The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by somjai29052528, 2022-06-14 08:38:11

โครงการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4

วิทยาศาสตร์ ป.4

โครงการสอนและแผนการวัดผลประเมนิ ผล
รายวชิ าวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว ๑๔๑๐๑

ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๔
ชอื่ ผสู อน นางสาวสมใจ กอ แกว

นายรชั พล ขนุ เมอื ง
กลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

โรงเรียนวัดกลางคลองสาม

อำเภอคลองหลวง จงั หวัดปทมุ ธานี
สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา ปทมุ ธานี เขต ๑

โครงการสอน และการวางแผนการวดั และประเมินผล
วิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รหัส ว ๑๔๑๐๑
ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี ๔ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๕

เวลาเรยี น ๓ ชั่วโมง/สัปดาห
รวม ๑๒๐ ชว่ั โมง ๓ หนว ยกติ

โรงเรียนวดั กลางคลองสาม
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาการประถมศึกษา ปทมุ ธานี เขต ๑
สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

อัตราสวนคะแนน / ภาคเรยี น = ๓๕ : ๑๕
อัตราสวนคะแนน / ปการศึกษา = ๗๐ : ๓๐

คำอธิบายรายวชิ าวิทยาศาสตร รายวชิ าพ้ืนฐาน
กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๔
ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี จำนวน ๓.๐ หนวยกติ
เวลาเรียน ๑๒๐ ชวั่ โมง (๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห)

ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร การจำแนกสิ่งมีชีวิตเปนกลุมพืช กลุมสัตว และกลุมที่ไมใชพืช
และสัตว การจำแนกพืชที่มีอยูในทองถิ่นออกเปนพืชดอกและพืชไมมีดอก การจำแนกสัตวออกเปนสัตวมี
กระดูกสันหลังและสัตวไมมีกระดูกสันหลัง ลักษณะเฉพาะของสัตวมีกระดูกสันหลังในกลุมปลา กลุมสัตว
สะเทินน้ำสะเทินบก กลุมสัตวเลื้อยคลาน กลุม นก และกลุมสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ำนม หนาที่ของราก ลำตน ใบ
และดอกของพืชดอก สมบัตทิ างกายภาพ ดา นความแขง็ สภาพยืดหยุน การนำความรอ นและการนำไฟฟาของ
วัสดุ การนำสมบัติทางกายภาพของวัสดุไปใชในชีวิตประจำวัน สมบัติของสสารทั้ง ๓ สถานะ ผลของแรงโนม
ถวงที่มีตอวัตถุ การวัดน้ำหนักของวัตถุ มวลของวัตถุที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ และ
ตัวกลางของแสง การขึ้นและตกและรูปรางดวงจันทรและองคประกอบของ ระบบสุริยะ การใชเหตุผลเชิง
ตรรกะในการแกปญหา การออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยางงาย การตรวจหา ขอผิดพลาดในโปรแกรม การ
คนหาขอมูลในอินเทอรเน็ตและการใชคำคน การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล การรวบรวม นำเสนอ
ขอมูลและสารสนเทศ

โดยใชการสืบเสาะหาความรู ตั้งคำถาม คาดคะเนคำตอบหรือสรางสมมติฐาน วางแผนและสำรวจ
ตรวจสอบโดย ใชเครื่องมืออุปกรณและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล
รวบรวมขอมูล ประมวลผลอยางงาย วิเคราะหขอมูล วิเคราะหผลและสรางทางเลือก นำเสนอขอมูล ลง
ความเห็นและสรุปผลการสำรวจตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เบื้องตน มีความคิดสรางสรรค สามารถทำงานรวมกับผูอื่น ใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา และอธิบาย
การทำงานหรือคาดการผลลัพธจากปญหาอยางงาย ออกแบบและเขียนโปรแกรม ตรวจหาขอผิดพลาดจาก
โปรแกรมของตนเองและผอู ื่น

เพอื่ การเปน ผูร ูว ทิ ยาศาสตร มีความสนใจ ความตระหนัก ความใฝรู เปน ผทู ำงานเปนทีมและทำงาน
แบบรวมพลัง รวมทั้งมีความรบั ผิดชอบตอ ตนเองและชมุ ชน
รหัสตัวชว้ี ัด

ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป. ๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป. ๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑ ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป. ๔/๔, ป. ๔/๕
รวมทั้งหมด ๒๑ ตัวชว้ี ดั

โครงสรา งรายวิชาวทิ ยาศาสตร

รหัสวชิ า ว ๑๔๑๐๑ รายวิชาวิทยาศาสตร ระดับชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๔
เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๓ หนว ยกติ อัตราสวนคะแนน / ปการศกึ ษา ๗๐ : ๓๐

ลำดบั ชือ่ หนวยการเรยี นรู มาตรฐานการเรยี นรู / สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ที่ ตัวชี้วดั (ชว่ั โมง) คะแนน
( ๑๐๐ )
๑ หนวยท่ี ๑ การเรียนรู ทักษะกระบวนการทาง ความรูทางวิทยาศาสตรเกิด ๑๓ -
สงิ่ ตางๆ รอบตวั วทิ ยาศาสตร จากความสงสยั เกี่ยวกบั ส่งิ
ตางๆ รอบตัว มนุษยจึง
พยายามหาคำตอบ โดย ใช
การสืบเสาะหาความรูทาง
วิทยาศาสตรในการตอบ
คำถามที่สงสัย โดยใชทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร
เชน การสังเกต การวัด การ
ใชจำนวน และทักษะขั้นผสม
เชน การตั้งสมมติฐาน การ
กำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
การกำหนดและควบคุมตัว
แปร การทดลอง และการ
ตีความหมายขอมูลและลง
สรปุ
๒ หนว ยที่ ๒ สิง่ มชี วี ติ ว ๑.๒ สวนตางๆของพืชดอกทำ ๑๗ ๑๕
ป.๔/๑ หนาที่แตกตางกัน รากทำ
หนาที่ดูดน้ำและธาตุอาหาร
ว ๑.๓ ขึ้นไปยังลำตน ลำตนทำ
ป.๔/๑ หนาที่ลำเลียงน้ำตอไปยัง
ป.๔/๒ สวนตาง ๆ ของพืช ใบทำ
ป.๔/๓ หนาท่สี รา งอาหาร คือ น้ำตาล
ป.๔/๔ ซึ่งจะเปลี่ยนเปนแปง ดอกทำ

