The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้ การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supatra Palasun, 2020-06-21 02:16:14

ใบความรู้ การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ

ใบความรู้ การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ

รายวิชา การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ
(อช 32001)

By : Supatra

รายวิชา (อช 32001) การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ
การวเิ คราะหแ์ ผนโครงการพัฒนาอาชพี ให้มีรายได้ มเี งินออมและมีทุนในการขยายอาชีพ
ความสมั พนั ธข์ องเหตุผลของแผนและโครงการกบั การมีรายได้ มเี งินออมและมีทุนในการขยายอาชพี
โครงการ คอื กจิ กรรมหรอื แผนงานที่เปน็ หน่วยอิสระหนงึ่ ทีส่ ามารถทาการวิเคราะหว์ างแผน
และนาไปปฏิบัติ พร้อมท้ังมีลกั ษณะแจ้งชัดถึงจุดเริม่ ตน้ และจดุ ส้นิ สุด โดยแผนสาหรับกิจการต่างๆ ตอ้ งระบุวตั ถปุ ระสงค์
ตามระยะเวลาที่กาหนด
โครงการ คือ การวางแผนล่วงหน้าที่จัดทาขึ้นอย่างมีระบบประกอบด้วยกิจกรรมย่อยหลายกิจกรรมท่ี
ต้องใช้ทรัพยากรในการดาเนินงาน และคาดหวังท่ีจะได้ผลตอบแทนอย่างคุ้มคา่ แตล่ ะโครงการมีเป้าหมาย
เพื่อการผลิตหรือการให้บริการเพ่ือเพิ่มพูนสมรรถภาพของแผนงาน ดังนั้นโครงการ จึงเป็นส่วนสาคัญส่วนหนึ่งของการ
วางแผนที่จะทาให้องคก์ รบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ตามเปา้ หมาย
ลักษณะของโครงการทีด่ ี สามารถแกป้ ญั หาขององค์การหรือหน่วยงานน้ันๆ ได้

1. มีรายละเอียด วตั ถุประสงคเ์ ปา้ หมายตา่ ง ๆ ชดั เจน สามารถดาเนนิ งาน มีความเปน็ ไปได้

2. กาหนดขึน้ อยา่ งมขี ้อมูลความจรงิ (มีสถติ ิ ตวั เลข ข้อมูลจากองค์กรดงั กล่าว) และเปน็ ข้อมลู ที่

ไดร้ บั การวเิ คราะหอ์ ย่างรอบคอบ

3. อา่ นแลว้ เข้าใจว่าน้ีคอื โครงการอะไร มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร ทาไปเพ่อื อะไร มขี อบเขตการทาแคไ่ หน

4. มีระยะเวลาในการดาเนินงานแน่นอน ระบุวนั เวลาเร่ิมต้นและสิน้ สดุ

5. สามารถตดิ ตามประเมินผลได้

6. รายละเอยี ดของโครงการตอ่ เน่ืองสอดคล้องสมั พันธก์ นั

7. ตอบสนองความต้องการของกล่มุ ชน สงั คม และประเทศชาติ

8. ปฏบิ ตั แิ ลว้ สอดคล้องกับแผนงานหลกั ขององค์การ

การออม หมายถึง สว่ นของรายไดท้ เ่ี หลืออยู่หลังจากได้มีการใชจ้ า่ ยเพื่อการอุปโภคและบรโิ ภคแล้ว

โดยจะเกบ็ เอาไว้สาหรบั การใชจ้ ่ายในอนาคตยามฉุกเฉนิ หรือในคราวที่มีความจาเป็น

การออม แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื

1. การออมดว้ ยความสมคั รใจ เปน็ การออมท่เี กดิ จากความสมัครใจของแตล่ ะบุคคลทั้งนขี้ ้นึ อยู่กับ

รายได้ ความพึงพอใจ และสภาพแวดลอ้ ม โดยการเปรียบเทยี บระหวา่ งการเกบ็ เงนิ ออมไว้ใชใ้ นอนาคตกับ

การใชจ้ า่ ยปัจจบุ นั ว่าทางเลือกใดจะดีกวา่ กัน

2. การออมโดยถกู บังคบั เปน็ การออมทบ่ี ุคคลไมส่ ามารถที่จะเลือกได้ เนื่องจากมีกฎหมาย

หรอื ระเบียบข้อบังคบั ใหต้ ้องปฏิบตั ิ เช่น การทาประกันชีวติ การหกั เงนิ สะสมเข้ากองทุนสารองเลย้ี งชีพ

