The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by marrysugar13, 2021-06-16 23:34:54

สามัคคีเภทคำฉันท์

สามัคคเี ภทคาํ ฉนั ท

สารบัญ หนา

หวั ขอ ๑

ประวัติผูแ้ ต่ง ๓
ความหมายและทมี าของเรือง ๔
วตั ถุประสงค์ ๕
ลกั ษณะคาํ ประพันธ์ ๖
เนอื เรืองยอ่ ๗
ข้อคดิ ทคี วรพิจารณา ๘
อปริหานยิ ธรรม ๗ ประการ ๙
คณุ ค่างานประพันธ์ ๑๐
บรรณานุกรม

ประวตั ิผูแ ตง ๑

นายชติ บุรทตั

เกดิ เมอื่ วนั ท่ี ๖ กนั ยายน พ.ศ ๒๔๓๕
เปนผทู ม่ี คี วามสามารถในการแตงคาํ ประพนั ธ
ประเภทรอยกรองโดยเฉพาะฉันท เปนนกั กวีที่มี
ช่อื เสียงในสมยั รัชกาลท่ี ๖

นายชติ บรุ ทตั เขา ศกึ ษาเบ้ืองตนท่โี รงเรียนวัดราชบพธิ และเขาศกึ ษาจนจบ
ชั้นมัธยมบริบรู ณท ่โี รงเรียนวดั สทุ ศั น เม่ืออายุ ๑๕ ป บิดาจึงใหบ วชเปนสามเณร
ณ วัดราชบพธิ สถติ มหาสมี าราม โดยมพี ระเจา วรวงศเ ธอ กรมหลวงชินวรสริ วิ ฒั น
สมเด็จพระสังฆราชเจา ในเวลานนั้ ทรงเปน อปุ ชฌาจารยบ วชไดไ มนานกล็ าสิกขา

นามปากกา

เจาเงาะ
เอกชน
แมวคราว



ความหมาย และ ที่มาของเร่ือง

คําวาสามัคคีเภท เปนคาํ สมาสเภท มคี วามหมายวา
การแบง การแตกแยก การทําลาย สามัคคเี ภท มีความ
หมายวา การแตกความสามัคคี หรือ การทาํ ลายความ
สามัคคี

ในสมยั รชั กาลท่ี ๖ เกดิ วิกฤตการณท งั้ ภายในและภายนอกประเทศ
เชน เกดิ สงครามโลกครง้ั ที่ ๑ เกดิ กบฏ ร.ศ. ๑๓๐ ซงึ่ สงผลกระทบตอความ
มนั่ คงของบานเมอื ง นายชติ บุรทัต จงึ ไดแตง เรื่องสามคั คีเภทคาํ ฉันทข้ึน
ในป พ.ศ. ๒๔๕๗ เพ่อื มงุ ช้คี วามสาํ คญั ของการรวมกันเปนหมูคณะ
เร่ืองสามคั คเี ภทคําฉันทเ ปนนทิ านสุภาษิตในมหาปรินพิ พานสตู รและ
อรรถกถาสุมงั คลวิลาสินี ทฆี นกิ ายมหาวรรค ลงพิมพใ นหนงั สอื ธรรมจักษุ
ของมหามกฎุ ราชวทิ ยาลยั โดยเรยี บเรียงเปน ภาษาบาลี



วตั ถุประสงค

เพื่อมงุ ชค้ี วามสําคัญของการรวมเปนหมูค ณะ เปน นา้ํ หนง่ึ ใจ
เดยี วกันเพื่อปอ งกันรักษาบา นเมอื งใหมคี วามเปน ปกแผน

สามัคคีเภทคาํ ฉนั ท เปน กวีนทิ านสุภาษติ วาดวย
“โทษแหง การแตกสามคั คี”

ภายหลังไดรบั การยกยอ งเปน ตําราเรียนวรรณกรรม
ไทยท่สี าํ คัญเลม หนงึ่ ทงั้ ในอดตี และปจจบุ นั