หนาที่สืบพันธุ ประกอบด
วย กลีบเลี้ยง กลีบดอกเกสร
เ พ ศ ผู  แ ล ะ เ ก ส ร เ พ ศ เ มี ย
สิ่งมีชีวิตสามารถจัดกลุมได
โดยใชความเหมือนและความ
แตกตา ง เชน

ลำดบั ชือ่ หนว ยการเรยี นรู มาตรฐานการเรียนรู / สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ที่ ตวั ช้ีวัด (ช่ัวโมง) คะแนน
( ๑๐๐ )
กลุมพืชสรางอาหารเองได
และ เคลื่อนที่ดวย ตนเองไม
ไดก ลมุ สัตวกินส่งิ มชี ีวติ อนื่
เปนอาหาร และเคลื่อนที่ได
กลุมที่ไมใชพืชและสัตวเชน
เห็ด รา จุลินทรีย การจำแนก
พชื สามารถใชการมีดอก
เปนเกณฑ ในการจำแนกได
เปนพืชดอกและพืชไมมีดอก
การ จำแนกสัตวสามารถใช
การมีกระดูกสันหลัง เปน
เกณฑในการจำแนกไดเปน
สัตวมีกระดูกสันหลัง และ
สัตวไมมี กระดูกสันหลัง สัตว
มีกระดูกสันหลังมีหลายกลุม
ไดแกกลุมปลา กลุมสัตว
สะเทนิ น้ำสะเทนิ บกกลุม สตั ว
เลื้อยคลาน กลุมนกและกลุม
สัตวเลี้ยงลูกดวยน้ำนมซึ่งแต
ละกลุม จะมีลักษณะเฉพาะที่
สังเกตได

๓ หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๓ ว ๒.๒ แรงโนมถวงของโลกเปนแรง ๙ ๑๐
แรงและพลงั งาน ป.๔/๑ ดึงดูดที่โลกกระทำตอวัตถุมี
ป.๔/๒ ทิศทางเขาสูศูนยกลางโลก
ป.๔/๓ ทำใหวัตถุตกลงสูพื้นโลกและ
ว ๒.๓ ทำใหวัตถุมีน้ำหนักน้ำหนัก
ป.๔/๑ ของวัตถุขึ้นกับมวลของวัตถุ
โดยวัตถุที่มีมวลมากจะมี
น้ำหนักมากวัตถุที่มีมวลนอย
จะมีน้ำหนักนอย มวล คือ
ปริมาณเนือ้ ของเนื้อสารท่ีมีใน
วัตถซุ ึ่งมีคาคงท่ีตลอดเวลา
ไมวาวัตถุจะอยูที่ใดวัตถุ ใดมี
เนื้อสารมากมีมวลมาก วัตถุ
มเี น้ือสารนอยมมี วลนอ ย เม่ือ

ลำดบั ชือ่ หนวยการเรยี นรู มาตรฐานการเรียนรู / สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
ที่ ตวั ชี้วดั (ชวั่ โมง) คะแนน
( ๑๐๐ )
แสงกระทบวัตถุตางกันจะ
ผานวตั ถุแตล ะชนดิ ได ตางกนั
ทำใหจำแนกวัตถุออกเปน ๓
ชนิด คือ ตัวกลางโปรงใส
ตัวกลางโปรงแสง และวัตถุ
ทึบแสง
วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลย(ี วิทยาการคำนวณ)
๑ ขอ ความปรศิ นากบั เจา ว ๔.๒ เหตผุ ลเชงิ ตรรกะ คอื การใช ๒ ๑
หนยู อดนักสืบ ป.๔/๑ เหตุผล กฎ กฎเกณฑ หรอื
เงอ่ื นไขทีเ่ กย่ี วขอ ง เพอ่ื ๒ ๑
๒ รหสั ลบั ของนักสืบ ว ๔.๒ ตรวจสอบความสมเหตุสมผล ๓ ๑
เยาวชน ป.๔/๑ มีความสำคัญในการวิเคราะห
หาเหตุผล สรา งการจดั ลำดบั
๓ แผนผังแสนสนุก ว ๔.๒ เรื่องราวกอ นหลงั โดย
ป.๔/๑ แยกแยะความสำคัญของ
เรื่องราวดวยการเปรียบเทียบ
ปจจัยตาง ๆ ทำใหการ
ตดั สนิ ใจแกปญ หาเปน ไปตาม
หลักวิทยาศาสตร
การแสดงอัลกอริทึมดวยรหสั
จำลอง คือการอธบิ ายดว ย
รหัส โดยเราสามารถกำหนด
รหัส จำลอง ขนึ้ เองได
การแสดงอลั กอรทิ ึมดว ยผงั
งานหรือโฟลวชารต คือ
แผนผังแสดงข้ันตอนการ
ทำงาน ซ่งึ สามารถใชแ ผนผัง
น้แี สดงขัน้ ตอนการทำงาน
ของโปรแกรมได การแสดง
อลั กอรทิ มึ ดว ยผงั งาน แบง
ออกเปน 2 แบบ ไดแก ผงั
งานแบบโครงสรา งเรียงลำดับ
และผังงานแบบโครงสราง
ทางเลือก