การหกั เงนิ ประกันสงั คม การซ้ือห้นุ ในสหกรณอ์ อมทรพั ย์ เป็นตน้

ปัจจัยทจ่ี งู ใจใหเ้ กดิ การออมทรัพย์ ได้แก่

1. อตั ราดอกเบย้ี หากอตั ราดอกเบย้ี สูงก็จะเปน็ แรงจูงใจให้มีการออมมากขน้ึ

2. สถาบันการเงิน หากสถาบันการเงนิ มคี วามมั่นคง มคี วามเสี่ยงน้อย และสามารถให้บรกิ ารแก่ลกู ค้าไดเ้ ป็นอย่างดี ซึ่งจะ

เป็นแรงกระตุ้นใหม้ กี ารออมมากข้นึ

3. ผู้ทม่ี ีรายได้มากยอ่ มมโี อกาสและสามารถท่จี ะเกบ็ เงินออมไดม้ ากกว่าผทู้ ี่มีรายได้น้อย

องค์กรธุรกิจที่ทาหน้าท่ีเกี่ยวกับเงินออม และนาเงินออมไปลงทุนในลักษณะของการให้กู้ยืมเงินไปลงทุนอีกต่อ
หน่งึ ไดแ้ ก่
1. ธนาคาร ไดแ้ ก่ ธนาคารออมสนิ ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ
2. สถาบนั การเงินหรือบรษิ ทั เงินทุนต่างๆ
3. สหกรณอ์ อมทรัพย์
4. บริษทั ประกนั ชวี ติ
5. สถาบันการเงินนอกระบบ ซง่ึ เป็นระบบท่ีไมถ่ กู ต้องตามกฎหมายและมีความเส่ียงมากทสี่ ดุ เชน่ การเลน่ แชร์ เป็นตน้

ผลดขี องการออม
1. ทาให้มเี งนิ ไว้ใช้จ่ายในยามจาเป็นหรอื มีความตอ้ งการใชจ้ ่ายอย่างรีบดว่ น
2. สามารถนาไปลงทุนในกิจกรรมต่างๆ ทีพ่ ิจารณาเห็นวา่ มคี วามมนั่ คง ปลอดภยั และให้ผลตอบแทนสูง
3. เพือ่ พัฒนาและสรา้ งความมั่นคงในชวี ิตและครอบครัว

แผน คือ แนวปฏบิ ตั ทิ ี่กาหนดไวล้ ่วงหน้า ซ่งึ ตอ้ งเก่ยี วข้องกบั การกระทา อนาคต และความตอ้ งการ
ของบุคคลและองคก์ ร

แผน คือ ผลที่ได้จากการวางแผน
แผน คอื สิ่งท่ีกาหนดขนึ้ และถอื เปน็ แนวดาเนินการ
จากความหมายของแผนท่ีกล่าวมาพบว่า แผน คือ ผลท่ีเกิดจากการวางแผนหรืออาจกล่าวอีกนัยหน่ึงว่า “การ
วางแผน” คือกจิ กรรมหรอื การกระทาท่ีก่อให้เกดิ “แผน” ซง่ึ อาจกระทาข้นึ เป็นลายลกั ษณอ์ ักษร
แบบเปน็ ทางการหรือไม่เปน็ ทางการก็ได้
การวางแผนกลยุทธ์ คือ การศึกษาก็เหมือนวงการอน่ื จะตอ้ งพบกับการเปลย่ี นแปลงที่คาดไม่ถึง เป็นเรอื่ งทย่ี าก
ในการทานายอนาคต นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์คนหน่ึงชื่อ Arthur C. Clarks พูดว่า “อนาคตมิใช่ส่ิง ท่ีเคยเป็น” การ
วางแผนกลยุทธ์เป็นวิธีการในการกาหนดและธารงรักษาทิศทางในอนาคตกลายเป็นส่ิงที่หายากแสนยากในการทานาย
เป็นกระบวนการตอ่ เน่ืองซึ่งองค์กรต้องดาเนินตามและปรบั ให้เข้ากบั บริษทั ทั้งภายในและภายนอกท่ีเปลี่ยนแปลงแน่นอน
การวางแผนมิได้เสร็จสิ้นเมื่อเขียนแผนเสร็จแล้วนั้นเป็นการบันทึกกระบวนการที่เห็นตามปกติในช่วงเวลาเท่าน้ัน ความ
ยากของแผนอยู่ที่ข้ันนาไปดาเนินการในการวางแผนกลยุทธ์จุดเน้นอยู่ท่ีวิวัฒนาการหรือข้ันดาเนินการตามแผน โดยตัว
แผนตอ้ งปรับใหเ้ ขา้ กับสถานการณ์ทีเ่ ปลี่ยนแปลงไป
พจนานุกรม The Concise Oxford Dictionary ไดน้ ยิ ามคาว่ากลยทุ ธว์ า่ “เป็นศิลปะการทาสงคราม
ของนายพล” สะท้อนให้เหน็ ว่ามุ่งเน้นไปท่ีกองทัพใช้ในระหว่างการแข่งขัน และการต่อสู้หลงั จากน้ันความคิดทางกลยุทธ์
ได้นามาใช้ในการวางแผนธุรกจิ
การวางแผนกลยทุ ธ์ กลายเป็นท่ีนยิ มในปี ค.ศ.1950 และปี ค.ศ.1960 บรษิ ัทจานวนมากไดน้ ามาใช้
ในการสร้างโอกาสทางธุรกิจ กลายเป็นสงิ่ จาเป็นในการทานายอนาคตอยา่ งเปน็ ระบบ เปน็ รปู แบบของการ
วางแผนระยะยาว จุดมุ่งหมายเป็นการกาหนดวัตถุประสงค์ของบริษัท แล้วก็กาหนดแผน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์และ
ในท่ีสุดก็จัดสรรงบประมาณเป็นเงินทุน ดังนั้น การวางแผนระยะยาวในฐานะที่เป็นวิธีการกาหนดกลยุทธ์ปรากฏการณ์น้ี
หายไป เม่อื มนั ไม่สามารถพยากรณ์แนวโน้มที่จะเกดิ ข้นึ ในอนาคตได้ ดังน้ัน แผนกลยุทธจ์ ึงเข้ามาแทนที่แผนระยะยาว ซ่ึง
คล้องรวมการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับว่าเป็นไปได้ ในด้านแนวโน้มต่างๆ และแผนระยะยาวไม่อยู่บนพ้ืนฐานของความคิด