ลกั ษณะคําประพันธ

คาํ ประพนั ธท ี่ใชแตง สามัคคเี ภทคําฉนั ทนน้ั ใชฉันทและกาพยสลบั กนั จงึ
เรียกวา คาํ ฉันท โดยมฉี นั ทถงึ ๒๐ ชนดิ ดวยกัน นบั วาเปนวรรณคดีคําฉันท
เลมหน่ึงที่อนชุ นรุนหลังยกยอ งและนบั ถอื เปน แบบเร่อื ยมา โดยเนน จังหวะ
ลหุ คือเสยี งเบาอยา งเครง ครดั กําหนดเปน สระเสยี งสนั้ ไมมีตัวสะกดเสมอ

ชนดิ ของฉนั ททีใ่ ชแตง

กมลฉนั ท, กาพยฉบัง, จิตรปทาฉนั ท, , โตฏกฉันท, ภุชงคประยาตฉนั ท,
มาณวกฉันท, มาลินีฉนั ท, วสนั ตดลิ กฉนั ท, วังสัฏฐฉนั ท, วชิ ชมุ มาลาฉันท,
สทั ทลุ วกิ กีฬิตฉนั ท, สัทธราฉนั ท, สาลินีฉนั ท, สุรางคนางคฉนั ท,
อนิ ทรวเิ ชียรฉันท, อนิ ทรวงศฉ ันท, อีทิสงั ฉนั ท, อุปชาตฉิ นั ท, อปุ ฏฐติ าฉนั ท
และอุเปนทรวิเชยี รฉนั ท

แมจ ะใชก าพยฉ บัง แตก ็ยังจัดในหมวดของฉนั ทได ทง้ั น้กี าพยฉบังท่ใี ช
ในเรอื่ ง กําหนดเปน คาํ ครุทั้งหมด



เนือ้ เรอ่ื งยอ

พระเจาอชาตศตั รูแหงกรงุ ราชคฤห แควนมคธ ทรงมวี ัสสการพราหมณผ ูฉลาด และ
รอบรูศลิ ปศาสตรเปน ทป่ี รึกษา มพี ระประสงคจะขยายอาณาจกั รไปยงั แควน วชั ชขี อง
เหลากษตั ริยล ิจฉวี ซึง่ ปกครองแควนโดยยดึ ม่นั ในอปรหิ านิยธรรมเนน สามคั คีธรรม เปน
หลกั การโจมตแี ควนนใ้ี หไ ดจ ะตอ งทาํ ลายความสามัคคีนีใ้ หไดเสียกอ น
วสั สการพราหมณปุโรหิตท่ปี รกึ ษาจึงอาสาเปน ไสศ ึกไปยแุ หยใหก ษัตริยลจิ ฉวีแตกความ
สามคั คี โดยทําเปนอบุ ายกราบทูลทดั ทานการไปตีแควน วชั ชี พระเจา อชาตศตั รูแสรง กรว้ิ
รับสง่ั ลงโทษใหเ ฆ่ยี นวัสสการ พราหมณ อยา งรุนแรงแลวเนรเทศไป

ขา วของวัสสการพราหมณไปถงึ นครเวสารี เมอื งหลวงของแควนวัชชี กษตั ริยล จิ ฉวี
รับสงั่ ใหวัสสการพราหมณเขา รับราชการกบั กษตั ริยลิจฉวี ดว ยเหตุท่เี ปนผูมสี ติปญญา มี
วาทศลิ ปด ี มีความรอบรใู นศิลปะวทิ ยาการ ทําใหก ษตั รยิ ล จิ ฉวรี ับไวในพระราชสาํ นัก ให
พิจารณาคดีความและสอนหนงั สอื พระโอรส วัสสการพราหมณไ ดท าํ หนาที่อยา งเตม็ ความ
รูความสามารถ จนกษตั ริยลิจฉวีไววางพระทัย กด็ าํ เนินอบุ ายข้ันตอไป คือสรา งความ
คลางแคลงใจในหมูพระโอรส แลวลกุ ลามไปถงึ พระบิดา ซงึ่ ตางก็เชอื่ พระโอรส ทําให
ขุนเคืองกนั ไปทวั่ เวลาผานไป ๓ ป เหลา กษตั ริยลิจฉวีก็แตกความสามคั คีกนั หมด