ลำดบั ช่ือหนวยการเรยี นรู มาตรฐานการเรียนรู / สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ที่ ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
( ๑๐๐ )
๔ สำรวจโลกของ ว ๔.๒ โปรแกรม Scratch เปน ๓๑
Scratch (การเขา ใช ป.๔/๒ โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร
งานโปรแกรม มลี กั ษณะเปน บลอ็ คโปรแกรม
Scratch) (block) นำมาตอกนั เพ่ือสรา ง
รหสั คำสง่ั (Code) เพอ่ื สง่ั ให
โปรแกรม Scratch ทำงาน
ตามท่ีไดเ ขยี นโปรแกรมไว
๕ การเขยี นโปรแกรม ว ๔.๒ การเขียนโปรแกรม scratch ๓ ๑
ภาษาคอมพวิ เตอร ป.๔/๒ คือ การเขยี นสคริปตใ หต วั
scratch เบื้องตน (๑) ละครแตล ะตวั รวมท้ังฉาก
ทำงานรว มกนั โดยทตี่ ัวละคร
แตละตวั รวมท้ังฉากสามารถมี
ไดห ลายสครปิ ตห รอื ไมม ี
สครปิ ต ซึง่ โปรแกรม scratch
สามารถนำมาพัฒนาในเชิง
สรางสรรคไ ด เชน การสรา ง
นทิ าน การสรา งเกม ดนตรี
ภาพเคลอื่ นไหว เปนตน
๖ การเขียนโปรแกรม ว ๔.๒ โปรแกรม scratch สามารถ ๓ ๒
ภาษาคอมพวิ เตอร ป.๔/๒ นำมาใชพ ฒั นาซอฟตแวรเชงิ
scratch เบื้องตน (๒) สรา งสรรค เชน การสรา ง
นทิ าน การสรา งเกม เปนตน
การเขยี นโปรแกรมเปนการ
สรา งลำดับของคำสัง่ ให
คอมพวิ เตอรทำงาน เพือ่ ใหได
ผลลพั ธต ามความตองการ
หากมขี อ ผิดพลาดให
ตรวจสอบการทำงานทลี ะ
ขนั้ ตอน เม่ือพบโจทยท ่ีทำ
ใหผ ลลัพธไมถ กู ตอง ใหท ำ
การแกไขจนกวา จะไดผ ลลพั ธ
ท่ีถกู ตอง

ลำดับ ชื่อหนวยการเรยี นรู มาตรฐานการเรียนรู / สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
ท่ี ตวั ชี้วดั (ชั่วโมง) คะแนน
( ๑๐๐ )
๗ ความนา เช่ือถอื ของ ว ๔.๒ อินเทอรเ นต็ (Internet) คือ ๔ ๓
ขอมลู ป.๔/๓ เครอื ขา ยคอมพิวเตอรที่
เช่อื มตอกนั จำนวนมากและ
ครอบคลมุ ไปทว่ั โลก โดย
เครือขา ยนจี้ ะเชื่อหากนั
ภายใตก ฎเกณฑท เี่ ปน
มาตรฐานเดียวกนั ทำให
สามารถแลกเปล่ยี นขอมูล
และสงผานขอมลู ระหวางกัน
ได ในปจจุบนั มฐี านขอ มลู ท่ี
เก็บไวใ นอนิ เทอรเ นต็ จำนวน
มาก ดงั น้นั การคนหาขอมลู
จากอินเทอรเ นต็ จะตอ ง
ประเมนิ ความนาเชอื่ ถือของ
ขอ มลู โดยจะตอ งศกึ ษา
เรียนรูเก่ยี วกับการคน หา
ขอ มูลจากอินเทอรเ น็ต
สอบกลางป ๑ ๑๕
ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๕
๔ หนวยการเรยี นรทู ่ี ๔ ว ๒.๑ สมบัติทางกายภาพของวัสดุ ๒๔ ๑๕
วัสดแุ ละสสาร ป.๔/๑ แตละชนิดแตกตางกัน ไดแก
ป.๔/๒ ความแข็ง ความเหนียว
ป.๔/๓ สภาพยืดหยนุ การนำความ
ป.๔/๔ รอน การนำไฟฟา สถานะ
ของสารมี ๓ สถานะ คือ
ของแข็ง ของเหลว และแกส
มสี มบัติทาง กายภาพทแ่ี ตก
ตางกนั ซ่ึงสามารถนำมาทำ
เปน วัสดุหรือส่งิ ของตา งๆ
ตามประโยชนการใชส อยได
อยางเหมาะสม