ทีว่ ่าความเติบโตทอี่ าจแน่ใจได้ทกุ วันน้ี การวางแผนกลยุทธ์เป็นเทคนคิ ที่ชว่ ยผู้นาหรือผู้บริหารที่เก่ียวข้องกับส่งิ แวดลอ้ มที่

สับสนและมีสิง่ ท้าทายมากมายเผชญิ หนา้ องค์การอยู่ วรรณกรรมทางธรุ กิจใช้คาหลากหลาย เชน่ การบรหิ ารกลยุทธ์

การวางแผนกลยุทธ์และความคิดทางกลยุทธ์ แต่หลักการก็คือ เป็นกระบวนการท่ีสมาชิกในองค์การ

สร้างวิสยั ทัศน์เข้ามา (ภาพอนาคตขององค์กร) แล้วสร้างวิธีการที่จาเป็นข้ึนมาเพื่อให้บรรลุผลในภาพอนาคตน้ัน

การวางแผนกลยุทธเ์ ปน็ โมเดลที่มปี ระโยชน์ วิธกี ารน้เี ราตอ้ งกากับดแู ลความกา้ วหนา้ และปรับให้เขา้ กบั

สถานการณ์ทเี่ ปลี่ยนแปลง ดงั สรปุ ในตารางต่อไปน้ี

ความแตกต่างระหว่างแผนระยะยาวกบั แผนกลยุทธ์

แผนระยะยาว แผนกลยทุ ธ์

1. คดิ ในระบบปิดซง่ึ มเี หตผุ ลชดั เจนเปน็ แผนระยะ 1. คดิ ในระบบเปดิ ซึง่ องค์การเปน็ พลวตั รและมีการ

3-5 ปี ทีส่ รา้ งข้นึ เปลีย่ นแปลงแน่นอน ในขณะที่มขี ้อมลู จากปัจจัย

2. การวางแผนเปน็ หนา้ ทที่ ีแ่ ยกสว่ น ส่งิ แวดลอ้ มท่มี ีการเปลี่ยนแปลง

3. จุดเน้นมุ่งทแ่ี ผนสุดท้าย เปา้ หมายและวัตถุประสงค์ 2. การวางแผนเปน็ การคล้องรวมของการดาเนนิ การ

องค์การในอนาคตระยะ 3-5 ปี ขององค์การ

4. สว่ นสาคญั คือการวเิ คราะห์สง่ิ แวดลอ้ มภายใน 3. จดุ เน้นท่กี ระบวนการ

5. การตัดสนิ ใจในเรอ่ื งอนาคตบนพนื้ ฐานข้อมูล 4. ใชก้ ารวเิ คราะหส์ ภาวะแวดล้อมภายในและสภาพ

