๒๗ จึงขอแต่งตั้งคณะครูเพื่อรับผิดชอบมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ดังตอ่ ไปน้ี

1. คณะกรรมการอำนวยการ นาคนาม ผู้อำนวยการสถานศึกษา
1.1 นายสมศักด์ิ กระตา่ ยทอง รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา
1.2 นางสาวศริ ิวรรณ พุ่มไสว หัวหนา้ ฝ่ายบรหิ ารงานทั่วไป
1.3 นางสาวนทั ธนาพร ปอ้ มเสมา
1.4 นายกิตตพิ งษ์ มน่ั เขตวทิ ย์ หวั หน้าฝ่ายบรหิ ารงานแผนและงบประมาณ
1.5 นางสาวสุพศิ ตรา เนยี มหวาน
1.6 นางสาวทิพรดา บุญมาติด หวั หน้าฝา่ ยบริหารงานบุคคล
1.7 นางสาวนพรัตน์ หวั หน้าฝา่ ยบรหิ ารงานวิชาการ
หัวหน้างานประกนั คณุ ภาพการศึกษา

มหี นา้ ท่ี ใหข้ อ้ เสนอแนะ และใหค้ ำปรกึ ษาเก่ียวกับระบบประกนั คุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา รวมถงึ อำนวยความสะดวกในการดำเนนิ งาน และชว่ ยแกไ้ ขปัญหาอันเกิดจากการ
ดำเนนิ งาน

/2. คณะกรรมการ...

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 70

-2-

2. คณะกรรมการดำเนนิ การรบั ผิดชอบมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รยี น
1) ผู้เรยี นมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสือ่ สาร และการคิดคำนวณ
2) ผู้เรยี นมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี น
ความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา
3) ผู้เรยี นมีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
4) ผูเ้ รียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
5) ผ้เู รยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา
6) ผเู้ รียนมคี วามรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ งานอาชีพ

มีผู้รบั ผดิ ชอบ ดงั นี้ 1. นางสาวทพิ รดา เนียมหวาน
2. นางสาวนพรตั น์ บุญมาตดิ
3. นางสาวจุฬาลกั ษณ์ ธนั ทาคม
4. นางสาวไพลนิ ควบพิมาย
5. นายวรี ะ น้อยจ้อย

1.2 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผเู้ รียน
1) ผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะและค่านิยมทดี่ ีตามที่สถานศึกษากำหนด
2) ผู้เรยี นมีความภูมใิ จในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย
3) ผเู้ รยี นมกี ารยอมรับทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
4) ผู้เรียนมสี ุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม

มผี ู้รบั ผดิ ชอบ ดังนี้ 1. นางสรุ ยี พ์ ร อิกเวโอโคโล
2. นายวราวุฒิ จันทร์เจรญิ
3. นายเลอพงษ์ กณั หา
4. นายวษิ ณุ อินสอาดพล
5. นางพณิ ทพิ ย์ ทองมหา
6. นางสาวธนพร ขันเทยี น
7. นางชนกวนนั ชา่ งเจรจา
8. นายกิจติสัญ หริ ญั ศรี
9. นางสาวอรวรรณ สงั เที่ยง

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การของสถานศึกษา
2.1 สถานศึกษามีเปา้ หมายวสิ ยั ทศั น์และพันธกิจทสี่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน
2.2 สถานศกึ ษามีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
2.3 สถานศึกษาดำเนินงานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
และทกุ กล่มุ เป้าหมาย

/2.4. สถานศึกษา...

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 71

-3-

2.4 สถานศกึ ษามีกระบวนการพัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
2.5 สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมที่เออื้ ต่อการจัดการเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ
2.6 สถานศึกษาจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู้

มีผ้รู ับผิดชอบ ดังนี้ 1. นางสาวนทั ธนาพร พุ่มไสว
2. นางสาวชลนั ดรต์ รี สามงามยา
3. นางสาววีรยา บษุ ชะบา
4. นางมทุ ิตา ทองรักษ์
5. นายกติ ติพงษ์ ปอ้ มเสมา
6. นายณฐั วัฒน์ ชัยมงคล
7. นางสาวสุพิศตรา มัน่ เขตวทิ ย์
8. นางสาวธีรารตั น์ ชวี สทิ ธยิ านนท์

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
3.1 ครูจัดการเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ได้
3.2 ครูใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรียนรูท้ เี่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้
3.3 ครูมีการบรหิ ารจดั การช้ันเรียนเชงิ บวก
3.4 ครูตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบและนำผลมาพัฒนาผูเ้ รียน
3.5 ครูมกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรู้และให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้

มีผู้รับผดิ ชอบ ดงั นี้ 1. นางสาวรุ่งนภา พันทอง
2. นางสาวปวีณา สาสงิ ห์
3. นางสาวณัฐสุดา เน้อื ไม้
4. นางจดิ าภา คงอรณุ
5. นางฐิตารยี ์ โพธิ์เงิน
6. ว่าท่ี รต.หญงิ ศิริพรรณ คมสนั
7. นายชยั รัตน์ เกษอดุ มทรพั ย์

มหี นา้ ท่ี
1. จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของตัวบ่งช้ี โดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA และ
รายงานให้ผู้บรหิ ารทราบเป็นระยะ
2. กำหนดแนวทางในการจดั ระบบข้อมูลที่แสดงถึงการนำผลการประเมินภายในของโรงเรียนไปปรับปรุง
และพฒั นางาน
3. จัดหาวิธีการประเมิน ส่ิงที่ประเมิน ออกแบบเครื่องมือในการประเมิน เก็บข้อมูลรวบรวม ชิ้นงาน
ผลงาน หลักฐาน มกี ารบนั ทกึ ในสว่ นของงานให้สอดคล้องกับตัวบ่งชตี้ ามความเหมาะสม
4. เก็บรวบรวมช้ินงาน ผลงาน เอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ผลการประเมิน สารสนเทศ ในรูปและวิธีการที่
หลากหลายใหส้ อดคล้องเป็นธรรมชาติกบั มาตรฐานและตัวบ่งช้นี ั้นๆ

/5. จดั ทำการ...

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 72

-4-
5. จัดทำการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR)
6. ร่วมกันเขียนรายงานการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาประจำปีของสถานศึกษา
7. รว่ มกนั ติดตาม ตรวจสอบ ทบทวนและปรบั ปรงุ คุณภาพการศึกษาของโรงเรยี น
8. อ่ืนๆ ตามทไี่ ด้รับมอบหมาย
ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งต้ังปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ีได้รับมอบหมายอย่างเคร่งครัด อันก่อให้เกิด
ประโยชนส์ ูงสุดแก่ทางราชการ

สั่ง ณ วันท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖2

(นายสมศกั ดิ์ นาคนาม)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดกำแพงเพชร

.............................................
ื ........... ื ................ ................


Click to View FlipBook Version