ลำดับท่ี ชอ่ื หนวยการเรยี นรู มาตรฐานการเรยี นรู / สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
๕ ตวั ชว้ี ดั (ช่วั โมง) คะแนน
( ๑๐๐ )
หนว ยการเรียนรทู ี่ ๕ ว ๓.๑ แบบรูปเสนทางการขึ้นและ ๑๕ ๑๐
โลกและอวกาศ ป.๔/๑ ตกของดวงจันทรโดยใช
ป.๔/๒ หลักฐานเชิงประจักษ
ป.๔/๓ อธิบาย และสรางแบบ
จำลองแบบรูปการ
เปลี่ยนแปลงรูปรางปรากฏ
ของดวงจันทร ระบุองค
ประกอบของระบบสุริยะสร
างแบบจำลอง แสดงองค
ประกอบของระบบสุริยะ
อธิบายเปรยี บเทียบคาบการ
โคจรของดาวเคราะหตาง ๆ
จากแบบจำลอง และ
พยากรณ รปู รา งปรากฏของ
ดวงจันทร
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี(วทิ ยาการคำนวณ)
๘ โปรเจกตว งดนตรี ว ๔.๒ โปรแกรม scratch สามารถ ๔ ๒
ป.๔/๒ นำมาใชพัฒนาซอฟตแวร ๔ ๒
๙ ประวัติสวนตวั ของฉนั ว ๔.๒ เชิงสรางสรรค เริ่มฝกเขียน
ป.๔/๔ สคริปตสั้น ๆ แลวจึงสราง
โปรเจกตสนุก ๆ และแชร
ผลงานใหเพื่อน ๆ รับฟง
ขอเสนอแนะและความ
คิดเห็นของผอู น่ื
ซอฟตแวร (Software) คือ
ช ุ ด ค ำ ส ั ่ ง ท ี ่ ก ำ ห น ด ใ ห
คอมพิวเตอรทำงานตาม
ความตองการ เชน การ
นำเสนองาน การพิมพงาน
เอกสาร รายงาน โปสเตอร
โปรแกรมไมโครซอฟตเวิรด
( Microsoft Word) ใ ช  ใ น
การพิมพงานเอกสารที่เปน
ขอมูลลักษณะเปนตัวอักษร
และมีรูปภาพประกอบ เชน
รายงาน โปสเตอร ฯลฯ และ
ยงั สามารถใชงานระบบ

ลำดับที่ ชื่อหนวยการเรยี นรู มาตรฐานการเรยี นรู / สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
๑๐ ตวั ชว้ี ดั (ช่วั โมง) คะแนน
( ๑๐๐ )
๑๑ อตั โนมตั ิตา ง ๆ ไดด ว ย เชน
๑๒ การคน หาคำ ตรวจสอบ
ไวยากรณ การสรา งตาราง
ฯลฯ
นักพรีเซนตคนเกง ว ๔.๒ โปรแกรมไมโครซอฟต ๔๒
ป.๔/๔ เพาเวอรพ อยตเ ปน
โปรแกรมหน่งึ ในตระกูล
ไมโครซอฟตออฟฟต เหมาะ
สำหรับการใชน ำเสนองาน
โดยสรา งออกมาเปนสไลด
ยอ ย ๆ แตล ะสไลดจ ะ
สามารถใสข อ มลู ตา ง ๆ ได
เชน ตวั อกั ษร รูปภาพ เสียง
ภาพเคลอ่ื นไหว เพอื่ สรา ง
ความนาสนใจใหเพ่ิมมากขึ้น
ในการนำเสนองาน
โปรแกรมจดั การ ว ๔.๒ ไมโครซอฟตเอ็กเซลเปน ๔ ๒
ตัวเลข ป.๔/๔ โปรแกรมทางดานตาราง
คำนวณ หรือที่เรียกวา เส
ปรดชีต (Spreadsheet) เปน
โปรแกรมในชุด Microsoft
Office มีความสามารถใน
ดานการสรางตาราง การ
คำนวณ การวิเคราะห การ
ออกรายงานในรูปแบบตาราง
และกราฟ และการคำนวร
ขอมูลตา ง ๆ
แชรไ ดไหมนะ ว ๔.๒ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๔๒
ป.๔/๔ (Information Technology)
ป.๔/๕ คือ การประยุกตใ ช
คอมพวิ เตอรแ ละอปุ กรณ
โทรคมนาคม (เทคโนโลย)ี
เพ่อื จดั เกบ็ คนหา สง ผา น
และประมวลผลขอ มูล ซึ่ง

ลำดับท่ี ชื่อหนว ยการเรยี นรู มาตรฐานการเรียนรู / สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ตัวชว้ี ัด (ชัว่ โมง) คะแนน
( ๑๐๐ )
สอบปลายป ขอ มลู ทีถ่ กู ประมวลผล
รวม เรยี บรอยแลวจะเรยี กวา
สารสนเทศ พลเมอื งดจิ ทิ ลั
(Digital Citizen) คือ บุคคลที่
มคี วามสามารถในการใช
เทคโนโลยี และสื่อดจิ ทิ ลั เปน
ประจำไดอยา งปลอดภยั มี
ความรับผิดชอบ และมี
ประสิทธิภาพ พลเมอื ง
ดิจทิ ัลจะตองมีความ
รับผดิ ชอบตอตนเอง ความ
รับผิดชอบตอครอบครวั และ
เพื่อน และความรบั ผดิ ชอบ
ตอ ชมุ ชน เพ่อื ใหส งั คมมี
ความสงบเรยี บรอ ย
๑ ๑๕
๑๒๐ ๑๐๐

รายวิชาวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี โครงการสอน รหัสวิชา ว ๑๔๑๐๑