ในปจั จุบัน แวดลอ้ มภายนอกเพื่อการสรา้ งวิสัยทศั นร์ ่วม

5. แนวโนม้ ในอนาคตมาตดั สินใจในปัจจบุ นั

การทบทวนองคค์ วามรทู้ จ่ี าเป็นต่อการพัฒนาอาชีพให้มีรายได้ มเี งินออมและมที นุ ในการขยายอาชีพ
การระบคุ วามรู้และจัดทาระบบสารสนเทศ

สารสนเทศ (information)เป็นผลลัพธ์ของการประมวลผล การจัดดาเนินการ และการเข้าประเภท
ข้อมูลโดยการรวมความรู้เข้าไปต่อผู้รับสารสนเทศนั้น สารสนเทศมีความหมายหรือแนวคิดที่กว้าง และ
หลากหลาย ตั้งแต่การใช้คาว่าสารสนเทศในชีวิตประจาวัน จนถึงความหมายเชิงเทคนิค ตามปกติในภาษาพูด
แนวคิดของสารสนเทศใกล้เคียงกับความหมายของการส่ือสาร เงื่อนไข การควบคุม ข้อมูล รูปแบบ คาส่ัง
ปฏิบัตกิ าร ความรู้ ความหมาย สือ่ ความคิด การรบั รู้ และการแทนความหมาย

การประมวลผลสารสนเทศ
สิง่ ที่ได้จากการนาขอ้ มลู ทเี่ กบ็ รวบรวมไวม้ าประมวลผล เพ่อื นามาใชป้ ระโยชน์ตามจุดประสงค์
สารสนเทศ จึงหมายถึง ข้อมูลที่ผา่ นการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปที่ใช้ได้สารสนเทศท่ีดี
ต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกาหนดให้
ผู้ใดบ้างเป็นผู้มสี ิทธใ์ ช้ข้อมูล ได้ ขอ้ มูลท่ีเป็นความลับจะต้องมีระบบขน้ั ตอนการควบคุม กาหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรอื การ
กระทากับข้อมูลว่าจะกระทาได้โดยใครบ้าง นอกจากน้ีข้อมูลท่ีเก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทาลายโดยไม่ได้
ตั้งใจ การจัดเก็บข้อมูลท่ีดีจะต้องมีการกาหนดรูปแบบของข้อมูล ให้มีลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบเดียวกัน

ขอ้ มูลแต่ละชุดควรมคี วามหมายและมีความเปน็ อิสระในตัวเอง นอกจากนีไ้ มค่ วรมีการเกบ็ ขอ้ มูลซ้าซ้อนเพราะจะเป็นการ

สนิ้ เปลอื งเนอื้ ท่เี ก็บข้อมลู

สารสนเทศในความหมายของข้อความ

สารสนเทศสามารถหมายถึงคุณภาพของข้อความจากผู้ส่งไปหาผู้รับ สารสนเทศจะประกอบไปด้วยขนาดและ

เหตุการณ์ของสารสนเทศนั้น สารสนเทศสามารถแทนข้อมูลท่ีมีความถูกต้องและความแม่นยาหรือไม่มีก็ได้ ซ่ึงสามารถ

เป็นได้ทั้งข้อเท็จจริงหรือข้อโกหกหรือเป็นเพียงเหตุการณ์หน่ึงที่เกิดขึ้น สารสนเทศจะเกิดข้ึนเม่ือมีผู้ส่งข้อความและผู้รับ

ข้อความอย่างน้อยฝ่ายละหน่ึงคนซึ่งทาให้เกิดการส่ือสารของข้อความและเขา้ ใจในข้อความเกิดข้ึน ซง่ึ มีลกั ษณะใกลเ้ คียง

กับ ความหมาย ความรู้ คาส่ัง การส่ือสาร การแสดงออกและการกระตุ้นภายใน การส่งข้อความท่ีมีลักษณะเป็น

สารสนเทศ ในขณะเดียวกันกระบวนการส่ือสารสารสนเทศก็ถือเป็นสารสนเทศเชน่ เดียวกัน ถึงแม้วา่ คาวา่ “สารสนเทศ”

และ “ข้อมูล” มีการใช้สลับกันอยู่บ้าง แต่สองคานี้มีข้อแตกต่างที่เด่นชัดคือ ข้อมูลเป็นกลุ่มของข้อความที่ไม่ได้จัดการ

รูปแบบ และไมส่ ามารถนามาใชง้ านไดจ้ นกว่าจะมีการจัดระเบยี บและดงึ ออกมาใชใ้ นรูปแบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศ (Information Systems) หมายถึง ระบบงานท่ีถูกออกแบบข้ึนมาเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูล

การจดั ทาสารสนเทศ และการสนบั สนนุ สารสนเทศใหแ้ ก่บุคคลหรอื หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ภายในองค์การทีต่ ้องการ

ขอ้ มูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจรงิ ไดถ้ กู เก็บรวบรวมมาโดยที่ยังไมไ่ ดผ้ ่านกระบวนการวิเคราะห์ เชน่ การบนั ทึก

ขอ้ มลู ยอดขายสินคา้ แตล่ ะวนั

สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผล หรือจัดระบบแล้ว เพ่ือให้มี

ความหมายและคุณคา่ สาหรับผู้ใช้ เช่น ปรมิ าณการขายสนิ ค้าแตล่ ะตวั จาแนกตามเขตการขาย

การพัฒนาแผนและโครงการพัฒนาอาชพี ให้มีรายได้มีเงินออมและมีทุนในการขยายอาชีพ
เรื่อง 1 แผนและโครงการพฒั นาอาชพี
การวางแผน คือ การมองอนาคต การเล็งเหน็ จุดหมายทตี่ อ้ งการ การคาดปญั หาเหลา่ น้นั ไว้ลว่ งหนา้
ไวอ้ ยา่ งถกู ต้อง ตลอดจนการหาทางแกไ้ ขปัญหาต่างๆ เหล่าน้นั
ประเภทของแผนเมื่อกล่าวมาถึงตอนนี้น่าจะพูดถึงประเภทของแผนเสียเล็กน้อยเพื่อความเข้าใจลักษณะของแผนแต่ละ
อย่าง ถ้าจะมองในแงข่ องระยะเวลาอาจจะแบ่งแผนออกเปน็ 4 ประเภทใหญๆ่ ดงั น้คี อื
1. แผนพัฒนาระยะยาว (10 - 20 ปี) กาหนดเค้าโครงกว้างๆ ว่าประเทศชาติของเราจะมีทิศทางพัฒนาไปอย่างไร ถ้าจะ
ดงึ เอารัฐธรรมนูญ และ/หรือแผนการศึกษาแหง่ ชาติมาเปน็ แผนประเภทนกี้ พ็ อ ถูไถไปได้
แตค่ วามจริงแผนพฒั นาระยะยาวของเราไม่มี
2. แผนพัฒนาระยะกลาง (4 - 6 ป)ี แบ่งช่วงของการพัฒนาออกเปน็ 4 ปี หรอื 5 ปี หรือ 6 ปี โดยคาดคะเนว่าในช่วง 4 -
6 ปี น้ี จะทาอะไรกันบ้าง จะมีโครงการพัฒนาอะไร จะงบประมาณใช้ทรัพยากรมากน้อยเพียงไร แผนดังกล่าวได้แก่
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาตินั่นเอง ในสว่ นของการศกึ ษากม็ แี ผน
พฒั นาการศกึ ษาแหง่ ชาติ (ไมใ่ ช่แผนการศึกษาแห่งชาติ) ในเร่อื งของการเกษตรกม็ แี ผนพัฒนาเกษตรเป็นตน้
3. แผนพฒั นาประจาปี (1 ปี ) ความจริงในการจดั ทาแผนพฒั นาระยะกลาง เชน่ แผนพฒั นาการศกึ ษา
ได้มีการกาหนดรายละเอียดไว้เป็นรายปีอยู่แล้ว แต่เนื่องจากการจัดทาแผนพัฒนาระยะกลางได้จัด ทาไว้ลว่ งหน้า ข้อมูล
หรือความต้องการที่เขียนไว้อาจไม่สอดคล้องกับสภาพที่แท้จริงในปัจจุบัน จึงต้องจัดทาแผนพัฒนาประจาปีขึ้น
นอกจากนั้น วิธีการงบประมาณของเราไม่ใช้แผนพัฒนาระยะกลางขอตั้งงบประมาณประจาปี เพราะมีรายละเอียดน้อย
ไป แต่จะต้องใช้แผนพฒั นาประจาปี เปน็ แผนขอเงนิ
4. แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี (1 ปี) ในการขอตั้งงบประมาณตามแผนพฒั นาประจาปีในขอ้ 3

ปกติมักไม้ได้ตามที่กระทรวง ทบวง กรมตา่ งๆขอไป สานักงบประมาณหรือคณะกรรมาธิการของรัฐสภามักจะตัดยอดเงิน
งบประมาณท่ีส่วนราชการต่างๆ ขอไปตามความเหมาะสมและจาเป็นและสภาวการณ์การเงินงบประมาณของประเทศท่ี
จะพึงมีภายหลังที่ส่วนราชการต่างๆ ได้รับงบประมาณจริงๆแล้วจาเป็นท่ีจะต้องปรับแผนพัฒนาประจาปีที่จัดทาข้ึนเพื่อ
ขอเงินใหส้ อดคล้องกับเงินทีไ่ ด้รบั อนุมัติ ซงึ่ เรยี กว่าแผนปฏิบัติการประจาปขี ึ้น