แมว สั สการพราหมณตีกลองนดั ประชมุ ก็ไมมีพระองคใดมารว มประชุมวัสสการพรา
หมณจงึ ลอบสงขา วไปยังพระเจาอชาตศัตรู ใหท รงยกทพั มาตแี ควนวชั ชีไดอ ยางงายดาย



ขอ คิดทีค่ วรพิจารณา

๑. การขาดการพิจารณาไตรต รอง นําไปซึ่งความสูญเสยี ดงั เชน เหลา
กษัตริยล จิ ฉวี “ขาดการพจิ ารณาไตรต รอง” คือ ขาดความสามารถในการใช
ปญ ญาตรติ รองพิจารณาสอบสวน และใชเหตผุ ลท่ีถกู ตอง จึงหลงกลของ
วสั สการพราหมณ ถกู ยแุ หยใหแ ตกความสามคั คีจนเสียบา นเสยี เมอื ง

๒. แนวคดิ ของเรือ่ งสามคั คเี ภทคําฉันท สามัคคีเภทคําฉันท เปน นทิ าน
สุภาษติ สอนใจใหเ ห็นโทษของการแตกความสามคั คี และแสดงใหเ ห็น
ความสําคัญของการใชสติปญญาใหเกดิ ผลโดยไมต องใชก าํ ลัง

๓. ขอ คิดเห็นระหวางวสั สการพราหมณกบั กษัตรยิ ล จิ ฉวี บางคนอาจมี
ทรรศนะวา วัสสการพราหมณขาดคุณธรรม ใชอุบายลอลวงผอู ืน่ เพือ่ ประโยชน
ฝา ยตน แตมองอกี มุมหน่งึ กจ็ ะเหน็ วา วสั สการพราหมณนา ยกยองตรงท่มี คี วาม
จงรกั ภกั ดีตอพระเจาอชาตศัตรแู ละตอบานเมือง ยอมถูกลงโทษเฆยี่ นตี ยอม
ลาํ บาก จากบานเมืองตนไปเสยี่ งภยั ในหมศู ัตรู ตอ งใชค วามอดทน สตปิ ญญา
ความสามารถอยางสูงจึงจะสัมฤทธผิ ลตามแผนการท่วี างไว

ขอคดิ ทีค่ วรพจิ ารณา ๗

๔. เร่อื งสามัคคเี ภทคําฉันทใ หอะไรกับผอู าน ขอคิดสาํ คญั ทไ่ี ดจาก
เรอื่ ง คอื โทษของการแตกความสามคั คี สว นแนวคิดอนื่ ๆ มดี ังนี้

การใชปญญาเอาชนะศัตรโู ดยไมเสยี เลอื ดเนือ้
การเลอื กใชบ คุ คลใหเหมาะสมกับงานจะทําใหง านสาํ เรจ็ ไดด วยดี
การใชวิจารณญาณไตรตรองกอนทาํ การใด ๆ เปนสิง่ ที่ดี
การถอื ความคดิ ของตนเปนใหญและทะนงตนวา ดกี วาผอู นื่ ยอม
ทําใหเ กิดความเสยี หายแกส วนรวม

๕. ศลิ ปะการประพนั ธใ นสามคั คีเภทคาํ ฉันท นายชติ บุรทัตสามารถสราง
ตวั ละคร เชน วสั สการพราหมณ ใหมบี คุ ลกิ เดน ชดั และสามารถดาํ เนิน
เรอ่ื งใหช วนติดตาม นอกจากน้ี ยงั มคี วามเชยี่ วชาญในการแตง คาํ ประพนั ธ