หนว ย เรอื่ ง/ วิธวี ดั เคร่ืองมือวัด เวลา
การเรยี นรู สาระการเรยี นรู - ใบบันทกึ ผลการทดลอง (ชั่วโมง)
๑ การเรยี นรูสงิ่ ตางๆ - ตรวจใบบันทกึ ผลการทดลอง - ใบงาน
รอบตวั - ตรวจใบงาน - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ๑๓
- สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว น การทำงานรายบุคคล ๑๗
รว มในกจิ กรรม - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ๙
- สังเกตความมีวินัย ใฝเ รยี นรู อันพงึ ประสงค
และมงุ ม่ันในการทำงาน - ใบบนั ทึกผลการทดลอง ๒
๒ สง่ิ มีชวี ิต - ตรวจใบบนั ทกึ ผลการทดลอง - ใบงาน ๒
- ตรวจใบงาน - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ๓
- สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว น การทำงานรายบคุ คล
รวมในกิจกรรม - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ
- สังเกตความมีวนิ ัย ใฝเ รยี นรู อันพงึ ประสงค
และมุงม่ันในการทำงาน - ใบบันทกึ ผลการทดลอง
๓ แรงและพลงั งาน - ตรวจใบบันทึกผลการทดลอง - ใบงาน
- ตรวจใบงาน - แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- สงั เกตพฤติกรรมการมสี วน การทำงานรายบุคคล
รวมในกจิ กรรม - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ
- สังเกตความมวี นิ ัย ใฝเรยี นรู อนั พึงประสงค
และมุงม่ันในการทำงาน
วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) - ใบงาน, สมดุ
๑ ขอ ความปรศิ นากบั - ตรวจใบงาน,สมดุ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม
เจาหนูยอดนกั สืบ - สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ว น การทำงานรายบุคคล
รว มในกิจกรรม - แบบประเมนิ คุณลักษณะ
- สังเกตความมวี ินัย ใฝเรียนรู อันพงึ ประสงค
และมงุ ม่นั ในการทำงาน - ใบงาน, สมดุ
๒ รหัสลับของนกั สบื - ตรวจใบงาน,สมดุ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม
เยาวชน - สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว น การทำงานรายบคุ คล
รว มในกิจกรรม - แบบประเมินคุณลักษณะ
- สังเกตความมีวินัย ใฝเรยี นรู อันพงึ ประสงค
และมงุ มน่ั ในการทำงาน - ใบงาน, สมดุ
๓ แผนผังแสนสนุก - ตรวจใบงาน,สมดุ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- สงั เกตพฤติกรรมการมสี วน การทำงานรายบคุ คล
รว มในกิจกรรม - แบบประเมินคุณลักษณะ
- สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝเรยี นรู อนั พงึ ประสงค
และมงุ ม่นั ในการทำงาน

หนวย เรือ่ ง/ วธิ ีวัด เครือ่ งมอื วัด เวลา
การเรยี นรู สาระการเรยี นรู - ใบงาน, สมดุ (ช่วั โมง)
๔ สำรวจโลกของ - ตรวจใบงาน,สมดุ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
Scratch (การเขาใช - สงั เกตพฤติกรรมการมสี วน การทำงานรายบุคคล ๓
งานโปรแกรม รวมในกจิ กรรม - แบบประเมินคุณลกั ษณะ ๓
Scratch) - สังเกตความมวี ินัย ใฝเ รยี นรู อันพงึ ประสงค ๓
และมงุ มั่นในการทำงาน - ใบงาน, สมดุ
๕ การเขยี นโปรแกรม - ตรวจใบงาน,สมุด - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ๔
ภาษาคอมพวิ เตอร - สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ว น การทำงานรายบคุ คล ๑
scratch เบอ้ื งตน (๑) รวมในกิจกรรม - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ๒๔
- สงั เกตความมวี ินัย ใฝเรียนรู อนั พึงประสงค
และมงุ มน่ั ในการทำงาน - ใบงาน, สมดุ ๑๕
๖ การเขยี นโปรแกรม - ตรวจใบงาน,สมดุ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม
ภาษาคอมพวิ เตอร - สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี วน การทำงานรายบคุ คล ๔
scratch เบ้อื งตน (๒) รวมในกจิ กรรม - แบบประเมินคณุ ลักษณะ
- สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝเ รยี นรู อันพงึ ประสงค
และมงุ มน่ั ในการทำงาน - ใบงาน, สมดุ
๗ ความนา เชอ่ื ถอื ของ - ตรวจใบงาน,สมุด - แบบสังเกตพฤตกิ รรม
ขอมูล - สงั เกตพฤติกรรมการมสี ว น การทำงานรายบคุ คล
รวมในกิจกรรม - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ
- สังเกตความมวี นิ ยั ใฝเ รียนรู อนั พงึ ประสงค
และมงุ มัน่ ในการทำงาน
สอบกลางป - ใบบนั ทกึ ผลการทดลอง
ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๕ - ใบงาน
๔ วสั ดแุ ละสสาร - ตรวจใบบันทึกผลการทดลอง - แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- ตรวจใบงาน การทำงานรายบคุ คล
- สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว น - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ
รวมในกจิ กรรม อันพึงประสงค
- สังเกตความมวี ินยั ใฝเรยี นรู - ใบงาน, สมดุ
และมุงม่ันในการทำงาน - แบบสังเกตพฤติกรรม
๕ โลกและอวกาศ - ตรวจใบงาน,สมดุ การทำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ว น - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ
รวมในกิจกรรม อันพึงประสงค
- สังเกตความมีวนิ ัย ใฝเรียนรู - ใบงาน, สมดุ
และมุง มนั่ ในการทำงาน - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) การทำงานรายบคุ คล
๘ โปรเจกตวงดนตรี - ตรวจใบงาน,สมุด - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ
- สงั เกตพฤติกรรมการมสี ว น
รวมในกิจกรรม