เรอื่ งที่ 2 องค์ความรู้ (Knowledge)
องค์ความรู้ คือ ข้อมูล (Data) หรือข่าวสาร (Information) ท่ีสามารถอธิบายความหมายได้มีความสัมพันธ์กับปัญหา
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างตรงประเด็น ซึ่งองค์ความรู้จัดเปน็ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาอย่างหนึ่งของ
องค์กร สามารถแลกเปล่ียนทรัพยส์ ินนี้ได้ระหว่างบุคคลและทรัพย์สินชนิดนี้สามารถเจริญเติบโตหรอื พัฒนาให้เพ่ิมพูนได้
ดงั นน้ั องค์ความรู้จงึ จดั เป็นพลังพเิ ศษขององคก์ ร ทจี่ ะสามารถเพิม่ ผลกาไรใหก้ ับองค์กรไดใ้ นอนาคต

1. Base knowledge คือ องค์ความรู้พ้ืนฐานขององค์กร ซ่ึงทุกองค์กรจะต้องมี จัดเป็นองค์ความรู้ที่มี
ความสาคัญ ใช้ในการสรา้ งความไดเ้ ปรียบในการแข่งขัน และใช้วางแผนระยะสนั้ ขององคก์ ร

2. Trivial knowledge คือ องค์ความรู้ท่ัวไปขององค์กร เก็บรวบรวมไว้ในองค์กรแต่ไม่ได้ใช้ในการ
ตดั สินใจกบั งานหลักหรือภารกิจหลกั ขององค์กร

3. Explicit knowledge คือ องค์ความรู้ที่มีโครงสร้างชัดเจน สามารถเขียนบรรยายได้อย่างชัดเจนใน
รูปแบบของกระดาษ (Paper) หรือรายงาน (Report) ซึ่ง Explicit knowledge อาจได้มามาจากวัตถุประสงค์
หลักในการดาเนินงานขององค์กร ข้อมูลท่ีว่าด้วยหลักเหตุผลต่างๆ หรือข้อมูลด้านเทคนิค ซึ่งองค์ความรู้เหล่านี้
สามารถเก็บรวบรวมได้ง่ายๆ จากแหล่งเอกสารในองค์กรสามารถถ่ายทอดให้กับคนอ่ืนได้ง่ายอาจจะโดยวิธีการ
สอนหรอื การเรียนรู้

4. Tacit knowledge คอื องคค์ วามรู้ที่ไม่มีโครงสรา้ ง ไม่สามารถบรรยายหรอื เก็บรวบรวมได้จากแหล่ง
เอกสาร เป็นความรู้ทีส่ ะสมมาจากประสบการณ์ทเี่ คยพบเจอกับปัญหาตา่ งๆ อาจจะเป็นสัญชาตญาณและความ
ชานาญเฉพาะด้านของบุคคล ซง่ึ ปจั จุบันองคค์ วามร้ปู ระเภทนี้ กาลงั ถูกพัฒนาให้มีการจัดเก็บเพราะเป็นความรู้ท่ี
นอกเหนอื จากมีอยูใ่ นรปู แบบของ Explicit knowledge

เรื่องท่ี 3 ทักษะในความรู้
ทกั ษะ (Skill) คือสิ่งที่องค์กรต้องการให้ “ทา” เชน่ ทกั ษะด้าน ICT ทักษะด้านเทคโนโลยีการบรหิ าร
สมยั ใหม่ เป็นส่งิ ท่ีตอ้ งผ่าน การเรียนรู้ และฝึกฝนเป็นประจาจนเกิดเปน็ ความชานาญในการใช้งาน
ความรู้ (Knowledge) หมายถึง การเรียนรู้ที่เน้นถึงการจาและการระลึกได้ถึงความคิด วัตถุและ
ปรากฏการณต์ ่าง ๆ ซ่ึงเป็นความจาท่ีเริ่มจากส่ิงง่าย ๆ ท่เี ปน็ อิสระแก่กัน ไปจนถึงความจาในสง่ิ ที่ยุ่งยากซับซอ้ น
และมีความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งกัน
ความรตู้ ามลกั ษณะมี 2 ประเภท คือ
1. ความรู้ท่ีฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ท่ีได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณของแต่ละ
บคุ คล เช่น ทกั ษะในการทางาน งานฝมี ือ หรือการคิดเชงิ วเิ คราะห์
2. ความรู้ที่ชัดแจง้ (Explicit Knowledge) เป็น ความรู้ท่ีสามารถ ถ่ายทอดได้โดยผา่ นวิธตี า่ งๆ เช่น การบันทกึ
ความร้ตู ามโครงสรา้ งอยู่ 2 ระดบั คอื
1. โครงสรา้ งสว่ นบนของความรู้ ได้แก่ Idea ปรัชญา หลักการ อดุ มการณ์
2. โครงสร้างสว่ นล่างของความรู้ ไดแ้ ก่ ภาคปฏิบตั กิ ารของความรู้ ได้แก่องคค์ วามรทู้ แ่ี สดงในรูปของข้อเขยี น สญั ญา การ
แสดงออกในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ศิลปะ การเดนิ ขบวนทางการเมือง โครงสร้างสว่ นล่างของความรู้มโี ครงสร้างระดับลึกคือ
ความหมาย (significant)