ดัดแปลงฉันทบ างชนิดใหไพเราะยิ่งข้นึ
เลอื กสรรฉนั ทช นิดตาง ๆ มาใชสลับกันอยางเหมาะสมกบั เน้ือเรอื่ ง
เลนสมั ผัสในทง้ั สมั ผัสสระและสัมผสั อักษรอยางไพเราะ
ใชคํางาย ๆ ในการเลา เรื่อง ทําใหด าํ เนนิ เรื่องไดรวดเรว็ และผอู าน
เขา ใจเรอื่ งไดทนั ที



อปรหิ านิยธรรม ๗ ประการ

๑. หม่ันประชมุ กนั เนืองนติ ย
๒. พรอมเพรียงกนั ประชุม พรอ มเพรยี งกนั เลิกประชุม พรอ มเพรียงกันทํา
กิจทพี่ งึ ทาํ
๓. ไมบ ญั ญัติสิ่งท่ีมไิ ดบัญญตั เิ อาไว ไมลมลางสิง่ ท่ีบญั ญตั ิไว ถอื ปฏบิ ัติตาม
วชั ชีธรรมตามทว่ี างไวเดิม
๔. ทานเหลาใดเปน ผูใหญในชนชาววัชชี ก็ควรเคารพนับถือทานเหลา นัน้
เห็นถอยคาํ ของทานวา เปน ส่ิงอันควรรับฟง
๕. บรรดากุลสตรแี ละกลุ กุมารที ง้ั หลายใหอ ยูด ี โดยมถิ กู ขม เหงหรือฉุดครา
ขืนใจ
๖. เคารพสกั การบูชาเจดยี ข องวัชชที ั้งหลายท้ังภายในและภายนอก ไมปลอ ย
ใหธรรมิกพลีท่ีเคยใหเคยทาํ แกเ จดียเหลา น้ันเสอ่ื มทรามไป
๗. จัดใหความอารกั ขา คมุ ครอง และปอ งกนั อนั ชอบธรรมแกพระอรหันตท ั้ง
หลายทง้ั ทยี่ งั มไิ ดมาพงึ มาสแู วนแควน และทมี่ าแลว พึงอยใู นแวน แควน โดย
ผาสุก

คุณคางานประพนั ธ ๙

๑.ดา นวรรณศลิ ป
ใชฉันทลักษณไดอยา งงดงามเหมาะสม โดยเลือกฉนั ทชนิดตาง ๆ มา
ใชส ลับกนั ตามความเหมาะสมกับเน้อื เรอื่ ง จงึ เกิดความไพเราะสละ
สลวย
ใชภาษาท่เี ขา ใจงาย เหน็ ภาพชัดเจน

๒. ดานสงั คม
เนน โทษของการแตกความสามคั คใี นหมคู ณะ
ดา นจรยิ ธรรม เนน ถงึ หลักธรรม อปรหิ านิยธรรม ซง่ึ เปน ธรรมอนั ไมเปน ท่ี
ต้งั แหงความเสื่อม
เนน ถึงความสําคญั ของการใชสตปิ ญ ญาตรติ รอง และแกไขปญ หาตา ง ๆ
โดยไมต องใชก าํ ลงั

บรรณานกุ รม ๑๐

ธัญญเรศ ศรเดช. (๒๕๕๑). ศึกษาวรรณคดี สามัคคเี ภทคาํ ฉันท. สบื คน ๘ มิถุนายน ๒๕๖๔,
จาก https://sites.google.com/site/faiitanradee19/samakhkhi-pheth-kha-chanth

ภัททิกานันท. (๒๕๕๑). สามัคคเี ภทคาํ ฉนั ท. สืบคน ๘ มถิ ุนายน ๒๕๖๔,
จาก https://pattikanan.wordpress.com/สามัคคเี ภทคําฉนั ท/

จัดทาํ โดย
นางสาวบณุ ฑรกิ สุขใจมติ ร
ชนั มัธยมศึกษาปที ๖/๒ เลขที ๓๐

เสนอ
คณุ ครสู ุชาดา เสือแพร


Click to View FlipBook Version