หนวย เรอ่ื ง/ วิธวี ัด เคร่ืองมอื วดั เวลา
การเรียนรู สาระการเรยี นรู - สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝเ รยี นรู อนั พงึ ประสงค (ชั่วโมง)
ประวัตสิ วนตวั ของ
๙ และมุง มนั่ ในการทำงาน - ใบงาน, สมดุ ๔
๑๐ ฉนั - ตรวจใบงาน,สมุด - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
๑๑ นักพรเี ซนตคนเกง - สงั เกตพฤติกรรมการมสี ว น การทำงานรายบุคคล ๔
๑๒ รวมในกจิ กรรม - แบบประเมินคุณลักษณะ ๔
โปรแกรมจดั การ - สังเกตความมวี ินัย ใฝเรียนรู อนั พึงประสงค ๔
ตัวเลข และมงุ ม่ันในการทำงาน - ใบงาน, สมดุ ๑
- ตรวจใบงาน,สมุด - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ๘๐
แชรไ ดไหมนะ - สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว น การทำงานรายบคุ คล
รว มในกจิ กรรม - แบบประเมินคุณลักษณะ
- สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝเ รียนรู อนั พงึ ประสงค
และมุงม่ันในการทำงาน - ใบงาน, สมดุ
- ตรวจใบงาน,สมุด - แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- สังเกตพฤตกิ รรมการมสี วน การทำงานรายบุคคล
รวมในกจิ กรรม - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ
- สังเกตความมีวนิ ัย ใฝเรียนรู อนั พงึ ประสงค
และมุง มั่นในการทำงาน - ใบงาน, สมดุ
- ตรวจใบงาน,สมุด - แบบสังเกตพฤติกรรม
- สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ว น การทำงานรายบคุ คล
รว มในกจิ กรรม - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ
- สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝเ รียนรู อันพึงประสงค
และมุงมั่นในการทำงาน

สอบปลายป
รวม

รายวชิ าวิทยาศาสตร ตารางการวางแผนการวดั และประเมินผล รหัสวชิ า ว ๑๔๑๐๑

หนวย ผลการเรียนรู คะแนน รวม กลาง ปลายป
การ เร่อื ง ระหวา งภาค ป
เรยี นรู KPA

๑ การเรียนรูสงิ่ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร --- - - -
ตา งๆ รอบตัว -
๒ สงิ่ มีชีวิต ว ๑.๒ ป.๔/๑ บรรยายหนาที่ของราก ๕ ๕ ๕ ๑๕ -
ลำตน ใบ และดอก ของพืชดอก โดยใช
ขอ มลู ที่รวบรวมได
ว ๑.๓ ป.๔/๑ จำแนกสง่ิ มีชวี ติ โดยใชความ
เหมือน และ ความแตกตา งของลกั ษณะ
ของสิ่งมชี ีวิตออกเปนกลุม พชื กลมุ สัตว
และกลุมทไี่ มใ ชพ ชื และสตั ว
ว ๑.๓ ป.5/๒ จำแนกพชื ออกเปนพชื ดอก
และพืชไมมดี อก โดยใชก ารมดี อกเปน
เกณฑโดยใชขอ มลู ท่ีรวบรวมได
ว ๑.๓ ป.๔/๓ จำแนกสัตวอ อกเปนสัตวมี
กระดกู สันหลงั และ สตั วไ มมกี ระดกู สนั หลัง
โดยใชการมี กระดูกสันหลงั เปน เกณฑโดย
ใชข อ มลู ท่รี วบรวมได
ว ๑.๓ ป.๔/๔ บรรยายลกั ษณะเฉพาะที่
สังเกตไดข องสตั วม กี ระดกู สนั หลงั ในกลุม
ปลา กลมุ สัตว สะเทนิ น้ำ สะเทนิ บก กลุ
มสัตวเลอ้ื ยคลาน กลมุ นก และ กลมุ สัตว
เล้ียงลกู ดว ยนำ้ นม และยกตวั อยา ง
สิ่งมชี วี ติ ในแตล ะกลุม

๓ แรงและพลงั งาน ว ๒.๒ ป.๔/๑ ระบุผลของแรงโนม ถวงทมี่ ี ๕ ๓ ๒ ๑๐ - -
ตอ วตั ถจุ ากหลกั ฐาน เชงิ ประจกั ษ
ว ๒.๒ ป.๔/๒ ใชเครือ่ งช่งั สปรงิ ในการวัด
น้ำหนักของวัตถุ
ว ๒.๒ ป.๔/๓ บรรยายมวลของวตั ถุท่ีมี
ผลตอ การเปลี่ยนแปลง การเคลอื่ นทขี่ อง
วัตถจุ ากหลักฐานเชงิ ประจักษ
ว ๒.๓ ป.๔/๑ จำแนกวตั ถุเปนตัวกลาง
โปรง ใส ตวั กลางโปรง แสง และวัตถุทบึ แสง
จากลักษณะ การ มองเหน็ ส่งิ ตา ง ๆ ผา น
วตั ถนุ ัน้ เปน เกณฑ โดยใชห ลักฐานเชงิ
ประจักษ