เรือ่ งที่ 4 การตลาด
ตลาด เป็นกระบวนการ หรือกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนเพ่ือสนองความต้องการของลูกค้าไม่ว่าจะเป็นการผลิตสินค้าและ
จัดหา ไปถึงมือลูกค้าหรือผู้บริโภคในกลุ่มต่างๆ เพื่อที่จะช่วยเหลือหรือส่งเสริมให้สินค้าหรือบริการถูกต้อง และตรงตาม
ความต้องการของลกู ค้ามากที่สดุ
หน้าทีท่ างการตลาด
1. จดั หาสนิ คา้ / บริการที่ลกู คา้ ตอ้ งการ
2. กาหนดราคาสนิ ค้า / บริการทลี่ กู ค้ายินดจี ่าย
3. นาสินค้า / บรกิ ารไปสู่ลกู ค้า
4. ให้ขอ้ มลู และดงึ ดดู ใจเพ่ือใหล้ กู ค้าซ้ือสินค้า / บริการ
เรอ่ื งที่ 5 การผลิต
การผลิต หมายถึง กระบวนการที่ทาให้เกิดมูลค่าเพ่ิม (Value Added) ท้ังท่ีเป็นมูลค่าหรือประโยชน์ใช้สอย
(Use Value) และมูลค่าในการแลกเปล่ียน (Exchange Value) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือตอบสนองความต้องการของ
มนุษย์ในการดารงชวี ิตเพราะฉะนนั้ การผลิตจงึ เป็นการสร้างคุณค่าของสินคา้ ทส่ี ามารถสนองตอบความต้องการของมนุษย์
(Utility)

เรื่องที่ 6 ระบบการบัญชี
การบัญชี หมายถึง การรวบรวม การจดบันทึก การจัดประเภท การวิเคราะห์และสรุปผลรายการทางการเงินท่ี
เกี่ยวข้องกับธุรกิจอย่างมีหลักเกณฑ์ เพ่ือจัดทาเป็นรายการทางการเงินแสดงฐานะการเงินผลการดาเนินงานและการ
เปลยี่ นแปลงฐานะการเงินของธรุ กิจ ซึ่งเปน็ ประโยชน์ต่อผใู้ ชง้ บการเงินในการนาขอ้ มูลไปประกอบการตัดสินใจ
การทาบัญชี หมายถึง การจดบันทึกรายการทางบัญชีที่เกิดข้ึน โดยการบันทึกรายการขั้นตอนการจัดหมวดหมู่
โดยการแยกประเภทรายการ และสรุปผลรายการทเ่ี กิดขึน้ น้ีจัดทาเปน็ งบการเงนิ ตามหลกั การบญั ชีท่ีใช้กันอยู่ทว่ั ไป
ประโยชน์ของการจัดทาบัญชี
1. ช่วยในการควบคมุ รักษาทรพั ยส์ ินต่างๆ ของกิจการ
2. แสดงให้เหน็ ผลการดาเนินงาน (ผลกาไรหรือขาดทนุ ) ของกิจการ เพ่อื นาไปคานวณภาษี
3. แสดงใหเ้ ห็นฐานะการเงินของกจิ การ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการ
4. ใหข้ ้อมลู ตัวเลขท่เี ปน็ ประโยชน์กับเจา้ ของกจิ การในการตัดสนิ ใจ