หนวย ผลการเรยี นรู คะแนน รวม กลาง ปลายป
การ เรอื่ ง ระหวางภาค ป
เรียนรู KPA
๑- -
วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี(วทิ ยาการคำนวณ) ๑- -
๑- -
๑ ขอ ความปรศิ นา ว ๔.๒ ป.๔/๑ ใชเ หตุผลเชงิ ตรรกะในการ -๑- ๑- -
กับเจา หนูยอด แกปญ หา การอธบิ ายการทำงาน การ
นกั สืบ คาดการณผลลพั ธจ ากปญ หาอยา งงาย -๑-
๒ รหสั ลับของ ว ๔.๒ ป.๔/๑ ใชเหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการ ๑- -
นักสบื เยาวชน แกปญ หา การอธิบายการทำงาน การ ๑๑ -
คาดการณผ ลลพั ธจ ากปญ หาอยา งงาย
๓ แผนผงั แสนสนกุ ว ๔.๒ ป.๔/๑ ใชเหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการ ๑๑๑ ๑- -
แกปญ หา การอธบิ ายการทำงาน การ ---
คาดการณผ ลลพั ธจ ากปญ หาอยางงา ย ๕๕๕
๔ สำรวจโลกของ ว ๔.๒ ป.๔/๒ ออกแบบ และเขยี น ๑- -
Scratch (การ โปรแกรมอยา งงาย โดยใชซ อฟตแ วรห รอื
เขาใชง าน สื่อ และตรวจหาขอผดิ พลาดและแกไข
โปรแกรม
Scratch)
๕ การเขียน ว ๔.๒ ป.๔/๒ ออกแบบ และเขียน ๑- -
โปรแกรม โปรแกรมอยางงาย โดยใชซ อฟตแวรหรอื
ภาษาคอมพวิ เต สื่อ และตรวจหาขอผิดพลาดและแกไ ข
อร scratch
เบ้อื งตน (๑)
๖ การเขยี น ว ๔.๒ ป.๔/๒ ออกแบบ และเขยี น ๒- -
โปรแกรม โปรแกรมอยา งงาย โดยใชซอฟตแวรห รอื
ภาษาคอมพวิ เต สอ่ื และตรวจหาขอ ผดิ พลาดและแกไ ข
อร scratch
เบอื้ งตน (๒)
๗ ความนาเช่ือถอื ว ๔.๒ ป.๔/๓ ใชอินเทอรเนต็ คน หาความรู ๓- -
ของขอมูล และประเมินความนา เชอ่ื ถือของขอ มลู - ๑๕ -
สอบกลางป

ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๕

๔ วสั ดแุ ละสสาร ว ๒.๑ ป.๔/๑ เปรยี บเทยี บสมบตั ทิ าง ๑๕ - -
กายภาพดา นความแข็ง สภาพยดื หยนุ การ
นำความรอน และการนำไฟฟา ของวสั ดุ
โดยใชหลักฐานเชิงประจักษจ าก การ

หนวย ผลการเรยี นรู คะแนน รวม กลาง ปลายป
การ เรื่อง ระหวา งภาค ป
เรียนรู KPA

ทดลองและระบุการนำสมบตั เิ รือ่ งความ ๕๓๒
แข็ง สภาพ ยดื หยนุ การนำความรอ น และ ๑๑ -
การนำไฟฟา ของวสั ดุไปใชใน ๑-๑
ชีวติ ประจำวันผา นกระบวนการ ออกแบบ
ชิ้นงาน
ว ๒.๑ ป.๔/๒ แลกเปลีย่ นความคิดกบั ผูอ่นื
โดยการอภปิ ราย เก่ยี วกบั สมบัติทาง
กายภาพของวสั ดุ อยา งมเี หตุผลจากการ
ทดลอง
ว ๒.๑ ป.๔/๒ แลกเปล่ยี นความคดิ กบั ผอู น่ื
โดยการอภปิ ราย เกีย่ วกบั สมบัตทิ าง
กายภาพของวัสดุ อยางมเี หตุผลจากการ
ทดลอง
ว ๒.๑ ป.๔/๓ เปรยี บเทียบสมบัติของ
สสารทง้ั ๓ สถานะ จากขอ มลู ทไ่ี ดจ ากการ
สงั เกตมวล การ ตองการทอี่ ยู รปู รางและ
ปริมาตรของสสาร
ว ๒.๑ ป.๔/๔ ใชเ คร่อื งมือเพื่อวดั มวล และ
ปรมิ าตร ของสสารทง้ั ๓ สถานะ ๑๐ - -
๕ โลกและอวกาศ ว ๓.๑ ป.๔/๑ อธิบายแบบรปู เสนทางการ
ขึ้นและตกของดวงจนั ทรโ ดยใชหลักฐานเชงิ ๒- -
ประจักษ ๒- -
ว ๓.๑ ป.๔/๒ สรางแบบจำลองทอ่ี ธิบาย
แบบรูปการเปล่ียนแปลงรูปรางปรากฏของ
ดวงจันทรและพยากรณรปู รา งปรากฏของ
ดวงจันทร
ว ๓.๑ ป.๔/๓ สรางแบบจำลองแสดง
องคประกอบของระบบสุริยะและอธบิ าย
เปรียบเทยี บคาบการโคจรของดาวเคราะห
ตา ง ๆ จากแบบจำลอง
วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลย(ี วิทยาการคำนวณ)

๘ โปรเจกตว ง ว ๔.๒ ป.๔/๒ ออกแบบ และเขียน
ดนตรี โปรแกรมอยา งงา ย โดยใชซ อฟตแวรหรอื
สือ่ และตรวจหาขอผดิ พลาดและแกไข

๙ ประวัติสวนตวั ว ๔.๒ ๔/๔ รวบรวม ประเมิน นำเสนอ
ของฉัน ขอ มูลและสารสนเทศโดยใชซอฟตแวรท่ี
หลากหลาย เพือ่ แกป ญ หาในชวี ติ ประจำวนั

หนว ย ผลการเรียนรู คะแนน รวม กลาง ปลายป
การ เรอ่ื ง ระหวา งภาค ป
เรยี นรู KPA

๑๐ นักพรีเซนตคน ว ๔.๒ ๔/๔ รวบรวม ประเมิน นำเสนอ ๑ - ๑ ๒ - -
เกง ขอ มูลและสารสนเทศโดยใชซ อฟตแวรที่
หลากหลาย เพอ่ื แกปญหาในชีวติ ประจำวนั
๑๑ โปรแกรมจัดการ ว ๔.๒ ๔/๔ รวบรวม ประเมิน นำเสนอ ๑ - ๑ ๒ - -
ตัวเลข ขอ มูลและสารสนเทศโดยใชซ อฟตแวรท ี่
หลากหลาย เพ่อื แกปญหาในชวี ิตประจำวัน
๑๒ แชรไดไหมนะ ว ๔.๒ ๔/๔ รวบรวม ประเมนิ นำเสนอ ๑ ๑ - ๒ - -
ขอ มูลและสารสนเทศโดยใชซ อฟตแวรท ่ี
หลากหลาย เพ่ือแกปญ หาในชีวติ ประจำวนั
ว ๔.๒ ๔/๕ ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยาง
ปลอดภยั เขา ใจสทิ ธแิ ละหนาที่ของตน
เคารพในสทิ ธขิ องผูอื่นแจงผูเกยี่ วขอ งเมอ่ื
พบขอมูลหรอื บุคคลท่ี
ไมเ หมาะสม
สอบปลายป - - - - - ๑๕

รวม ๓๐ ๒๒ ๑๘ ๗๐ ๑๕ ๑๕

หมายเหตุ
๑) งานทม่ี อบหมายถา ไมสง จะได “ ร ”โดยเขียนผลการเรียนรูหรือตัวชี้วดั และช้ินงานสำคัญ ไมค วรเกนิ
๒ งานและงานท่ีมอบหมายควรมเี วลาใหน กั เรียนทำโดยครผู สู อนตดิ ตามเปน ระยะและกำหนดการสง
กอนสอบปลายภาคประมาณ ๒ สปั ดาหเพอ่ื ครผู สู อนจะไดมีเวลาตดิ ตามนกั เรียนทคี่ างสง
ผลการเรียนรู ชนิ้ งานทใ่ี หท ำ คะแนน กำหนดสง
ว ๑.๓ ป.5/๒ จำแนกพชื ออกเปน พชื ดอกและพชื ไมม ี ๑๕ ๑๕ ส.ค.
ดอก โดยใชการมดี อกเปนเกณฑโ ดยใชขอ มูลทรี่ วบรวมได ๒๕๖๕
ว ๓.๑ ป.๔/๒ สรา งแบบจำลองท่ีอธบิ ายแบบรูปการ สรางแบบจำลองรปู การ ๕ ๓๐ ม.ค.
เปล่ียนแปลงรปู รา งปรากฏของดวงจนั ทรและพยากรณ เปล่ยี นแปลงรูปรางปรากฏ ๒๕๖๖
รูปรา งปรากฏของดวงจนั ทร ของดวงจันทร
ว ๓.๑ ป.๔/๓ สรางแบบจำลองแสดงองคประกอบของ สรางแบบจำลองแสดง ๕ ๓๐ ก.พ.
ระบบสุริยะและอธบิ ายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาว องคประกอบของระบบสุรยิ ะ ๒๕๖๖
เคราะหต าง ๆ จากแบบจำลอง

ผลการเรียนรู ช้นิ งานทีใ่ หทำ คะแนน กำหนดสง
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ)
เลอื กบลอ็ กโปรแกรมคำส่ังตามทรี่ ะบขุ า งตน บนหนาจอ ฝกเขยี นโปรแกรมจะชว ย ๕ ๓๐ มถิ นุ ายน
โปรแกรม Scratch ในเครอ่ื งคอมพวิ เตอร เพอ่ื ใหน ักเรียน สงเสรมิ ใหเ กดิ ความคดิ ๒๕๖๕
เขา ใจคำสั่งพ้ืนฐานตาง ๆ สรา งสรรค ๕
ศกึ ษาคนควา การเขยี นโปรแกรม Scratch การสรางตวั สรา งตวั ละครและกำหนด ๒๗ กรกฎาคม
ละคร คำพดู ท่ตี องการใหต ัวละคร ๒๕๖๕
พูดตามความคิดสรางสรรค
ของนกั เรียน โดยนำเสนอบน ๒๓
เวทีในโปรแกรม Scratch ธันวาคม
รจู กั การสืบคนขอมูล และ การแชรข อมูล เปดเฟสบุคของครแู ละเล่อื น ๒๕๖๕
หนา ขา วสารใหนักเรยี นดู
(สังเกตขา วทถ่ี กู แชรใ น ๓๑
เฟสบุค) มกราคม
รูจ ักการใชโ ปรแกรมไมโครซอฟต นำเสนอดวยโปรแกรม ๒๕๖๖
PowerPoint โดยใหนกั เรยี น
หาขอมูลเพ่ิมเตมิ ใน ๒๘
อินเทอรเ นต็ ได กมุ ภาพันธ
สามารถใชง านเครอ่ื งมือพ้นื ฐานในโปรแกรมไมโครซอฟต นกั เรียนเปดโปรแกรม ๒๕๖๖
เวริ ด การพิมพข อความได Word จากนั้นครูแนะนำ
ประโยชนข องโปรแกรม ๓๑
Word มีนาคม
สามารถอธบิ ายความหมายของอินเทอรเ นต็ สรุปลักษณะและวธิ ีการใชคำ ๒๕๖๖
การใชงาน Search Engine
เพ่ือใชในการคน หาท่มี ี
ประสิทธิภาพ

๒) เวลาสอบกลางป ( ) สอบนอกตาราง ()สอบในตาราง จำนวน...๓๐....ขอ ใชเ วลา...๖๐...นาที
๓) เวลาสอบปลายป ( ) สอบนอกตาราง ()สอบในตาราง จำนวน...๓๐...ขอ ใชเ วลา...๖๐...นาที


Click to View FlipBook Version