ประเภทของบญั ชี แบง่ ออกเป็น 5 ประเภท คอื
1. สินทรัพย์ หมายถึง สิ่งของท่ีสามารถวัดมูลค่าได้เป็นตัวเงินท้ังที่มีตัวตนและไม่มีตัวตน เช่นเงินสด เงินฝากธนาคาร
ลูกหนี้ วสั ดุสานกั งาน อาคาร รถยนต์ สิทธิบัตร ลขิ สิทธิ์ เปน็ ต้น
ตวั อยา่ ง กจิ การแหง่ หน่งึ มเี งนิ สด 40,000 บาท เงินฝากธนาคาร 20,000 บาท อาคาร 1,040,000 บาท ดงั น้นั กจิ การแห่ง
นม้ี ีสนิ ทรพั ยท์ ง้ั สิน้ 2,000,000 บาท
2. หนี้สิ้น หมายถึง จานวนเงินที่กิจการเป็นหน้ีบุคคลภานอกซึ่งจะต้องชาระคืนในอนาคต เช่น เจ้าหน้ีการค้า เงินกู้ เงิน
เบิกเกินบัญชีธนาคาร เปน็ ตน้
ตัวอย่าง กิจการกูเ้ งนิ จากธนาคารมาลงทนุ 500,000 บาท ซอื้ สินค้าเป็นเงินเช่ือ 8,000 บาท ดงั นนั้ กิจการนี้มหี น้ีสินทั้งสิ้น
508,000 บาท
3. ทนุ หรอื ส่วนของเจ้าของ หมายถงึ สนิ ทรพั ยส์ ุทธทิีีกิจการเปน็ เจา้ ของ หรอื สนิ ทรพั ยท์ ่กี ิจการมอี ยู่หกั ดว้ ยหนส้ี ินท่ีมอี ยู่
ตัวอย่าง กิจการมีเงินสด 50,000 บาท เงินฝากธนาคาร 100,000 บาท เจ้าหน้ีการค้า 20,000 บาท ดังนั้นกิจการน้ีมี
สินทรัพยส์ ทุ ธหิ รือส่วนของเจ้าของ 130,000 บาท

4. รายได้ หมายถงึ รายได้จาการดาเนินงานของกิจการ เช่น รายไดจ้ ากการขายสินค้า รวมทัง้ รายไดอ้ ่ืนๆ ของกจิ การ เช่น
รายได้จากดอกเบย้ี เงนิ ฝากธนาคาร รายได้จากเงินปนั ผล (ลงทุนซอื้ หนุ้ กิจการอ่ืน)
5. ค่าใช้จ่าย หมายถึง ค่าใช้จ่ายจากการดาเนินงานของกิจการ เช่น เงินเดือน ค่าวัสดุ สานักงาน ค่าพาหนะ และรวมถึง
ค่าเส่ือมราคาด้วย
ตัวอย่าง การวิเคราะหร์ ายการคา้

สรุปการบันทกึ บัญชีประเภทต่างๆ

สรุปการบันทกึ บัญชปี ระเภทตา่ งๆ

รายงานทางการเงนิ และบัญชี
5.1 งบทดลอง คือ รายงานทางบญั ชที จี่ ัดทาขึ้นเพ่ือพิสจู น์ความถูกต้องของการบันทึกบัญชีตามหลักบัญชีคู่ โดยแสดง
ยอดคงเหลือของบัญชตี า่ งๆ เมอ่ื สน้ิ สดุ ระยะเวลาใดระยะหนึง่ โดยยอดรวมของยอดคงเหลอื ของบญั ชดี ้านเดบติ จะเทา่ กับ
ยอดรวมของยอดคงเหลือของบัญชีด้านเครดิต
5.2 งบการเงนิ คอื การรายงานสรปุ ขอ้ มลู ทางบญั ชีทเี่ กดิ ขึ้นของกจิ การในชว่ งเวลาหน่ึง แบ่งเป็น

(1) งบกาไรขาดทุน คือ รายงานทางการเงินท่ีแสดงให้เห็นว่ากิจการมีผลกาดาเนินงาน ในช่วงเวลาเป็น
อยา่ งไร โดยการเปรียบเทยี บรายได้กับค่าใชจ้ ่ายที่เกิดขนึ้ ในชว่ งเวลาเดียวกัน ถ้ารายไดม้ ากกว่าคา่ ใชจ้ า่ ยแสดงว่า
มผี ลกาไร แต่รายได้นอ้ ยกวา่ ค่าใช้จา่ ยแสดงวา่ ขาดทุน

(2) งบดุล คอื รายงานทางการเงินท่แี สดงฐานะการเงนิ ของกจิ การ ณ เวลาใดเวลาหน่ึง โดยบอกให้
ทราบว่ากจิ การมที รัพยส์ ินและหนี้สินประเภทใดบา้ ง จานวนเท่าใด และมีสว่ นของเจ้าของจานวนเท่าใด


Click to View FlipBook Version